SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  72
Télécharger pour lire hors ligne
หน้ า | 1



                                                 บทที่ 1

                                                 บทนา



1.1 ความสาคัญและทีมาของปัญหา
                  ่

        ความเจ็บป่ วยเป็ นปรากฏการณ์ที่ไม่พึงปรารถนาที่เกิดขึ้นกับชีวตของมนุษย์ในทุกสังคม ซึ่งไม่เพียง
                                                                     ิ
             ่
คุกคามความอยูดีมีสุขของมนุษย์ เท่านั้น แต่ยง มีผลกระทบต่อความมันคง ของประเทศชาติ ทาให้เกิดความ
                                           ั                   ่
สู ญเสี ยทั้งทางด้านเศรษฐกิจ และสังคมด้วย และความเจ็บป่ วยยัง เป็ นปรากฏการณ์ที่ มีความสลับซับซ้อน มี
หลายมิติ และเป็ นพลวัต คือเป็ นปรากฏการณ์ทางชีววัฒนธรรม (biocultural phenomenon) ที่มีความแตกต่าง
กันในเรื่ องของค่านิยม ความคิด ความเชื่อ และแบบแผนการปฏิบติตน ที่เกี่ยวข้องกับความเจ็บป่ วย ซึ่ งมีการ
                                                         ั
ปรับเปลี่ยนผันแปรไปตามวัฒนธรรมใน แต่ละท้องถิ่น (1) ดังนั้นตั้งแต่ในยุคอดีตจนถึงยุคปั จจุบน มนุษย์ได้
                                                                                         ั
เกิดการเรี ยนรู ้และสั่งสมประสบการณ์ในการแสวงหาวิธีการดูแล รักษาสุ ขภาพเพื่อให้พนจากความเจ็บป่ วย
                                                                                ้
จนเกิดเป็ นองค์ความรู ้ รากฐานภูมิปัญญาที่มีความเหมาะสมตามบริ บท ของสังคมและวัฒนธรรมในแต่ละ
ท้องถิ่น ทาให้มี ระบบของการดูแลสุ ขภาพและ ความเจ็บป่ วย ที่หลากหลา ยรู ปแบบตั้งแต่รูปแบบ ที่ง่ายไป
จนถึงรู ปแบบที่มีความซับซ้อน และในแต่ละสังคมย่อมมีระบบการแพทย์ที่มากกว่าหนึ่งระบบดารงอยูเ่ สมอ
ไม่ว่าสังคมนั้นจะเป็ นสังคมสมัยใหม่ที่มีความเจริ ญก้าวหน้าทาง ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เป็ นอย่าง
มาก หรื อสังคมนั้นจะเป็ นสังคม ดั้งเดิมที่ห่างไกลจากความทันสมัยก็ตาม (Kleinman 1980, Helman 1985:
42-64) (1) เพราะ ไม่มีระบบการแพทย์ระบบใดระบบ เดียวที่จะมีความส มบูรณ์แบบในการ ตอบสนองต่อ
ปั ญหาที่เกิดจากความเจ็บป่ วยได้อย่างบริ บูรณ์   ครอบคลุม ในทุกมิติ และ เหมาะสมกับความแตกต่าง
                       ่
หลากหลายของผูคนที่มีอยูในสังคมแต่ละสังคมได้(1)
             ้

                              ่
        ระบบการแพทย์ที่ดารงอยูในทุกสังคมล้วนมีความหลากหลายซึ่ งแสดงให้เห็นถึงลักษณะความเป็ น
พหุลกษณ์ทางการแพทย์ (pluralistic medicine system) อันเป็ นผลจากความแตกต่างทางภูมิประเทศ สภาพ
    ั
สังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การนับถือศาสนา ตลอดจนพัฒนาการขององค์ความรู้ดานการแพทย์ ในการดูแล
                                                                    ้
รักษาความเจ็บป่ วย(2) ภายใต้สภาวะพหุลกษณ์ทางการแพทย์น้ ี จะ เห็นถึงระบบการดูแลสุ ขภาพ 3 ภาคส่ วน
                                     ั
ที่เข้ามาเกี่ยวข้องและทับซ้อนกัน ได้แก่ ภาคประชาชน (popular sector) ภาคพื้นบ้าน (folk sector) และภาค
หน้ า | 2



วิชาชีพ (professional sector) ซึ่ งระบบการดูแลสุ ขภาพทั้งสามภาคส่ วนนี้มีแนวคิดที่วา ปั จเจกและกลุ่มคน
                                                                                   ่
ต่างๆ ในแต่ละภาคส่ วนมี การตอบสนองต่อความเจ็บป่ วยที่แตกต่างกันได้ คือการมีความเชื่อเกี่ยวกับความ
เจ็บป่ วยที่แตกต่างกัน ก็ทาให้มีการสร้างกลวิธีและเกณฑ์ในการตัดสิ นใจในการรักษาความเจ็บป่ วยนั้น
แตกต่างกันไปด้วย ทาให้เกิดความหลากหลายในการแสวงหาทางเลือกในการรักษาความเจ็บป่ วย (3) ซึ่ง
การแพทย์แผนไทยก็เป็ นหนึ่งในระบบการดูแลสุ ขภาพภาคพื้นบ้าน(folk sector) ที่ได้มีการพัฒนาองค์ความรู้
และหลักในการบาบัดรักษาความเจ็บป่ วย จนเกิดเป็ นทฤษฎีการแพทย์แผนไทย ที่อธิบายสมุฏฐานของความ
เจ็บป่ วยทั้งหลายว่าเกิดจากความวิปริ ตแปรปรวนหรื อเสี ยสมดุลของธาตุท้ งสี่ คือ ดิน น้ า ลม และไฟ ที่
                                                                      ั
ประกอบขึ้นมาเป็ นร่ างกายของมนุษย์โดยมีปัจจัยอื่น ๆ ได้แก่ ฤดู อายุ กาลเวลา ถิ่นที่อยู่ พฤติกรรมทางกาย
สภาพจิตใจ และอาหาร เข้ามาเกี่ยวข้อง หลักการบาบัดรักษาความเจ็บป่ วยจึงมุ่งไปที่การแก้ไขสมุฏฐานและ
ปั จจัยดังกล่าว เพื่อให้ธาตุท้ งสี่ กลับคืนสู่ สภาพสมดุล โดยการใช้ยาตารับซึ่งปรุ งจากสมุนไพร การนวดตาม
                               ั
เส้นประสาท การประคบ การอบสมุนไพร การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การงดอาหารแสลง การอดอาหาร
เป็ นต้น (2)
         และเมื่อ องค์การอนามัยโลก ได้พยายามผลักดันให้ประเทศสมาชิ กผสมผสานการดูแลสุ ขภาพภาค
วิชาชีพกับการดูแลสุ ขภาพภาคพื้นบ้าน เข้าด้วยกัน ตั้งแต่ปี 2520 และมีคาประกาศ Alma Ata ที่ประเทศ
สหภาพโซเวียตเมื่อปี พ .ศ. 2521 ที่ให้เน้นงานด้านสาธารณสุ ขมูลฐานและสนับสนุนให้นาการแพทย์แผน
โบราณมาใช้ในงานสาธารณสุ ขมูลฐานโดยการผสมผสานกับการแพทย์แผนปั จจุบน แนวนโยบายดังกล่าว
                                                                 ั
ทาให้รัฐบาลไทยหันกลับมาสนใจศึกษาและพัฒนาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรไทยเพิมมากขึ้น ซึ่งในปี
                                                                      ่
พ.ศ. 2522 มีการเริ่ มนโยบายสาธารณสุ ขมูลฐานอย่ างเป็ นทางการ โดยเพิ่มโครงการ สาธารณสุ ขมูลฐานเข้า
ไปในแผนพัฒนาการสาธารณสุ ขในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520-2524)
และในช่วงแผนพัฒนาสาธารณสุ ขแห่งชาติฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525 -2529) นั้นได้ให้ความสาคัญกับการ
ส่ งเสริ มให้มีการใช้สมุนไพร มีการสนับสนุน การจัดทาระบบข้อมูลส มุนไพร การเผยแพร่ ความรู ้และ
ส่ งเสริ มให้เกิดการใช้สมุนไพร และยังได้นาการแพทย์แผนไทยมาให้บริ การในโรงพยาบาลอย่างครบวงจร
อีกด้วย โดยในปี พ.ศ. 2530 ได้กาหนดให้มีการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ซึ่งนาไปสู่ งานบริ การทางการแพทย์
แก่โรงพยาบาลของรัฐและเอกชน และในปี พ.ศ. 2532 ได้มีการจัดตั้งศูนย์ประสานงานการพัฒนาการแพทย์
แผนไทยและเภสัชกรรมไทย เพื่อทาหน้าที่ให้การสนับสนุนและประสานการพัฒนาการแพทย์แผนไทยและ
สมุนไพรให้เป็ นไปในทิศทางที่ถูกต้องและมีประสิ ทธิภาพ ในปี พ.ศ.2535 รัฐบาลได้แสดงเจตจานงในการ
ส่ งเสริ มการพัฒนาการแพทย์แผนไทย โดยให้มีการผสมผสานการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรเข้ากับระบบ
หน้ า | 3



บริ การสาธารณสุ ขของชุมชน      รวมทั้ง ได้จดตั้งสถานบันการแพทย์แผนไทยขึ้น
                                           ั                                     อีกด้วย และ ในช่วง
แผนพัฒนาสาธารณสุ ขแห่งชาติฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540-2544) ได้มีการสนับสนุนให้มีการเพิ่มการใช้แพทย์
แผนไทย เพื่อลดการใช้ยาที่ฟุ่มเฟื อย สนับสนุนการรักษาแบบ แพทย์แผนไทยเข้ากับระบบการสาธารณสุ ข
ของประเทศ รวมทั้งมีนโยบายในการพัฒนาการวิจย การอบรมแพทย์แผนไทยอย่างเป็ นทางการ (4) ทาให้ใน
                                         ั
ปั จจุบนนี้ การแพทย์แผนไทยถูกพัฒนาและผสมผสานเข้าสู่ ระบบบริ การสาธารณสุ ขเพิ่มมากขึ้น โดย จะเห็น
       ั
ได้จากจานวนของสถานบริ การด้านสุ ขภาพ ในหลายระดับทั้งภาครัฐและเอกชน ที่นาการแพทย์แผนไทยเข้า
มาให้บริ การดังนี้คือสถานบริ การภาครัฐมีจานวน 1,460 แห่งและสถานบริ การภาคเอกชน มีจานวน 534 แห่ง
(4) และจากการรายงานการศึกษาของสานักนโยบายและแผนสาธารณสุ ข (พ.ศ. 2540 - พ.ศ.2546)(5) ที่มี
ข้อมูลดังตารางต่อไปนี้

ตารางที่ 1 แสดงจานวนโรงพยาบาลทัวไป/ศูนย์ ที่มีการให้บริ การการแพทย์ทางเลือก
                               ่

                                              จานวน รพ.ที่ตอบ           จานวน รพ.ที่มีการดาเนินงาน
                  จานวน รพ.ที่ส่ง
  ปี สารวจ                                    แบบสอบถามกลับ                 การแพทย์ทางเลือก
                แบบสอบถามไป (แห่ง)
                                                (แห่ง/ร้อยละ)                 (แห่ง/ร้อยละ)
    2540                 93                      53 (56.99%)                   13 (13.98%)
    2546                 92                      63 (68.48%)                   48 (52.17%)

        หมายเหตุ ไม่รวมการให้บริ การการแพทย์แผนไทยในการศึกษา และผูสรุ ปนาเสนอข้อมูลภายใต้
                                                                      ้
สมมุติฐานว่าผูที่ไม่ตอบแบบสอบถามถือว่าไม่มีการดาเนินงานด้านการแพทย์ทางเลือก
              ้

                      ่
         จะเห็นได้วาจานวนโรงพยาบาลทัวไป /ศูนย์ ที่มีการให้บริ การการแพทย์ทางเลือกมีการดาเนิ นงาน
                                          ่
ด้านการแพทย์ทางเลือกสู งขึ้น อย่างชัดเจน จากร้อยละ 13.98 ในปี พ.ศ. 2540 เป็ นร้อยละ 52.17 ในปี พ.ศ.
2546 ซึ่งคิดเพิ่มเป็ นประมาณ 3.73 เท่า(5) สถิติดงกล่าวนี้แสดงให้เห็นถึงการขยายตัวของการแพทย์แผนไทย
                                                ั
และการผสมผสานการแพทย์แผนไทยเข้าสู่ ระบบบริ การสาธารณสุ ขที่มีความชัดเจนเพิมมากขึ้น่

         ปรากฏการณ์ ดังกล่าวจึง เป็ น ที่น่า สนใจที่จะศึกษาว่า ผูที่เลือกใช้บริ การทางการแพทย์ แผนไทย
                                                                 ้
ประยุกต์น้ น มีคุณลักษณะทางประชากร และ มีความคิดเห็นเกี่ยวกับลักษณะความเจ็บป่ วยและอธิ บายความ
           ั
เจ็บป่ วยตามการรับรู้ของตนเองอย่างไร มีปัจจัยใดบ้างที่มีความเกี่ยวข้องและความสัมพันธ์กบ ความพึงพอใจ
                                                                                          ั
ในการใช้บริ การการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ซึ่งการได้ทราบถึงลักษณะปัจจัย ดังกล่าวของผูที่มาใช้บริ การ
                                                                                            ้
การแพทย์แผ นไทยประยุกต์ จะเป็ นแนวทาง ให้บุคลากรที่ปฏิบติหน้าที่นาไปใช้ในการปรับปรุ งบริ การให้
                                                               ั
หน้ า | 4



ตรงกับกลุ่มเป้ าหมายได้ ดียงขึ้น สามารถแก้ไขหรื อลดปั ญหาของ ประชาชนผูที่มารับบริ การได้ และทาให้
                           ิ่                                         ้
ทราบถึงรู ปแบบบริ การที่ถูกต้องเหมาะสมที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน เป็ นประโยชน์ในการ
กาหนดนโยบายและวางแผนการบริ หารงานด้านงบประมาณ การจัดสรรบุคลากรให้เหมาะสมกับรู ปแบบ
ของบริ การที่ประชาชนต้องการ


1.2 วัตถุประสงค์
   1.2.1 วัตถุประสงค์ทวไป
                      ั่
                                              ั
           เพื่อศึกษาปั จจัยที่มีความสัมพันธ์กบความพึงพอใจในการใช้บริ การการแพทย์แผนไทยประยุกต์
   ของผูป่วยที่มารับบริ การ
        ้


   1.2.2 วัตถุประสงค์เฉพาะ
          1. เพื่อศึกษาการวางแผนการรักษา ประสบการณ์ร่วมของเครื อข่ายสังคม ประสบการณ์ จาก
               การรักษา และความล้มเหลวจากการรักษาในระบบการแพทย์ระบบใดระบบหนึ่งของ
               ผูป่วยที่เข้ามารับบริ การการแพทย์แผนไทยประยุกต์
                 ้
           2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัย นากับความพึงพอใจใน การใช้บริ การการแพทย์แผน
               ไทยประยุกต์ของผูป่วยที่มารับบริ การ
                               ้
           3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปั จจัยเอื้อกับความพึงพอใจในการใช้บริ การการแพทย์แผน
               ไทยประยุกต์ของผูป่วยที่มารับบริ การ
                               ้
           4. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปั จจัยเสริ มกับความพึงพอใจในการใช้บริ การการแพทย์
               แผนไทยประยุกต์ของผูป่วยที่มารับบริ การ
                                  ้


1.3 สมมติฐาน
   1. ปัจจัยนา มีความสัมพันธ์เชิงบวกที่ ทาให้ ผป่วยเกิด ความพึงพอใจในการใช้บริ การการแพทย์แผน
                                               ู้
       ไทยประยุกต์
   2. ปั จจัยเอื้อ มีความสัมพันธ์เชิงบวกที่ทาให้ผป่วยมีความพึงพอใจในการใช้บริ การการแพทย์แผนไทย
                                                 ู้
       ประยุกต์
หน้ า | 5



    3. ปัจจัยเสริ ม มีความสัมพันธ์เชิงบวกที่ ทาให้ ผป่วยมีความพึงพอใจในการใช้บริ การการแพทย์แผน
                                                    ู้
        ไทยประยุกต์


1.4 นิยามศัพท์

        การแพทย์แผนไทย หมายถึง ปรัชญา องค์ความรู้ และวิถีปฏิบติ เพื่อการดูแลสุ ขภาพ และการ
                                                             ั
บาบัดรักษาโรค ความเจ็บป่ วยของคนไทย แบบดั้งเดิม สอดคล้องกับขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมไทย และวิถี
ชีวตคนไทย โดยวิธีการปฏิบติของการแพทย์แผนไทย ประกอบด้วยการใช้สมุนไพร หัตถบาบัด การรักษา
   ิ                    ั
กระดูกแบบดั้งเดิม การใช้พทธศาสนา หรื อพิธีกรรม เพื่อดูแลรักษาสุ ขภาพจิต ธรรมชาติบาบัด ซึ่ งได้จาก
                         ุ
การสั่งสม ถ่ายทอดประสบการณ์อย่างเป็ นระบบ โดยการบอกเล่า การสังเกต การบันทึก และการศึกษาผ่าน
สถาบันการศึกษาด้านการแพทย์แผนไทย (6)

        การแพทย์แผนไทยประยุกต์ (Applied Thai Traditional Medicine) หมายถึง ระบบการดูและรักษา
สุ ขภาพโดยนาหลักการของแพทย์แผนไทยเดิมมาผสมผสานกับหลักการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อที่จะเข้าใจ
รู ปลักษณะและกลไกการทา งานของร่ างกาย การบริ หารยา กลไกการเกิดโรคและการหายจากโรคตลอดจน
การป้ องกันโรค รู ้จกการใช้วธีทางวิทยาศาสตร์ ช่วยในการวินิจฉัยโรคเพื่อความแม่นยา และใช้ในการวิจย
                    ั       ิ                                                                  ั
เพื่อเพิ่มพูนความรู ้ ส่ วนวิธีการรรักษาโรคจะใช้ยาสมุนไพร ธรรมชาติบาบัด หัตถเวช และการนวดกดจุด
รักษาโรค(7)

                                         ่
        ปั จจัยนา หมายถึง ปั จจัยที่มีอยูในตัวของบุคคลที่มีผลใน การสนับสนุนหรื อยับยั้งให้มีการแสดง
พฤติกรรมความพึงพอใจต่อการใช้บริ การแพทย์แผนไทยประยุกต์ ซึ่ งประกอบด้วย              คุณลักษณะทาง
ประชากร ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรค ความเชื่อเกี่ยวกับผลของการรักษา การรับรู้ถึง ความ
รุ นแรงของอาการเจ็บป่ วย ระยะเวลาของการเจ็บป่ วย และภาวะแทรกซ้อน

        คุณลักษณะทางประชากร หมายถึง คุณสมบัติทางกาย ได้แก่ เพศ อายุ เป็ นต้น ทางสังคม ได้แก่
ศาสนา สถานภาพสมรส เป็ นต้น และทางเศรษฐกิจ ได้แก่ รายได้ อาชีพ ระดับการศึกษา เป็ นต้น

        ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรค หมายถึง ความเชื่อส่ วนบุคคลเกี่ยวกั บสาเหตุของการเกิด
โรคว่า โรคหรื ออาการเจ็บป่ วยนั้นเกิดจากสาเหตุที่เหนือธรรมชาติ หรื อ   เป็ นไป ตามปรากฎการณ์ทาง
ธรรมชาติ
หน้ า | 6



        ความเชื่อเกี่ยวกับผลของการรักษา หมายถึง ความเชื่อส่ วนบุคคลเกี่ยวกับผลของการรักษาด้วย
                       ่
การแพทย์แผนไทยประยุกต์วาสามารถรักษาโรคหรื ออาการเจ็บป่ วยให้หายขาด ทุเลาหรื อผ่อนคลายความ
ทุกข์ทรมานจากอาการที่เจ็บป่ วยหรื อโรคได้

        การรับรู้ถึงความรุ นแรงของความเจ็บป่ วย หมายถึ ง การตีความอาการผิดปกติจากการรับรู้ขอมูล
                                                                                           ้
ประสบการณ์ แล้วนามาประเมินค่าความสาคัญของการเจ็บป่ วยด้วยตัวของผูป่วยเอง
                                                                 ้

        ระยะเวลาของการเจ็บป่ วย หมายถึง ระยะเวลาตั้งแต่ผป่วยรับรู ้ถึงอาการเจ็บป่ วยจนกระทังถึงการมา
                                                        ู้                                 ่
รับบริ การการรักษาอาการเจ็บป่ วยที่สถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์

        ภาวะแทรกซ้อน หมายถึง ภาวะของการเกิดอาการผิดปกติอื่นๆ นอกเหนือจากการรับรู ้อาการใน
ตอนแรก จนต้องมีการเปลี่ยนแนวทางการรักษาใหม่

         ปั จจัยเอื้อ หมายถึง ปั จจัยที่เป็ นแหล่งทรัพยาที่จาเป็ นในการแสดงพฤติกรรมความพึงพอใจต่อการ
ใช้บริ การแพทย์แผนไทยประยุกต์ของบุค คล ซึ่งประกอบด้วย ความพอเพียงของบริ การ ค่าใช้จ่ายในการ
บริ การ คุณภาพของการบริ การ บุคลากรผูให้บริ การ ระยะเวลาในการเดินทาง และความสะดวกในการ
                                                ้
เดินทาง
       ความพอเพียงของบริ การ หมายถึงความพอเพียงในด้านบุคลากร ที่ปฏิบติหน้าที่ เครื่ องมือหรื อ
                                                                        ั
                                           ั ้
อุปกรณ์ที่ใช้ในการบริ การอาการเจ็บป่ วยให้กบผูป่วยของสถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์
         ค่าใช้จ่ายในการรับบริ การ หมายถึง ความคิดเห็นของบุค คลเกี่ยวกับค่าใช้จายทั้งหมดในการมารับ
                                                                               ่
บริ การรักษาอาการเจ็บป่ วยหรื อการส่ งเสริ มสุ ขภาพที่สถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์(8)
       คุณภาพของการบริ การ หมายถึง ความคิดเห็นของบุคคลเกี่ยวกับมาตร ฐานในด้านการบริ การ
การแพทย์แผนไทยในเรื่ องของระยะเวลาในการรอคอยเพื่อเข้ารับบริ การ ระยะเวลาในการเข้ารับบริ การ
ความสะอาดและความเป็ นระเบียบของสถานที่ให้บริ การ การให้บริ การที่ตรงกับความต้องการและผลของ
การรักษาในเบื้องต้นของผูป่วยที่รับบริ การการบาบัดรักษา เป็ นต้น
                        ้
         บุคลากรผูให้บริ การ หมายถึง ความคิดเห็นของบุคคลเกี่ยวกับบุคลากร เจ้าหน้าที่หรื อแพทย์ผู ้
                  ้
ให้บริ การด้านการแพทย์แผนไทยในเรื่ องของการเอาใจใส่ ผรับบริ การ การอธิ บายและการปฏิบติตวใน
                                                     ู้                                 ั ั
กระบวนของการรักษา การพูดจา และความสุ ภาพอ่อนโยน เป็ นต้น
หน้ า | 7



         ระยะเวลาในการเดินทาง หมา ยถึง เวลาที่ใช้ในการเดินทางทางที่พกอาศัยของผู้ ป่ วยที่ มารับบริ การ
                                                                    ั
ถึงสถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์ คิดเป็ นนาที (8)

         ความสะดวกในการเดินทาง หมายถึง การรับรู ้ของบุคคลเกี่ยวกับการเดินทางเพื่อมารับบริ การ โดย
พิจารณาจากความสามารถที่จะไปถึงสถานการณ์แพทย์แผนไทยประยุกต์ได้สะดวก โดยคานึงถึงลักษณะ
ที่ต้ งและการเดินทาง(8)
      ั

       ปั จจัยเสริ ม หมายถึง ปั จจัยที่บุคคลได้รับจากบุคคลอื่นและอิทธิ พลต่อพฤติกรรมความพึงพอใจใน
การใช้บริ การการแพทย์แผนไทยประยุก ต์ของบุคคลนั้น ประกอบด้วย การ รับ รู้ ขอมูลข่าวสาร และ
                                                                                    ้
ประสบการณ์ร่วมของเครื อข่ายสังคม
         การรับรู ้ขอมูลข่าวสาร หมายถึง การรับรู ้ที่เกิดขึ้นในตัวผูมารับบริ การที่สถานการแพทย์
                    ้                                               ้
แผนไทยประยุกต์ ที่มีสาเหตุมาจากการกระตุนของสิ่ งเร้าภายนอกซึ่ งได้แก่ ข่าวสารต่าง ๆ จากโทรทัศน์
                                       ้
สิ่ งพิมพ์เผยแพร่ (โปสเตอร์ เอกสาร แผ่นผับ ) และจากบุคคลในครอบครัวหรื อจากบุคคลอื่น เช่น เพื่อนบ้าน
เพื่อนร่ วมงาน เป็ นต้น (9)

         ประสบการณ์ร่วมของเครื อข่ายสังคม หมายถึง การมีส่วนร่ วมของบุคลในครอบครัว เครื อญาติ หรื อ
กลุ่มเพื่อน ในการประเมินร่ วมกันว่าอาการรุ นแรงมากน้อยเพียงใด ป่ วยเป็ นโรคอะไร และช่วยกันตัดสิ นใจ
เลือกวิธีการรักษาอาการเจ็บป่ วยที่มีประสิ ทธิ ภาพร่ วมกัน ในทการวิจยครั้งนี้เป็ นการตัดสิ นใจเพื่อทาการ
                                                                   ั
รักษาด้วยการแพทย์แผนไทยประยุกต์

         ความพึงพอใจในการใช้บริ การ หมายถึง ความรู้สึก หรื อความคิดเห็นในทางบวกของผูมารับบริ การ
                                                                                    ้
ที่มีต่อการมารับบริ การที่สถานการณ์แพทย์แผนไทยประยุกต์ โดยพิจารณาจากคุณภาพบริ การ ค่าใช้จ่าย
ความสะดวกในบริ การที่ได้รับ และพฤติกรรมและการให้ขอมูลของผูให้บริ การ (8)
                                                 ้        ้

         การวางแผนการรักษา หมายถึง แนวทางที่ผป่วยเลือกที่จะให้ตนเองหายจากการเจ็บป่ วย ซึ่ งขึ้นอยู่
                                             ู้
กับการเรี ยนรู ้ ประสบการณ์ความเจ็บป่ วยในอดีต ประเพณี วฒนธรรม และการรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับจาก
                                                        ั
แนวทางหรื อวิธีการรักษานั้น

         ประสบการณ์ จากการรักษาด้วยระบบอื่น หมายถึง การแสวงหาแนวทางการรักษาอาการเจ็บป่ วย
ของผูป่วยในระบบการแพทย์ระบบอื่น ก่อนที่จะมารับบริ การรักษาในระบบการแพทย์แผนไทยประยุกต์
     ้
หน้ า | 8



        ความล้มเหลวจากการรักษาในระบบใดระบบหนึ่ง หมายถึง ความรู้สึกผิดหวังของผูป่วยหลังจากที่
                                                                              ้
เข้ารับบริ การการรักษาในระบบการแพทย์ระบบใดระบบหนึ่ง ซึ่ งรวมถึงการไม่หายขาดจากการเจ็บป่ วย
หรื อการรักษาที่ไม่ได้ผล


1.5 ขอบเขตของการศึกษา

        การศึกษานี้เป็ นการศึกษาการใช้บริ การ ทางการแพทย์ของผู้ ป่วยที่มารับบริ การการแพทย์แผนไทย
ประยุกต์ โดยศึกษาผูป่วยมารับบริ การรักษาที่สถานการแพทย์แผนไทย ประยุกต์ และศึกษาเฉพาะผูป่วยที่มา
                   ้                                                                  ้
รับบริ การในกลุ่มโรคปวดกล้ามเนื้อ ข้อและกระดูกเท่านั้น


1.6 ข้ อตกลงเบืองต้ น
               ้

        การศึกษาในครั้งนี้เป็ นการศึกษาในกลุ่มของผูป่วยที่มารับบริ การรักษาด้วยโรคปวดกล้ามเนื้อ โรค
                                                   ้
เกี่ยวกับข้อ หรื อโรคเกี่ยวกับกระดูก อย่างใดอย่างหนึ่งหรื อมากกว่าหนึ่งอย่างก็ได้


1.7 ข้ อจากัดในการศึกษา

        การศึกษาในครั้งนี้เป็ นการใช้แบบสอบถามกับผูป่วยที่มารับบริ การ ซึ่ งในแบบสอบถามอาจมี
                                                   ้
คาถามหรื อข้อความที่ทาให้ผป่วยไม่อยากตอบหรื อแสดงความคิดเห็น ดังนั้นจึงตอบคาถามไม่ครบทุกข้อ
                          ู้
ซึ่งอาจทาให้ได้รับข้อมูลไม่ครบถ้วนสมบูรณ์
หน้ า | 9



1.8 ตัวแปรทีใช้ ในการศึกษา
            ่
   1.8.1 ตัวแปรอิสระ (Independent Variables) ได้แก่
     1.8.1.1 ปัจจัยนา
                    -       คุณลักษณะทางประชากร
                    -       ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรค
                    -       ความเชื่อเกี่ยวกับผลของการรักษา
                    -       ความรุ นแรงของอาการเจ็บป่ วย
                    -       ระยะเวลาของการเจ็บป่ วย
                    -       ภาวะแทรกซ้อน

     1.8.1.2 ปั จจัยเอื้อ
                    -       ความพอเพียงของบริ การ
                    -       ค่าใช้จ่ายในการบริ การ
                    -       คุณภาพของการบริ การ
                    -       บุคลากรผูให้บริ การ
                                       ้
                    -       ระยะเวลาในการเดินทาง
                    - ความสะดวกในการเดินทาง


     1.8.1.3 ปัจจัยเสริ ม
                   - การได้รับข้อมูลข่าวสาร
                   - ประสบการณ์ร่วมของเครื อข่ายสังคม


   1.8.2 ตัวแปรตาม (Dependent Variables) คือ ความพึงพอใจใน การใช้บริ การการแพทย์แผนไทย
           ประยุกต์
หน้ า | 10



1.9 กรอบแนวคิดในการศึกษา


                                           ตัวแปรอิสระ


1.10       ปั จจัยนา                             ปั จจัยเอื ้อ                     ปั จจัยเสริ ม
1.11
1. คุณลักษณะทางประชากร                1.   ความพอเพียงของบริ การ      1.   การได้ รับข้ อมูลข่าวสาร
2. ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการ     2.    ค่าใช้ จ่ายในการบริ การ   2.   ประสบการณ์ร่วมของเครื อข่าย
   เกิดโรค                            3.   คุณภาพของการบริ การ             สังคม
3. ความเชื่อเกี่ยวกับผลของการ         4.   บุคลากรผู้ให้ บริ การ
   รักษา                              5.   ระยะเวลาในการเดินทาง
4. ความรุนแรงของอาการเจ็บป่ วย        6.   ความสะดวกในการเดินทาง
5. ระยะเวลาของการเจ็บป่ วย
6. ภาวะแทรกซ้ อน




                                             ตัวแปรตาม

                                    ความพึงพอใจในการใช้ บริการ
                                     การแพทย์แผนไทยประยุกต์
หน้ า | 11



                                                บทที่ 2

                               ทบทวนเอกสารและงานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง
                                                            ่



2. แนวคิดทฤษฎีทใช้ ในการศึกษา
               ี่
      2.1      แนวคิดเกียวกับพฤติกรรมความเจ็บป่ วยและการแสวงหาการรักษา
                        ่

ความหมาย

        เมคานิค (Mechanic , 1963)(10) ได้ให้ความหมายของพฤติกรรมความเจ็บป่ วยคือ ลักษณะอาการ
ของบุคคลที่สามารถรับรู้ ประเมินและ ปฏิบติ ต่ออาการแสด งที่มีอยูน้ น คือ อาการ เจ็บป่ วย ความไม่สบาย
                                       ั                       ่ ั
หรื อมีความบกพร่ องในกลไกหน้าที่การทางานของร่ างกาย เป็ นต้น พฤติกรรมความเจ็บป่ วยอาจเกิดขึ้นกับ
บุคคลใดบุคคลหนึ่งโดยไม่จาเป็ นว่าจะต้องเป็ นผูป่วยก็ได้ ซึ่ งเป็ นการกระทาอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้
                                              ้
ร่ างกายกลับสู่ สภาวะเดิมข องตน เมื่อบุคคลเกิดความรู ้สึกเจ็บป่ วยขึ้นมาด้วยอาการผิดปกติ เขาจะมี
พฤติกรรมที่ตอบสนองต่อความเจ็บป่ วยนั้นๆด้วยวิธีการต่างๆที่ได้เรี ยนรู ้จากประสบการณ์ของแต่ละบุคคล
และวัฒนธรรมที่มีความแตกต่างกัน


แนวคิดของพฤติกรรมความเจ็บป่ วยและการแสวงหาการรักษา

                                                                                    ่
        แฟบรี กา (Febrega, 1973 )(8) ได้อธิบายกระบวนการเกิดพฤติกรรมความเจ็บป่ วยไว้วา เป็ นการ
เริ่ มต้นจากขั้นตอนของการรับรู ้ถึงความเจ็บป่ วย (illness recognition and labeling) ด้วยการตีความอาการ
ผิดปกติจากข้อมูล ประสบการณ์ หรื อการรับรู ้ขอมูล จากบุคคลรอบข้าง แล้วนามาตีค่าประเมินถึง
                                            ้
ความสาคัญของการเจ็บป่ วยด้วยตนเอง (illness disvalues) หากมีความสาคัญก็จะพิจารณานามาวางแผนการ
รักษา (Consideration of treatment plans) ซึ่ งเชื่อว่าบุคคลจะมีทางเลือกให้หายจากการเจ็บป่ วยหลายทาง
                    ่ ั
ด้วยกัน ซึ่ งขึ้นอยูกบการเรี ยนรู ้ และประสบการณ์ความเจ็บป่ วยในอดีต ตลอดจนประเพณี วฒนธรรมแล ะมี
                                                                                    ั
การประมาณความเป็ นไปได้ในประสิ ทธิภาพของการรักษาตามประสบการณ์ในอดีต                      (Assessment of
treatment plans) จากนั้นจึงประมวลประโยชน์ของการรักษา (Computation of treatment benefits) ว่าจะ
หน้ า | 12



สามารถรักษาความเจ็บป่ วยได้ดีกว่าวิธีอื่นหรื อไม่ ก่อนประเมินค่าความเจ็บป่ วย       (Disvalues of illness)
ได้แก่ ค่าใช้จ่ายต่างๆ รวมทั้งค่าเสี ยเวลาของบุคคลนั้นด้วย แล้วพิจารณาผลสิ ทธิ ของประโยชน์ที่ได้รับ (Net
Benefits or Utility) คือเปรี ยบเทียบผลดีของการรักษามีมากกว่าค่าใช้จ่าย หรื อมีประโยชน์สูงสุ ด ค่าใช้จ่าย
น้อยที่สุด ทาให้บุคคลนั้นเลือกวิ ธีการรักษา (Selection of Treatment Plan) แต่ในขั้นตอนสุ ดท้ายเมื่อบุคคล
นั้นได้รับข้อมูลในทางเลือกวิธีการรักษาใหม่ หรื อประเมินผลการรักษาว่าไม่ได้ผลก็จะกาหนดวิธีการหรื อ
วงจรความเจ็บป่ วยใหม่ (Set Up for Recycling) เพื่อการรักษาที่เหมาะสม หรื อหากมีการเกิดความเจ็ บป่ วย
ด้วยโรคใหม่ หรื อภาวะแทรกซ้อนก็จะเข้าสู่ ข้ นตอนแรกเป็ นวงจรใหม่ต่อไป ดังแสดงในรู ปดังนี้
                                            ั



                            illness recognition             illness
                                and labeling               disvalues

                   Set Up for                                   Consideration of
                   Recycling                                    treatment plans


                Selection of                                       Assessment of
               Treatment Plan                                     treatment plans

                                                             Computation of
                       Net Benefits or
                                                            treatment benefits
                           Utility          Disvalues of
                                               illness

                        แสดงรู ปแบบอธิบายพฤติกรรมความเจ็บป่ วย (H.Fabrega)

แหล่งข้อมูล : M.H. Becker, 1990 (10)



        ไคลน์แมน (Kleinman, 1980)(11) ได้อธิ บายแนวคิดเกี่ยวกับ โรค (Explanatory Model) ไว้วา
                                                                                            ่
ระบบการดูแลสุ ขภาพประกอบด้วย 3 องค์ประกอบใหญ่ๆ คือ การให้ความหมายของ โรค การอธิบายสาเหตุ
ของโรค และกระบวนการรักษาโรค แนวคิดการอธิบายโรคเป็ นวิธีศึกษากระบวนการเจ็บป่ วยที่ถูกทาให้เป็ น
หน้ า | 13



แบบแผน ถูกตีความและถูกรักษา ซึ่งรู ปแบบการอธิบาย (Explanatory Model) จะอธิ บายขั้นตอนของความ
                                                      ่
เจ็บป่ วย ขั้นตอนของการรักษา ซึ่ งดาเนินโดยบุคคลที่อยูในกระบวนการทางคลินิก ได้แก่ ผูป่วยและผูให้การ
                                                                                    ้        ้
รักษา นอกจากนั้น Explanatory Model ยังได้อธิบายความเจ็บป่ วยและการรักษาเพื่อแนะนาทางเลือกใน
วิธีการรักษาด้วย ซึ่ง Kleinman ได้อธิ บายขั้นตอนของความเจ็บป่ วยไว้ 5 ขั้นตอน ดังนี้

     1. สาเหตุของความเจ็บป่ วย (Etiology of the condition)
     2. ระยะเวลาและลักษณะอาการเริ่ มต้นของความเจ็บป่ วย          (The timing and mode of onset of
        symptoms)
     3. กระบวนการทางพยาธิ สรี รวิทยาแห่งการเกิดโรค (The pathophysiological)
     4. ประวัติความเป็ นมาและความรุ นแรงของความเจ็บป่ วย (The natural history and severity of the
        illness)
     5. การรักษาที่เหมาะสมกับอาการหรื อความเจ็บป่ วยนั้นๆ         (The appropriate treatments for the
        condition)

        แนวคิดนี้ได้ให้ความสาคัญว่า ระบบวัฒนธรรมจะเป็ นตัวกาหนดความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของความ
เจ็บป่ วยและวิธีการรักษา ที่ทาให้บุคคลหรื อกลุ่มบุคคลมีความแตกต่างกัน มีการให้ความหมายต่อการ
เจ็บป่ วยแต่ละครั้ง และแต่ละโรคแตกต่างกัน ผลก็คือมีพฤติกรรมการจัดการความเจ็บป่ วยแตกต่างกันไป
ด้วย นันก็หมายความว่า แบบจาลองการอ ธิบายโรค (Explanatory Model of Diseases) ของบุคคลหนึ่งอาจ
       ่
ต่างไปจากบุคคลอื่นๆทั้งที่เป็ นโรคชนิดเดียวกัน โดยพฤติกรรมบางส่ วนอาจได้รับอิทธิ พลจากครอบครัว
หรื อเครื อข่ายทางสังคม ตลอดจนประสบการณ์ที่ผป่วยประสบด้วยตนเอง หล่อหลอมจนกลายเป็ นแนวคิด
                                            ู้
และนาไปสู่ การปฏิบติตนแบบพื้นฐานของระบบคิดนั้น ดังนั้นคนแต่ละกลุ่มแต่ละชาติพนธุ์ก็จะมีการให้
                  ั                                                         ั
ความหมายของความเจ็บป่ วยและสุ ขภาพต่างกัน อันเป็ นผลมาจากวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน


        อลองโซ (Alonzo, 1984) (12) นักสังคมวิทยา ได้อธิ บายเกี่ยวกับพฤติกรรมความเจ็บป่ วยลึกถึง ว่า
                 ่
ทาไมบุคคลจึงรู ้วาจะเลือกแหล่งการรักษา หรื อวิ ธี การรักษาเมื่อมีอาการเช่นนั้นในสถานการณ์ เช่นนั้น โดย
อลองโซ (Alonzo) ได้วเิ คราะห์โดยมองจากการปรับตัวต่อสถานการณ์               (Situational - Adaptational
                                ่
Perspective) ภายใต้ความจริ งที่วา ภาวะสุ ขภาพเป็ นส่ วนหนึ่งของชีวตประจาวัน สถานการณ์การปรับตัวใน
                                                                  ิ
ชีวตประจาวันเพื่อสุ ขภาพ จึงเป็ นพื้นฐานของการสร้างตัวแบบพฤติก รรมความเจ็บป่ วย เพราะเมื่อมีอาการ
   ิ
หน้ า | 14



ผิดปกติเกิดขึ้น บุคคลใช้ความพยายามทางจิตสังคมปรับตัวต่ออาการนั้น ในลักษณะต่างๆกัน เ ช่ น อดทน
เพิกเฉย รักษาดูแลสุ ขภาพด้วยตนเอง หรื อพบแพทย์ โดยขึ้นกับระดับของการรับรู ้ถึงอันตรายหรื อผลเสี ยต่อ
ร่ างกาย ซึ่ งเริ่ มต้นจากการสังเกตเห็นว่าอาการนั้นแตกต่างไปจากชีวตประจาวัน อาการนั้นไม่เคยเป็ นมาก่อน
                                                                  ิ
อาการนั้นมีผลกระทบต่อครอบครัว การทางาน กิจกรรมทางสังคม อาการนั้นปรากฏสม่าเสมอเมื่อมีเงื่อนไข
เดิมเกิดขึ้น อาการนั้นปรากฏแตกต่างไปจากคนอื่น หรื อกระทบต่อสภาพจิตใจ อาการปรากฏนั้นมีความ
รุ นแรงเริ่ มมองเห็นสัญลักษณ์ของความเจ็บป่ วยชัดเจน และท้ายสุ ดอาการนั้นอันตรายจาเป็ นต้องพบแพทย์
กระบวนการของการตีความและประเมินอาการเ จ็บป่ วยข้างต้นนี้ อลองโซ (Alonzo) ได้จาแนกพฤติกรรม
ความเจ็บป่ วยออกเป็ น 4 ประเภท (13) โดยใช้มิ ติการมองจากการปรับตัวต่อสถานการณ์เป็ นแนวทาง
วิเคราะห์ คือ

        ประเภทที่หนึ่ง บุคคลก้าวเข้าสู่ สถานการณ์เพราะมีอาการผิดปกติข้ ึนมา เช่น เกิดอาการอักเสบทาง
ระบบทางเดินหายใจ ปวดศีรษะ มีไข้ เป็ นต้น ภาวะการเกิดอาการเช่นนี้เป็ นพฤติกร          รมความเจ็บป่ วย
ประจาวัน อาจลดอาการผิดปกติได้โดยการรักษาตนเองเพราะเป็ นความเจ็บป่ วยเล็กๆน้อยๆ จึงยังคงรักษา
สถานภาพบทบาททางสังคมได้อย่างปกติ

        ประเภทที่สอง สถานการณ์ที่เกิดขึ้นมีแนวโน้มที่จะมีลกษณะและอาการของความเจ็บป่ วยมากขึ้น
                                                          ั
ในมิติทางสังคมและจิตวิทยา บ่งชี้ภยอันตรายในปั จจุบนหรื ออนาคต มีการคาดคะเนว่าปรากฏการณ์เช่นนี้จะ
                                 ั                ั
มีผลกระทบต่อความสมบูรณ์ของร่ างกาย จิตใจและสังคม มีความจาเป็ นต้องมีการป้ องกันและรักษา เพราะ
สถานการณ์น้ นเริ่ มมีความรุ นแรงมากกว่าประเภทแรก
            ั

        ประเภทที่สาม ใช้วถีชีวตทางสังคมบุคคลไม่อาจละเลยโดยไม่สนใจต่อร่ างกายและจิตใจ คว
                         ิ ิ                                                                        าม
พยายามจะออกไปจากสถานการณ์ประจาวัน คือ การรับประทานยา การพักผ่อน ในประเภทนี้บุคคลเริ่ มมี
การเปลี่ยนแปลง และพัฒนาไปสู่ ความเจ็บป่ วยมากขึ้น ต้องเอาใจใส่ บารุ งรักษาสุ ข ภาพมากกว่าที่เคยปฏิบติ
                                                                                                   ั
ในชีวตประจาวัน
     ิ

        ประเภทที่สี่ เป็ นขั้นที่เรี ยกว่ามีการวินิจฉัยโดยการพบแ พทย์ การใช้วธีทางการแพทย์ เพื่อแก้ไข
                                                                             ิ
สถานการณ์น้ น
            ั

        นอกจากนี้ อลองโซ (Alonzo) (13) ยังได้ช้ ีให้เห็นว่าพฤติกรรมความเจ็บป่ วยในชีวตประจาวัน
                                                                                     ิ
สามารถที่จ ะใช้เป็ นพื้นฐานสร้างตัวแบบพฤติกรรมความเจ็บป่ วย โดยการอธิ บายพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับ
หน้ า | 15



ปั จจัยทางสังคมวัฒนธรรมและจิตวิทยา เมื่อจุดเริ่ มต้นของความเจ็บป่ วยคืออาการที่ปรากฏ เกิดขึ้นต่อ
ร่ างกาย ดังนั้นอาการที่เริ่ มต้นดังกล่าวนี้จะเข้ามารบกวนกิจกรรมปกติของบุคคล จนมี ความรู ้สึกว่าอาการ
ดังกล่าวอาจพัฒนาต่อไปจนเป็ นอันตรายต่อร่ างกายมากขึ้น ถ้าบุคคลที่มีอาการที่ปรากฏผิดปกติยงรู ้สึกเฉยๆ
                                                                                        ั
อาจยังไม่ได้เรี ยกว่า “ป่ วย” เพราะยังไม่ทราบว่าเป็ นอะไร แต่จะเริ่ มชัดเจนขึ้นเมื่อถูกบอกว่าเป็ นโรคหรื อ
สัญลักษณ์ของโรคหรื อความเจ็บป่ วยต่างๆ เรี ยกว่า เป็ นอาการของโรค หรื อปรากฏการณ์ของโรค ซึ่ งพอ
สรุ ปได้ดงนี้
         ั

    1. เป็ นสิ่ งที่เห็นได้ หรื อเมื่อพิจารณาอย่างละเอียดแล้ว จะมีความแตกต่างไปจากเดิมหรื อดูแปลกๆจาก
         ชีวตประจาวัน เช่น สังเกตเห็นรอยบนผิวหนัง อาการคัน ปวด เป็ นต้น
            ิ
    2. มีลกษณะที่รุนแรง ไม่เคยเป็ นมาก่อน เช่น หน้ามืด หมดสติ หัวใจเต้นเร็ ว เป็ นลม เป็ นต้น
          ั
    3. มีผลกระทบต่อครอบครัว การทางานหรื อกิจกรรมทางสังคม เช่น ไม่สามารถทางานได้ มือสัน ไม่มี
                                                                                    ่
         แรง เป็ นต้น
    4. อาการที่สังเกตเห็น ปรากฏแก่บุคคลสม่าเสมอ เช่น จะมีอาการไอ จาม เมื่อเจอฝุ่ นหรื ออากาศมีการ
         เปลี่ยนแปลง เป็ นต้น
    5. อาการปรากฏแตกต่างไปจากบุคคลอื่น
    6. อาการที่ปรากฏส่ งผลกระทบต่อจิตใจ เช่น วิตกกังวล
    7. หากว่ามีอาการปรากฏที่ไม่รุนแรง จะชะลอการขอคาปรึ กษาจากบุคคลอื่น แต่ถาปรากฏอาการที่
                                                                           ้
         รุ นแรง จะรี บเร่ งสอบถามจากบุคคลอื่น
    8. เมื่ออาการที่ปรากฏ แสดงให้เห็นถึงอันตรายที่อาจจะเกิดบุคคล บุคคลนั้นจะเริ่ มแสวงหาการรักษา


         พาร์สัน (Parson, 1951)(10) ได้อธิ บายว่าประสบการณ์ความเจ็บป่ วยของบุคคลถูกควบคุมโดยปัจจัย
ด้านสังคมและวัฒนธรรม ดังนั้นพฤติกรรมของผูป่วยจึงเป็ นผลผลิตและผลสะท้อนที่ได้อิทธิ พลจากความคิด
                                         ้
                                          ่
ความเชื่อต่างๆ กล่าวคือ บุคคลจะเรี ยนรู ้วาเมื่อใดที่มีอาการเจ็บป่ วยเกิดขึ้นมา หรื อเริ่ มมีความรู ้สึกผิดปกติ
หรื อสู ญเสี ยการทางานของระบบส่ วนใดส่ วนหนึ่ง จะมีผลให้พฤติกรรมของบุคคลนั้นเริ่ มเปลี่ยนแปลง อาจ
ปฏิเสธความผิดปกติ รั้งรอ หรื อค้นหาวิธีทางแก้ไขอย่างเหมาะสมเท่าที่จะแสวงหาได้ เพื่อขจัดหรื อลดภาวะ
ความเจ็บป่ วย ความไม่สบายทั้งกายและใจ สาหรับความผิดปก ติจะมากหรื อน้อย รุ นแรงหรื อไม่รุนแรง อัน
เป็ นความตระหนักและความรู ้ที่ได้รับจากประสบการณ์หรื อไม่ ก็จะมีความต้องการยืนยันและแสวงหาคา
หน้ า | 16



                                                    ้        ่
รับรองอันถูกต้อง ไปจนถึงขั้นแสวงหาความช่วยเหลือจากผูอื่น ไม่วาจะเป็ นญาติ พี่นอง การซื้ อยามา
                                                                              ้
                                                          ่
รับประทานเอง หรื อไปหาบุคลากรทางการแพทย์อื่นๆ จึงกล่าวได้วาการรับรู ้ถึ            งความเจ็บป่ วยเป็ นผล
ทางอ้อมจากลักษณะทางวัฒนธรรม และมีผลโดยตรงต่อลาดับขั้นในการเลือกรับบริ การสุ ขภาพว่า ควรจะ
เลือกใช้บริ การอะไรก่อน ซึ่ งการรับรู ้ถึงความเจ็บป่ วยจะรับรู ้ได้ท้ งลักษณะการเจ็บป่ วยและความรุ นแรงของ
                                                                      ั
การเจ็บป่ วย


        ซัชแมน (Suchman, 1965)(13) นักสังคมวิทยาการแพทย์ ได้เสนอว่า พฤติกรรมความเจ็บป่ วยของ
บุคคลใดๆนั้น จะประกอบด้วยพฤติกรรมต่างๆ ดังนี้คือ

    1. ขั้นตอนการประสบกับโรคภัย เป็ นการสารวจและวินิจฉัยตนเองว่าป่ วยหรื อไม่ และเมื่อสรุ ปว่าป่ วย
        ก็จะไปพบแพทย์ เพื่อวินิจฉัยอย่างจริ งจัง

    2. ขั้นตอนการยอมรับฐานะการเจ็บป่ วย บุคคลจะยอมรับการวินิจฉัยของแพทย์และเริ่ มต้นรักษา เมื่อมี
        อาการเจ็บป่ วยที่รุนแรงขึ้น
    3. ขั้นตอนการรับการรักษาเยียวยา บุคคลจะร่ วมมือกับแพทย์เพื่อรักษาให้หายและกลับสู่ สภาพปกติ
        ดังเดิม
    4. ขั้นตอนบทบาทผูป่วย เป็ นขั้นตอนที่บุคคลนั้นเป็ นคนไข้ ที่ตองได้รับการช่วยเหลือจากบุคคลอื่น
                     ้                                           ้
                                                                ั ้
        ในขั้นตอนนี้จะมีอาจจะเกิดปั ญหาความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์กบผูป่วย              ซึ่ งมีผลต่อการรักษา
        รวมถึงการเปลี่ยนแปลงแหล่งบริ การด้วย
    5. ขั้นตอนการหายจากโรคและฟื้ นฟูสมรรถภาพ เป็ นขั้นตอนที่สภาวะความเจ็บป่ วยที่ดาเนินมากลับ
        สู่ สภาวะที่ไม่มีความเจ็บป่ วย สามารถทากิจกรรมได้ตามปกติ

        ทุกขั้นตอนของความเจ็บป่ วย ผูป่วยจะได้รับการเกื้อหนุนเพื่อกา รตัดสิ น ใจในการรักษาจากกลุ่ม
                                     ้
ญาติและบุคคลที่เกี่ยวข้อง


      เบญจา ยอดดาเนินและคณะ (2533)(10) พบว่าลักษณะของการเจ็บป่ วยนั้นเป็ นตัวกาหนดการ
ตัดสิ นใจไปรับบริ การจากแหล่งต่างๆ และยังเป็ นตัวกาหนดวิธีการรักษาพยาบาลอีกด้วย สอดคล้องกับผล
การศึกษาของวไลพรรณ ชลสุ ข (2540) ที่ศึกษากระบวนการแสวงหาบริ การสุ ขภาพของหญิงโรคมะเร็ งปาก
หน้ า | 17



มดลูกในกรุ งเทพฯ พบว่าเหตุผลสาคัญในการเลือกแหล่งบริ การสุ ขภาพของผูหญิงโรคมะเร็ งปากมดลูกส่ วน
                                                                   ้
ใหญ่เนื่องจากมีบุคคลแนะนาหรื อพาไป ซึ่ งกลุ่มตัวอย่างได้รับรู ้อาการป่ วยและปรึ กษาบุคคลในเครื อข่ายทาง
สังคม ได้แก่ สมาชิกครอบครัว เพื่อน เพื่อนบ้าน ที่ส่วนในการประเมินอาการ ประเมินผลการรักษา รวมถึง
การเปลี่ยนแหล่งบริ การสุ ขภาพแห่งใหม่ และกระตุนให้ผป่วยไปรับบริ การ เหตุผลที่เลือกแหล่งบริ การ
                                              ้    ู้
สุ ขภาพรองลงมาคือ อาการรุ นแรงมากขึ้นจึงเข้ารับบริ การ


        ไคลน์แมน (Arthur Kleinman ,1980)(13) ศึกษาเรื่ องแนวคิดของระบบการดูแลสุ ขภาพ ซึ่งได้
อธิ บายว่า “บุคคลใดจะมีวธีการดูแลสุ ขภาพของตนเองอย่างไร จะมีสิ่งต่อไปนี้เป็ นตัวกาหนด คือ แบบแผน
                        ิ
ความเชื่อว่าด้วยเห ตุผลแห่งความเจ็บป่ วย บรรทัดฐานที่กาหนดพฤติกรรม กาหนดแนวคิดในการเลือกและ
ประเมินผลวิธีการรักษา ระบบความสัมพันธ์ทางสังคมของผูเ้ กี่ยวข้องกับความเจ็บป่ วย ได้แก่บทบาทของ
ผูให้การรักษา ผูรับการรักษา และระบบบริ การต่างๆ องค์ประกอบเหล่านี้มีความเกี่ยวพันกันอย่างมีร ะบบ
  ้             ้
              ่
เกิดขึ้นและอยูภายใต้ขอกาหนดทางวัฒนธรรมหรื ออีกนัยหนึ่งความเจ็บป่ วย
                     ้                                                         (illness) การตอบสนองต่อ
อาการป่ วย การที่บุคคลเคยมีประสบการณ์และเคยบาบัดรักษาอาการป่ วย ตลอดจนสถาบันทางสังคมที่
เกี่ยวข้องกับการป่ วยนั้นๆ ส่ วนเกี่ยวพันกันเป็ นระบบ”

        แนวคิดของ Kleinman มีความเห็นว่า การเจ็บป่ วยในความหมายทางการแพทย์พ้ืนบ้าน หมายถึง
ปั ญหาการเจ็บป่ วยซึ่ งบุคคลและเครื อข่ายทางสังคมของบุคคล (Social Network) มีประสบการณ์ร่วมกัน
เช่น ทุกข์สุขร่ วมกัน วิตกกังวลร่ วมกัน ประเมินร่ วมกันว่าอาการรุ นแรงมากน้อยเพียงใด ป่ วยเป็ นโรคอะไร
และช่วยกันตัดสิ นใจเลือกวิธีการรักษาอาการเจ็บป่ วยที่มีประสิ ทธิ ภาพร่ วมกัน

        ระบบการดูแลสุ ขภาพเป็ นสิ่ งที่รับรู ้ได้ แตกต่างกันตามกลุ่มสังคม ครอ บครัวและในระดับบุคคล
Kleinman เชื่อว่าปั จจัยทางสังคมต่างๆ เช่น การศึกษา ความเชื่อทางศาสนา การมีวฒนธรรมย่อย อาชีพ และ
                                                                            ั
การต่างกลุ่มสังคม ล้วนมีอิทธิ พลต่อการรับรู ้และพฤติกรรมการจัดการกับปั ญหาความเจ็บป่ วย แม้แต่ภายใน
ท้องถิ่นเดียวกัน ก็อาจแตกต่างกันได้ โดยเฉพาะ สามารถมีผลทาให้เกิดการสร้างความจริ งว่าด้วยความ
เจ็บป่ วย (Clinical Reality) ที่แตกต่างกันแม้ภายใต้ระบบการดูแลสุ ขภาพระบบเดียวกัน

        ความจริ งว่าด้วยความเจ็บป่ วย (Clinical Reality) นี้เป็ นผลผลิตของระบบการดูแลรักษาสุ ขภาพทาง
หนึ่งก็คือ ด้านความคิด ความเชื่อ ทัศนคติ       และบรรทัดฐานว่าด้วยเหตุผลของความเจ็บป่ วย ระบบ
หน้ า | 18



ความสัมพันธ์ทางสังคม และกิจกรรมการเยียวยารักษา ซึ่ งมีความสอดคล้องกับระบบการดูแลสุ ขภาพในอีก
ทางหนึ่งของ Kleinman ที่ได้เสนอแนวคิดแบบผสมผสานโดยแบ่งระบบการดูแลสุ ขภาพในสังคมหนึ่งๆ
ประกอบด้วยส่ วนต่างๆ 3 ส่ วน คือ ส่ วน ของชาวบ้าน (Popular Sector) ส่ วนของวิชาชีพ (Professional
Sector) และส่ วนของการแพทย์พ้ืนบ้าน (Folk Sector) ทั้ง 3 ส่ วนนี้แยกจากกัน แต่ก็สมพันธ์ซ่ ึ งกันและกัน
                                                                                 ั
แต่ละส่ วนจะประกอบไปด้วย วิธีการในการอธิ บายและแก้ไขความเจ็บป่ วยที่มีลกษณะเฉพาะของตนเอง
                                                                       ั
ตั้งแต่กาหนดว่าใครคือหมอ ใครคือผูป่วย จนถึงแจกแจงขั้นตอนหรื อกระบวนการเยียวยารักษา
                                 ้

        โลกของสุ ขภาพและความเจ็บป่ วยแบบชาวบ้านบริ เวณที่ใหญ่ท่ีสุดเป็ นที่ซ่ ึ งความเจ็บป่ วยถูกรับรู ้
ตีความ และวินิจฉัย พร้อมกับอาจจะมีกิจกรรมการรักษาเกิดขึ้นเป็ นครั้งแรกด้วยเช่นกัน ทั้งนี้ดวยวิธี การแบบ
                                                                                          ้
ชาวบ้านไม่ใช่แบบวิชาชีพหรื อผูชานาญการ บริ เวณนี้จะประกอบได้ดวยชุดความคิดหลายระดับ เริ่ มจาก
                              ้                              ้
บุคคลในครอบครัวเครื อญาติ กลุ่มเพื่อนบ้านจนถึงชุมชน ครอบครัวจะเป็ นจุดเริ่ มต้นและเป็ นฐานการแก้ไข
ปั ญหาที่สาคัญ เป็ นบริ เวณที่มีทางเลือกในการเยียวยารักษามากมายทั้ง ในแง่วธีการ เทคนิคการรักษา และ
                                                                          ิ
แหล่งรักษา นับตั้งแต่การดูแลรักษาตนเองโดยใช้และไม่ใช้ยา การใช้สมุนไพร การนวด การเป่ า การใช้ไสย
ศาสตร์ การออกกาลังกาย การใช้พิธีกรรม กระทังการใช้ยาและการรักษาแผนปั จจุบน เป็ นต้น
                                          ่                             ั


        คริ สแมน (Chrisman, 1977)(12) ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการแสวงหาการรักษาเพื่อ
สุ ขภาพ (Health-Seeking Process) ใช้อธิบายธรรมชาติความเจ็บป่ วยโดยภาพรวมของบุคคลในสังคม
ชาวบ้าน (Popular Sector) ที่มีระบบวัฒนธรรมย่อยๆ แนวคิดนี้เน้นความเป็ นปั จเจกบุคคลและระบบการ
ดูแลสุ ขภาพต่างๆที่มีอิทธิ พลต่อพฤติกรรมความเจ็บป่ วยเพื่อดูความสัมพันธ์ซ่ ึ งกันและกันของพฤติกรรมกับ
สุ ขภาพ รวมทั้งเงื่อนไขปั จจัยทางสังคมวัฒนธรรมที่มีผลกระทบต่อพฤติกรรม โดยมุ่งหวังที่จะพัฒนาเป็ น
แบบจาลองกระบวนการแสวงหาการรักษา จากมุมมองทางสังคมวัฒนธรรม เพื่อนามาใช้ประโยชน์ใน
บริ การทางการแพทย์และการสาธารณสุ ข
หน้ า | 19



                               แบบจาลองกระบวนการแสวงหาการรักษา


ปัจจัยด้านวัฒนธรรม                    ปัจจัยด้านสังคม        การผสมผสานด้านสังคมวัฒนธรรม



                                        การเปลี่ยนบทบาท




 การให้ความหมาย
  อาการที่ปรากฎ                                            การรักษา             การเข้ารับการรักษา




                                    การขอคาปรึ กษาจากบุคคลทัวไป
                                                            ่


แหล่งที่มา : (Chrisman, 1977)(12)

                                                                 ่
        จากแบบจาลองกระบวนการแสวงหาการรักษาของคริ สแมน อธิ บายได้วา จุดเริ่ มต้นของพฤ ติกรรม
                                              ่
การแสวงหาการรักษา เกิดขึ้นตั้งแต่บุคคลรับรู ้วาอาการและอาการแสดงที่เกิดขึ้น ทาให้สุขภาพตนเบี่ยงเบน
ไปจากมาตรฐานทางวัฒนธรรมปกติในชีวตประจาวัน เมื่อตีความและให้ความหมายอาการ
                                ิ                                                         (Symptom
Definition) นั้นเริ่ มเป็ นกลไกของความเจ็บป่ วยตามระบบความคิด ความเชื่อ สาเหตุของการเกิดโรค ที่ได้
                                                                                       ่
เรี ยนรู ้จากสังคมวัฒนธรรม และการแสวงหาการรักษาจะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ ว ถ้าบุคคลรับรู ้วามีผลกระทบ
มากในแต่ละบุคคล แต่ละโรค การรับรู ้และการแสวงหาจะแตกต่างกัน
หน้ า | 20



      2.2       แนวคิดเกียวกับพฤติกรรมการใช้ บริการสุ ขภาพและความพึงพอใจในการใช้ บริการสุ ขภาพ
                         ่

ความหมาย

        มอร์ส (Morse , 1953) (8) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจคือ ทุกสิ่ งทุกอย่างที่สามารถลดความ
ตึงเครี ยดของบุคคลให้นอยลงได้ และความตึงเครี ยดที่มีมากก็จะทาให้เกิดความไม่พอใจ ซึ่ งความตึงเครี ยดนี้
                      ้
มีผลมาจากความต้องการของมนุษย์ ซึ่ งมนุษย์มีความต้องการมากก็จะเกิดปฏิกิริยาเรี ยกร้อง แต่ถาเมื่อใด
                                                                                         ้
ความต้องการได้รับการตอบสนองก็จะทาให้เกิดความพอใจ
        ริ สเซอร์ (Risser,1975)(14) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจในแง่ของการให้บริ การว่าเป็ นระดับ
ของความสอดคล้องกันระหว่างความคาดหวังกับการรับรู ้ที่แท้จริ งต่อการบริ การของผูใช้บริ การ
                                                                              ้
        และความหมายตามพจนานุกรมทางด้านจิตวิทยา (Chaplin, 1968) (8) ได้ให้ความหมายว่าเป็ น
ความรู ้สึกของผูมารับบริ การต่อสถานบริ การตามประสบการณ์ที่ได้รับจากการเข้าไปติดต่อขอรับบริ การใน
                ้
สถานบริ การนั้นๆ
        ดังนั้นความพึงพอใจ (Satisfaction) จึงมีความหมายคือ ความรู ้สึกทางบวกของบุคคลต่อสิ่ งใดๆที่
เกิดจากความคาดหวังสอดคล้องกับการรับรู ้ที่แท้จริ งต่อสิ่ งนั้นๆ


แนวคิดของพฤติกรรมการใช้ บริการสุ ขภาพและความพึงพอใจในการใช้ บริการสุ ขภาพ

        มัลลินส์ (Mullins, 1954)(15) ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการสร้างความพึงพอใจในบริ การ ดังต่อไปนี้

    1. การให้บริ การที่เสมอภาค (Equitable Service) หมายถึง การให้บริ การประชาชนทุกคนอย่างเท่า
        เทียมกัน ใช้กฎระเบียบและมาตรฐานการให้บริ การเดียวกัน
    2. การให้บริ การทีตรงเวลา (Timely Service) หมายถึง การให้บริ การที่ตรงเวลาโดยเฉพาะอย่างยิง
                                                                                             ่
        บริ การของภาครัฐที่ตองปฏิบติงานให้ตรงเวลา
                            ้     ั
    3. การให้บริ การอย่างพอเพียง (Ample Service) หมายถึง การให้บริ การด้านวัสดุอุปกรณ์ สถานที่ เวลา
        อย่างเพียงพอเหมาะสม นอกจากด้านปริ มาณที่เพียงพอแล้ว บริ การที่ ให้แก่ประชาชนต้องมีคุณภาพ
        ดีดวย
           ้
                                                                                         ่
    4. การให้บริ การอย่างต่อเนื่อง (Continuous Service) หมายถึง การให้บริ การตลอดเวลาไม่วาจะมี
        สภาวะอากาศเช่นใด และดูแลจนกว่าผูป่วยจะหายจากโรค
                                        ้
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์

Contenu connexe

Tendances

การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
softganz
 
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
Tanawat Sudsuk
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
sivapong klongpanich
 
การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค
พัน พัน
 

Tendances (20)

นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCนโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
 
Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
 
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
 
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
 
Utilization management
Utilization managementUtilization management
Utilization management
 
การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค
 
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยาศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
 
Case studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyCase studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policy
 
เนื้อหาบท1
เนื้อหาบท1เนื้อหาบท1
เนื้อหาบท1
 
Thai2009 2
Thai2009 2Thai2009 2
Thai2009 2
 
ธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพ
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartok
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartokสุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartok
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartok
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
 
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทกเภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
 
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชนการพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
 

En vedette

En vedette (7)

K-root and DNSSEC
K-root and DNSSECK-root and DNSSEC
K-root and DNSSEC
 
Benefits of Hosting a DNS Root Server
Benefits of Hosting a DNS Root ServerBenefits of Hosting a DNS Root Server
Benefits of Hosting a DNS Root Server
 
RIPE Labs Operator Tools, Ideas, Analysis
RIPE Labs Operator Tools, Ideas, AnalysisRIPE Labs Operator Tools, Ideas, Analysis
RIPE Labs Operator Tools, Ideas, Analysis
 
k.root-servers.net
k.root-servers.netk.root-servers.net
k.root-servers.net
 
Lte rach configuration and capacity
Lte rach configuration and capacityLte rach configuration and capacity
Lte rach configuration and capacity
 
Overview 5G Architecture Options from Deutsche Telekom
Overview 5G Architecture Options from Deutsche TelekomOverview 5G Architecture Options from Deutsche Telekom
Overview 5G Architecture Options from Deutsche Telekom
 
AT&T View on LTE to 5G Network Migration
AT&T View on LTE to 5G Network Migration AT&T View on LTE to 5G Network Migration
AT&T View on LTE to 5G Network Migration
 

Similaire à โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์

ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
weeraboon wisartsakul
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
Chuchai Sornchumni
 
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
Kruthai Kidsdee
 
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
pluakdeang Hospital
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55
sivapong klongpanich
 
การดูแลแบบบูรณาการ Integrated care
การดูแลแบบบูรณาการ Integrated care การดูแลแบบบูรณาการ Integrated care
การดูแลแบบบูรณาการ Integrated care
maruay songtanin
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
Pisan Chueachatchai
 
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
Raveewin Bannsuan
 

Similaire à โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์ (20)

ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
 
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
 
หมออนามัยVol.6
หมออนามัยVol.6หมออนามัยVol.6
หมออนามัยVol.6
 
Alter medpart2 n
Alter medpart2 n Alter medpart2 n
Alter medpart2 n
 
Communty diagnosis
Communty diagnosisCommunty diagnosis
Communty diagnosis
 
หมออนามัยVol.5
หมออนามัยVol.5หมออนามัยVol.5
หมออนามัยVol.5
 
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
 
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
 
ยุทธศาสตร์วิชาชีพเภสัชกรรมการตลาด
ยุทธศาสตร์วิชาชีพเภสัชกรรมการตลาด ยุทธศาสตร์วิชาชีพเภสัชกรรมการตลาด
ยุทธศาสตร์วิชาชีพเภสัชกรรมการตลาด
 
9816 20607-1-sm
9816 20607-1-sm9816 20607-1-sm
9816 20607-1-sm
 
Theoryorem
TheoryoremTheoryorem
Theoryorem
 
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
 
Patient Centered Care (PCC) in Canada
Patient Centered Care (PCC) in CanadaPatient Centered Care (PCC) in Canada
Patient Centered Care (PCC) in Canada
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55
 
2011 drug system_report
2011 drug system_report2011 drug system_report
2011 drug system_report
 
การดูแลแบบบูรณาการ Integrated care
การดูแลแบบบูรณาการ Integrated care การดูแลแบบบูรณาการ Integrated care
การดูแลแบบบูรณาการ Integrated care
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
 
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
 

Plus de Apichat kon

Plus de Apichat kon (20)

S mbuyer_128
S mbuyer_128S mbuyer_128
S mbuyer_128
 
S mbuyer 123
S mbuyer 123S mbuyer 123
S mbuyer 123
 
S mbuyer 122
S mbuyer 122S mbuyer 122
S mbuyer 122
 
S mbuyer 121
S mbuyer 121S mbuyer 121
S mbuyer 121
 
S mbuyer 125
S mbuyer 125S mbuyer 125
S mbuyer 125
 
S mbuyer 124
S mbuyer 124S mbuyer 124
S mbuyer 124
 
S mbuyer 119
S mbuyer 119S mbuyer 119
S mbuyer 119
 
S mbuyer 118
S mbuyer 118S mbuyer 118
S mbuyer 118
 
S mbuyer 117
S mbuyer 117S mbuyer 117
S mbuyer 117
 
Smbuyer 120
Smbuyer 120Smbuyer 120
Smbuyer 120
 
S mbuyer 116
S mbuyer 116S mbuyer 116
S mbuyer 116
 
S mbuyer 112_113
S mbuyer 112_113S mbuyer 112_113
S mbuyer 112_113
 
S mbuyer 111
S mbuyer 111S mbuyer 111
S mbuyer 111
 
S mbuyer 110
S mbuyer 110S mbuyer 110
S mbuyer 110
 
S mbuyer 109
S mbuyer 109S mbuyer 109
S mbuyer 109
 
S mbuyer 108
S mbuyer 108S mbuyer 108
S mbuyer 108
 
S mbuyer 107
S mbuyer 107S mbuyer 107
S mbuyer 107
 
S mbuyer 106
S mbuyer 106S mbuyer 106
S mbuyer 106
 
S mbuyer 105
S mbuyer 105S mbuyer 105
S mbuyer 105
 
S mbuyer 104
S mbuyer 104S mbuyer 104
S mbuyer 104
 

โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์

  • 1. หน้ า | 1 บทที่ 1 บทนา 1.1 ความสาคัญและทีมาของปัญหา ่ ความเจ็บป่ วยเป็ นปรากฏการณ์ที่ไม่พึงปรารถนาที่เกิดขึ้นกับชีวตของมนุษย์ในทุกสังคม ซึ่งไม่เพียง ิ ่ คุกคามความอยูดีมีสุขของมนุษย์ เท่านั้น แต่ยง มีผลกระทบต่อความมันคง ของประเทศชาติ ทาให้เกิดความ ั ่ สู ญเสี ยทั้งทางด้านเศรษฐกิจ และสังคมด้วย และความเจ็บป่ วยยัง เป็ นปรากฏการณ์ที่ มีความสลับซับซ้อน มี หลายมิติ และเป็ นพลวัต คือเป็ นปรากฏการณ์ทางชีววัฒนธรรม (biocultural phenomenon) ที่มีความแตกต่าง กันในเรื่ องของค่านิยม ความคิด ความเชื่อ และแบบแผนการปฏิบติตน ที่เกี่ยวข้องกับความเจ็บป่ วย ซึ่ งมีการ ั ปรับเปลี่ยนผันแปรไปตามวัฒนธรรมใน แต่ละท้องถิ่น (1) ดังนั้นตั้งแต่ในยุคอดีตจนถึงยุคปั จจุบน มนุษย์ได้ ั เกิดการเรี ยนรู ้และสั่งสมประสบการณ์ในการแสวงหาวิธีการดูแล รักษาสุ ขภาพเพื่อให้พนจากความเจ็บป่ วย ้ จนเกิดเป็ นองค์ความรู ้ รากฐานภูมิปัญญาที่มีความเหมาะสมตามบริ บท ของสังคมและวัฒนธรรมในแต่ละ ท้องถิ่น ทาให้มี ระบบของการดูแลสุ ขภาพและ ความเจ็บป่ วย ที่หลากหลา ยรู ปแบบตั้งแต่รูปแบบ ที่ง่ายไป จนถึงรู ปแบบที่มีความซับซ้อน และในแต่ละสังคมย่อมมีระบบการแพทย์ที่มากกว่าหนึ่งระบบดารงอยูเ่ สมอ ไม่ว่าสังคมนั้นจะเป็ นสังคมสมัยใหม่ที่มีความเจริ ญก้าวหน้าทาง ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เป็ นอย่าง มาก หรื อสังคมนั้นจะเป็ นสังคม ดั้งเดิมที่ห่างไกลจากความทันสมัยก็ตาม (Kleinman 1980, Helman 1985: 42-64) (1) เพราะ ไม่มีระบบการแพทย์ระบบใดระบบ เดียวที่จะมีความส มบูรณ์แบบในการ ตอบสนองต่อ ปั ญหาที่เกิดจากความเจ็บป่ วยได้อย่างบริ บูรณ์ ครอบคลุม ในทุกมิติ และ เหมาะสมกับความแตกต่าง ่ หลากหลายของผูคนที่มีอยูในสังคมแต่ละสังคมได้(1) ้ ่ ระบบการแพทย์ที่ดารงอยูในทุกสังคมล้วนมีความหลากหลายซึ่ งแสดงให้เห็นถึงลักษณะความเป็ น พหุลกษณ์ทางการแพทย์ (pluralistic medicine system) อันเป็ นผลจากความแตกต่างทางภูมิประเทศ สภาพ ั สังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การนับถือศาสนา ตลอดจนพัฒนาการขององค์ความรู้ดานการแพทย์ ในการดูแล ้ รักษาความเจ็บป่ วย(2) ภายใต้สภาวะพหุลกษณ์ทางการแพทย์น้ ี จะ เห็นถึงระบบการดูแลสุ ขภาพ 3 ภาคส่ วน ั ที่เข้ามาเกี่ยวข้องและทับซ้อนกัน ได้แก่ ภาคประชาชน (popular sector) ภาคพื้นบ้าน (folk sector) และภาค
  • 2. หน้ า | 2 วิชาชีพ (professional sector) ซึ่ งระบบการดูแลสุ ขภาพทั้งสามภาคส่ วนนี้มีแนวคิดที่วา ปั จเจกและกลุ่มคน ่ ต่างๆ ในแต่ละภาคส่ วนมี การตอบสนองต่อความเจ็บป่ วยที่แตกต่างกันได้ คือการมีความเชื่อเกี่ยวกับความ เจ็บป่ วยที่แตกต่างกัน ก็ทาให้มีการสร้างกลวิธีและเกณฑ์ในการตัดสิ นใจในการรักษาความเจ็บป่ วยนั้น แตกต่างกันไปด้วย ทาให้เกิดความหลากหลายในการแสวงหาทางเลือกในการรักษาความเจ็บป่ วย (3) ซึ่ง การแพทย์แผนไทยก็เป็ นหนึ่งในระบบการดูแลสุ ขภาพภาคพื้นบ้าน(folk sector) ที่ได้มีการพัฒนาองค์ความรู้ และหลักในการบาบัดรักษาความเจ็บป่ วย จนเกิดเป็ นทฤษฎีการแพทย์แผนไทย ที่อธิบายสมุฏฐานของความ เจ็บป่ วยทั้งหลายว่าเกิดจากความวิปริ ตแปรปรวนหรื อเสี ยสมดุลของธาตุท้ งสี่ คือ ดิน น้ า ลม และไฟ ที่ ั ประกอบขึ้นมาเป็ นร่ างกายของมนุษย์โดยมีปัจจัยอื่น ๆ ได้แก่ ฤดู อายุ กาลเวลา ถิ่นที่อยู่ พฤติกรรมทางกาย สภาพจิตใจ และอาหาร เข้ามาเกี่ยวข้อง หลักการบาบัดรักษาความเจ็บป่ วยจึงมุ่งไปที่การแก้ไขสมุฏฐานและ ปั จจัยดังกล่าว เพื่อให้ธาตุท้ งสี่ กลับคืนสู่ สภาพสมดุล โดยการใช้ยาตารับซึ่งปรุ งจากสมุนไพร การนวดตาม ั เส้นประสาท การประคบ การอบสมุนไพร การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การงดอาหารแสลง การอดอาหาร เป็ นต้น (2) และเมื่อ องค์การอนามัยโลก ได้พยายามผลักดันให้ประเทศสมาชิ กผสมผสานการดูแลสุ ขภาพภาค วิชาชีพกับการดูแลสุ ขภาพภาคพื้นบ้าน เข้าด้วยกัน ตั้งแต่ปี 2520 และมีคาประกาศ Alma Ata ที่ประเทศ สหภาพโซเวียตเมื่อปี พ .ศ. 2521 ที่ให้เน้นงานด้านสาธารณสุ ขมูลฐานและสนับสนุนให้นาการแพทย์แผน โบราณมาใช้ในงานสาธารณสุ ขมูลฐานโดยการผสมผสานกับการแพทย์แผนปั จจุบน แนวนโยบายดังกล่าว ั ทาให้รัฐบาลไทยหันกลับมาสนใจศึกษาและพัฒนาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรไทยเพิมมากขึ้น ซึ่งในปี ่ พ.ศ. 2522 มีการเริ่ มนโยบายสาธารณสุ ขมูลฐานอย่ างเป็ นทางการ โดยเพิ่มโครงการ สาธารณสุ ขมูลฐานเข้า ไปในแผนพัฒนาการสาธารณสุ ขในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520-2524) และในช่วงแผนพัฒนาสาธารณสุ ขแห่งชาติฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525 -2529) นั้นได้ให้ความสาคัญกับการ ส่ งเสริ มให้มีการใช้สมุนไพร มีการสนับสนุน การจัดทาระบบข้อมูลส มุนไพร การเผยแพร่ ความรู ้และ ส่ งเสริ มให้เกิดการใช้สมุนไพร และยังได้นาการแพทย์แผนไทยมาให้บริ การในโรงพยาบาลอย่างครบวงจร อีกด้วย โดยในปี พ.ศ. 2530 ได้กาหนดให้มีการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ซึ่งนาไปสู่ งานบริ การทางการแพทย์ แก่โรงพยาบาลของรัฐและเอกชน และในปี พ.ศ. 2532 ได้มีการจัดตั้งศูนย์ประสานงานการพัฒนาการแพทย์ แผนไทยและเภสัชกรรมไทย เพื่อทาหน้าที่ให้การสนับสนุนและประสานการพัฒนาการแพทย์แผนไทยและ สมุนไพรให้เป็ นไปในทิศทางที่ถูกต้องและมีประสิ ทธิภาพ ในปี พ.ศ.2535 รัฐบาลได้แสดงเจตจานงในการ ส่ งเสริ มการพัฒนาการแพทย์แผนไทย โดยให้มีการผสมผสานการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรเข้ากับระบบ
  • 3. หน้ า | 3 บริ การสาธารณสุ ขของชุมชน รวมทั้ง ได้จดตั้งสถานบันการแพทย์แผนไทยขึ้น ั อีกด้วย และ ในช่วง แผนพัฒนาสาธารณสุ ขแห่งชาติฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540-2544) ได้มีการสนับสนุนให้มีการเพิ่มการใช้แพทย์ แผนไทย เพื่อลดการใช้ยาที่ฟุ่มเฟื อย สนับสนุนการรักษาแบบ แพทย์แผนไทยเข้ากับระบบการสาธารณสุ ข ของประเทศ รวมทั้งมีนโยบายในการพัฒนาการวิจย การอบรมแพทย์แผนไทยอย่างเป็ นทางการ (4) ทาให้ใน ั ปั จจุบนนี้ การแพทย์แผนไทยถูกพัฒนาและผสมผสานเข้าสู่ ระบบบริ การสาธารณสุ ขเพิ่มมากขึ้น โดย จะเห็น ั ได้จากจานวนของสถานบริ การด้านสุ ขภาพ ในหลายระดับทั้งภาครัฐและเอกชน ที่นาการแพทย์แผนไทยเข้า มาให้บริ การดังนี้คือสถานบริ การภาครัฐมีจานวน 1,460 แห่งและสถานบริ การภาคเอกชน มีจานวน 534 แห่ง (4) และจากการรายงานการศึกษาของสานักนโยบายและแผนสาธารณสุ ข (พ.ศ. 2540 - พ.ศ.2546)(5) ที่มี ข้อมูลดังตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 1 แสดงจานวนโรงพยาบาลทัวไป/ศูนย์ ที่มีการให้บริ การการแพทย์ทางเลือก ่ จานวน รพ.ที่ตอบ จานวน รพ.ที่มีการดาเนินงาน จานวน รพ.ที่ส่ง ปี สารวจ แบบสอบถามกลับ การแพทย์ทางเลือก แบบสอบถามไป (แห่ง) (แห่ง/ร้อยละ) (แห่ง/ร้อยละ) 2540 93 53 (56.99%) 13 (13.98%) 2546 92 63 (68.48%) 48 (52.17%) หมายเหตุ ไม่รวมการให้บริ การการแพทย์แผนไทยในการศึกษา และผูสรุ ปนาเสนอข้อมูลภายใต้ ้ สมมุติฐานว่าผูที่ไม่ตอบแบบสอบถามถือว่าไม่มีการดาเนินงานด้านการแพทย์ทางเลือก ้ ่ จะเห็นได้วาจานวนโรงพยาบาลทัวไป /ศูนย์ ที่มีการให้บริ การการแพทย์ทางเลือกมีการดาเนิ นงาน ่ ด้านการแพทย์ทางเลือกสู งขึ้น อย่างชัดเจน จากร้อยละ 13.98 ในปี พ.ศ. 2540 เป็ นร้อยละ 52.17 ในปี พ.ศ. 2546 ซึ่งคิดเพิ่มเป็ นประมาณ 3.73 เท่า(5) สถิติดงกล่าวนี้แสดงให้เห็นถึงการขยายตัวของการแพทย์แผนไทย ั และการผสมผสานการแพทย์แผนไทยเข้าสู่ ระบบบริ การสาธารณสุ ขที่มีความชัดเจนเพิมมากขึ้น่ ปรากฏการณ์ ดังกล่าวจึง เป็ น ที่น่า สนใจที่จะศึกษาว่า ผูที่เลือกใช้บริ การทางการแพทย์ แผนไทย ้ ประยุกต์น้ น มีคุณลักษณะทางประชากร และ มีความคิดเห็นเกี่ยวกับลักษณะความเจ็บป่ วยและอธิ บายความ ั เจ็บป่ วยตามการรับรู้ของตนเองอย่างไร มีปัจจัยใดบ้างที่มีความเกี่ยวข้องและความสัมพันธ์กบ ความพึงพอใจ ั ในการใช้บริ การการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ซึ่งการได้ทราบถึงลักษณะปัจจัย ดังกล่าวของผูที่มาใช้บริ การ ้ การแพทย์แผ นไทยประยุกต์ จะเป็ นแนวทาง ให้บุคลากรที่ปฏิบติหน้าที่นาไปใช้ในการปรับปรุ งบริ การให้ ั
  • 4. หน้ า | 4 ตรงกับกลุ่มเป้ าหมายได้ ดียงขึ้น สามารถแก้ไขหรื อลดปั ญหาของ ประชาชนผูที่มารับบริ การได้ และทาให้ ิ่ ้ ทราบถึงรู ปแบบบริ การที่ถูกต้องเหมาะสมที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน เป็ นประโยชน์ในการ กาหนดนโยบายและวางแผนการบริ หารงานด้านงบประมาณ การจัดสรรบุคลากรให้เหมาะสมกับรู ปแบบ ของบริ การที่ประชาชนต้องการ 1.2 วัตถุประสงค์ 1.2.1 วัตถุประสงค์ทวไป ั่ ั เพื่อศึกษาปั จจัยที่มีความสัมพันธ์กบความพึงพอใจในการใช้บริ การการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ของผูป่วยที่มารับบริ การ ้ 1.2.2 วัตถุประสงค์เฉพาะ 1. เพื่อศึกษาการวางแผนการรักษา ประสบการณ์ร่วมของเครื อข่ายสังคม ประสบการณ์ จาก การรักษา และความล้มเหลวจากการรักษาในระบบการแพทย์ระบบใดระบบหนึ่งของ ผูป่วยที่เข้ามารับบริ การการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ้ 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัย นากับความพึงพอใจใน การใช้บริ การการแพทย์แผน ไทยประยุกต์ของผูป่วยที่มารับบริ การ ้ 3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปั จจัยเอื้อกับความพึงพอใจในการใช้บริ การการแพทย์แผน ไทยประยุกต์ของผูป่วยที่มารับบริ การ ้ 4. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปั จจัยเสริ มกับความพึงพอใจในการใช้บริ การการแพทย์ แผนไทยประยุกต์ของผูป่วยที่มารับบริ การ ้ 1.3 สมมติฐาน 1. ปัจจัยนา มีความสัมพันธ์เชิงบวกที่ ทาให้ ผป่วยเกิด ความพึงพอใจในการใช้บริ การการแพทย์แผน ู้ ไทยประยุกต์ 2. ปั จจัยเอื้อ มีความสัมพันธ์เชิงบวกที่ทาให้ผป่วยมีความพึงพอใจในการใช้บริ การการแพทย์แผนไทย ู้ ประยุกต์
  • 5. หน้ า | 5 3. ปัจจัยเสริ ม มีความสัมพันธ์เชิงบวกที่ ทาให้ ผป่วยมีความพึงพอใจในการใช้บริ การการแพทย์แผน ู้ ไทยประยุกต์ 1.4 นิยามศัพท์ การแพทย์แผนไทย หมายถึง ปรัชญา องค์ความรู้ และวิถีปฏิบติ เพื่อการดูแลสุ ขภาพ และการ ั บาบัดรักษาโรค ความเจ็บป่ วยของคนไทย แบบดั้งเดิม สอดคล้องกับขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมไทย และวิถี ชีวตคนไทย โดยวิธีการปฏิบติของการแพทย์แผนไทย ประกอบด้วยการใช้สมุนไพร หัตถบาบัด การรักษา ิ ั กระดูกแบบดั้งเดิม การใช้พทธศาสนา หรื อพิธีกรรม เพื่อดูแลรักษาสุ ขภาพจิต ธรรมชาติบาบัด ซึ่ งได้จาก ุ การสั่งสม ถ่ายทอดประสบการณ์อย่างเป็ นระบบ โดยการบอกเล่า การสังเกต การบันทึก และการศึกษาผ่าน สถาบันการศึกษาด้านการแพทย์แผนไทย (6) การแพทย์แผนไทยประยุกต์ (Applied Thai Traditional Medicine) หมายถึง ระบบการดูและรักษา สุ ขภาพโดยนาหลักการของแพทย์แผนไทยเดิมมาผสมผสานกับหลักการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อที่จะเข้าใจ รู ปลักษณะและกลไกการทา งานของร่ างกาย การบริ หารยา กลไกการเกิดโรคและการหายจากโรคตลอดจน การป้ องกันโรค รู ้จกการใช้วธีทางวิทยาศาสตร์ ช่วยในการวินิจฉัยโรคเพื่อความแม่นยา และใช้ในการวิจย ั ิ ั เพื่อเพิ่มพูนความรู ้ ส่ วนวิธีการรรักษาโรคจะใช้ยาสมุนไพร ธรรมชาติบาบัด หัตถเวช และการนวดกดจุด รักษาโรค(7) ่ ปั จจัยนา หมายถึง ปั จจัยที่มีอยูในตัวของบุคคลที่มีผลใน การสนับสนุนหรื อยับยั้งให้มีการแสดง พฤติกรรมความพึงพอใจต่อการใช้บริ การแพทย์แผนไทยประยุกต์ ซึ่ งประกอบด้วย คุณลักษณะทาง ประชากร ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรค ความเชื่อเกี่ยวกับผลของการรักษา การรับรู้ถึง ความ รุ นแรงของอาการเจ็บป่ วย ระยะเวลาของการเจ็บป่ วย และภาวะแทรกซ้อน คุณลักษณะทางประชากร หมายถึง คุณสมบัติทางกาย ได้แก่ เพศ อายุ เป็ นต้น ทางสังคม ได้แก่ ศาสนา สถานภาพสมรส เป็ นต้น และทางเศรษฐกิจ ได้แก่ รายได้ อาชีพ ระดับการศึกษา เป็ นต้น ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรค หมายถึง ความเชื่อส่ วนบุคคลเกี่ยวกั บสาเหตุของการเกิด โรคว่า โรคหรื ออาการเจ็บป่ วยนั้นเกิดจากสาเหตุที่เหนือธรรมชาติ หรื อ เป็ นไป ตามปรากฎการณ์ทาง ธรรมชาติ
  • 6. หน้ า | 6 ความเชื่อเกี่ยวกับผลของการรักษา หมายถึง ความเชื่อส่ วนบุคคลเกี่ยวกับผลของการรักษาด้วย ่ การแพทย์แผนไทยประยุกต์วาสามารถรักษาโรคหรื ออาการเจ็บป่ วยให้หายขาด ทุเลาหรื อผ่อนคลายความ ทุกข์ทรมานจากอาการที่เจ็บป่ วยหรื อโรคได้ การรับรู้ถึงความรุ นแรงของความเจ็บป่ วย หมายถึ ง การตีความอาการผิดปกติจากการรับรู้ขอมูล ้ ประสบการณ์ แล้วนามาประเมินค่าความสาคัญของการเจ็บป่ วยด้วยตัวของผูป่วยเอง ้ ระยะเวลาของการเจ็บป่ วย หมายถึง ระยะเวลาตั้งแต่ผป่วยรับรู ้ถึงอาการเจ็บป่ วยจนกระทังถึงการมา ู้ ่ รับบริ การการรักษาอาการเจ็บป่ วยที่สถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ภาวะแทรกซ้อน หมายถึง ภาวะของการเกิดอาการผิดปกติอื่นๆ นอกเหนือจากการรับรู ้อาการใน ตอนแรก จนต้องมีการเปลี่ยนแนวทางการรักษาใหม่ ปั จจัยเอื้อ หมายถึง ปั จจัยที่เป็ นแหล่งทรัพยาที่จาเป็ นในการแสดงพฤติกรรมความพึงพอใจต่อการ ใช้บริ การแพทย์แผนไทยประยุกต์ของบุค คล ซึ่งประกอบด้วย ความพอเพียงของบริ การ ค่าใช้จ่ายในการ บริ การ คุณภาพของการบริ การ บุคลากรผูให้บริ การ ระยะเวลาในการเดินทาง และความสะดวกในการ ้ เดินทาง ความพอเพียงของบริ การ หมายถึงความพอเพียงในด้านบุคลากร ที่ปฏิบติหน้าที่ เครื่ องมือหรื อ ั ั ้ อุปกรณ์ที่ใช้ในการบริ การอาการเจ็บป่ วยให้กบผูป่วยของสถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ค่าใช้จ่ายในการรับบริ การ หมายถึง ความคิดเห็นของบุค คลเกี่ยวกับค่าใช้จายทั้งหมดในการมารับ ่ บริ การรักษาอาการเจ็บป่ วยหรื อการส่ งเสริ มสุ ขภาพที่สถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์(8) คุณภาพของการบริ การ หมายถึง ความคิดเห็นของบุคคลเกี่ยวกับมาตร ฐานในด้านการบริ การ การแพทย์แผนไทยในเรื่ องของระยะเวลาในการรอคอยเพื่อเข้ารับบริ การ ระยะเวลาในการเข้ารับบริ การ ความสะอาดและความเป็ นระเบียบของสถานที่ให้บริ การ การให้บริ การที่ตรงกับความต้องการและผลของ การรักษาในเบื้องต้นของผูป่วยที่รับบริ การการบาบัดรักษา เป็ นต้น ้ บุคลากรผูให้บริ การ หมายถึง ความคิดเห็นของบุคคลเกี่ยวกับบุคลากร เจ้าหน้าที่หรื อแพทย์ผู ้ ้ ให้บริ การด้านการแพทย์แผนไทยในเรื่ องของการเอาใจใส่ ผรับบริ การ การอธิ บายและการปฏิบติตวใน ู้ ั ั กระบวนของการรักษา การพูดจา และความสุ ภาพอ่อนโยน เป็ นต้น
  • 7. หน้ า | 7 ระยะเวลาในการเดินทาง หมา ยถึง เวลาที่ใช้ในการเดินทางทางที่พกอาศัยของผู้ ป่ วยที่ มารับบริ การ ั ถึงสถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์ คิดเป็ นนาที (8) ความสะดวกในการเดินทาง หมายถึง การรับรู ้ของบุคคลเกี่ยวกับการเดินทางเพื่อมารับบริ การ โดย พิจารณาจากความสามารถที่จะไปถึงสถานการณ์แพทย์แผนไทยประยุกต์ได้สะดวก โดยคานึงถึงลักษณะ ที่ต้ งและการเดินทาง(8) ั ปั จจัยเสริ ม หมายถึง ปั จจัยที่บุคคลได้รับจากบุคคลอื่นและอิทธิ พลต่อพฤติกรรมความพึงพอใจใน การใช้บริ การการแพทย์แผนไทยประยุก ต์ของบุคคลนั้น ประกอบด้วย การ รับ รู้ ขอมูลข่าวสาร และ ้ ประสบการณ์ร่วมของเครื อข่ายสังคม การรับรู ้ขอมูลข่าวสาร หมายถึง การรับรู ้ที่เกิดขึ้นในตัวผูมารับบริ การที่สถานการแพทย์ ้ ้ แผนไทยประยุกต์ ที่มีสาเหตุมาจากการกระตุนของสิ่ งเร้าภายนอกซึ่ งได้แก่ ข่าวสารต่าง ๆ จากโทรทัศน์ ้ สิ่ งพิมพ์เผยแพร่ (โปสเตอร์ เอกสาร แผ่นผับ ) และจากบุคคลในครอบครัวหรื อจากบุคคลอื่น เช่น เพื่อนบ้าน เพื่อนร่ วมงาน เป็ นต้น (9) ประสบการณ์ร่วมของเครื อข่ายสังคม หมายถึง การมีส่วนร่ วมของบุคลในครอบครัว เครื อญาติ หรื อ กลุ่มเพื่อน ในการประเมินร่ วมกันว่าอาการรุ นแรงมากน้อยเพียงใด ป่ วยเป็ นโรคอะไร และช่วยกันตัดสิ นใจ เลือกวิธีการรักษาอาการเจ็บป่ วยที่มีประสิ ทธิ ภาพร่ วมกัน ในทการวิจยครั้งนี้เป็ นการตัดสิ นใจเพื่อทาการ ั รักษาด้วยการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ความพึงพอใจในการใช้บริ การ หมายถึง ความรู้สึก หรื อความคิดเห็นในทางบวกของผูมารับบริ การ ้ ที่มีต่อการมารับบริ การที่สถานการณ์แพทย์แผนไทยประยุกต์ โดยพิจารณาจากคุณภาพบริ การ ค่าใช้จ่าย ความสะดวกในบริ การที่ได้รับ และพฤติกรรมและการให้ขอมูลของผูให้บริ การ (8) ้ ้ การวางแผนการรักษา หมายถึง แนวทางที่ผป่วยเลือกที่จะให้ตนเองหายจากการเจ็บป่ วย ซึ่ งขึ้นอยู่ ู้ กับการเรี ยนรู ้ ประสบการณ์ความเจ็บป่ วยในอดีต ประเพณี วฒนธรรม และการรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับจาก ั แนวทางหรื อวิธีการรักษานั้น ประสบการณ์ จากการรักษาด้วยระบบอื่น หมายถึง การแสวงหาแนวทางการรักษาอาการเจ็บป่ วย ของผูป่วยในระบบการแพทย์ระบบอื่น ก่อนที่จะมารับบริ การรักษาในระบบการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ้
  • 8. หน้ า | 8 ความล้มเหลวจากการรักษาในระบบใดระบบหนึ่ง หมายถึง ความรู้สึกผิดหวังของผูป่วยหลังจากที่ ้ เข้ารับบริ การการรักษาในระบบการแพทย์ระบบใดระบบหนึ่ง ซึ่ งรวมถึงการไม่หายขาดจากการเจ็บป่ วย หรื อการรักษาที่ไม่ได้ผล 1.5 ขอบเขตของการศึกษา การศึกษานี้เป็ นการศึกษาการใช้บริ การ ทางการแพทย์ของผู้ ป่วยที่มารับบริ การการแพทย์แผนไทย ประยุกต์ โดยศึกษาผูป่วยมารับบริ การรักษาที่สถานการแพทย์แผนไทย ประยุกต์ และศึกษาเฉพาะผูป่วยที่มา ้ ้ รับบริ การในกลุ่มโรคปวดกล้ามเนื้อ ข้อและกระดูกเท่านั้น 1.6 ข้ อตกลงเบืองต้ น ้ การศึกษาในครั้งนี้เป็ นการศึกษาในกลุ่มของผูป่วยที่มารับบริ การรักษาด้วยโรคปวดกล้ามเนื้อ โรค ้ เกี่ยวกับข้อ หรื อโรคเกี่ยวกับกระดูก อย่างใดอย่างหนึ่งหรื อมากกว่าหนึ่งอย่างก็ได้ 1.7 ข้ อจากัดในการศึกษา การศึกษาในครั้งนี้เป็ นการใช้แบบสอบถามกับผูป่วยที่มารับบริ การ ซึ่ งในแบบสอบถามอาจมี ้ คาถามหรื อข้อความที่ทาให้ผป่วยไม่อยากตอบหรื อแสดงความคิดเห็น ดังนั้นจึงตอบคาถามไม่ครบทุกข้อ ู้ ซึ่งอาจทาให้ได้รับข้อมูลไม่ครบถ้วนสมบูรณ์
  • 9. หน้ า | 9 1.8 ตัวแปรทีใช้ ในการศึกษา ่ 1.8.1 ตัวแปรอิสระ (Independent Variables) ได้แก่ 1.8.1.1 ปัจจัยนา - คุณลักษณะทางประชากร - ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรค - ความเชื่อเกี่ยวกับผลของการรักษา - ความรุ นแรงของอาการเจ็บป่ วย - ระยะเวลาของการเจ็บป่ วย - ภาวะแทรกซ้อน 1.8.1.2 ปั จจัยเอื้อ - ความพอเพียงของบริ การ - ค่าใช้จ่ายในการบริ การ - คุณภาพของการบริ การ - บุคลากรผูให้บริ การ ้ - ระยะเวลาในการเดินทาง - ความสะดวกในการเดินทาง 1.8.1.3 ปัจจัยเสริ ม - การได้รับข้อมูลข่าวสาร - ประสบการณ์ร่วมของเครื อข่ายสังคม 1.8.2 ตัวแปรตาม (Dependent Variables) คือ ความพึงพอใจใน การใช้บริ การการแพทย์แผนไทย ประยุกต์
  • 10. หน้ า | 10 1.9 กรอบแนวคิดในการศึกษา ตัวแปรอิสระ 1.10 ปั จจัยนา ปั จจัยเอื ้อ ปั จจัยเสริ ม 1.11 1. คุณลักษณะทางประชากร 1. ความพอเพียงของบริ การ 1. การได้ รับข้ อมูลข่าวสาร 2. ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการ 2. ค่าใช้ จ่ายในการบริ การ 2. ประสบการณ์ร่วมของเครื อข่าย เกิดโรค 3. คุณภาพของการบริ การ สังคม 3. ความเชื่อเกี่ยวกับผลของการ 4. บุคลากรผู้ให้ บริ การ รักษา 5. ระยะเวลาในการเดินทาง 4. ความรุนแรงของอาการเจ็บป่ วย 6. ความสะดวกในการเดินทาง 5. ระยะเวลาของการเจ็บป่ วย 6. ภาวะแทรกซ้ อน ตัวแปรตาม ความพึงพอใจในการใช้ บริการ การแพทย์แผนไทยประยุกต์
  • 11. หน้ า | 11 บทที่ 2 ทบทวนเอกสารและงานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง ่ 2. แนวคิดทฤษฎีทใช้ ในการศึกษา ี่ 2.1 แนวคิดเกียวกับพฤติกรรมความเจ็บป่ วยและการแสวงหาการรักษา ่ ความหมาย เมคานิค (Mechanic , 1963)(10) ได้ให้ความหมายของพฤติกรรมความเจ็บป่ วยคือ ลักษณะอาการ ของบุคคลที่สามารถรับรู้ ประเมินและ ปฏิบติ ต่ออาการแสด งที่มีอยูน้ น คือ อาการ เจ็บป่ วย ความไม่สบาย ั ่ ั หรื อมีความบกพร่ องในกลไกหน้าที่การทางานของร่ างกาย เป็ นต้น พฤติกรรมความเจ็บป่ วยอาจเกิดขึ้นกับ บุคคลใดบุคคลหนึ่งโดยไม่จาเป็ นว่าจะต้องเป็ นผูป่วยก็ได้ ซึ่ งเป็ นการกระทาอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้ ้ ร่ างกายกลับสู่ สภาวะเดิมข องตน เมื่อบุคคลเกิดความรู ้สึกเจ็บป่ วยขึ้นมาด้วยอาการผิดปกติ เขาจะมี พฤติกรรมที่ตอบสนองต่อความเจ็บป่ วยนั้นๆด้วยวิธีการต่างๆที่ได้เรี ยนรู ้จากประสบการณ์ของแต่ละบุคคล และวัฒนธรรมที่มีความแตกต่างกัน แนวคิดของพฤติกรรมความเจ็บป่ วยและการแสวงหาการรักษา ่ แฟบรี กา (Febrega, 1973 )(8) ได้อธิบายกระบวนการเกิดพฤติกรรมความเจ็บป่ วยไว้วา เป็ นการ เริ่ มต้นจากขั้นตอนของการรับรู ้ถึงความเจ็บป่ วย (illness recognition and labeling) ด้วยการตีความอาการ ผิดปกติจากข้อมูล ประสบการณ์ หรื อการรับรู ้ขอมูล จากบุคคลรอบข้าง แล้วนามาตีค่าประเมินถึง ้ ความสาคัญของการเจ็บป่ วยด้วยตนเอง (illness disvalues) หากมีความสาคัญก็จะพิจารณานามาวางแผนการ รักษา (Consideration of treatment plans) ซึ่ งเชื่อว่าบุคคลจะมีทางเลือกให้หายจากการเจ็บป่ วยหลายทาง ่ ั ด้วยกัน ซึ่ งขึ้นอยูกบการเรี ยนรู ้ และประสบการณ์ความเจ็บป่ วยในอดีต ตลอดจนประเพณี วฒนธรรมแล ะมี ั การประมาณความเป็ นไปได้ในประสิ ทธิภาพของการรักษาตามประสบการณ์ในอดีต (Assessment of treatment plans) จากนั้นจึงประมวลประโยชน์ของการรักษา (Computation of treatment benefits) ว่าจะ
  • 12. หน้ า | 12 สามารถรักษาความเจ็บป่ วยได้ดีกว่าวิธีอื่นหรื อไม่ ก่อนประเมินค่าความเจ็บป่ วย (Disvalues of illness) ได้แก่ ค่าใช้จ่ายต่างๆ รวมทั้งค่าเสี ยเวลาของบุคคลนั้นด้วย แล้วพิจารณาผลสิ ทธิ ของประโยชน์ที่ได้รับ (Net Benefits or Utility) คือเปรี ยบเทียบผลดีของการรักษามีมากกว่าค่าใช้จ่าย หรื อมีประโยชน์สูงสุ ด ค่าใช้จ่าย น้อยที่สุด ทาให้บุคคลนั้นเลือกวิ ธีการรักษา (Selection of Treatment Plan) แต่ในขั้นตอนสุ ดท้ายเมื่อบุคคล นั้นได้รับข้อมูลในทางเลือกวิธีการรักษาใหม่ หรื อประเมินผลการรักษาว่าไม่ได้ผลก็จะกาหนดวิธีการหรื อ วงจรความเจ็บป่ วยใหม่ (Set Up for Recycling) เพื่อการรักษาที่เหมาะสม หรื อหากมีการเกิดความเจ็ บป่ วย ด้วยโรคใหม่ หรื อภาวะแทรกซ้อนก็จะเข้าสู่ ข้ นตอนแรกเป็ นวงจรใหม่ต่อไป ดังแสดงในรู ปดังนี้ ั illness recognition illness and labeling disvalues Set Up for Consideration of Recycling treatment plans Selection of Assessment of Treatment Plan treatment plans Computation of Net Benefits or treatment benefits Utility Disvalues of illness แสดงรู ปแบบอธิบายพฤติกรรมความเจ็บป่ วย (H.Fabrega) แหล่งข้อมูล : M.H. Becker, 1990 (10) ไคลน์แมน (Kleinman, 1980)(11) ได้อธิ บายแนวคิดเกี่ยวกับ โรค (Explanatory Model) ไว้วา ่ ระบบการดูแลสุ ขภาพประกอบด้วย 3 องค์ประกอบใหญ่ๆ คือ การให้ความหมายของ โรค การอธิบายสาเหตุ ของโรค และกระบวนการรักษาโรค แนวคิดการอธิบายโรคเป็ นวิธีศึกษากระบวนการเจ็บป่ วยที่ถูกทาให้เป็ น
  • 13. หน้ า | 13 แบบแผน ถูกตีความและถูกรักษา ซึ่งรู ปแบบการอธิบาย (Explanatory Model) จะอธิ บายขั้นตอนของความ ่ เจ็บป่ วย ขั้นตอนของการรักษา ซึ่ งดาเนินโดยบุคคลที่อยูในกระบวนการทางคลินิก ได้แก่ ผูป่วยและผูให้การ ้ ้ รักษา นอกจากนั้น Explanatory Model ยังได้อธิบายความเจ็บป่ วยและการรักษาเพื่อแนะนาทางเลือกใน วิธีการรักษาด้วย ซึ่ง Kleinman ได้อธิ บายขั้นตอนของความเจ็บป่ วยไว้ 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1. สาเหตุของความเจ็บป่ วย (Etiology of the condition) 2. ระยะเวลาและลักษณะอาการเริ่ มต้นของความเจ็บป่ วย (The timing and mode of onset of symptoms) 3. กระบวนการทางพยาธิ สรี รวิทยาแห่งการเกิดโรค (The pathophysiological) 4. ประวัติความเป็ นมาและความรุ นแรงของความเจ็บป่ วย (The natural history and severity of the illness) 5. การรักษาที่เหมาะสมกับอาการหรื อความเจ็บป่ วยนั้นๆ (The appropriate treatments for the condition) แนวคิดนี้ได้ให้ความสาคัญว่า ระบบวัฒนธรรมจะเป็ นตัวกาหนดความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของความ เจ็บป่ วยและวิธีการรักษา ที่ทาให้บุคคลหรื อกลุ่มบุคคลมีความแตกต่างกัน มีการให้ความหมายต่อการ เจ็บป่ วยแต่ละครั้ง และแต่ละโรคแตกต่างกัน ผลก็คือมีพฤติกรรมการจัดการความเจ็บป่ วยแตกต่างกันไป ด้วย นันก็หมายความว่า แบบจาลองการอ ธิบายโรค (Explanatory Model of Diseases) ของบุคคลหนึ่งอาจ ่ ต่างไปจากบุคคลอื่นๆทั้งที่เป็ นโรคชนิดเดียวกัน โดยพฤติกรรมบางส่ วนอาจได้รับอิทธิ พลจากครอบครัว หรื อเครื อข่ายทางสังคม ตลอดจนประสบการณ์ที่ผป่วยประสบด้วยตนเอง หล่อหลอมจนกลายเป็ นแนวคิด ู้ และนาไปสู่ การปฏิบติตนแบบพื้นฐานของระบบคิดนั้น ดังนั้นคนแต่ละกลุ่มแต่ละชาติพนธุ์ก็จะมีการให้ ั ั ความหมายของความเจ็บป่ วยและสุ ขภาพต่างกัน อันเป็ นผลมาจากวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน อลองโซ (Alonzo, 1984) (12) นักสังคมวิทยา ได้อธิ บายเกี่ยวกับพฤติกรรมความเจ็บป่ วยลึกถึง ว่า ่ ทาไมบุคคลจึงรู ้วาจะเลือกแหล่งการรักษา หรื อวิ ธี การรักษาเมื่อมีอาการเช่นนั้นในสถานการณ์ เช่นนั้น โดย อลองโซ (Alonzo) ได้วเิ คราะห์โดยมองจากการปรับตัวต่อสถานการณ์ (Situational - Adaptational ่ Perspective) ภายใต้ความจริ งที่วา ภาวะสุ ขภาพเป็ นส่ วนหนึ่งของชีวตประจาวัน สถานการณ์การปรับตัวใน ิ ชีวตประจาวันเพื่อสุ ขภาพ จึงเป็ นพื้นฐานของการสร้างตัวแบบพฤติก รรมความเจ็บป่ วย เพราะเมื่อมีอาการ ิ
  • 14. หน้ า | 14 ผิดปกติเกิดขึ้น บุคคลใช้ความพยายามทางจิตสังคมปรับตัวต่ออาการนั้น ในลักษณะต่างๆกัน เ ช่ น อดทน เพิกเฉย รักษาดูแลสุ ขภาพด้วยตนเอง หรื อพบแพทย์ โดยขึ้นกับระดับของการรับรู ้ถึงอันตรายหรื อผลเสี ยต่อ ร่ างกาย ซึ่ งเริ่ มต้นจากการสังเกตเห็นว่าอาการนั้นแตกต่างไปจากชีวตประจาวัน อาการนั้นไม่เคยเป็ นมาก่อน ิ อาการนั้นมีผลกระทบต่อครอบครัว การทางาน กิจกรรมทางสังคม อาการนั้นปรากฏสม่าเสมอเมื่อมีเงื่อนไข เดิมเกิดขึ้น อาการนั้นปรากฏแตกต่างไปจากคนอื่น หรื อกระทบต่อสภาพจิตใจ อาการปรากฏนั้นมีความ รุ นแรงเริ่ มมองเห็นสัญลักษณ์ของความเจ็บป่ วยชัดเจน และท้ายสุ ดอาการนั้นอันตรายจาเป็ นต้องพบแพทย์ กระบวนการของการตีความและประเมินอาการเ จ็บป่ วยข้างต้นนี้ อลองโซ (Alonzo) ได้จาแนกพฤติกรรม ความเจ็บป่ วยออกเป็ น 4 ประเภท (13) โดยใช้มิ ติการมองจากการปรับตัวต่อสถานการณ์เป็ นแนวทาง วิเคราะห์ คือ ประเภทที่หนึ่ง บุคคลก้าวเข้าสู่ สถานการณ์เพราะมีอาการผิดปกติข้ ึนมา เช่น เกิดอาการอักเสบทาง ระบบทางเดินหายใจ ปวดศีรษะ มีไข้ เป็ นต้น ภาวะการเกิดอาการเช่นนี้เป็ นพฤติกร รมความเจ็บป่ วย ประจาวัน อาจลดอาการผิดปกติได้โดยการรักษาตนเองเพราะเป็ นความเจ็บป่ วยเล็กๆน้อยๆ จึงยังคงรักษา สถานภาพบทบาททางสังคมได้อย่างปกติ ประเภทที่สอง สถานการณ์ที่เกิดขึ้นมีแนวโน้มที่จะมีลกษณะและอาการของความเจ็บป่ วยมากขึ้น ั ในมิติทางสังคมและจิตวิทยา บ่งชี้ภยอันตรายในปั จจุบนหรื ออนาคต มีการคาดคะเนว่าปรากฏการณ์เช่นนี้จะ ั ั มีผลกระทบต่อความสมบูรณ์ของร่ างกาย จิตใจและสังคม มีความจาเป็ นต้องมีการป้ องกันและรักษา เพราะ สถานการณ์น้ นเริ่ มมีความรุ นแรงมากกว่าประเภทแรก ั ประเภทที่สาม ใช้วถีชีวตทางสังคมบุคคลไม่อาจละเลยโดยไม่สนใจต่อร่ างกายและจิตใจ คว ิ ิ าม พยายามจะออกไปจากสถานการณ์ประจาวัน คือ การรับประทานยา การพักผ่อน ในประเภทนี้บุคคลเริ่ มมี การเปลี่ยนแปลง และพัฒนาไปสู่ ความเจ็บป่ วยมากขึ้น ต้องเอาใจใส่ บารุ งรักษาสุ ข ภาพมากกว่าที่เคยปฏิบติ ั ในชีวตประจาวัน ิ ประเภทที่สี่ เป็ นขั้นที่เรี ยกว่ามีการวินิจฉัยโดยการพบแ พทย์ การใช้วธีทางการแพทย์ เพื่อแก้ไข ิ สถานการณ์น้ น ั นอกจากนี้ อลองโซ (Alonzo) (13) ยังได้ช้ ีให้เห็นว่าพฤติกรรมความเจ็บป่ วยในชีวตประจาวัน ิ สามารถที่จ ะใช้เป็ นพื้นฐานสร้างตัวแบบพฤติกรรมความเจ็บป่ วย โดยการอธิ บายพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับ
  • 15. หน้ า | 15 ปั จจัยทางสังคมวัฒนธรรมและจิตวิทยา เมื่อจุดเริ่ มต้นของความเจ็บป่ วยคืออาการที่ปรากฏ เกิดขึ้นต่อ ร่ างกาย ดังนั้นอาการที่เริ่ มต้นดังกล่าวนี้จะเข้ามารบกวนกิจกรรมปกติของบุคคล จนมี ความรู ้สึกว่าอาการ ดังกล่าวอาจพัฒนาต่อไปจนเป็ นอันตรายต่อร่ างกายมากขึ้น ถ้าบุคคลที่มีอาการที่ปรากฏผิดปกติยงรู ้สึกเฉยๆ ั อาจยังไม่ได้เรี ยกว่า “ป่ วย” เพราะยังไม่ทราบว่าเป็ นอะไร แต่จะเริ่ มชัดเจนขึ้นเมื่อถูกบอกว่าเป็ นโรคหรื อ สัญลักษณ์ของโรคหรื อความเจ็บป่ วยต่างๆ เรี ยกว่า เป็ นอาการของโรค หรื อปรากฏการณ์ของโรค ซึ่ งพอ สรุ ปได้ดงนี้ ั 1. เป็ นสิ่ งที่เห็นได้ หรื อเมื่อพิจารณาอย่างละเอียดแล้ว จะมีความแตกต่างไปจากเดิมหรื อดูแปลกๆจาก ชีวตประจาวัน เช่น สังเกตเห็นรอยบนผิวหนัง อาการคัน ปวด เป็ นต้น ิ 2. มีลกษณะที่รุนแรง ไม่เคยเป็ นมาก่อน เช่น หน้ามืด หมดสติ หัวใจเต้นเร็ ว เป็ นลม เป็ นต้น ั 3. มีผลกระทบต่อครอบครัว การทางานหรื อกิจกรรมทางสังคม เช่น ไม่สามารถทางานได้ มือสัน ไม่มี ่ แรง เป็ นต้น 4. อาการที่สังเกตเห็น ปรากฏแก่บุคคลสม่าเสมอ เช่น จะมีอาการไอ จาม เมื่อเจอฝุ่ นหรื ออากาศมีการ เปลี่ยนแปลง เป็ นต้น 5. อาการปรากฏแตกต่างไปจากบุคคลอื่น 6. อาการที่ปรากฏส่ งผลกระทบต่อจิตใจ เช่น วิตกกังวล 7. หากว่ามีอาการปรากฏที่ไม่รุนแรง จะชะลอการขอคาปรึ กษาจากบุคคลอื่น แต่ถาปรากฏอาการที่ ้ รุ นแรง จะรี บเร่ งสอบถามจากบุคคลอื่น 8. เมื่ออาการที่ปรากฏ แสดงให้เห็นถึงอันตรายที่อาจจะเกิดบุคคล บุคคลนั้นจะเริ่ มแสวงหาการรักษา พาร์สัน (Parson, 1951)(10) ได้อธิ บายว่าประสบการณ์ความเจ็บป่ วยของบุคคลถูกควบคุมโดยปัจจัย ด้านสังคมและวัฒนธรรม ดังนั้นพฤติกรรมของผูป่วยจึงเป็ นผลผลิตและผลสะท้อนที่ได้อิทธิ พลจากความคิด ้ ่ ความเชื่อต่างๆ กล่าวคือ บุคคลจะเรี ยนรู ้วาเมื่อใดที่มีอาการเจ็บป่ วยเกิดขึ้นมา หรื อเริ่ มมีความรู ้สึกผิดปกติ หรื อสู ญเสี ยการทางานของระบบส่ วนใดส่ วนหนึ่ง จะมีผลให้พฤติกรรมของบุคคลนั้นเริ่ มเปลี่ยนแปลง อาจ ปฏิเสธความผิดปกติ รั้งรอ หรื อค้นหาวิธีทางแก้ไขอย่างเหมาะสมเท่าที่จะแสวงหาได้ เพื่อขจัดหรื อลดภาวะ ความเจ็บป่ วย ความไม่สบายทั้งกายและใจ สาหรับความผิดปก ติจะมากหรื อน้อย รุ นแรงหรื อไม่รุนแรง อัน เป็ นความตระหนักและความรู ้ที่ได้รับจากประสบการณ์หรื อไม่ ก็จะมีความต้องการยืนยันและแสวงหาคา
  • 16. หน้ า | 16 ้ ่ รับรองอันถูกต้อง ไปจนถึงขั้นแสวงหาความช่วยเหลือจากผูอื่น ไม่วาจะเป็ นญาติ พี่นอง การซื้ อยามา ้ ่ รับประทานเอง หรื อไปหาบุคลากรทางการแพทย์อื่นๆ จึงกล่าวได้วาการรับรู ้ถึ งความเจ็บป่ วยเป็ นผล ทางอ้อมจากลักษณะทางวัฒนธรรม และมีผลโดยตรงต่อลาดับขั้นในการเลือกรับบริ การสุ ขภาพว่า ควรจะ เลือกใช้บริ การอะไรก่อน ซึ่ งการรับรู ้ถึงความเจ็บป่ วยจะรับรู ้ได้ท้ งลักษณะการเจ็บป่ วยและความรุ นแรงของ ั การเจ็บป่ วย ซัชแมน (Suchman, 1965)(13) นักสังคมวิทยาการแพทย์ ได้เสนอว่า พฤติกรรมความเจ็บป่ วยของ บุคคลใดๆนั้น จะประกอบด้วยพฤติกรรมต่างๆ ดังนี้คือ 1. ขั้นตอนการประสบกับโรคภัย เป็ นการสารวจและวินิจฉัยตนเองว่าป่ วยหรื อไม่ และเมื่อสรุ ปว่าป่ วย ก็จะไปพบแพทย์ เพื่อวินิจฉัยอย่างจริ งจัง 2. ขั้นตอนการยอมรับฐานะการเจ็บป่ วย บุคคลจะยอมรับการวินิจฉัยของแพทย์และเริ่ มต้นรักษา เมื่อมี อาการเจ็บป่ วยที่รุนแรงขึ้น 3. ขั้นตอนการรับการรักษาเยียวยา บุคคลจะร่ วมมือกับแพทย์เพื่อรักษาให้หายและกลับสู่ สภาพปกติ ดังเดิม 4. ขั้นตอนบทบาทผูป่วย เป็ นขั้นตอนที่บุคคลนั้นเป็ นคนไข้ ที่ตองได้รับการช่วยเหลือจากบุคคลอื่น ้ ้ ั ้ ในขั้นตอนนี้จะมีอาจจะเกิดปั ญหาความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์กบผูป่วย ซึ่ งมีผลต่อการรักษา รวมถึงการเปลี่ยนแปลงแหล่งบริ การด้วย 5. ขั้นตอนการหายจากโรคและฟื้ นฟูสมรรถภาพ เป็ นขั้นตอนที่สภาวะความเจ็บป่ วยที่ดาเนินมากลับ สู่ สภาวะที่ไม่มีความเจ็บป่ วย สามารถทากิจกรรมได้ตามปกติ ทุกขั้นตอนของความเจ็บป่ วย ผูป่วยจะได้รับการเกื้อหนุนเพื่อกา รตัดสิ น ใจในการรักษาจากกลุ่ม ้ ญาติและบุคคลที่เกี่ยวข้อง เบญจา ยอดดาเนินและคณะ (2533)(10) พบว่าลักษณะของการเจ็บป่ วยนั้นเป็ นตัวกาหนดการ ตัดสิ นใจไปรับบริ การจากแหล่งต่างๆ และยังเป็ นตัวกาหนดวิธีการรักษาพยาบาลอีกด้วย สอดคล้องกับผล การศึกษาของวไลพรรณ ชลสุ ข (2540) ที่ศึกษากระบวนการแสวงหาบริ การสุ ขภาพของหญิงโรคมะเร็ งปาก
  • 17. หน้ า | 17 มดลูกในกรุ งเทพฯ พบว่าเหตุผลสาคัญในการเลือกแหล่งบริ การสุ ขภาพของผูหญิงโรคมะเร็ งปากมดลูกส่ วน ้ ใหญ่เนื่องจากมีบุคคลแนะนาหรื อพาไป ซึ่ งกลุ่มตัวอย่างได้รับรู ้อาการป่ วยและปรึ กษาบุคคลในเครื อข่ายทาง สังคม ได้แก่ สมาชิกครอบครัว เพื่อน เพื่อนบ้าน ที่ส่วนในการประเมินอาการ ประเมินผลการรักษา รวมถึง การเปลี่ยนแหล่งบริ การสุ ขภาพแห่งใหม่ และกระตุนให้ผป่วยไปรับบริ การ เหตุผลที่เลือกแหล่งบริ การ ้ ู้ สุ ขภาพรองลงมาคือ อาการรุ นแรงมากขึ้นจึงเข้ารับบริ การ ไคลน์แมน (Arthur Kleinman ,1980)(13) ศึกษาเรื่ องแนวคิดของระบบการดูแลสุ ขภาพ ซึ่งได้ อธิ บายว่า “บุคคลใดจะมีวธีการดูแลสุ ขภาพของตนเองอย่างไร จะมีสิ่งต่อไปนี้เป็ นตัวกาหนด คือ แบบแผน ิ ความเชื่อว่าด้วยเห ตุผลแห่งความเจ็บป่ วย บรรทัดฐานที่กาหนดพฤติกรรม กาหนดแนวคิดในการเลือกและ ประเมินผลวิธีการรักษา ระบบความสัมพันธ์ทางสังคมของผูเ้ กี่ยวข้องกับความเจ็บป่ วย ได้แก่บทบาทของ ผูให้การรักษา ผูรับการรักษา และระบบบริ การต่างๆ องค์ประกอบเหล่านี้มีความเกี่ยวพันกันอย่างมีร ะบบ ้ ้ ่ เกิดขึ้นและอยูภายใต้ขอกาหนดทางวัฒนธรรมหรื ออีกนัยหนึ่งความเจ็บป่ วย ้ (illness) การตอบสนองต่อ อาการป่ วย การที่บุคคลเคยมีประสบการณ์และเคยบาบัดรักษาอาการป่ วย ตลอดจนสถาบันทางสังคมที่ เกี่ยวข้องกับการป่ วยนั้นๆ ส่ วนเกี่ยวพันกันเป็ นระบบ” แนวคิดของ Kleinman มีความเห็นว่า การเจ็บป่ วยในความหมายทางการแพทย์พ้ืนบ้าน หมายถึง ปั ญหาการเจ็บป่ วยซึ่ งบุคคลและเครื อข่ายทางสังคมของบุคคล (Social Network) มีประสบการณ์ร่วมกัน เช่น ทุกข์สุขร่ วมกัน วิตกกังวลร่ วมกัน ประเมินร่ วมกันว่าอาการรุ นแรงมากน้อยเพียงใด ป่ วยเป็ นโรคอะไร และช่วยกันตัดสิ นใจเลือกวิธีการรักษาอาการเจ็บป่ วยที่มีประสิ ทธิ ภาพร่ วมกัน ระบบการดูแลสุ ขภาพเป็ นสิ่ งที่รับรู ้ได้ แตกต่างกันตามกลุ่มสังคม ครอ บครัวและในระดับบุคคล Kleinman เชื่อว่าปั จจัยทางสังคมต่างๆ เช่น การศึกษา ความเชื่อทางศาสนา การมีวฒนธรรมย่อย อาชีพ และ ั การต่างกลุ่มสังคม ล้วนมีอิทธิ พลต่อการรับรู ้และพฤติกรรมการจัดการกับปั ญหาความเจ็บป่ วย แม้แต่ภายใน ท้องถิ่นเดียวกัน ก็อาจแตกต่างกันได้ โดยเฉพาะ สามารถมีผลทาให้เกิดการสร้างความจริ งว่าด้วยความ เจ็บป่ วย (Clinical Reality) ที่แตกต่างกันแม้ภายใต้ระบบการดูแลสุ ขภาพระบบเดียวกัน ความจริ งว่าด้วยความเจ็บป่ วย (Clinical Reality) นี้เป็ นผลผลิตของระบบการดูแลรักษาสุ ขภาพทาง หนึ่งก็คือ ด้านความคิด ความเชื่อ ทัศนคติ และบรรทัดฐานว่าด้วยเหตุผลของความเจ็บป่ วย ระบบ
  • 18. หน้ า | 18 ความสัมพันธ์ทางสังคม และกิจกรรมการเยียวยารักษา ซึ่ งมีความสอดคล้องกับระบบการดูแลสุ ขภาพในอีก ทางหนึ่งของ Kleinman ที่ได้เสนอแนวคิดแบบผสมผสานโดยแบ่งระบบการดูแลสุ ขภาพในสังคมหนึ่งๆ ประกอบด้วยส่ วนต่างๆ 3 ส่ วน คือ ส่ วน ของชาวบ้าน (Popular Sector) ส่ วนของวิชาชีพ (Professional Sector) และส่ วนของการแพทย์พ้ืนบ้าน (Folk Sector) ทั้ง 3 ส่ วนนี้แยกจากกัน แต่ก็สมพันธ์ซ่ ึ งกันและกัน ั แต่ละส่ วนจะประกอบไปด้วย วิธีการในการอธิ บายและแก้ไขความเจ็บป่ วยที่มีลกษณะเฉพาะของตนเอง ั ตั้งแต่กาหนดว่าใครคือหมอ ใครคือผูป่วย จนถึงแจกแจงขั้นตอนหรื อกระบวนการเยียวยารักษา ้ โลกของสุ ขภาพและความเจ็บป่ วยแบบชาวบ้านบริ เวณที่ใหญ่ท่ีสุดเป็ นที่ซ่ ึ งความเจ็บป่ วยถูกรับรู ้ ตีความ และวินิจฉัย พร้อมกับอาจจะมีกิจกรรมการรักษาเกิดขึ้นเป็ นครั้งแรกด้วยเช่นกัน ทั้งนี้ดวยวิธี การแบบ ้ ชาวบ้านไม่ใช่แบบวิชาชีพหรื อผูชานาญการ บริ เวณนี้จะประกอบได้ดวยชุดความคิดหลายระดับ เริ่ มจาก ้ ้ บุคคลในครอบครัวเครื อญาติ กลุ่มเพื่อนบ้านจนถึงชุมชน ครอบครัวจะเป็ นจุดเริ่ มต้นและเป็ นฐานการแก้ไข ปั ญหาที่สาคัญ เป็ นบริ เวณที่มีทางเลือกในการเยียวยารักษามากมายทั้ง ในแง่วธีการ เทคนิคการรักษา และ ิ แหล่งรักษา นับตั้งแต่การดูแลรักษาตนเองโดยใช้และไม่ใช้ยา การใช้สมุนไพร การนวด การเป่ า การใช้ไสย ศาสตร์ การออกกาลังกาย การใช้พิธีกรรม กระทังการใช้ยาและการรักษาแผนปั จจุบน เป็ นต้น ่ ั คริ สแมน (Chrisman, 1977)(12) ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการแสวงหาการรักษาเพื่อ สุ ขภาพ (Health-Seeking Process) ใช้อธิบายธรรมชาติความเจ็บป่ วยโดยภาพรวมของบุคคลในสังคม ชาวบ้าน (Popular Sector) ที่มีระบบวัฒนธรรมย่อยๆ แนวคิดนี้เน้นความเป็ นปั จเจกบุคคลและระบบการ ดูแลสุ ขภาพต่างๆที่มีอิทธิ พลต่อพฤติกรรมความเจ็บป่ วยเพื่อดูความสัมพันธ์ซ่ ึ งกันและกันของพฤติกรรมกับ สุ ขภาพ รวมทั้งเงื่อนไขปั จจัยทางสังคมวัฒนธรรมที่มีผลกระทบต่อพฤติกรรม โดยมุ่งหวังที่จะพัฒนาเป็ น แบบจาลองกระบวนการแสวงหาการรักษา จากมุมมองทางสังคมวัฒนธรรม เพื่อนามาใช้ประโยชน์ใน บริ การทางการแพทย์และการสาธารณสุ ข
  • 19. หน้ า | 19 แบบจาลองกระบวนการแสวงหาการรักษา ปัจจัยด้านวัฒนธรรม ปัจจัยด้านสังคม การผสมผสานด้านสังคมวัฒนธรรม การเปลี่ยนบทบาท การให้ความหมาย อาการที่ปรากฎ การรักษา การเข้ารับการรักษา การขอคาปรึ กษาจากบุคคลทัวไป ่ แหล่งที่มา : (Chrisman, 1977)(12) ่ จากแบบจาลองกระบวนการแสวงหาการรักษาของคริ สแมน อธิ บายได้วา จุดเริ่ มต้นของพฤ ติกรรม ่ การแสวงหาการรักษา เกิดขึ้นตั้งแต่บุคคลรับรู ้วาอาการและอาการแสดงที่เกิดขึ้น ทาให้สุขภาพตนเบี่ยงเบน ไปจากมาตรฐานทางวัฒนธรรมปกติในชีวตประจาวัน เมื่อตีความและให้ความหมายอาการ ิ (Symptom Definition) นั้นเริ่ มเป็ นกลไกของความเจ็บป่ วยตามระบบความคิด ความเชื่อ สาเหตุของการเกิดโรค ที่ได้ ่ เรี ยนรู ้จากสังคมวัฒนธรรม และการแสวงหาการรักษาจะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ ว ถ้าบุคคลรับรู ้วามีผลกระทบ มากในแต่ละบุคคล แต่ละโรค การรับรู ้และการแสวงหาจะแตกต่างกัน
  • 20. หน้ า | 20 2.2 แนวคิดเกียวกับพฤติกรรมการใช้ บริการสุ ขภาพและความพึงพอใจในการใช้ บริการสุ ขภาพ ่ ความหมาย มอร์ส (Morse , 1953) (8) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจคือ ทุกสิ่ งทุกอย่างที่สามารถลดความ ตึงเครี ยดของบุคคลให้นอยลงได้ และความตึงเครี ยดที่มีมากก็จะทาให้เกิดความไม่พอใจ ซึ่ งความตึงเครี ยดนี้ ้ มีผลมาจากความต้องการของมนุษย์ ซึ่ งมนุษย์มีความต้องการมากก็จะเกิดปฏิกิริยาเรี ยกร้อง แต่ถาเมื่อใด ้ ความต้องการได้รับการตอบสนองก็จะทาให้เกิดความพอใจ ริ สเซอร์ (Risser,1975)(14) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจในแง่ของการให้บริ การว่าเป็ นระดับ ของความสอดคล้องกันระหว่างความคาดหวังกับการรับรู ้ที่แท้จริ งต่อการบริ การของผูใช้บริ การ ้ และความหมายตามพจนานุกรมทางด้านจิตวิทยา (Chaplin, 1968) (8) ได้ให้ความหมายว่าเป็ น ความรู ้สึกของผูมารับบริ การต่อสถานบริ การตามประสบการณ์ที่ได้รับจากการเข้าไปติดต่อขอรับบริ การใน ้ สถานบริ การนั้นๆ ดังนั้นความพึงพอใจ (Satisfaction) จึงมีความหมายคือ ความรู ้สึกทางบวกของบุคคลต่อสิ่ งใดๆที่ เกิดจากความคาดหวังสอดคล้องกับการรับรู ้ที่แท้จริ งต่อสิ่ งนั้นๆ แนวคิดของพฤติกรรมการใช้ บริการสุ ขภาพและความพึงพอใจในการใช้ บริการสุ ขภาพ มัลลินส์ (Mullins, 1954)(15) ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการสร้างความพึงพอใจในบริ การ ดังต่อไปนี้ 1. การให้บริ การที่เสมอภาค (Equitable Service) หมายถึง การให้บริ การประชาชนทุกคนอย่างเท่า เทียมกัน ใช้กฎระเบียบและมาตรฐานการให้บริ การเดียวกัน 2. การให้บริ การทีตรงเวลา (Timely Service) หมายถึง การให้บริ การที่ตรงเวลาโดยเฉพาะอย่างยิง ่ บริ การของภาครัฐที่ตองปฏิบติงานให้ตรงเวลา ้ ั 3. การให้บริ การอย่างพอเพียง (Ample Service) หมายถึง การให้บริ การด้านวัสดุอุปกรณ์ สถานที่ เวลา อย่างเพียงพอเหมาะสม นอกจากด้านปริ มาณที่เพียงพอแล้ว บริ การที่ ให้แก่ประชาชนต้องมีคุณภาพ ดีดวย ้ ่ 4. การให้บริ การอย่างต่อเนื่อง (Continuous Service) หมายถึง การให้บริ การตลอดเวลาไม่วาจะมี สภาวะอากาศเช่นใด และดูแลจนกว่าผูป่วยจะหายจากโรค ้