SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  36
คำำรำชำศัพ
ท์
โดย
ด.ช. กิตติพ
ศ
ปรำงค์ศรีเจริญ
ห้อง
ม.๒
๐๔
เลขที่ ๒
๒
วัตถุประสงค์
a. เพื่อประกอบบทเรียนภำษำไทยชั้น
มัธยมศึกษำ ปีที่ ๒ เรื่องโชคดีที่มีภำษำไทย
๒. เพื่อศึกษำที่มำ ควำมหมำย และกำรนำำคำำ
รำชำศัพท์ไปใช้ให้ถูกต้อง
๓. เพื่อศึกษำควำมสัมพันธ์ของกำรใช้คำำ
รำชำศัพท์กับกำรอนุรักษ์ภำษำไทย
มูลเหตุที่ทำำให้เกิดคำำรำชำศัพท์
กำรให้เกียรติแก่บุคคลที่เป็นหัวหน้ำชุมชน หรือ
ผู้ที่ชุมชนเคำรพนับถือ ทำำให้แทบทุกชำติทุกภำษำ
ต่ำงก็มีถ้อยคำำเฉพำะสำำหรับใช้กับประมุข หรือ ผู้ที่
เขำเคำรพ นับถือ
กำรที่บรรพชนของคนไทยเรำทั้งรักและเคำรพ
พระ-มหำกษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุขอย่ำงยิ่งนี้เอง ท่ำน
จึงไม่อยำกที่จะใช้คำำพูดกับองค์พระประมุขให้เหมือน
กันที่พูดกับคนอื่นๆ ท่ำนจึงต้องคิดค้นคำำบำงคำำที่เห็น
ว่ำเป็นคำำสุภำพและเป็นคำำสูงควรแก่พระเกียรติมำใช้
เป็นคำำกรำบบังคมทูล
ควำมเป็นมำของคำำ
รำชำศัพท์
ยังไม่มีหลักฐำนแน่ชัดว่ำรำชำศัพท์เริ่มมีมำตั้งแต่
สมัยใด แต่มีผู้รู้สันนิษฐำนไว้เป็น ๔ ประเด็น ดังนี้
a.เริ่มใช้รำชำศัพท์มำตั้งแต่เริ่มตั้งรำชวงศ์สุโขทัย
b.เริ่มใช้รำชำศัพท์ในรัชสมัยสมเด็จพระมหำธรรมรำชำลิไท
๓. เริ่มใช้ในสมัยปฐมบรมกษัตริย์ที่ทรงสร้ำงกรุง
ศรีอยุธยำ และ
๔. เริ่มใช้ในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนำถ
ควำมหมำยของคำำรำชำศัพท์
หนังสือหลักภำษำไทยของพระยำอุปกิตศิลปสำร
(นิ่ม กำญจนำชีวะ) ได้ให้ควำมหมำยของรำชำศัพท์
ไว้ว่ำ
“รำชำศัพท์ แปลว่ำ ศัพท์สำำหรับพระรำชำหรือ
ศัพท์หลวง แต่ในที่นี้หมำยควำมถึงถ้อยคำำที่ใช้ใน
รำชกำรเพรำะในตำำรำนั้น บำงคำำไม่กล่ำวเฉพำะ
กษัตริย์ หรือ เจ้ำนำยเท่ำนั้น กล่ำวทั่วไปสำำหรับคำำที่
ใช้กับบุคคลอื่นด้วย เช่น ขุนนำง พระสงฆ์”
ควำมหมำยของคำำรำชำศัพท์
ม.ล. ปีย์ มำลำกุล กล่ำวถึงกำรใช้คำำรำชำศัพท์
ว่ำ
“ศัพท์ก็ดี ถ้อยคำำก็ดี ในชั้นต้นก็เพียงมุ่ง
หมำยให้เป็นถ้อยคำำที่พระมหำกษัตริย์หรือพระ
รำชวงศ์ทรงฟังได้ ต่อมำเนื่องจำกควำมคลี่คลำย
ของภำษำ รำชำศัพท์จึงได้นำำมำใช้กับพระภิกษุ
ข้ำรำชกำรและกว้ำงออกไปจนถึงสุภำพชน”
ควำมหมำยของคำำรำชำศัพท์
ดังนั้นคำำรำชำศัพท์ ตำมหลักภำษำไทยปัจจุบัน
จึงหมำยถึง
“ถ้อยคำำที่ใช้ให้ถูกต้องตำมฐำนะของ
บุคคล”
โดยฐำนะของบุคคลจำำแนกเป็น ๕ ระดับ ดังนี้
๑. พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวและสมเด็จพระบรม
รำชินีนำถ
๒. พระบรมวงศำนุวงศ์
๓. พระภิกษุสำมเณร
๔. ข้ำรำชกำรชั้นผู้ใหญ่
๕. สุภำพชน
ภำษำที่ได้รับกำรคัดเลือกมำใช้คำำ
รำชำศัพท์
a. ภำษำขอม ใช้เป็นหลักเพรำะเป็นชำติที่มี
อำรยธรรมสูงมำแต่ในอดีต
b. ภำษำบำลี เข้ำมำทำงพระพุทธศำสนำ
เช่น พระอัยกำ พระรำชอำสน์
c. ภำษำสันสกฤต เข้ำมำทำงศำสนำ
พรำหมณ์ เช่น พระเนตร
สวรรคต เป็นต้น
๔. ภำษำอื่น ๆ เข้ำมำเพรำะศิลปะวิทยำกำร
กำรติดต่อค้ำขำย
ขนบประเพณี และ
วัฒนธรรม
กำรศึกษำคำำรำชำศัพท์
แบ่งบุคคลออกเป็น ๓ กลุ่มใหญ่ๆ คือ
กลุ่มที่ ๑ บรมวงศำนุวงศ์
กลุ่มที่ ๒ พระภิกษุสำมเณร
กลุ่มที่ ๓ ข้ำรำชกำรและสุภำพชน
พระบรมวงศานุวงศ์ชั้นที่ ๑
พระบรมวงศานุวงศ์ชั้นที่ ๒
พระบรมวงศานุวงศ์ชั้นที่ ๓
พระบรมวงศานุวงศ์ชั้นที่ ๔
พระบรมวงศานุวงศ์ชั้นที่ ๕
พระบรมวงศานุวงศ์ชั้นที่ ๖
พระบรมวงศานุวงศ์ชั้นที่ ๗
การสร้างคำาราชาศัพท์
a. คำาไทย
๑.๑ ใช้ “พระ” หรือ “พระราช” นำาหน้านาม
ทำาให้ เกิดคำานามราชาศัพท์
เช่น พระแสง พระอู่ พระที่นั่ง
พระราชวัง พระพี่เลี้ยง เป็นต้น
๑.๒ ใช้ “ทรง” นำาหน้าคำากริยาสามัญ ทำาให้
เป็น กริยาราชาศัพท์ เช่น ทรง
ฟัง ทรงสั่งสอน ทรงวาง ทรงวาด
เป็นต้น
๑.๓ ใช้ “ทรง” นำาหน้าคำานามทั่วไป ทำาให้
เป็น คำากริยาราชาศัพท์ เช่น
ทรงม้า (ขี่ม้า) ทรงช้าง (ขี่ช้าง)
ทรงเรือใบ(แล่นเรือใบ)
๑.๔ ใช้ “ต้น” หรือ “หลวง” ต่อท้ายศัพท์
เช่น ช้างต้น ม้าต้น เรือนต้น
การปรุงแต่งศัพท์(ต่อ)
b. ราชาศัพท์ที่เกิดจากคำาประสม อาจเป็นคำาไทย
ประสม คำาไทยหรือคำาไทยประสมกับคำาต่าง
ประเทศ
๒.๑ คำาไทย ประสมกับคำาไทย เช่น รับสั่ง ช้างต้น
เรือนหลวง เป็นต้น
๒.๒ คำาไทยประสมกับคำาต่างประเทศที่เป็น
ราชาศัพท์
- คำานาม เช่น ห้องเครื่อง เครื่องหวาน
ลายพระหัตถ์ ฉลองพระองค์น้อย
- คำากริยา เช่น หายพระทัย ลงพระ
ปรมาภิไธย แย้มพระโอษฐ์ เป็นต้น
การใช้คำาราชาศัพท์สำาหรับพระบรมวงศานุวงศ์
a. คำานาม
๑.๑ คำาว่า “พระบรม พระบรมราช” ใช้นำาหน้าเพื่อ
เชิดชู พระเกียรติ เช่น พระบรมมหาราช
วัง พระบรมเดชานุภาพ
๑.๒ คำาว่า “พระบรม” ใช้เฉพาะพระมหากษัตริย์เท่านั้น
เมื่อใช้กับสมเด็จพระบรมราชินี ให้ตัด
“บรม” ออก เช่น พระราโชวาท
๑.๓ คำาว่า “พระ” ใช้นำาหน้านามสามัญทั่วไปเพื่อให้แตก
ต่าง จากสามัญชน เช่น พระที่นั่ง พระหัตถ์
พระบาท ยกเว้นคำาที่มีศัพท์เฉพาะอยู่แล้ว
การใช้ราชาศัพท์สำาหรับพระบรมวงศานุวงศ์ (ต่อ)
๑.๔ คำาว่า “ต้น” หรือ “หลวง” เมื่ออยู่ท้ายคำาศัพท์
สามัญจะทำาให้เป็นราชาศัพท์ทันที เช่น ช้างต้น
พระแสงปืนต้น เรือหลวง
๒. คำาสรรพนาม คือ คำาแทนชื่อที่จำาแนกตามชั้นของ
บุคคลจึงต้องบัญญัติให้เหมาะสมตามแต่ละบุคคล
๓. คำากริยา
๓.๑ คำากริยาที่เป็นราชาศัพท์อยู่แล้ว ใช้ได้ทันที
เช่น กริ้ว ประชวร เสวย ตรัส โปรด เสด็จ
เป็นต้น
การใช้คำาราชาศัพท์สำาหรับพระบรมวงศานุวงศ์ (ต่อ)
๓.๒ คำากริยาที่ตามหลังคำาว่า “เสด็จ” จะใช้คำาสามัญ
หรือ คำาที่เป็นราชาศัพท์อยู่แล้วก็ได้ เช่น เสด็จ
เข้า เสด็จออก เสด็จยืน
๓.๓ คำาที่ตามหลังคำาว่า “ทรง” จะเป็นคำานามหรือคำา
กริยา ก็ได้แต่เมื่อประสมกันแล้วถือว่าเป็นคำากริยา
ราชาศัพท์ เช่น ทรงฟัง ทรงรำาพึง ทรงช้าง ทรงม้า
ทรงปืน ทรงพระกรุณา ทรงเรือใบ
ยกเว้น ไม่ใช้ทรงนำาหน้าคำาที่เป็นคำาราชาศัพท์อยู่แล้ว เช่น
เสวย เสด็จ ตรัส ประสูติ ยกเว้นคำาเดียว คือ ทรง
ผนวช
การใช้คำาราชาศัพท์สำาหรับพระบรมวงศานุวงศ์ (ต่อ)
คำาราชาศัพท์ที่มีคำาว่า “ทรงพระราช” นำาหน้า
ใช้กับพระมหากษัตริย์ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จ
พระบรมราชนนี สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ และ
สมเด็จพระบรมราชกุมารี
ไม่ใช้ คำาว่า “มี” “เป็น” นำาหน้าคำาราชาศัพท์ เช่น
ไม่ใช้ ทรงมีพระราชดำารัส
ทรงเป็นพระราชโอรส
แต่ใช้ให้ว่า มีพระราชดำารัส เป็นพระ
ราชโอรส
กลุ่มที่ ๑ การใช้คำาราชาศัพท์พระบรมวงศานุวงศ์ (ต่อ)
คำา ราชาศัพท์ ชั้นบุคคล
ตาย สวรรคต พระเจ้าแผ่นดิน, พระ
ราชินี, พระยุพราช
สิ้นพระชนม์ เจ้านายตั้งแต่พระองค์
เจ้าขึ้นไป
สิ้นชีพตักษัย
สิ้นชีพิตักษัย
หม่อมเจ้า
ถึงแก่พิราลัย สมเด็จเจ้าพระยา
ถึงแก่อสัญกรรม เจ้าพระยา (ผู้ที่เทียบ
เท่าด้วย)
ถึงแก่อนิจกรรม พระยา (ผู้ที่เทียบเท่า)
ถึงแก่กรรม สุภาพชน
มรณภาพ ถึงแก่
มรณภาพ
พระสงฆ์
คำากริยาราชาศัพท์บางคำายังลดหลั่นการใช้ หรือใช้ตามลำาดับชั้น
เช่น
การใช้คำาราชาศัพท์พระบรมวงศานุวงศ์ (ต่อ)
คำา ราชาศัพท์ ชั้นบุคคล
เกิด ทรงพระราชสมภพ พระเจ้าแผ่นดิน
ประสูติ เจ้านายชั้นสูง
กิน เสวย พระเจ้าแผ่นดิน, เจ้า
นายชั้นสูง, พระ
สังฆราช
ฉัน พระสงฆ์
รับประทาน สุภาพชน
จดหมาย พระราชหัตถเลขา พระ
ราชสาสน์
พระมหากษัตริย์
ลายพระหัตถ์ พระราชินี พรยุพราช
พระสมณสาสน์ พระสังฆราช
ลิขิต พระสงฆ์
จดหมาย หนังสือ สุภาพชน
กลุ่มที่ ๒ การใช้คำาราชาศัพท์สำาหรับพระภิกษุ
การใช้ถ้อยคำาสำาหรับพระภิกษุแตก
ต่างจากการใช้คำาราชาศัพท์สำาหรับ
พระเจ้าแผ่นดินหรือพระราชวงศ์
เพราะพระภิกษุนั้นไม่ว่าบุคคลอื่นจะ
พูดกับท่านหรือเมื่อท่านพูดกับคนอื่นก็
จะใช้ถ้อยคำาอย่างเดียวกันเสมอไป
http://www.thairath.co.th/content
/edu/379041
ลำาดับสมณศักดิ์
พ.ศ. 2532-2556 พ.ศ. 2556-ปัจจุบัน
สมเด็จพระสังฆราช
ลำาดับสมณศักดิ์
กลุ่มที่ ๒ การใช้คำาราชาศัพท์
สำาหรับพระภิกษุ (ต่อ)
เช่น อาพาธ = (เจ็บ, ป่วย) เป็นศัพท์สำาหรับ
พระภิกษุ
 ในกรณีที่คนอื่นกล่าวถึงท่าน : พระมหาสุ
ริยัณ อาพาธอยู่ที่โรงพยาบาลสงฆ์
 ท่านกล่าวกับคนอื่น : ขณะนี้อาตมา
อาพาธอยู่ที่โรงพยาบาลสงฆ์
คำาว่า ประชวร (เจ็บ, ป่วย) เป็นศัพท์สำาหรับ
พระราชวงศ์
ในกรณีที่คนอื่นกล่าวถึงพระองค์ท่าน :
พระองค์เจ้าพระองค์นั้น ประชวรมา
กลุ่มที่ ๒ การใช้คำาราชาศัพท์
สำาหรับพระภิกษุ (ต่อ)
กลุ่มที่ ๒ การใช้คำาราชาศัพท์
สำาหรับพระภิกษุ (ต่อ)
กลุ่มที่ ๓ การใช้คำาราชาศัพท์
สำาหรับสุภาพชน
ใช้ให้เหมาะสมกับฐานะ และกาลเทศะ
โดยควรหลีกเลี่ยงสิ่งต่อไปนี้
 คำาห้วน หรือคำากระด้าง เช่น เออ โว้ย
หือ หา ไม่รู้
 คำาหยาบ ไม่ควรใช้ เพราะจะติดเป็น
นิสัย เช่น ไอ้ อี ขี้ เยี่ยว
 คำาคะนอง หรือคำาสแลง หมายถึง คำาที่
อยู่ในความนิยมเป็นพัก ๆ เช่น เก๋
เจ๋ง ซ่าส์ ฯลฯ
 คำาผวน หรือคำาที่เวลาผวนกลับแล้วเป็น
คำาหยาบ เช่น เสือกะบาก (สาก
ประโยชน์ที่ได้จากการ
ศึกษาคำาราชาศัพท์a. ประโยชน์ทางตรง
๑.๑ ประโยชน์จากการใช้คำา
ราชาศัพท์ถูกต้อง ใช้ได้เหมาะกับบุคคล
ทำาให้ไม่มีปัญหาการสื่อสาร
๑.๒ ประโยชน์จากการเข้าใจที่ถูก
ต้อง ทำาให้เข้าใจในสิ่งที่ได้ยินหรืออ่านใน
ส่วนที่เกี่ยวข้องกับราชาศัพท์
ประโยชน์ที่ได้จากการ
ศึกษาคำาราชาศัพท์ (ต่อ)
๒. ประโยชน์ทางอ้อม
๒.๑ ธำารงรักษาวัฒนธรรมอันดีงาม
ของชาติไว้
๒.๒ ทำาให้เป็นคนที่มีความประณีต
ในด้านภาษา
๒.๓ ทำาให้สามารถศึกษาและ
เข้าใจในวรรณคดีได้อย่างลึกซึ้ง
๒.๔ เพิ่มความมีเสน่ห์ในตัวบุคคล
คือสามารถเข้าสังคมได้อย่างไม่เคอะเขิน
ความสัมพันธ์ของการใช้คำา
ราชาศัพท์กับบทเรียน
บทเรียนเรื่องโชคดีที่มีภาษาไทย
เป็นการนำาเสนอพระราชดำารัสและ
พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวที่ทรงเป็นห่วงการใช้ภาษา
ไทย ราชาศัพท์ นอกจากจะเป็นการ
อนุรักษ์แบบแผนทางภาษาที่ดีงามไว้แล้ว
ยังเป็นการแสดงออกถึงความเคารพที่
บุคคลพึงมีต่อบุคคลอื่นที่ควรเคารพ การ
ใช้คำาราชาศัพท์เป็นการแสดงให้เห็นถึง
ความเป็นเอกลักษณ์ประจำาชาติไทย ดัง
นั้น จึงเป็นหน้าที่ของชนชาวไทยทุกคนที่
รักเมืองไทย
ร่วมกันใช้ภาษา
ไทยอย่างถูก
ต้อง
นะครับ
ขอขอบคุณท่าน
อาจารย์ และ
เพื่อนๆ ทุกคน
ครับ
บรรณานุกรม
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. ๒๕๔๔. หนังสือเรียนภาษาไทย ท ๒๐๓ ท
๒๐๔ หลักภาษาไทย เล่ม ๒. พิมพ์ครั้งที่ ๑๖ กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา.
กาญจนา นาคสกุล, ศาสตราจารย์เกียรติคุณและคณะกรรมการจัดทำาหนังสือ
เรียนวิวิธภาษา. ๒๕๕๔. วิวิธภาษา. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
สกสค.ลาดพร้าว
พรพรรณ อยู่ดี. “ ”คำาราชาศัพท์ [ออนไลน์]. Google:
www.dsc.ac.th/inweb/student_job/raja/index.htm>. ๑๑ ตุลาคม
๒๕๕๔.
ไพโรจน์ อยู่มณเฑียร. ๒๕๓๖. หลักราชาศัพท์ (ฉบับสมบูรณ์). พิมพ์ครั้งที่ ๒
กรุงเทพฯ : รุ่งแสงการพิมพ์.
ยศ พนัสสรณ์. ๒๕๓๖. ภาษาไทย ม.ต้น (ฉบับเตรียมสอบ). พิมพ์ครั้งที่ ๓.
กรุงเทพฯ: แม็ค จำากัด.
วิกิพีเดีย, “ ”มูลนิธิ ราชาศัพท์ [ออนไลน์]. วิกิพีเดีย:
<www.th/wikipedia.org/wiki/คำาราชาศัพท์>. ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๔.
ศุพภงศ์ ส่องแสง. “ ”โครงงานภาษาไทยเรื่องคำาราชาศัพท์ [ออนไลน์]. Google:
<www.oknation.net/blog/suppapong/๒๐๐๙/ ๐๙/๑๕/entry-๑>. ๑๑
ตุลาคม ๒๕๕๔.
สมศักดิ์ อัมพรวิสิทธิ์โสภา. วิวิธภาษา วรรณคดีวิจักษ์ ม.๒. พิมพ์ครั้งที่ ๑.
บางกอกใหญ่:บริษัท ภูมิบัณฑิตการพิมพ์ จำากัด, ๒๕๓๗. ๒๗๖ หน้า.

Contenu connexe

Tendances

ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
พัน พัน
 
ความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุด
พัน พัน
 
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิงเฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
Supaporn Khiewwan
 

Tendances (20)

สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
วัสดุสารนิเทศ
วัสดุสารนิเทศวัสดุสารนิเทศ
วัสดุสารนิเทศ
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุดบทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docxแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
 
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
Matrix1
Matrix1Matrix1
Matrix1
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
 
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
 
ความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุด
 
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิงเฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
 
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิงใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
mind map สถิติศาสตร์.pdf
mind map สถิติศาสตร์.pdfmind map สถิติศาสตร์.pdf
mind map สถิติศาสตร์.pdf
 

En vedette

เสียงและอักษรไทย
เสียงและอักษรไทยเสียงและอักษรไทย
เสียงและอักษรไทย
vinvin cocokurt
 
PPT คำราชาศัพท์
PPT คำราชาศัพท์PPT คำราชาศัพท์
PPT คำราชาศัพท์
KruBowbaro
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
krupornpana55
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
Nongkran Jarurnphong
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
Nongkran Jarurnphong
 

En vedette (15)

ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์
 
คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
 คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
 
เสียงและอักษรไทย
เสียงและอักษรไทยเสียงและอักษรไทย
เสียงและอักษรไทย
 
คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์
 
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
 
PPT คำราชาศัพท์
PPT คำราชาศัพท์PPT คำราชาศัพท์
PPT คำราชาศัพท์
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 

Similaire à คำราชาศัพท์

คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
พัน พัน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
Nook Kanokwan
 
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
Sitthisak Thapsri
 
งานชนิดของคำ
งานชนิดของคำงานชนิดของคำ
งานชนิดของคำ
speedpiyawat
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Numpuengz' Piacker
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
Nook Kanokwan
 

Similaire à คำราชาศัพท์ (20)

99
9999
99
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
ไทยครูเนื้อ
ไทยครูเนื้อไทยครูเนื้อ
ไทยครูเนื้อ
 
Satthatharachan
SatthatharachanSatthatharachan
Satthatharachan
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O net
 
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสม
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสมชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสม
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสม
 
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
 
คำราชาศัพท์ ม.6
คำราชาศัพท์ ม.6คำราชาศัพท์ ม.6
คำราชาศัพท์ ม.6
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
คำสมาสศาสตร์ต้องรู้
คำสมาสศาสตร์ต้องรู้คำสมาสศาสตร์ต้องรู้
คำสมาสศาสตร์ต้องรู้
 
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
 
ใบความรู้เรื่อง คำราชาศัพท์
ใบความรู้เรื่อง คำราชาศัพท์ใบความรู้เรื่อง คำราชาศัพท์
ใบความรู้เรื่อง คำราชาศัพท์
 
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
 
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
 
งานชนิดของคำ
งานชนิดของคำงานชนิดของคำ
งานชนิดของคำ
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 

คำราชาศัพท์