SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  20
Télécharger pour lire hors ligne
Unit 2    22




Adobe
Premiere Pro
CS 3

Unit 2 การจับภาพ
และการนําเขาคลิป

            Pipit Sitthisak
PohChang Academy of ARTS
  Rajamangala University of
   Technology Rattanakosin
       pipit.s@rmutr.ac.th
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 23

                                                        Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป


การจับภาพและการนําเขาคลิป
    การจับภาพ (Capture) จากกลองวิดีโอ

          การแคปเจอร คือ การจับภาพหรือเสียง เขาไปยังฮารดดิสก (Hard disk) ของ
เครื่องคอมพิวเตอร โดยคอมพิวเตอรที่จะแคปเจอรไดจะตองมีการดตัดตอวิดีโอ (Video
Editing Card) แบบใดแบบหนึ่งติดตั้งอยู โดยจะตองตอสายสัญญาณจากกลองวิดีโอหรือ
เครื่องเลนเทปวิดีโอมายังการดจับภาพ ซึ่งในระบบดิจิตอล (Digital) ตามมาตรฐาน DV
สายสัญญาณทีใชจะเปนแบบ IEEE 1394 หรือที่เรียกวาสาย Firewire เปนสายเพียงเสน
           ่
เดียวที่สามารถสงขอมูลภาพ เสียง และคําสั่งควบคุมเทป            การแคปเจอรจะกระทําผาน
โปรแกรมจับภาพและเสียงมารวมกันเปนไฟลวิดีโอ ซึ่งสวนใหญเปนไฟลที่มีนามสกุล .AVI
(Loffty. มปป. : 3)

    2.1 การเตรียมการกอนการจับภาพ (Capture)

          1. ตอสาย Fire Wire เชื่อมตอกลองวิดีโอหรือเครื่องเลนวิดีโอเทปเขากับเครื่อง
             คอมพิวเตอร




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR           Last update : 21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 24

                                                       Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป




          2. เปดสวิทซ power ของกลองวิดโอ
                                         ี
          3. ใชคําสั่ง File > Capture




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR          Last update : 21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 25

                                                       Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป




                จะปรากฏหนาตาง Capture




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR          Last update : 21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 26

                                                       Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป



          4. คลิกเมาสที่แท็บ Setting




          5. ที่หัวขอ Caption Location กําหนดไดรฟและโฟลเดอรในการจัดเก็บไฟลวิดีโอ
                                                               
             และไฟลเสียง
             1) กําหนดไดรฟและโฟลเดอรในการจัดเก็บไฟลวิดีโอ
                   - คลิกเมาสที่ปม Browse หลังชอง Video
                                  ุ
                   - กําหนดไดรฟและโฟลเดอรในการจัดเก็บไฟลวิดีโอ
             2) กําหนดไดรฟและโฟลเดอรในการจัดเก็บไฟลเสียง
                                           
                   - คลิกเมาสที่ปม Browse หลังชอง Audio
                                     ุ
                   - กําหนดไดรฟและโฟลเดอรในการจัดเก็บไฟลเสียง
                                              
          6. กําหนด Device Control ของกลองวิดีโอ
                   - กําหนด Device เปน DV/HDV Device Control
          7. คลิกเมาสที่ปม Option เปน
                           ุ
                   - กําหนด Video Standard เปน PAL
                   - กําหนด Device Brand เปน ยี่หอของกลองวิดีโอ เชน Sony
Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR          Last update : 21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 27

                                                       Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป



                 - กําหนด Device Type เปน รุนของกลองวิดีโอ ถาไมตรงใหเลือกเปน
            Standard




          8. คลิกเมาสที่ปม Rewind เพื่อกรอเทปกลับไปตนมวน
                          ุ




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR          Last update : 21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 28

                                                        Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป



          9. คลิกเมาสที่ปม Record เพือเริ่มตนจับภาพ
                          ุ          ่




    10. คลิกเมาสที่ปม Stop หรือ กดคีย ESC ที่คียบอรดเพื่อยุติการจับภาพ
                     ุ




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR          Last update : 21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 29

                                                       Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป



    11. พิมพชื่อคลิปวิดีโอในชอง Cilp Name :




    12. คลิกเมาสที่ปม Record อีกครั้ง เพื่อเริมตนจับภาพตอนตอไป
                     ุ                        ่
    13. ออกจากหนาตางจับภาพ โดยคลิกเมาสที่ปุม Close X




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR          Last update : 21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 30

                                                       Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป



    14. จะปรากฏไฟลวิดีโอในหนาตาง Project




การจับภาพวิดีโอพรอมกบการถายวิดีโอ
                     ั

    1. ตอสายสัญญาณ Fire Wire เชื่อมระหวางกลองกับคอมพิวเตอร
    2. เขาสูโปรแกรม Adobe Premiere Pro
    3. เปดสวิทซกลองวิดีโอ
    4. คลิกเมาสเ ลือกเลือก New Project
       - กําหนด location
    5. กําหนด Load Preset เปน DV - Pal> Standard 48 kHz
    6. กําหนด Location โดยคลิกเมาสที่ปุม Browse เลือกไดรฟ โฟลเดอร และพมพชอ
                                                                          ิ ื่
       ไฟล โปรเจ็กต



Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR          Last update : 21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 31

                                                            Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป



     7. คลิกเมาสเ ลือกเมนู File > Capture
     8. คลิกเมาสที่ปมRecord
                         ุ
     9. คลิกเมาสที่ปม Stop
                      ุ


การ Import คลิปและการแสดงรายละเอียดของคลิป

          การ Import ไฟลเขาสู Project

                   หลังจากที่ไดมีการจัดเตรียมวัตถุดิบ เชน ภาพวิดีโอ (Video Clip) ภาพนิ่ง (Still
Image Clip) และเสียง (Audio Clip) เก็บไวในฮารดดิสก (Hard Disk) เรียบรอยแลว เมื่อจะ
นําไปใชในการตัดตอวิดีทัศน จะตองมีการนําคลิปเขาสูหนาตางโปรเจ็ค (Project Window) ดวย
                                                                                        
วิธีการดังนี้

                   1. คลิกเมาสที่เมนู File>Import

                   2. ดับเบิ้ลคลิกเมาส (Double Click)          บริเวณทีวางสําหรับวางคลิปใน
                                                                        ่
หนาตางโปรเจ็กต หรือ คลิกเมาสขวา แลวเลือกคําสั่ง Import




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR               Last update : 21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 32

                                                       Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป




                  2. เมื่อเลือกวิธีการใดวิธีการหนึ่งขางตนแลว จะปรากฏหนาตาง Import
ใหเลือกไดรฟ (Drive) โฟลเดอร (Folder) และคนหาไฟล (File) ที่ตองการ แลวคลิกเมาส
เลือกไฟลที่ตองการ




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR          Last update : 21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 33

                                                       Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR          Last update : 21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 34

                                                       Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป




                  3. คลิกปุม Open เพื่อเริม Import
                                           ่




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR          Last update : 21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 35

                                                        Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป


        การแสดงรายละเอียดของคลิป




List View แสดงคลิปแบบมีรายละเอียด                Icon View แสดงคลิปแบบมีภาพและชือ
                                                                                ่



        การนํา Clip วางบน Timeline

                  ลาก (Drag) ไฟลทตองการจากหนาตางโปรเจ็ค (Project Windows) ไป
                                  ่ี 
วางในแทร็ค (Track) ที่ชื่อ Video1 โดยวางคลิปใหชดซายเสมอ
                                                ิ

                  การวางคลิปใหวางคลิปตอชนกันไปเรือย ๆ
                                                   ่               ระวังอยาใหเกิดชองวาง
ระหวางคลิป เพราะชองวางจะปรากฏเปนสีดา ดังนั้นควรใชคําสั่ง Sequence > Snap
                                       ํ




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR           Last update : 21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 36

                                                       Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป




              หรือคลิปที่ปม Snap จะชวยใหคลิปที่วางใหมใกล ๆ ถูกดูดติดกันสนิทพอดี
                          ุ




              แทร็ก (Track) สําหรับวางคลิปวิดโอ (Video Clip) และแทร็ก (Track) สําหรับ
                                             ี
วางคลิปเสียง (Audio Clip) จะแยกกันอยู โดยคลิปวิดีโอหลักควรจะวางบนแทร็ก (Track) ที่
ชื่อ Video 1 หรือ Video 1 เทานั้น

              คลิปประกอบหรือคลิปซอนอื่น ๆ จะตองวางบนแทร็ก (Track) Video 2 หรือ
สูงกวา โดยเราสามารถเพิมแทร็กของภาพวิดีโอและเสียงไดถึง 99 แทร็ก
                       ่

Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR          Last update : 21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 37

                                                       Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป




การตัดตอวิดีโอบนไทมไลน (Time line)

        การกําหนดรูปแบบการแสดงคลิปบนไทมไลน

              1. ชี้เมาสที่ Set Display Style แลวคลิกเมาส 1 ครั้ง จะปรากฏกรอบเมนูขึ้น




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR          Last update : 21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 38

                                                       Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป




              เลือกรูปแบบที่ตองการ

         การซอนแทรก
                   ็




     การปรบสเกล (Scale) ของไทมไลน
          ั
          คลิปที่วางบนไทมไลน อาจมีขนาดของคลิปสั้นหรือยาวเกินไป เนื่องจากสเกลของ
ไทมไลนไมสอดคลองกับความยาวของคลิป การปรับสเกลใหเหมาะสมกับการทํางาน ทําได
ดังนี้

          1. กดปุมเครื่องหมาย – (ตัวอักษร ข)ในโหมดการพิมพภาษาอังกฤษ เมื่อตองการ
             ลด Scale

Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR          Last update : 21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 39

                                                       Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป



          2. กดปุมเครื่องหมาย + (ตัวอักษร ช) ในโหมดการพิมพภาษาอังกฤษ เมื่อ
             ตองการเพม Scale
                         ิ่
          3. กดปุมเครื่องหมาย  (Back Slash) (ตัวอักษร ฃ) ในโหมดการพมพ
                                                                       ิ
             ภาษาอังกฤษ เมื่อตองการปรับ Scale เพื่อใหมองเห็นคลิปทั้งหมดที่วางอยูบน
             ไทมไลนใหเหนภายในหนาเดียว
                            ็


        การ Zoom in / Zoom out คลิป




        การ Unlink ภาพและเสียง




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR          Last update : 21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 40

                                                       Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป




การสลับตําแหนงการวางคลิป (p135)

          ในกรณีที่ตองการสลับที่ของตําแหนงคลิป 2 คลิป หากใชเมาสลากคลิปใดคลิป
                                                                  
หนึ่งมาวางสลับกันจะเปนการวางทับคลิปที่อยูเดิมทันที และเกิดชองวาง ณ ตําแหนงที่คลิป
ที่ยายไปเคยอยู

    1) ใชเมาสลากคลิปที่ตองการยายไปยังตําแหนงที่ตองการ
    2) กดคีย Ctrl+alt คางไว แลวปลอยปุมเมาส
         Ctrl = เปนการเลื่อนคลิปทางซายมือมาแทนที่คลิปที่หายไป

          Alt = เปนการยกเลกไมใหคลิปเสยงยายไปพรอมกับคลิปภาพ
                           ิ          ี




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR          Last update : 21 กรกฎาคม 2553
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 41

                                                       Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป


การ Trim ภาพ

          ในกรณีที่คลิปวิดีโอสองคลิปที่เชื่อมตอกัน มีภาพการดําเนินเรืองบางตอนที่ซ้ํากัน
                                                                      ่
2 จังหวะ เชน ภาพการเปดประตูซอนกัน 2 ครั้ง เมื่อเลนภาพตอเนื่องกัน ทําใหภาพที่ปรากฏ
เกิดอาการกระโดด (Jump Cut) ไมตอเนื่องกัน

    1) เลื่อนเสน Edit line หรือเสน CTI (หรือ กด Page Up Page Down) มาอยูรอยตอ
                                                                              
       ระหวางคลิปที่จะ Trim ภาพเขาหากัน
    2) คลิกเครื่องมือ Trim ที่อยูดานมุมขวาลางของหนาตาง Program Monitor (หรือกด
                                   
       คีย Ctrl + T) จะปรากฏหนาตาง Trim ที่แสดงหนาจอภาพทั้งสองคลิป
    3) เลื่อนเมาสไปที่หนาจอดานซายมือ รูปรางเมาสจะเปลียนเปนรูปวงเล็บหันซาย
                                                            ่
    4) ลากเมาส (Drag Mouse) ไปทางซายมือ เพื่อเลือนไปยังตําแหนงภาพที่ตองการ
                                                     ่
       เชื่อมตอหากัน
    5) เลื่อนเมาสไปที่หนาจอดานขวามือ รูปรางเมาสจะเปลียนเปนรูปวงเล็บหันขวา
                                                          ่
    6) ลากเมาส (Drag Mouse) ไปทางขวามือ เพื่อเลื่อนไปยังตําแหนงภาพที่ตองการ
       เชื่อมตอหากัน
    7) คลิกเมาสที่ปม Play Edit ในหนาตาง Trim เพื่อดูผลลัพธวาภาพเชื่อมตอกันราบรืน
                      ุ                                                             ่
       หรือไม
    8) ปดหนาตาง Trim โดยคลิกเมาสที่ X มุมขวาบนของหนาตาง Trim




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR          Last update : 21 กรกฎาคม 2553

Contenu connexe

Plus de Pipit Sitthisak

การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7Pipit Sitthisak
 
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3Pipit Sitthisak
 
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpressการใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpressPipit Sitthisak
 
การสมัครเป็นสมาชิก Google
การสมัครเป็นสมาชิก Googleการสมัครเป็นสมาชิก Google
การสมัครเป็นสมาชิก GooglePipit Sitthisak
 
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพPart 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพPipit Sitthisak
 
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพการใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพPipit Sitthisak
 
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์Pipit Sitthisak
 
1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์Pipit Sitthisak
 
การเพิ่ม User ใน wordpress
การเพิ่ม User ใน wordpressการเพิ่ม User ใน wordpress
การเพิ่ม User ใน wordpressPipit Sitthisak
 
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อกPipit Sitthisak
 
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกันการใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกันPipit Sitthisak
 
การสมัครเป็นสมาชิก slideshare
การสมัครเป็นสมาชิก slideshareการสมัครเป็นสมาชิก slideshare
การสมัครเป็นสมาชิก slidesharePipit Sitthisak
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2Pipit Sitthisak
 
Unit 3 1 basic to television pdf
Unit 3 1  basic to television pdfUnit 3 1  basic to television pdf
Unit 3 1 basic to television pdfPipit Sitthisak
 
Unit 3 2 basic to video-pdf
Unit 3 2  basic to video-pdfUnit 3 2  basic to video-pdf
Unit 3 2 basic to video-pdfPipit Sitthisak
 
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554Pipit Sitthisak
 
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพProject 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพPipit Sitthisak
 
Project 2 final project -p3
Project 2  final project -p3Project 2  final project -p3
Project 2 final project -p3Pipit Sitthisak
 
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพProject 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพPipit Sitthisak
 
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdf
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdfChapter1 pr5-mac-introduction-pdf
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdfPipit Sitthisak
 

Plus de Pipit Sitthisak (20)

การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
 
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
 
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpressการใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
 
การสมัครเป็นสมาชิก Google
การสมัครเป็นสมาชิก Googleการสมัครเป็นสมาชิก Google
การสมัครเป็นสมาชิก Google
 
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพPart 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
 
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพการใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
 
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
 
1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์
 
การเพิ่ม User ใน wordpress
การเพิ่ม User ใน wordpressการเพิ่ม User ใน wordpress
การเพิ่ม User ใน wordpress
 
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
 
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกันการใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
 
การสมัครเป็นสมาชิก slideshare
การสมัครเป็นสมาชิก slideshareการสมัครเป็นสมาชิก slideshare
การสมัครเป็นสมาชิก slideshare
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
 
Unit 3 1 basic to television pdf
Unit 3 1  basic to television pdfUnit 3 1  basic to television pdf
Unit 3 1 basic to television pdf
 
Unit 3 2 basic to video-pdf
Unit 3 2  basic to video-pdfUnit 3 2  basic to video-pdf
Unit 3 2 basic to video-pdf
 
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
 
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพProject 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
 
Project 2 final project -p3
Project 2  final project -p3Project 2  final project -p3
Project 2 final project -p3
 
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพProject 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
 
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdf
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdfChapter1 pr5-mac-introduction-pdf
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdf
 

Imv unit7-2-pr3-capturing-importing-pdf

  • 1. Unit 2 22 Adobe Premiere Pro CS 3 Unit 2 การจับภาพ และการนําเขาคลิป Pipit Sitthisak PohChang Academy of ARTS Rajamangala University of Technology Rattanakosin pipit.s@rmutr.ac.th
  • 2. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 23 Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป การจับภาพและการนําเขาคลิป การจับภาพ (Capture) จากกลองวิดีโอ การแคปเจอร คือ การจับภาพหรือเสียง เขาไปยังฮารดดิสก (Hard disk) ของ เครื่องคอมพิวเตอร โดยคอมพิวเตอรที่จะแคปเจอรไดจะตองมีการดตัดตอวิดีโอ (Video Editing Card) แบบใดแบบหนึ่งติดตั้งอยู โดยจะตองตอสายสัญญาณจากกลองวิดีโอหรือ เครื่องเลนเทปวิดีโอมายังการดจับภาพ ซึ่งในระบบดิจิตอล (Digital) ตามมาตรฐาน DV สายสัญญาณทีใชจะเปนแบบ IEEE 1394 หรือที่เรียกวาสาย Firewire เปนสายเพียงเสน ่ เดียวที่สามารถสงขอมูลภาพ เสียง และคําสั่งควบคุมเทป การแคปเจอรจะกระทําผาน โปรแกรมจับภาพและเสียงมารวมกันเปนไฟลวิดีโอ ซึ่งสวนใหญเปนไฟลที่มีนามสกุล .AVI (Loffty. มปป. : 3) 2.1 การเตรียมการกอนการจับภาพ (Capture) 1. ตอสาย Fire Wire เชื่อมตอกลองวิดีโอหรือเครื่องเลนวิดีโอเทปเขากับเครื่อง คอมพิวเตอร Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last update : 21 กรกฎาคม 2553
  • 3. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 24 Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป 2. เปดสวิทซ power ของกลองวิดโอ ี 3. ใชคําสั่ง File > Capture Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last update : 21 กรกฎาคม 2553
  • 4. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 25 Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป จะปรากฏหนาตาง Capture Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last update : 21 กรกฎาคม 2553
  • 5. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 26 Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป 4. คลิกเมาสที่แท็บ Setting 5. ที่หัวขอ Caption Location กําหนดไดรฟและโฟลเดอรในการจัดเก็บไฟลวิดีโอ   และไฟลเสียง 1) กําหนดไดรฟและโฟลเดอรในการจัดเก็บไฟลวิดีโอ - คลิกเมาสที่ปม Browse หลังชอง Video ุ - กําหนดไดรฟและโฟลเดอรในการจัดเก็บไฟลวิดีโอ 2) กําหนดไดรฟและโฟลเดอรในการจัดเก็บไฟลเสียง  - คลิกเมาสที่ปม Browse หลังชอง Audio ุ - กําหนดไดรฟและโฟลเดอรในการจัดเก็บไฟลเสียง  6. กําหนด Device Control ของกลองวิดีโอ - กําหนด Device เปน DV/HDV Device Control 7. คลิกเมาสที่ปม Option เปน ุ - กําหนด Video Standard เปน PAL - กําหนด Device Brand เปน ยี่หอของกลองวิดีโอ เชน Sony Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last update : 21 กรกฎาคม 2553
  • 6. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 27 Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป - กําหนด Device Type เปน รุนของกลองวิดีโอ ถาไมตรงใหเลือกเปน Standard 8. คลิกเมาสที่ปม Rewind เพื่อกรอเทปกลับไปตนมวน ุ Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last update : 21 กรกฎาคม 2553
  • 7. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 28 Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป 9. คลิกเมาสที่ปม Record เพือเริ่มตนจับภาพ ุ ่ 10. คลิกเมาสที่ปม Stop หรือ กดคีย ESC ที่คียบอรดเพื่อยุติการจับภาพ ุ Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last update : 21 กรกฎาคม 2553
  • 8. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 29 Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป 11. พิมพชื่อคลิปวิดีโอในชอง Cilp Name : 12. คลิกเมาสที่ปม Record อีกครั้ง เพื่อเริมตนจับภาพตอนตอไป ุ ่ 13. ออกจากหนาตางจับภาพ โดยคลิกเมาสที่ปุม Close X Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last update : 21 กรกฎาคม 2553
  • 9. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 30 Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป 14. จะปรากฏไฟลวิดีโอในหนาตาง Project การจับภาพวิดีโอพรอมกบการถายวิดีโอ ั 1. ตอสายสัญญาณ Fire Wire เชื่อมระหวางกลองกับคอมพิวเตอร 2. เขาสูโปรแกรม Adobe Premiere Pro 3. เปดสวิทซกลองวิดีโอ 4. คลิกเมาสเ ลือกเลือก New Project - กําหนด location 5. กําหนด Load Preset เปน DV - Pal> Standard 48 kHz 6. กําหนด Location โดยคลิกเมาสที่ปุม Browse เลือกไดรฟ โฟลเดอร และพมพชอ ิ ื่ ไฟล โปรเจ็กต Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last update : 21 กรกฎาคม 2553
  • 10. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 31 Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป 7. คลิกเมาสเ ลือกเมนู File > Capture 8. คลิกเมาสที่ปมRecord ุ 9. คลิกเมาสที่ปม Stop ุ การ Import คลิปและการแสดงรายละเอียดของคลิป การ Import ไฟลเขาสู Project หลังจากที่ไดมีการจัดเตรียมวัตถุดิบ เชน ภาพวิดีโอ (Video Clip) ภาพนิ่ง (Still Image Clip) และเสียง (Audio Clip) เก็บไวในฮารดดิสก (Hard Disk) เรียบรอยแลว เมื่อจะ นําไปใชในการตัดตอวิดีทัศน จะตองมีการนําคลิปเขาสูหนาตางโปรเจ็ค (Project Window) ดวย  วิธีการดังนี้ 1. คลิกเมาสที่เมนู File>Import 2. ดับเบิ้ลคลิกเมาส (Double Click) บริเวณทีวางสําหรับวางคลิปใน ่ หนาตางโปรเจ็กต หรือ คลิกเมาสขวา แลวเลือกคําสั่ง Import Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last update : 21 กรกฎาคม 2553
  • 11. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 32 Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป 2. เมื่อเลือกวิธีการใดวิธีการหนึ่งขางตนแลว จะปรากฏหนาตาง Import ใหเลือกไดรฟ (Drive) โฟลเดอร (Folder) และคนหาไฟล (File) ที่ตองการ แลวคลิกเมาส เลือกไฟลที่ตองการ Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last update : 21 กรกฎาคม 2553
  • 12. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 33 Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last update : 21 กรกฎาคม 2553
  • 13. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 34 Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป 3. คลิกปุม Open เพื่อเริม Import ่ Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last update : 21 กรกฎาคม 2553
  • 14. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 35 Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป การแสดงรายละเอียดของคลิป List View แสดงคลิปแบบมีรายละเอียด Icon View แสดงคลิปแบบมีภาพและชือ ่ การนํา Clip วางบน Timeline ลาก (Drag) ไฟลทตองการจากหนาตางโปรเจ็ค (Project Windows) ไป ่ี  วางในแทร็ค (Track) ที่ชื่อ Video1 โดยวางคลิปใหชดซายเสมอ ิ การวางคลิปใหวางคลิปตอชนกันไปเรือย ๆ ่ ระวังอยาใหเกิดชองวาง ระหวางคลิป เพราะชองวางจะปรากฏเปนสีดา ดังนั้นควรใชคําสั่ง Sequence > Snap ํ Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last update : 21 กรกฎาคม 2553
  • 15. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 36 Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป หรือคลิปที่ปม Snap จะชวยใหคลิปที่วางใหมใกล ๆ ถูกดูดติดกันสนิทพอดี ุ แทร็ก (Track) สําหรับวางคลิปวิดโอ (Video Clip) และแทร็ก (Track) สําหรับ ี วางคลิปเสียง (Audio Clip) จะแยกกันอยู โดยคลิปวิดีโอหลักควรจะวางบนแทร็ก (Track) ที่ ชื่อ Video 1 หรือ Video 1 เทานั้น คลิปประกอบหรือคลิปซอนอื่น ๆ จะตองวางบนแทร็ก (Track) Video 2 หรือ สูงกวา โดยเราสามารถเพิมแทร็กของภาพวิดีโอและเสียงไดถึง 99 แทร็ก ่ Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last update : 21 กรกฎาคม 2553
  • 16. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 37 Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป การตัดตอวิดีโอบนไทมไลน (Time line) การกําหนดรูปแบบการแสดงคลิปบนไทมไลน 1. ชี้เมาสที่ Set Display Style แลวคลิกเมาส 1 ครั้ง จะปรากฏกรอบเมนูขึ้น Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last update : 21 กรกฎาคม 2553
  • 17. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 38 Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป เลือกรูปแบบที่ตองการ การซอนแทรก ็ การปรบสเกล (Scale) ของไทมไลน ั คลิปที่วางบนไทมไลน อาจมีขนาดของคลิปสั้นหรือยาวเกินไป เนื่องจากสเกลของ ไทมไลนไมสอดคลองกับความยาวของคลิป การปรับสเกลใหเหมาะสมกับการทํางาน ทําได ดังนี้ 1. กดปุมเครื่องหมาย – (ตัวอักษร ข)ในโหมดการพิมพภาษาอังกฤษ เมื่อตองการ ลด Scale Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last update : 21 กรกฎาคม 2553
  • 18. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 39 Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป 2. กดปุมเครื่องหมาย + (ตัวอักษร ช) ในโหมดการพิมพภาษาอังกฤษ เมื่อ ตองการเพม Scale ิ่ 3. กดปุมเครื่องหมาย (Back Slash) (ตัวอักษร ฃ) ในโหมดการพมพ ิ ภาษาอังกฤษ เมื่อตองการปรับ Scale เพื่อใหมองเห็นคลิปทั้งหมดที่วางอยูบน ไทมไลนใหเหนภายในหนาเดียว ็ การ Zoom in / Zoom out คลิป การ Unlink ภาพและเสียง Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last update : 21 กรกฎาคม 2553
  • 19. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 40 Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป การสลับตําแหนงการวางคลิป (p135) ในกรณีที่ตองการสลับที่ของตําแหนงคลิป 2 คลิป หากใชเมาสลากคลิปใดคลิป  หนึ่งมาวางสลับกันจะเปนการวางทับคลิปที่อยูเดิมทันที และเกิดชองวาง ณ ตําแหนงที่คลิป ที่ยายไปเคยอยู 1) ใชเมาสลากคลิปที่ตองการยายไปยังตําแหนงที่ตองการ 2) กดคีย Ctrl+alt คางไว แลวปลอยปุมเมาส Ctrl = เปนการเลื่อนคลิปทางซายมือมาแทนที่คลิปที่หายไป Alt = เปนการยกเลกไมใหคลิปเสยงยายไปพรอมกับคลิปภาพ ิ  ี Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last update : 21 กรกฎาคม 2553
  • 20. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 3 41 Unit 2 การจับภาพและการนําเขาคลิป การ Trim ภาพ ในกรณีที่คลิปวิดีโอสองคลิปที่เชื่อมตอกัน มีภาพการดําเนินเรืองบางตอนที่ซ้ํากัน ่ 2 จังหวะ เชน ภาพการเปดประตูซอนกัน 2 ครั้ง เมื่อเลนภาพตอเนื่องกัน ทําใหภาพที่ปรากฏ เกิดอาการกระโดด (Jump Cut) ไมตอเนื่องกัน 1) เลื่อนเสน Edit line หรือเสน CTI (หรือ กด Page Up Page Down) มาอยูรอยตอ  ระหวางคลิปที่จะ Trim ภาพเขาหากัน 2) คลิกเครื่องมือ Trim ที่อยูดานมุมขวาลางของหนาตาง Program Monitor (หรือกด  คีย Ctrl + T) จะปรากฏหนาตาง Trim ที่แสดงหนาจอภาพทั้งสองคลิป 3) เลื่อนเมาสไปที่หนาจอดานซายมือ รูปรางเมาสจะเปลียนเปนรูปวงเล็บหันซาย ่ 4) ลากเมาส (Drag Mouse) ไปทางซายมือ เพื่อเลือนไปยังตําแหนงภาพที่ตองการ ่ เชื่อมตอหากัน 5) เลื่อนเมาสไปที่หนาจอดานขวามือ รูปรางเมาสจะเปลียนเปนรูปวงเล็บหันขวา ่ 6) ลากเมาส (Drag Mouse) ไปทางขวามือ เพื่อเลื่อนไปยังตําแหนงภาพที่ตองการ เชื่อมตอหากัน 7) คลิกเมาสที่ปม Play Edit ในหนาตาง Trim เพื่อดูผลลัพธวาภาพเชื่อมตอกันราบรืน ุ ่ หรือไม 8) ปดหนาตาง Trim โดยคลิกเมาสที่ X มุมขวาบนของหนาตาง Trim Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last update : 21 กรกฎาคม 2553