SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  21
Télécharger pour lire hors ligne
Unit 1



Adobe
Premiere
Pro CS 3
       ความรูเบืองตน
                 ้
  เกียวกับโปรแกรม
     ่
Adobe Premiere Pro
                   CS 3

            Pipit Sitthisak
PohChang Academy of ARTS
  Rajamangala University of
   Technology Rattanakosin
       pipit.s@rmutr.ac.th
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 2

                                          Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS


ลักษณะทั่วไปของโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3

            โปรแกรม Adobe Premiere Pro เปนโปรแกรมสําเร็จรูปสําหรับใชในการตัดตอ
วิดีทัศนที่อยูในตระกูล Adobe เชนเดียวกับโปรแกรม Photoshop, Illustrator, after effect
ฯลฯ ดังนั้น สําหรับผูทเี่ คยใชโปรแกรมดังกลาวมากอน จึงคอนขางจะใชงานงาย เนื่องจาก
เครื่องมือและลักษณะการใชงานโดยทั่ว ๆ ไป จะคลาย ๆ กัน

            โปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 นอกจากจะสามารถใชงานรวมกับการด
ตัดตอไดหลายยีหอแลว ยังสามารถใชไดกับคอมพิวเตอรที่ไมมีการดตัดตอไดอกดวย
               ่                                                           ี



     กระบวนการพื้นฐานของการตัดตอดิจตอลวิดีโอ
                                    ิ

            หลังจากที่ถายวิดีโอมาเรียบรอยแลว       เราก็จะจับภาพ (Capture) วิดโอลงใน
                                                                                 ี
ฮารดดิสกของคอมพิวเตอร หลังจากนั้นจะเขาสูกระบวนการตัดตอวิดีโอ ซึ่งมีขั้นตอนพื้นฐาน
ดังนี้




         1. เริ่มตนหรือเปดโปรเจ็กตโปรแกรมตัดตอ

         2. จับภาพวิดีโอและนําเขาคลิปไฟลอื่นๆ เชน เสียง ภาพนิ่ง

         3. เลือก ตัดตอ แกไขคลิปในหนาตางไทมไลน (Timeline)

         4. สรางและใสขอความ เครดต ภาพกราฟก
                                   ิ

         5. ใสทรานสิชน (Transition) ระหวางคลิป และเพิ่มเอฟเฟกต (Effect) ในคลิป
                      ั่

Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR                         21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 3

                                          Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS


      6. ใสเสยงบรรยาย เสยงเพลง เสยงประกอบ หรือซาวดเอฟเฟกตตาง ๆ
              ี          ี        ี                      

      7. เอ็กพอรตโปรเจ็กตงานลงสือ เชน ลงบนวิดีโอเทป สรางเปนไฟลวิดีโอ สรางเปน
                                  ่
          วิดีโอไฟลแบบ Streaming เพื่อเลนผานเว็บ หรือบันทึกลงแผน DVD



    คําศัพทที่ใชใน Premiere Pro

          สําหรับโปรแกรม Adobe Premiere Pro นั้นจะมีศพทที่ใชเรียกองคประกอบใน
                                                     ั
หนาตางการทํางานแตละหนาตาง รวมไปถึงสวนยอยที่เราตองพบบอยๆ              โดยคําศัพท
เหลานันมีดังตอไปนี้
       ้

          โปรเจ็กต (Project) หมายถึง ไฟลงานที่เราสรางหรือกําลังติดตออยู เรียกไฟลงาน
นั้นวา Project ( โปรเจ็กต ) ซึ่งจะครอบคลุมงานทั้งชิ้นของเรา

          คลิป (Clip) หมายถึง ไฟลวิดีโอ ไฟลภาพ และไฟลเสียง ที่เราทําการ หรือนําเขา
(Import) มาใชในโปรเจ็กต โดยแตละไฟลเราจะเรียกวา Clip ( คลิป )

          Track (Track) หมายถึง เลเยอร (Layer) ที่ใชใน Timeline ซึ่งแตละเลเยอร เรา
จะเรียกวา Track ( แทร็ก ) เชน เลเยอรของ video 1 เราจะเรียกวา Track ของ video 1
        
โดย Track เหลานี้ใชสําหรับตัดตอภาพยนตรและตัดตอเสียงรวมทั้งเพิ่มเทคนิคพิเศษตางๆ

          เฟรม (Frame) หมายถึง ชองแตละชองที่แสดงอยูบน Timeline ซึ่งแตละชองนี้
จะแสดงภาพที่อยูในคลิป โดยจะเรียงตอกันไปเรื่อย ๆ เหมือนกับฟลมภาพยนตร และเรียก
                                                              
ชองเหลานี้วา Frame ( เฟรม )




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR                      21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 4

                                          Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS


          ซีเควนส (Sequence) หมายถึง ลําดับหรือฉาก ๆ หนึ่งของภาพยนตรที่เรียงกัน
เปนเรืองๆ ซึงในโปรแกรม Premiere ไดนําเอาคํานีมาใชเรียกหนาตางยอยในการจัดอันดับ
       ่     ่                                 ้
คลิป บนหนาตาง Timeline เพื่อใหเกิดเปนภาพยนตรวา Sequence ( ซีเควนส )



    การเริ่มตนโปรแกรม Premiere

        วิธีที่ 1 คลิกเมาสที่ปุม Start เลื่อนเมาสคลิกที่เมนู All Programs แลวเลื่อนเมาส
ไปที่โปรแกรม Adobe Premiere Pro CS3 แลวคลิกเมาสอีกครั้งหนึ่ง




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR                         21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 5

                                          Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS


              วิธีที่ 2 ดับเบิ้ลคลิก (Double Click) ที่ Shortcut               ของ
โปรแกรม Adobe Premiere Pro ทีปรากฏบน Desktop ก็ได
                             ่



              เมื่อเลือกวิธีการใดวิธีการหนึ่ง โปรแกรมจะเริมทํางาน และเขาสูหนาตาง
                                                          ่
โปรเจ็กต




              หลังจากนั้นจะปรากฏหนาตางแรกเพื่อใหเลือกรูปแบบการทํางานกับ Project
ดังภาพขางลาง โปรแกรมจะใหทานเลือกอยางใดอยางหนึ่งดังนี้


Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR                         21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 6

                                               Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS


           จากภาพขางบน เราสามารถเลือกทํางานกับโปรแกรมได 3 ลักษณะ ดังนี้

          1) คลิ ก เมาส เ ลื อ กไฟล ง านที ่เ พิ ่ง เคยทํ า ไปเมื ่อ เร็ ว ๆ นี ้ โดยใต คํ า ว า Recent
Projects จะแสดงรายชือไฟลงานทีเ่ คยเปดขึ้นมาทํางานครั้งลาสุด 5 อันดับ หากเรา
                           ่
ตองการทํางานตอจากไฟลเดิมเหลานี้ ก็สามารถคลิกเลือกรายชื่อไฟลงานที่ตองการไดทันที
          2) คลิกเมาสที่ปม Open Project เพื่อเลือกเปดไฟลงานที่เคยบันทึกไวมาทํางาน
                                  ุ
ตอ (แตเปนไฟลที่เคยบันทกไวนานกวาไฟลงานลาสุด 5 อันดับ)
                             ึ
          3) คลิกเมาสที่ปม New Project เมื่อตองการเริ่มตนทํางานกับไฟลงานใหม โดย
                               ุ
เมื่อเลือกหัวขอนี้ จะปรากฏหนาตาง New Project ซึ่งจะตองกําหนดคุณสมบัตของไฟลงาน          ิ
ในแท็บ Load Preset กอนเขาสูการทํางานของโปรแกรม ดังนี้
                                     




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR                                    21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 7

                                          Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS




    การกําหนดคุณสมบัติของไฟลงาน (Project Setting)

          เปนการกําหนดคาใหเหมาะสมกับไฟลที่ใชประกอบการทํางาน ซึ่งในโปรแกรม
Premiere Pro มีเมนูสําหรับการตั้งคาโปรเจ็กต 2 เมนู คือ Project Settings และ
Preferences ซึ่งมีความคลายคลึงเปนอยางมาก กลาวคือ

          การกําหนดคา Project Settings จะกําหนดคากอนที่จะเปดโปรเจ็คใหมขึ้นมา
และเมือโปรเจ็คนั้นเปดขึ้นมาแลว คาของ Project Settings จะมีผลตอโปรเจ็คทีทํางานนั้น
      ่                                                                    ่
และไมสามารถเปลยนแปลงคา Project Settings ไดอีก
             ี่

          สวน Preferences เปนการกําหนดคาพืนฐานทีใชกบทุก ๆ โปรเจ็ค ซึงเราสามารถ
                                             ้     ่ ั                  ่
เปลี่ยนแปลงคาตาง ๆ ไดตลอดเวลา

          การกําหนดคา Project Settings มีขั้นตอน ดังนี้

          1. เลือกคุณสมบัติของไฟลงาน
             ที่แท็บ (Tab) ชื่อ Load Preset ในกรอบ Available Presets ใหเลือก
คุณสมบัติของไฟลงาน (Project) ใหเหมาะสมกับสื่อ (Media) ที่เราตองการนําผลงานที่ทํา
ออกไปแพรภาพ หรือผลลพธตองการ เชน
                    ั            

                       - รูปแบบของวิดีโอเปน DV หรือ HDV
                       - สัดสวนจอเปนแบบ Standard 4:3 หรือ Widescreen 16:9
                       - ระบบโทรทัศนเปน PAL หรือ NTSC
                       - คุณภาพเสียงระดับปกติ VCD หรือ DVD Video
              เมื่อมีการเลือกชนิดของไฟลงานแบบใดก็ตาม       จะปรากฏรายละเอียดของ
คุณสมบัติในชอง Description ใหทราบวาตรงกับความตองการหรือไม

Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR                      21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 8

                                          Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS




              แตถายังไมรูสอที่จะนําออกไปแพรภาพเปนที่แนนอน ก็ใหเลือกตามชนิดของ
                              ื่
ไฟลคลิปวิดีโอ (Video Clip) ที่จะนําเขามาใชงาน เพราะชนิดของไฟลงานทีเ่ ลือกเอาไวนี้
สามารถเปลียนแปลงไดอีกในขั้นตอน Export งานออกไป (ประภาวรรณ ตระกูลเกษมสุข.
          ่
2544 : 10)

              ตัวอยาง ในกรณีที่เราบันทึกภาพวิดีโอ ดวยกลองดิจิตอลวิดีโอแบบที่ใชมวน
เทปวีดทศนแบบ Mini DV และตั้งคาสัดสวนของภาพกอนบันทึกเปน 4 : 3
      ิ ั




                        กลองวิดีโอ HDV และมวนเทปแบบ Mini DV

              (Sony HDR-FX1E HDV Camcorder PAL ,www.istockphoto.com)
Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR                      21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 9

                                          Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS


              ในที่นี้ ใหเลือกเปน DV PAL > Standard 48 kHz ดวยเหตุผลดังนี้

                      - วิดีโอที่ถายมาจากกลองวิดีโอที่กําหนดรูปแบบวิดีโอเปน DV
                        (Digital Video)
                      - ตองการฉายวิดีโอกับจอโทรทัศนแบบ Standard 4:3
                      - ระบบโทรทัศนของประเทศไทยเปนระบบ PAL
                      - ตองการคุณภาพเสียงระดับ DVD Video คือ 48 KHz




          2. กําหนดพื้นที่เก็บขอมูลในฮารดดิสก

              เปนการกําหนดไดรฟ (Drive) ในฮารดดิสก (Harddisk) และโฟลเดอร
(Folder) ที่ใชเก็บไฟลงาน (Project File) เกบไฟลภาพและเสยงที่ไดจากการจับภาพ
                                            ็            ี
(Capture) ไฟลที่เกิดจากการ Video Previews และไฟลทเี่ กิดจากการ Audio Previews
             
ตลอดจนไฟลหรือคลิปอื่น ๆ ที่จะนํามาใชตัดตอวิดีโอ เชน ภาพนิ่ง โลโก เพลงหรือเสียง
ประกอบ ฯลฯ ดังนั้น จึงควรเปนไดรฟ (Drive) ที่ทางานเร็วที่สุด มีพื้นที่วางคอนขางมาก
                                               ํ
และไมควรเปน Drive C ที่ใชบูต (Boot) ระบบปฏิบติการ
                                               ั



Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR                      21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 10

                                          Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS


          โดยปกติแลว หากไมมีการกําหนดพืนที่จัดเก็บไฟลงานวิดีโอ โปรแกรมจะจัดเก็บ
                                         ้
ใหอัตโนมัติในพื้นที่เดียวกับโปรแกรม หรือพื้นใด ๆ ที่กําหนดไวครั้งลาสุด ซึ่งหากเมื่อมีการ
ตัดตอวิดีโอหลาย ๆ งาน อาจเกิดความสับสนในการจัดการไฟลงานวิดีโอที่ปะปนกัน

          ดังนั้น จึงควรกําหนดพื้นจัดเก็บไฟลงานวิดีโอขึ้นมาใหม หมายถึง การกําหนด
ไดรฟ (Drive) และโฟลเดอร (Folder) ที่ตองการจัดเก็บไฟลงาน เชน E:My DocumentsMy
VideosSport เพื่อใหสะดวกในการจัดการดานไฟลงานวิดีโอแตละเรื่อง โดยมีขนตอนปฏิบัติ
                                                                        ั้
ดังนี้




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR                       21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 11

                                          Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS


              1) กําหนดพื้นทีเ่ ก็บไฟลงาน (Project File)
                 - คลิกเมาสที่ปม Browse ทายชอง Location จะปรากฏหนาตาง
                                    ุ
                     Browse For Folder




                  - กําหนดเสนทาง (Path) ใหม ไดแก ไดรฟ (Drive) และโฟลเดอร
                    (Folder)    ที่ตองการจัดเก็บไฟลงาน  ตัวอยางเชน  D:My
                    DocumentsMy Videos




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR                      21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 12

                                          Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS




                      - คลิกเมาสเ ลือกไดรฟ (Drive) และโฟลเดอร (Folder) ที่ตองการ
                                          
                      - คลิกเมาสที่                   จะไดโฟลเดอรใหมที่ชื่อ New
                        Folder
                      - เปลี่ยนชื่อโฟลเดอร (Folder) โดยพิมพชื่อใหมเขาไปแทนที่คําวา
                        New Folder เชน Sport




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR                      21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 13

                                          Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS


                      - คลิกเมาสที่ปม Ok เพื่อยืนยันการเปลี่ยนชือโฟลเดอร จะกลับไปที่
                                     ุ                          ่
                        หนาตาง New Project อีกครั้ง
                      - เมื่อกําหนดเสร็จแลว หากเขาไปดูโฟลเดอรทสรางขึ้นมาใหม โดย
                                                                   ี่
                        ใชโปรแกรม Windows Explorer จะพบวามีโฟลเดอร Adobe
                        Premiere Pro Preview Files , Encoded Files และ Media
                        Cache Files อยูภายในไดรฟและโฟลเดอรเดียวกัน




              2) พิมพชื่อไฟลงานในชอง Name :




              3) คลิกเมาสที่ปม
                              ุ                      จะเขาสูหนาตางโปรแกรม Premiere Pro
                 ดังภาพขางลาง




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR                         21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 14

                                          Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS




    พื้นที่ทํางานของโปรแกรม (Premiere Workspace)

          หนาตางของโปรแกรม Adobe Premiere Pro ประกอบดวยสวนตาง ๆ ดังนี้ คือ

              1) หนาตางโปรเจ็ค (The Project window)

                  เปนพื้นทีเ่ ก็บไฟล (File) ที่เราเรียกวา คลิป (Clip) ไดแก ภาพยนตร
(Movie) ภาพนิง (Still Image) เสียง (Sound) ภาพกราฟก (Graphic) หรือ ไตเติล (Title)
             ่                                                           ้




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR                           21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 15

                                          Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS




                  โดยคลิปตาง ๆ ที่จะนํามาตัดตอบนไทมไลน (Timeline) จะตองนํามา
บรรจุ (Import) ไวในหนาตางโปรเจ็ค (Project window) กอนเสมอ

                  อยางไรก็ตาม หนาตาง Project เปนเพียงเครองมือทใชเรียก (หรืออางอิง)
                                                            ื่    ี่
ไฟลงานเขามาใชและแสดงผล ไมไดเปนที่เก็บไฟลงานอยางแทจริง ดังนั้นจึงตองระมัดระวัง
เกี่ยวกับการลบไฟล หรือการเคลื่อนยายไฟลงานที่อยในไดรฟหรือโฟลเดอร ซึ่งเปนที่เก็บไฟล
                                                 ู
ที่แทจริง เพราะจะทําใหโปรแกรมไมสามารถแสดงผลได (ประภาวรรณ ตระกูลเกษมสุข.
2544 : 11)




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR                      21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 16

                                          Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS


                  สวนประกอบของหนาตาง Project




    สวนประกอบ                                          หนาที่

A Thumbnail viewer         หนาตางขนาดเล็กสําหรับแสดงภาพของคลิปที่เลือก

B. Details                 รายละเอียดของคลิป

C. Clip                    คลิปที่ Import เขามาใน Project

D. Find                    คนหา

E. New                     สราง Bin อันใหม

                           สรางวัตถุขึ้นมาใหม เชน ไตเติ้ล (Title) Bar and Tone Universal
F. Create Item
                           Counting Leader ฯลฯ



Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR                        21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 17

                                          Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS


       สวนประกอบ                                        หนาที่

G. Delete Selected Items         ลบคลิปที่เลือกทิ้ง

H. Automate to Sequence เรียงคลิปแบบรวดเร็วลงบน Timeline

I. Icon View                     เมื่อตองแสดงคลิปในหนาตางโปรเจ็คแบบไอคอน

J. Thumbnail View                เมื่อตองแสดงคลิปในหนาตางโปรเจ็คแบบมีภาพและชื่อ



                  2) หนาตางไทมไลน (Timeline window)

          เปนพื้นทีสําหรับนําคลิป (Clip) ที่อยูในหนาตางโปรเจ็ค (Project window) มา
                    ่
เรียงลําดับหรือตัดตอเปนเรืองราว
                            ่




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR                      21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 18

                                          Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS


        - พาเนลเครื่องมือ (The Tool Panels)




                      กลองเครืองมือ (Toolbox) จะอยูดานบนซายมือของหนาตาง
                               ่
Timeline เปนหนาตางเล็กๆ ที่มีความสําคัญเพราะตองทํางานคูกับหนาตาง Timeline เสมอ
โดยที่หนาตาง Tools จะเก็บเครื่องมือหลักที่ใชในการตัดตอที่จําเปน




    สวนประกอบ                                          หนาที่

A. Selection tool          Selection Tool ใชในการเลือกคลิปที่เราตองการทํางาน โดยการ
                           คลิกเมาสที่คลิปที่อยูบน Track แลวจะปรากฏเสนประลอมรอบ
                           คลิปนั้น ๆ ที่ นอกจากนี้ยังใชในการยืดหรือยอ ซึ่งจะมีผลทําให
                           เวลาในการแสดงของคลิปนั้นเพิมขึ้นหรือลดลงได
                                                      ่

B. Track Selection         Track Select Tool ใชในการก็อปปชวงที่เราตองการ แตจะเปน
    tool                   การเลือกทุก ๆ คลิปทีอยูตอจากแทร็กทีเ่ ราเลือก
                                               ่ 


Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR                         21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 19

                                           Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS


    สวนประกอบ                                         หนาที่

C. Ripple Edit tool        Ripple Edit Tool ใชสําหรับเพิ่มหรือลดเวลาในการแสดงของ
                           คลิปที่เลือก โดยจะไมสงผลตอเวลาในการแสดงของคลิปที่อยู
                           ติดกัน

D. Rolling Edit tool       Rolling Edit Tool ใชสําหรับเพิ่มเวลาในการแสดงใหกับคลิปที่เรา
                           เลือก โดยสงผลใหคลิปทีอยูถัดไปลดเวลาในการแสดงลง
                                                  ่

E. Rate Stretch tool       Rate Stretch Tool เพื่อเลือกทุกคลิปที่อยูทางขวามือ

F. Razor tool              Razor Tool ใชสําหรับตัดคลิปออกเปนสวน ๆ โดยจะตัดทั้งเสียง

G. Slip tool               Slip Tool ใชในการเลื่อนคลิปที่อยูติดกัน ไมมผลตอความเร็วและ
                                                                         ี
                           คลิปที่อยูติดกัน

H. Slide tool              Slide Tool ใชในการเลือนคลิปที่อยูติดกัน ซึ่งมีผลตอความเร็วของ
                                                 ่
                           คลิปที่อยูติดกัน

I. Pen tool

J. Hand tool               Hand Tool ใชสําหรับเลื่อนคลิปที่อยูนอกหนาตาง Time line

K. Zoom tool               Zoom Tool ใชสําหรับเลื่อนไปดูคลิปที่มองไมเห็นในหนาตาง
                           Timeline ขณะนั้น




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR                       21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 20

                                          Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS


                  4) Effect

                      Effects Palette สําหรับเพิมเทคนิคพิเศษใหกับคลิปวีดิโอ
                                                ่




                  5) Effect Controls

                   Effect Controls Palette สําหรับปรับแตง Effect ตางๆจากหนาตาง
Effect ของ Video Effects และ Audio Effects ที่ไดเพิ่มลงไปขณะตัดตอ
                      5)




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR                      21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 21

                                          Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS


        - 6) หนาตางมอนิเตอร (The Monitor Windows)

                      เปนสวนที่แสดงคลิปในโปรเจ็กตที่เรากําลังทํางาน ซึงมีสองหนาจอที่
                                                                         ่
ใชในการเปรียบเทียบกันระหวางคลิปตนฉบับและคลิปที่เรากําลังตัดตออยู




          Source Monitor                               Program Monitor




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR                      21 กรกฎาคม 2553

Contenu connexe

Tendances

Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]Praphaphun Kaewmuan
 
ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอกใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอกYui Janjira Ketsakorn
 
การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11
การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11
การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11Kroopop Su
 
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7Pipit Sitthisak
 
หน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
หน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอกหน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
หน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอกYui Janjira Ketsakorn
 
คู่มือ Ulead video studio 11
คู่มือ Ulead video studio 11คู่มือ Ulead video studio 11
คู่มือ Ulead video studio 11Siwakorn Siri
 
คู่มือการใช้งาน movie maker สพม.33
คู่มือการใช้งาน movie maker สพม.33คู่มือการใช้งาน movie maker สพม.33
คู่มือการใช้งาน movie maker สพม.33Prayat Saibut
 
การสร้างเนื้อเพลง Karaoke ด้วยโปรแกรม photo shop cs5
การสร้างเนื้อเพลง Karaoke ด้วยโปรแกรม photo shop cs5การสร้างเนื้อเพลง Karaoke ด้วยโปรแกรม photo shop cs5
การสร้างเนื้อเพลง Karaoke ด้วยโปรแกรม photo shop cs5Pipit Sitthisak
 
Moviemaker
MoviemakerMoviemaker
Moviemakerkunploy
 
Chapter7 4 Pr5 Mac Video Effect Pdf
Chapter7 4  Pr5 Mac  Video Effect PdfChapter7 4  Pr5 Mac  Video Effect Pdf
Chapter7 4 Pr5 Mac Video Effect PdfPipit Sitthisak
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การสร้างวิดีโออย่างง่ายจาก Movie wizard1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การสร้างวิดีโออย่างง่ายจาก Movie wizard1เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การสร้างวิดีโออย่างง่ายจาก Movie wizard1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การสร้างวิดีโออย่างง่ายจาก Movie wizard1krunueng1
 
Imv unit7-3-pr3-transition-pdf
Imv unit7-3-pr3-transition-pdfImv unit7-3-pr3-transition-pdf
Imv unit7-3-pr3-transition-pdfPipit Sitthisak
 
คู่มือการใช้ Sony vegas 7
คู่มือการใช้  Sony vegas 7คู่มือการใช้  Sony vegas 7
คู่มือการใช้ Sony vegas 7Vinz Primo
 

Tendances (17)

Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]
 
ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอกใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
 
การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11
การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11
การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11
 
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
 
หน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
หน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอกหน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
หน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
 
คู่มือ Ulead video studio 11
คู่มือ Ulead video studio 11คู่มือ Ulead video studio 11
คู่มือ Ulead video studio 11
 
คู่มือการใช้งาน movie maker สพม.33
คู่มือการใช้งาน movie maker สพม.33คู่มือการใช้งาน movie maker สพม.33
คู่มือการใช้งาน movie maker สพม.33
 
Window mm
Window mmWindow mm
Window mm
 
การสร้างเนื้อเพลง Karaoke ด้วยโปรแกรม photo shop cs5
การสร้างเนื้อเพลง Karaoke ด้วยโปรแกรม photo shop cs5การสร้างเนื้อเพลง Karaoke ด้วยโปรแกรม photo shop cs5
การสร้างเนื้อเพลง Karaoke ด้วยโปรแกรม photo shop cs5
 
คู่มื่อการใช้ Adobe capitvate3
คู่มื่อการใช้ Adobe capitvate3คู่มื่อการใช้ Adobe capitvate3
คู่มื่อการใช้ Adobe capitvate3
 
Lesson9
Lesson9Lesson9
Lesson9
 
Moviemaker
MoviemakerMoviemaker
Moviemaker
 
Chapter7 4 Pr5 Mac Video Effect Pdf
Chapter7 4  Pr5 Mac  Video Effect PdfChapter7 4  Pr5 Mac  Video Effect Pdf
Chapter7 4 Pr5 Mac Video Effect Pdf
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การสร้างวิดีโออย่างง่ายจาก Movie wizard1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การสร้างวิดีโออย่างง่ายจาก Movie wizard1เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การสร้างวิดีโออย่างง่ายจาก Movie wizard1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การสร้างวิดีโออย่างง่ายจาก Movie wizard1
 
Imv unit7-3-pr3-transition-pdf
Imv unit7-3-pr3-transition-pdfImv unit7-3-pr3-transition-pdf
Imv unit7-3-pr3-transition-pdf
 
Pop
PopPop
Pop
 
คู่มือการใช้ Sony vegas 7
คู่มือการใช้  Sony vegas 7คู่มือการใช้  Sony vegas 7
คู่มือการใช้ Sony vegas 7
 

Similaire à Imv unit7-1-pr3-introduction-pdf

การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTube
การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTubeการสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTube
การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTubeDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรม AcuStudiov.6
คู่มือการใช้งานโปรแกรม AcuStudiov.6คู่มือการใช้งานโปรแกรม AcuStudiov.6
คู่มือการใช้งานโปรแกรม AcuStudiov.6mansuang1978
 
Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007Wee Jay
 
Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007Wee Jay
 
powerpoint2007
powerpoint2007powerpoint2007
powerpoint2007krupairoj
 
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 aviการแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 aviPipit Sitthisak
 
คู่มือการใช้งาน Windows live movie maker
คู่มือการใช้งาน Windows live movie makerคู่มือการใช้งาน Windows live movie maker
คู่มือการใช้งาน Windows live movie makerมนตรี ศรีวงศ์
 
การตัดต่อวีดิโออย่างง่ายด้วย Proshow Gold
การตัดต่อวีดิโออย่างง่ายด้วย Proshow Goldการตัดต่อวีดิโออย่างง่ายด้วย Proshow Gold
การตัดต่อวีดิโออย่างง่ายด้วย Proshow GoldKindness Kind
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูไชยวัฒน์ ม.ปลาย
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูไชยวัฒน์ ม.ปลายแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูไชยวัฒน์ ม.ปลาย
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูไชยวัฒน์ ม.ปลายchaiwat vichianchai
 

Similaire à Imv unit7-1-pr3-introduction-pdf (20)

Intro premierepro
Intro premiereproIntro premierepro
Intro premierepro
 
Setup project (csharp)
Setup project (csharp)Setup project (csharp)
Setup project (csharp)
 
การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTube
การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTubeการสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTube
การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTube
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรม AcuStudiov.6
คู่มือการใช้งานโปรแกรม AcuStudiov.6คู่มือการใช้งานโปรแกรม AcuStudiov.6
คู่มือการใช้งานโปรแกรม AcuStudiov.6
 
Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007
 
Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007
 
Flash9
Flash9Flash9
Flash9
 
Lesson9
Lesson9Lesson9
Lesson9
 
powerpoint2007
powerpoint2007powerpoint2007
powerpoint2007
 
โปรแกรมตัดต่อ
โปรแกรมตัดต่อโปรแกรมตัดต่อ
โปรแกรมตัดต่อ
 
Know1 1
Know1 1Know1 1
Know1 1
 
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 aviการแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi
 
Lesson01
Lesson01Lesson01
Lesson01
 
Cai Design
Cai DesignCai Design
Cai Design
 
คู่มือการใช้งาน Windows live movie maker
คู่มือการใช้งาน Windows live movie makerคู่มือการใช้งาน Windows live movie maker
คู่มือการใช้งาน Windows live movie maker
 
Windows Live Movie Maker
Windows Live Movie MakerWindows Live Movie Maker
Windows Live Movie Maker
 
การตัดต่อวีดิโออย่างง่ายด้วย Proshow Gold
การตัดต่อวีดิโออย่างง่ายด้วย Proshow Goldการตัดต่อวีดิโออย่างง่ายด้วย Proshow Gold
การตัดต่อวีดิโออย่างง่ายด้วย Proshow Gold
 
รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3
รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3
รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3
 
สอนออนไลน์ด้วย OBS Studio
สอนออนไลน์ด้วย OBS Studioสอนออนไลน์ด้วย OBS Studio
สอนออนไลน์ด้วย OBS Studio
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูไชยวัฒน์ ม.ปลาย
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูไชยวัฒน์ ม.ปลายแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูไชยวัฒน์ ม.ปลาย
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูไชยวัฒน์ ม.ปลาย
 

Plus de Pipit Sitthisak

การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3Pipit Sitthisak
 
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpressการใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpressPipit Sitthisak
 
การสมัครเป็นสมาชิก Google
การสมัครเป็นสมาชิก Googleการสมัครเป็นสมาชิก Google
การสมัครเป็นสมาชิก GooglePipit Sitthisak
 
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพPart 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพPipit Sitthisak
 
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพการใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพPipit Sitthisak
 
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์Pipit Sitthisak
 
1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์Pipit Sitthisak
 
การเพิ่ม User ใน wordpress
การเพิ่ม User ใน wordpressการเพิ่ม User ใน wordpress
การเพิ่ม User ใน wordpressPipit Sitthisak
 
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อกPipit Sitthisak
 
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกันการใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกันPipit Sitthisak
 
การสมัครเป็นสมาชิก slideshare
การสมัครเป็นสมาชิก slideshareการสมัครเป็นสมาชิก slideshare
การสมัครเป็นสมาชิก slidesharePipit Sitthisak
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2Pipit Sitthisak
 
Unit 3 1 basic to television pdf
Unit 3 1  basic to television pdfUnit 3 1  basic to television pdf
Unit 3 1 basic to television pdfPipit Sitthisak
 
Unit 3 2 basic to video-pdf
Unit 3 2  basic to video-pdfUnit 3 2  basic to video-pdf
Unit 3 2 basic to video-pdfPipit Sitthisak
 
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554Pipit Sitthisak
 
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพProject 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพPipit Sitthisak
 
Project 2 final project -p3
Project 2  final project -p3Project 2  final project -p3
Project 2 final project -p3Pipit Sitthisak
 
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพProject 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพPipit Sitthisak
 
การแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plus
การแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plusการแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plus
การแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plusPipit Sitthisak
 

Plus de Pipit Sitthisak (20)

การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
 
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpressการใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
 
การสมัครเป็นสมาชิก Google
การสมัครเป็นสมาชิก Googleการสมัครเป็นสมาชิก Google
การสมัครเป็นสมาชิก Google
 
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพPart 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
 
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพการใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
 
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
 
1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์
 
การเพิ่ม User ใน wordpress
การเพิ่ม User ใน wordpressการเพิ่ม User ใน wordpress
การเพิ่ม User ใน wordpress
 
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
 
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกันการใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
 
การสมัครเป็นสมาชิก slideshare
การสมัครเป็นสมาชิก slideshareการสมัครเป็นสมาชิก slideshare
การสมัครเป็นสมาชิก slideshare
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
 
Unit 3 1 basic to television pdf
Unit 3 1  basic to television pdfUnit 3 1  basic to television pdf
Unit 3 1 basic to television pdf
 
Unit 3 2 basic to video-pdf
Unit 3 2  basic to video-pdfUnit 3 2  basic to video-pdf
Unit 3 2 basic to video-pdf
 
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
 
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพProject 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
 
Project 2 final project -p3
Project 2  final project -p3Project 2  final project -p3
Project 2 final project -p3
 
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพProject 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
 
การแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plus
การแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plusการแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plus
การแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plus
 
Chapter 1 set mac os
Chapter 1 set mac osChapter 1 set mac os
Chapter 1 set mac os
 

Imv unit7-1-pr3-introduction-pdf

  • 1. Unit 1 Adobe Premiere Pro CS 3 ความรูเบืองตน ้ เกียวกับโปรแกรม ่ Adobe Premiere Pro CS 3 Pipit Sitthisak PohChang Academy of ARTS Rajamangala University of Technology Rattanakosin pipit.s@rmutr.ac.th
  • 2. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 2 Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS ลักษณะทั่วไปของโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 โปรแกรม Adobe Premiere Pro เปนโปรแกรมสําเร็จรูปสําหรับใชในการตัดตอ วิดีทัศนที่อยูในตระกูล Adobe เชนเดียวกับโปรแกรม Photoshop, Illustrator, after effect ฯลฯ ดังนั้น สําหรับผูทเี่ คยใชโปรแกรมดังกลาวมากอน จึงคอนขางจะใชงานงาย เนื่องจาก เครื่องมือและลักษณะการใชงานโดยทั่ว ๆ ไป จะคลาย ๆ กัน โปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 นอกจากจะสามารถใชงานรวมกับการด ตัดตอไดหลายยีหอแลว ยังสามารถใชไดกับคอมพิวเตอรที่ไมมีการดตัดตอไดอกดวย ่ ี กระบวนการพื้นฐานของการตัดตอดิจตอลวิดีโอ ิ หลังจากที่ถายวิดีโอมาเรียบรอยแลว เราก็จะจับภาพ (Capture) วิดโอลงใน ี ฮารดดิสกของคอมพิวเตอร หลังจากนั้นจะเขาสูกระบวนการตัดตอวิดีโอ ซึ่งมีขั้นตอนพื้นฐาน ดังนี้ 1. เริ่มตนหรือเปดโปรเจ็กตโปรแกรมตัดตอ 2. จับภาพวิดีโอและนําเขาคลิปไฟลอื่นๆ เชน เสียง ภาพนิ่ง 3. เลือก ตัดตอ แกไขคลิปในหนาตางไทมไลน (Timeline) 4. สรางและใสขอความ เครดต ภาพกราฟก ิ 5. ใสทรานสิชน (Transition) ระหวางคลิป และเพิ่มเอฟเฟกต (Effect) ในคลิป ั่ Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR 21 กรกฎาคม 2553
  • 3. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 3 Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 6. ใสเสยงบรรยาย เสยงเพลง เสยงประกอบ หรือซาวดเอฟเฟกตตาง ๆ ี ี ี  7. เอ็กพอรตโปรเจ็กตงานลงสือ เชน ลงบนวิดีโอเทป สรางเปนไฟลวิดีโอ สรางเปน ่ วิดีโอไฟลแบบ Streaming เพื่อเลนผานเว็บ หรือบันทึกลงแผน DVD คําศัพทที่ใชใน Premiere Pro สําหรับโปรแกรม Adobe Premiere Pro นั้นจะมีศพทที่ใชเรียกองคประกอบใน ั หนาตางการทํางานแตละหนาตาง รวมไปถึงสวนยอยที่เราตองพบบอยๆ โดยคําศัพท เหลานันมีดังตอไปนี้ ้ โปรเจ็กต (Project) หมายถึง ไฟลงานที่เราสรางหรือกําลังติดตออยู เรียกไฟลงาน นั้นวา Project ( โปรเจ็กต ) ซึ่งจะครอบคลุมงานทั้งชิ้นของเรา คลิป (Clip) หมายถึง ไฟลวิดีโอ ไฟลภาพ และไฟลเสียง ที่เราทําการ หรือนําเขา (Import) มาใชในโปรเจ็กต โดยแตละไฟลเราจะเรียกวา Clip ( คลิป ) Track (Track) หมายถึง เลเยอร (Layer) ที่ใชใน Timeline ซึ่งแตละเลเยอร เรา จะเรียกวา Track ( แทร็ก ) เชน เลเยอรของ video 1 เราจะเรียกวา Track ของ video 1  โดย Track เหลานี้ใชสําหรับตัดตอภาพยนตรและตัดตอเสียงรวมทั้งเพิ่มเทคนิคพิเศษตางๆ เฟรม (Frame) หมายถึง ชองแตละชองที่แสดงอยูบน Timeline ซึ่งแตละชองนี้ จะแสดงภาพที่อยูในคลิป โดยจะเรียงตอกันไปเรื่อย ๆ เหมือนกับฟลมภาพยนตร และเรียก  ชองเหลานี้วา Frame ( เฟรม ) Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR 21 กรกฎาคม 2553
  • 4. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 4 Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS ซีเควนส (Sequence) หมายถึง ลําดับหรือฉาก ๆ หนึ่งของภาพยนตรที่เรียงกัน เปนเรืองๆ ซึงในโปรแกรม Premiere ไดนําเอาคํานีมาใชเรียกหนาตางยอยในการจัดอันดับ ่ ่ ้ คลิป บนหนาตาง Timeline เพื่อใหเกิดเปนภาพยนตรวา Sequence ( ซีเควนส ) การเริ่มตนโปรแกรม Premiere วิธีที่ 1 คลิกเมาสที่ปุม Start เลื่อนเมาสคลิกที่เมนู All Programs แลวเลื่อนเมาส ไปที่โปรแกรม Adobe Premiere Pro CS3 แลวคลิกเมาสอีกครั้งหนึ่ง Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR 21 กรกฎาคม 2553
  • 5. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 5 Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS วิธีที่ 2 ดับเบิ้ลคลิก (Double Click) ที่ Shortcut ของ โปรแกรม Adobe Premiere Pro ทีปรากฏบน Desktop ก็ได ่ เมื่อเลือกวิธีการใดวิธีการหนึ่ง โปรแกรมจะเริมทํางาน และเขาสูหนาตาง ่ โปรเจ็กต หลังจากนั้นจะปรากฏหนาตางแรกเพื่อใหเลือกรูปแบบการทํางานกับ Project ดังภาพขางลาง โปรแกรมจะใหทานเลือกอยางใดอยางหนึ่งดังนี้ Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR 21 กรกฎาคม 2553
  • 6. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 6 Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS จากภาพขางบน เราสามารถเลือกทํางานกับโปรแกรมได 3 ลักษณะ ดังนี้ 1) คลิ ก เมาส เ ลื อ กไฟล ง านที ่เ พิ ่ง เคยทํ า ไปเมื ่อ เร็ ว ๆ นี ้ โดยใต คํ า ว า Recent Projects จะแสดงรายชือไฟลงานทีเ่ คยเปดขึ้นมาทํางานครั้งลาสุด 5 อันดับ หากเรา ่ ตองการทํางานตอจากไฟลเดิมเหลานี้ ก็สามารถคลิกเลือกรายชื่อไฟลงานที่ตองการไดทันที 2) คลิกเมาสที่ปม Open Project เพื่อเลือกเปดไฟลงานที่เคยบันทึกไวมาทํางาน ุ ตอ (แตเปนไฟลที่เคยบันทกไวนานกวาไฟลงานลาสุด 5 อันดับ) ึ 3) คลิกเมาสที่ปม New Project เมื่อตองการเริ่มตนทํางานกับไฟลงานใหม โดย ุ เมื่อเลือกหัวขอนี้ จะปรากฏหนาตาง New Project ซึ่งจะตองกําหนดคุณสมบัตของไฟลงาน ิ ในแท็บ Load Preset กอนเขาสูการทํางานของโปรแกรม ดังนี้  Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR 21 กรกฎาคม 2553
  • 7. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 7 Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS การกําหนดคุณสมบัติของไฟลงาน (Project Setting) เปนการกําหนดคาใหเหมาะสมกับไฟลที่ใชประกอบการทํางาน ซึ่งในโปรแกรม Premiere Pro มีเมนูสําหรับการตั้งคาโปรเจ็กต 2 เมนู คือ Project Settings และ Preferences ซึ่งมีความคลายคลึงเปนอยางมาก กลาวคือ การกําหนดคา Project Settings จะกําหนดคากอนที่จะเปดโปรเจ็คใหมขึ้นมา และเมือโปรเจ็คนั้นเปดขึ้นมาแลว คาของ Project Settings จะมีผลตอโปรเจ็คทีทํางานนั้น ่ ่ และไมสามารถเปลยนแปลงคา Project Settings ไดอีก  ี่ สวน Preferences เปนการกําหนดคาพืนฐานทีใชกบทุก ๆ โปรเจ็ค ซึงเราสามารถ ้ ่ ั ่ เปลี่ยนแปลงคาตาง ๆ ไดตลอดเวลา การกําหนดคา Project Settings มีขั้นตอน ดังนี้ 1. เลือกคุณสมบัติของไฟลงาน ที่แท็บ (Tab) ชื่อ Load Preset ในกรอบ Available Presets ใหเลือก คุณสมบัติของไฟลงาน (Project) ใหเหมาะสมกับสื่อ (Media) ที่เราตองการนําผลงานที่ทํา ออกไปแพรภาพ หรือผลลพธตองการ เชน ั  - รูปแบบของวิดีโอเปน DV หรือ HDV - สัดสวนจอเปนแบบ Standard 4:3 หรือ Widescreen 16:9 - ระบบโทรทัศนเปน PAL หรือ NTSC - คุณภาพเสียงระดับปกติ VCD หรือ DVD Video เมื่อมีการเลือกชนิดของไฟลงานแบบใดก็ตาม จะปรากฏรายละเอียดของ คุณสมบัติในชอง Description ใหทราบวาตรงกับความตองการหรือไม Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR 21 กรกฎาคม 2553
  • 8. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 8 Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS แตถายังไมรูสอที่จะนําออกไปแพรภาพเปนที่แนนอน ก็ใหเลือกตามชนิดของ ื่ ไฟลคลิปวิดีโอ (Video Clip) ที่จะนําเขามาใชงาน เพราะชนิดของไฟลงานทีเ่ ลือกเอาไวนี้ สามารถเปลียนแปลงไดอีกในขั้นตอน Export งานออกไป (ประภาวรรณ ตระกูลเกษมสุข. ่ 2544 : 10) ตัวอยาง ในกรณีที่เราบันทึกภาพวิดีโอ ดวยกลองดิจิตอลวิดีโอแบบที่ใชมวน เทปวีดทศนแบบ Mini DV และตั้งคาสัดสวนของภาพกอนบันทึกเปน 4 : 3 ิ ั กลองวิดีโอ HDV และมวนเทปแบบ Mini DV (Sony HDR-FX1E HDV Camcorder PAL ,www.istockphoto.com) Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR 21 กรกฎาคม 2553
  • 9. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 9 Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS ในที่นี้ ใหเลือกเปน DV PAL > Standard 48 kHz ดวยเหตุผลดังนี้ - วิดีโอที่ถายมาจากกลองวิดีโอที่กําหนดรูปแบบวิดีโอเปน DV (Digital Video) - ตองการฉายวิดีโอกับจอโทรทัศนแบบ Standard 4:3 - ระบบโทรทัศนของประเทศไทยเปนระบบ PAL - ตองการคุณภาพเสียงระดับ DVD Video คือ 48 KHz 2. กําหนดพื้นที่เก็บขอมูลในฮารดดิสก เปนการกําหนดไดรฟ (Drive) ในฮารดดิสก (Harddisk) และโฟลเดอร (Folder) ที่ใชเก็บไฟลงาน (Project File) เกบไฟลภาพและเสยงที่ไดจากการจับภาพ ็ ี (Capture) ไฟลที่เกิดจากการ Video Previews และไฟลทเี่ กิดจากการ Audio Previews  ตลอดจนไฟลหรือคลิปอื่น ๆ ที่จะนํามาใชตัดตอวิดีโอ เชน ภาพนิ่ง โลโก เพลงหรือเสียง ประกอบ ฯลฯ ดังนั้น จึงควรเปนไดรฟ (Drive) ที่ทางานเร็วที่สุด มีพื้นที่วางคอนขางมาก ํ และไมควรเปน Drive C ที่ใชบูต (Boot) ระบบปฏิบติการ ั Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR 21 กรกฎาคม 2553
  • 10. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 10 Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS โดยปกติแลว หากไมมีการกําหนดพืนที่จัดเก็บไฟลงานวิดีโอ โปรแกรมจะจัดเก็บ ้ ใหอัตโนมัติในพื้นที่เดียวกับโปรแกรม หรือพื้นใด ๆ ที่กําหนดไวครั้งลาสุด ซึ่งหากเมื่อมีการ ตัดตอวิดีโอหลาย ๆ งาน อาจเกิดความสับสนในการจัดการไฟลงานวิดีโอที่ปะปนกัน ดังนั้น จึงควรกําหนดพื้นจัดเก็บไฟลงานวิดีโอขึ้นมาใหม หมายถึง การกําหนด ไดรฟ (Drive) และโฟลเดอร (Folder) ที่ตองการจัดเก็บไฟลงาน เชน E:My DocumentsMy VideosSport เพื่อใหสะดวกในการจัดการดานไฟลงานวิดีโอแตละเรื่อง โดยมีขนตอนปฏิบัติ ั้ ดังนี้ Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR 21 กรกฎาคม 2553
  • 11. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 11 Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 1) กําหนดพื้นทีเ่ ก็บไฟลงาน (Project File) - คลิกเมาสที่ปม Browse ทายชอง Location จะปรากฏหนาตาง ุ Browse For Folder - กําหนดเสนทาง (Path) ใหม ไดแก ไดรฟ (Drive) และโฟลเดอร (Folder) ที่ตองการจัดเก็บไฟลงาน ตัวอยางเชน D:My DocumentsMy Videos Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR 21 กรกฎาคม 2553
  • 12. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 12 Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS - คลิกเมาสเ ลือกไดรฟ (Drive) และโฟลเดอร (Folder) ที่ตองการ  - คลิกเมาสที่ จะไดโฟลเดอรใหมที่ชื่อ New Folder - เปลี่ยนชื่อโฟลเดอร (Folder) โดยพิมพชื่อใหมเขาไปแทนที่คําวา New Folder เชน Sport Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR 21 กรกฎาคม 2553
  • 13. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 13 Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS - คลิกเมาสที่ปม Ok เพื่อยืนยันการเปลี่ยนชือโฟลเดอร จะกลับไปที่ ุ ่ หนาตาง New Project อีกครั้ง - เมื่อกําหนดเสร็จแลว หากเขาไปดูโฟลเดอรทสรางขึ้นมาใหม โดย ี่ ใชโปรแกรม Windows Explorer จะพบวามีโฟลเดอร Adobe Premiere Pro Preview Files , Encoded Files และ Media Cache Files อยูภายในไดรฟและโฟลเดอรเดียวกัน 2) พิมพชื่อไฟลงานในชอง Name : 3) คลิกเมาสที่ปม ุ จะเขาสูหนาตางโปรแกรม Premiere Pro ดังภาพขางลาง Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR 21 กรกฎาคม 2553
  • 14. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 14 Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS พื้นที่ทํางานของโปรแกรม (Premiere Workspace) หนาตางของโปรแกรม Adobe Premiere Pro ประกอบดวยสวนตาง ๆ ดังนี้ คือ 1) หนาตางโปรเจ็ค (The Project window) เปนพื้นทีเ่ ก็บไฟล (File) ที่เราเรียกวา คลิป (Clip) ไดแก ภาพยนตร (Movie) ภาพนิง (Still Image) เสียง (Sound) ภาพกราฟก (Graphic) หรือ ไตเติล (Title) ่ ้ Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR 21 กรกฎาคม 2553
  • 15. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 15 Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS โดยคลิปตาง ๆ ที่จะนํามาตัดตอบนไทมไลน (Timeline) จะตองนํามา บรรจุ (Import) ไวในหนาตางโปรเจ็ค (Project window) กอนเสมอ อยางไรก็ตาม หนาตาง Project เปนเพียงเครองมือทใชเรียก (หรืออางอิง) ื่ ี่ ไฟลงานเขามาใชและแสดงผล ไมไดเปนที่เก็บไฟลงานอยางแทจริง ดังนั้นจึงตองระมัดระวัง เกี่ยวกับการลบไฟล หรือการเคลื่อนยายไฟลงานที่อยในไดรฟหรือโฟลเดอร ซึ่งเปนที่เก็บไฟล ู ที่แทจริง เพราะจะทําใหโปรแกรมไมสามารถแสดงผลได (ประภาวรรณ ตระกูลเกษมสุข. 2544 : 11) Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR 21 กรกฎาคม 2553
  • 16. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 16 Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS สวนประกอบของหนาตาง Project สวนประกอบ หนาที่ A Thumbnail viewer หนาตางขนาดเล็กสําหรับแสดงภาพของคลิปที่เลือก B. Details รายละเอียดของคลิป C. Clip คลิปที่ Import เขามาใน Project D. Find คนหา E. New สราง Bin อันใหม สรางวัตถุขึ้นมาใหม เชน ไตเติ้ล (Title) Bar and Tone Universal F. Create Item Counting Leader ฯลฯ Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR 21 กรกฎาคม 2553
  • 17. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 17 Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS สวนประกอบ หนาที่ G. Delete Selected Items ลบคลิปที่เลือกทิ้ง H. Automate to Sequence เรียงคลิปแบบรวดเร็วลงบน Timeline I. Icon View เมื่อตองแสดงคลิปในหนาตางโปรเจ็คแบบไอคอน J. Thumbnail View เมื่อตองแสดงคลิปในหนาตางโปรเจ็คแบบมีภาพและชื่อ 2) หนาตางไทมไลน (Timeline window) เปนพื้นทีสําหรับนําคลิป (Clip) ที่อยูในหนาตางโปรเจ็ค (Project window) มา ่ เรียงลําดับหรือตัดตอเปนเรืองราว ่ Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR 21 กรกฎาคม 2553
  • 18. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 18 Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS - พาเนลเครื่องมือ (The Tool Panels) กลองเครืองมือ (Toolbox) จะอยูดานบนซายมือของหนาตาง ่ Timeline เปนหนาตางเล็กๆ ที่มีความสําคัญเพราะตองทํางานคูกับหนาตาง Timeline เสมอ โดยที่หนาตาง Tools จะเก็บเครื่องมือหลักที่ใชในการตัดตอที่จําเปน สวนประกอบ หนาที่ A. Selection tool Selection Tool ใชในการเลือกคลิปที่เราตองการทํางาน โดยการ คลิกเมาสที่คลิปที่อยูบน Track แลวจะปรากฏเสนประลอมรอบ คลิปนั้น ๆ ที่ นอกจากนี้ยังใชในการยืดหรือยอ ซึ่งจะมีผลทําให เวลาในการแสดงของคลิปนั้นเพิมขึ้นหรือลดลงได ่ B. Track Selection Track Select Tool ใชในการก็อปปชวงที่เราตองการ แตจะเปน tool การเลือกทุก ๆ คลิปทีอยูตอจากแทร็กทีเ่ ราเลือก ่  Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR 21 กรกฎาคม 2553
  • 19. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 19 Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS สวนประกอบ หนาที่ C. Ripple Edit tool Ripple Edit Tool ใชสําหรับเพิ่มหรือลดเวลาในการแสดงของ คลิปที่เลือก โดยจะไมสงผลตอเวลาในการแสดงของคลิปที่อยู ติดกัน D. Rolling Edit tool Rolling Edit Tool ใชสําหรับเพิ่มเวลาในการแสดงใหกับคลิปที่เรา เลือก โดยสงผลใหคลิปทีอยูถัดไปลดเวลาในการแสดงลง ่ E. Rate Stretch tool Rate Stretch Tool เพื่อเลือกทุกคลิปที่อยูทางขวามือ F. Razor tool Razor Tool ใชสําหรับตัดคลิปออกเปนสวน ๆ โดยจะตัดทั้งเสียง G. Slip tool Slip Tool ใชในการเลื่อนคลิปที่อยูติดกัน ไมมผลตอความเร็วและ ี คลิปที่อยูติดกัน H. Slide tool Slide Tool ใชในการเลือนคลิปที่อยูติดกัน ซึ่งมีผลตอความเร็วของ ่ คลิปที่อยูติดกัน I. Pen tool J. Hand tool Hand Tool ใชสําหรับเลื่อนคลิปที่อยูนอกหนาตาง Time line K. Zoom tool Zoom Tool ใชสําหรับเลื่อนไปดูคลิปที่มองไมเห็นในหนาตาง Timeline ขณะนั้น Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR 21 กรกฎาคม 2553
  • 20. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 20 Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 4) Effect Effects Palette สําหรับเพิมเทคนิคพิเศษใหกับคลิปวีดิโอ ่ 5) Effect Controls Effect Controls Palette สําหรับปรับแตง Effect ตางๆจากหนาตาง Effect ของ Video Effects และ Audio Effects ที่ไดเพิ่มลงไปขณะตัดตอ 5) Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR 21 กรกฎาคม 2553
  • 21. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 21 Unit 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS - 6) หนาตางมอนิเตอร (The Monitor Windows) เปนสวนที่แสดงคลิปในโปรเจ็กตที่เรากําลังทํางาน ซึงมีสองหนาจอที่ ่ ใชในการเปรียบเทียบกันระหวางคลิปตนฉบับและคลิปที่เรากําลังตัดตออยู Source Monitor Program Monitor Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR 21 กรกฎาคม 2553