SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  33
Télécharger pour lire hors ligne
รายงาน
 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
       ประจําปี การศึกษา 2551




          คณะนิเทศศาสตร์
       มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต




โดย คณะผูประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
          ้
      (วันที่ 17-18 กันยายน 2552)
สารบัญ

                                                                หน้ า
1. รายนามคณะผูประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
                 ้                                                 1
2. บทนํา                                                           2
3. วิธีการประเมิน                                                  2
4. ผลการประเมินรายตัวบ่งชี้ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา      4
5. ผลการประเมินตามองค์ประกอบคุณภาพ                                 9
6. ผลการประเมินตามมาตรฐานการอุดมศึกษา                             18
7. ผลการประเมินตามมุมมองด้านการบริ หารจัดการ                      21
ภาคผนวก                                                           25
1. รายนามคณะผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

                    …….………………………………ประธานผู้ ประเมิน
                       (ผศ.ดร.บุญชาล ทองประยูร)

                    …….………………………………ผู้ ประเมิน
                     (อาจารย์ เครือวัลย์ เคลือนสู งเนิน)
                                             ่

                    …….………………………………ผู้ ประเมิน
                       (อาจาร์ ฉนวน เอือการ)
                                       ้

                    …….………………………………ผู้ ประเมิน
                       (อาจารย์ สมสมัย เจริญสุ ข)

                    …….………………………………ผู้ ประเมิน
                       (อาจารย์ ภาวนา เมนทะระ)




                                                                                1
2. บทนา
      สรุ ปข้ อมูลพืนฐาน
                      ้
                                                             ั ่
           มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิ ต เป็ นมหาวิทยาลัยเอกชนที่ต้ งอยูในกรุ งเทพมหานคร โดยมี
สถานะภาพเป็ นวิ ท ยาลั ย ตั้ งแต่ ปี พุ ท ธศั ก ราช 2530 ต่ อ มาในปี พุ ท ธศั ก ราช 2535
ทบวงมหาวิทยาลัยได้อนุญาตให้วทยาลัยเกษมบัณฑิตเปลี่ ยนประเภทเป็ นมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
                                      ิ
โดยได้ดาเนินการศึกษาในระดับปริ ญญาตรี และปริ ญญาโท จนถึงปั จจุบนได้มีการบริ หารและการ
                                                                    ั
จัดการการเรี ยนการสอนเป็ น 2 วิทยาเขต คือ วิทยาเขตพัฒนาการ และวิทยาเขตร่ มเกล้าซึ่ งเป็ น
วิทยาเขตที่จดตั้งขึ้นใหม่ต้ งแต่ปีพุทธศักราช 2546
            ั               ั
         ในปี การศึกษา 2531 ทบวงมหาวิทยาลัยได้อนุมติให้เปิ ดดาเนิ นการเรี ยนการสอนในคณะ
                                                     ั
นิเทศศาสตร์ จนกระทังถึงปั จจุบนได้เปิ ดสอนหลักสู ตรนิเทศศาสตร์ บณฑิต จานวน 6 สาขาวิชา
                        ่           ั                             ั
ได้แก่ สาขาวิชาการประชาสัมพันธ์ สาขาวิชาการโฆษณา สาขาวิชาวิทยุและโทรทัศน์ สาขาวิชา
สื่ อการแสดงและสื่ อสมัยใหม่ สาขาวิชาภาพยนตร์ และดิ จิตอล และสาขาวิชาเทคโนโลยีวารสาร
สนเทศ และนิเทศศาสตร์ มหาบัณฑิต จานวน 1 สาขา คือสาขาบริ หารสื่ อสาร

3. วิธีประเมิน
   3.1 การวางแผนและการประเมิน
         การเตรียมการและการวางแผนก่อนการตรวจเยียม        ่
         1. ประชุมคณะผูประเมิน เพื่อวางแผนการดาเนินการเตรี ยมการตรวจเยียมและตรวจสอบ
                             ้                                                ่
ข้อมูล
         2. ศึกษาเอกสารรายงานที่ เกี่ ยวข้อง ได้แก่ คู่มือการประเมิ นคุ ณภาพการศึ กษาภายใน
สถานศึ ก ษาระดับ อุ ด มศึ ก ษา รายงานสรุ ปผลการประเมิ น ตนเอง (คณะนิ เ ทศศาสตร์ (SAR)
ประจาปี การศึกษา 2551) เพื่อการประกันคุณภาพภายใน และเอกสารที่เกี่ยวข้อง
         3. จัดทากาหนดการตรวจเยียมและนัดหมายกับคณะนิเทศศาสตร์
                                      ่
         การดาเนินการระหว่ างตรวจเยียม  ่
               คณะผูประเมิ นได้ดาเนิ นการตรวจเยี่ย มคณะนิ เทศศาสตร์ ที่ วิทยาเขตร่ มเกล้า โดยมี
                    ้
กระบวนการ ดังนี้
               1. ประชุมร่ วมกับคณบดีและผูบริ หารคณะเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์การประเมิน และ
                                           ้
การตรวจเยียม คณบดีได้ช้ ีแจงสรุ ปการดาเนินงานของคณะโดยคณะผูประเมินได้ซกถามข้อมูลบาง
             ่                                                       ้          ั
ประการ โดยเฉพาะแนวทางบริ หารและการพัฒนาคณะ
               2. คณะผูประเมินตรวจสอบเอกสาร ตรวจเยี่ยมคณะและหน่ วยงานที่เกี่ ยวข้อง ที่วิทยา
                       ้
เขตร่ มเกล้า



                                                                                             2
3. คณะผูประเมินได้เข้าเยียมชมการเรี ยนการสอน ห้องปฏิบติการทางนิเทศศาสตร์ ที่
                           ้           ่                               ั
วิทยาเขตร่ มเกล้า
            4. คณะผูป ระเมิ นร่ วมกันสัมภาษณ์ ตวแทน ผูใ ช้บณฑิ ต จานวน 2 คน นัก ศึก ษา
                         ้                        ั       ้ ั
            จานวน 7 คน ศิษย์เก่า จานวน 4 คน อาจารย์และเจ้าหน้าที่ จานวน 8 คน
            5. คณะผูประเมินประชุมร่ วมกัน ตรวจสอบเอกสารต่าง ๆ และพิจารณาข้อสรุ ปผลการ
                     ้
ประเมินคุณภาพภายในคณะในภาพรวม จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนาปรับปรุ ง และข้อเสนอแนะต่อ
ทิศทางการพัฒนาคณะในอนาคต
         การดาเนินการหลังการตรวจเยียม   ่
            1. จัดทารายงานสรุ ปผลการประเมินคุณภาพภายใน คณะนิเทศาสตร์ โดยใช้เกณฑ์การ
ให้คะแนนแต่ละตัวบ่งชี้ของ สกอ.
            2. คณะผูประเมินร่ วมกันพิจารณารายงาน
                       ้
            3. ส่ งรายงานการประเมินคุณภาพภายใน คณะนิเทศศาสตร์ ให้คณะวิชาพิจารณาและ
            รับคืน มาปรับแก้แล้วเสนอสานักประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัย
  3.2 วิธีการตรวจสอบความถูกต้ องน่ าเชื่ อถือของข้ อมูล
       นอกจากข้อมูลที่ได้รับจากรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ของคณะแล้ว คณะผูประเมิน
                                                                                 ้
ได้ใช้เทคนิควิธีการต่าง ๆในการตรวจสอบความถูกต้องน่าเชื่อถือของข้อมูลโดยวิธีการดังต่อไปนี้
       1. สื บค้นข้อมูลจากฐานข้อมูล
       2. สื บค้นจากเอกสารอื่น ๆ รวมถึงงานวิจยสถาบัน
                                                ั
       3. สื บค้นจากการสัมภาษณ์ผบริ หาร ผูปฏิบติงาน เพื่อค้นหาสภาพความเป็ นจริ ง
                                    ู้        ้ ั
       4. สื บค้นจากการสังเกตการณ์ปฏิบติงานจริ ง
                                           ั
       5. สื บค้นจากการสัมภาษณ์ผมีส่วนได้เสี ย เช่น นักศึกษา ศิษย์เก่า
                                    ู้




                                                                                       3
4. ผลการประเมินรายตัวบ่ งชี้ของสํานักงานคณะกรรมการการ
ตารางที่ ป.1 ผลการประเมินรายตัวบ่ งชี้ของสํ านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
                                                ผลการดําเนินงาน              บรรลุเปาหมาย
                                                                                    ้          คะแนน
   ตัวบ่ งชี้
                     เปาหมาย
                       ้                  ตัวตั้ง            ผลลัพธ์          = บรรลุ         ประเมิน                         หมายเหตุ
   คุณภาพ
                                         ตัวหาร          (% หรือสั ดส่ วน)    = ไม่ บรรลุ ( เกณฑ์ สกอ. ) (เช่ น เหตุผลของการประเมินทีต่างจากทีระบุใน SAR)
                                                                                                                                      ่        ่
  ตัวบ่งชี้ 1.1      ระดับ 7                                     ระดับ 7                        3
  ตัวบ่งชี้ 1.2     ร้อยละ 90         9  100                  90%                              3
                                     10
  ตัวบ่งชี้ 2.1       ระดับ 5                                   ระดับ 6                          3
  ตัวบ่งชี้ 2.2       ระดับ 7                                   ระดับ 6                          2         ยังไม่มีระบบการปรับปรุ งวิธีการเรี ยนการสอนและ
                                                                                                            พัฒนาผูเ้ รี ยนอย่างต่อเนื่องทุกหลักสู ตร
  ตัวบ่งชี้ 2.3       ระดับ 5                                  ระดับ 4                           2         ยังไม่มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุ งการมีส่วนร่ วม
                                                                                                            ของบุคลากร องค์การและชุมชนภายนอกในการพัฒนา
                                                                                                            หลักสู ตรและการเรี ยนการสอนทุกหลักสู ตรอย่างเป็ น
                                                                                                            ระบบ
  ตัวบ่งชี้ 2.4    ร้อยละ 6-9.99     25.22 - 25  100         0.88%                              3
                                         25
                         และ
                   -6- (-9.99) ของ
                  เกณฑ์มาตรฐาน
  ตัวบ่งชี้ 2.5   ป.เอก  ร้อยละ     4  100                 13.79%                              1
                                     29
                          20
                    ป.ตรี นอยกว่า
                           ้         1
                                         100                 21.05
                                     29
                      ร้อยละ 5
                                                                                                                                                            4
ผลการดําเนินงาน              บรรลุเปาหมาย
                                                                                  ้          คะแนน
  ตัวบ่ งชี้
                    เปาหมาย
                      ้                 ตัวตั้ง            ผลลัพธ์          = บรรลุ         ประเมิน                         หมายเหตุ
  คุณภาพ
                                       ตัวหาร          (% หรือสั ดส่ วน)    = ไม่ บรรลุ ( เกณฑ์ สกอ. ) (เช่ น เหตุผลของการประเมินทีต่างจากทีระบุใน SAR)
                                                                                                                                    ่        ่
ตัวบ่งชี้ 2.6    ศ +รศ+ผศ  40     1  100                   3.45                             1
                                   29
                  รศ.ขึ้นไป  10
ตัวบ่งชี้ 2.7        ระดับ 4                     ระดับ 4                                       3
ตัวบ่งชี้ 2.8         3 ข้อ                        1 ข้อ                                       1         1.ยังไม่มีแนวทางพัฒนาอาจารย์ดานความรู ้ความเข้าใจ
                                                                                                                                         ้
                                                                                                          เกี่ยวกับวิจยและพัฒนานวัตกรรมการเรี ยนการสอนที่
                                                                                                                      ั
                                                                                                          ชัดเจนและแจ้งให้คณาจารย์ทราบทัวกันอย่างเป็ นลาย
                                                                                                                                            ่
                                                                                                          ลักษณ์อกษร
                                                                                                                   ั
                                                                                                          2.ยังไม่มีกลไกการบริ หารวิชาการที่กระตุนให้อาจารย์
                                                                                                                                                 ้
                                                                                                          คิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆอยูเ่ สมอ
ตัวบ่งชี้ 2.9      ร้อยละ 1-59                             81.48%                              3         ผลการประเมืนจากส่ วนกลางมหาวิทยาลัย
ตัวบ่งชี้ 2.10     ร้อยละ 100                              82.73%                              2         ผลการประเมินจากส่ วนกลางมหาวิทยาลัย
ตัวบ่งชี้ 2.11         3.50                        3.62                                        3
ตัวบ่งชี้ 2.12     ร้อยละ 0.03     14  100                  2.13                              3
                                   657
ตัวบ่งชี้ 3.1        ระดับ 8                                 ระดับ 6                           1         ยังมีการประเมินการให้บริ การด้านการให้บริ การ
                                                                                                          แหล่งข้อมูลข่าวสารต่อนักศึกษาและศิษย์เก่าและยังไม่มี
                                                                                                          การนําผลการประเมินไปพัฒนาการจัดการเรี ยนการสอน
                                                                                                          แก่นกศึกษาและศิษย์เก่า
                                                                                                               ั

                                                                                                                                                          5
ผลการดําเนินงาน               บรรลุเปาหมาย
                                                                          ้          คะแนน
 ตัวบ่ งชี้
                 เปาหมาย
                   ้           ตัวตั้ง            ผลลัพธ์           = บรรลุ         ประเมิน                          หมายเหตุ
 คุณภาพ
                               ตัวหาร          (% หรือสั ดส่ วน)    = ไม่ บรรลุ ( เกณฑ์ สกอ. ) (เช่ น เหตุผลของการประเมินทีต่างจากทีระบุใน SAR)
                                                                                                                              ่      ่
ตัวบ่งชี้ 3.2    ระดับ 4                ระดับ 4                                       3
ตัวบ่งชี้ 4.1     5 ข้อ                   4 ข้อ                                       2         ยังไม่มีการสร้างขวัญและกําลังใจในการยกย่องนักวิจย
                                                                                                                                                 ั
ตัวบ่งชี้ 4.2     4 ข้อ                   1 ข้อ                                       1         ยังไม่มีคณะกรรมการ/คณะทํางานในการรวบรวมและ
                                                                                                 สังเคราะห์งานวิจยั
ตัวบ่งชี้ 4.3   16,999 บาท   49,750                1,715.52                           2
                                29
ตัวบ่งชี้ 4.4   ร้อยละ 30    2  100                6.90                                1        - บทความเรื่ อง “ภาวะการว่างงานของบัณฑิต
                             29
                                                                                                  มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
                                                                                                  - บทความเรื่ อง “Local people’s opinions about the
                                                                                                  proposed Chiang Saen World Heritage Site, Chiang Rai
                                                                                                  Province”
ตัวบ่งชี้ 5.1    ระดับ 5                 ระดับ 1                                        1        ยังไม่มีคณะกรรมการบริ การวิชาการ ควรมีคาสังแต่งตั้ง
                                                                                                                                             ํ ่
                                                                                                  ที่ชดเจนไม่ควรใช้ชุดเดียวกับคณะกรรมการวิชาการ
                                                                                                      ั




                                                                                                                                                  6
ผลการดําเนินงาน                บรรลุเปาหมาย
                                                                            ้
 ตัวบ่ งชี้                                                                        คะแนนประเมิน
                 เปาหมาย
                   ้            ตัวตั้ง             ผลลัพธ์           = บรรลุ                                        หมายเหตุ
 คุณภาพ                                                                            ( เกณฑ์ สกอ. )
                                ตัวหาร           (% หรือสั ดส่ วน)    = ไม่ บรรลุ                (เช่ น เหตุผลของการประเมินทีต่างจากทีระบุใน SAR)
                                                                                                                              ่        ่
ตัวบ่งชี้ 5.2    ร้อยละ 30     9  100                31.04                               3
                               29
ตัวบ่งชี้ 5.3    ร้อยละ 30     3  100                10.34                               1        - โครงการเปิ ดโลกการสื่ อสาร 360 องศา
                               29
                                                                                                    - โครงการสัมมนาสร้างความสําเร็ จให้องค์กร ด้วย
                                                                                                    กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์
                                                                                                    - โครงการค่ายสนุกทุกการเรี ยนรู ้
ตัวบ่งชี้ 5.4   มากกว่า 3.51               4.19                                           3        (3.93+3.97+4.66)/3 = 4.19 (มี 3 โครงการ)
ตัวบ่งชี้ 6.1     ระดับ 4                 ระดับ 3                                         2        ขาดฐานข้อมูลด้านศิลปวัฒนธรรมที่เป็ นการส่ งเสริ ม
                                                                                                    การดําเนินงานด้านศิลปวัฒนธรรมทั้งในระดับชาติ
                                                                                                    และนานาชาติ

ตัวบ่งชี้ 7.1      5 ข้อ                   5 ข้อ                                          3
ตัวบ่งชี้ 7.2     ระดับ 4                 ระดับ 4                                         3

ตัวบ่งชี้ 7.3     ระดับ 3                 ระดับ 3                                         2
ตัวบ่งชี้ 7.4     ระดับ 5                 ระดับ 5                                         3
ตัวบ่งชี้ 7.5     ระดับ 5                 ระดับ 4                                         3        ยังไม่มีการนําผลการประเมินมาปรับปรุ งระบบ
                                                                                                    ฐานข้อมูล


                                                                                                                                                   7
ผลการดําเนินงาน                บรรลุเปาหมาย
                                                                       ้
 ตัวบ่ งชี้     เปาหมาย
                  ้        ตัวตั้ง             ผลลัพธ์           = บรรลุ     คะแนนประเมิน                       หมายเหตุ
 คุณภาพ                    ตัวหาร           (% หรือสั ดส่ วน)    = ไม่ บรรลุ ( เกณฑ์ สกอ. ) (เช่ น เหตุผลของการประเมินทีต่างจากทีระบุใน SAR)
                                                                                                                         ่        ่

ตัวบ่งชี้ 7.6   ระดับ 4              ระดับ 4                                         2
ตัวบ่งชี้ 7.7   ร้อยละ 1            0
                                        100                                         0
                                    29
ตัวบ่งชี้ 7.8   ระดับ 4              ระดับ 4                                         2
ตัวบ่งชี้ 7.9   ระดับ 7              ระดับ 5                                         2        ยังไม่มีคารับรองของผูบริ หารในการดําเนินงานตาม
                                                                                                         ํ          ้
                                                                                               ตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้ 8.1   ระดับ 6              ระดับ 2                                         1        ขาดการจัดทําระบบฐานข้อมูลทางการเงิน เพื่อเสนอ
                                                                                               ผูบริ หารใช้ในการตัดสิ นใจ
                                                                                                 ้
ตัวบ่งชี้ 8.2   ระดับ 3              ระดับ 1                                         1        ขาดผลการวิเคราะห์ความต้องการในการใช้
                                                                                               ทรัพยากรของหน่วยงาน มีเพียงแค่รายการทรัพย์สิน
                                                                                               ที่มี
ตัวบ่งชี้ 9.1   ระดับ 7              ระดับ 6                                         3
ตัวบ่งชี้ 9.2   ระดับ 7              ระดับ 7                                         3
ตัวบ่งชี้ 9.3   ระดับ 5              ระดับ 4                                         3        ยังไม่มีแนวปฏิบติที่ดีดานการประกันคุณภาพ
                                                                                                                ั     ้
                                                                                               การศึษาที่เป็ นนวตกรรมด้านการประกันคุณภาพ
                                                                                               การศึกษา



                                                                                                                                            8
ผลการดําเนินงาน                บรรลุเปาหมาย
                                                                             ้
  ตัวบ่ งชี้                                                                        คะแนนประเมิน                       หมายเหตุ
                   เปาหมาย
                     ้           ตัวตั้ง             ผลลัพธ์           = บรรลุ
  คุณภาพ                                                                            ( เกณฑ์ สกอ. ) (เช่ น เหตุผลของการประเมินทีต่างจากทีระบุใน SAR)
                                                                                                                               ่        ่
                                 ตัวหาร           (% หรือสั ดส่ วน)    = ไม่ บรรลุ
ตัวบ่งชี้ 2.13   มากกว่า 3.5                 4.63                                        3
ตัวบ่งชี้ 2.14    ไม่นอยกว่า 8
                      ้                  12 โครงการ                                      3
                   โครงการ
ตัวบ่งชี้ 2.15      ระดับ 5                ระดับ 5                                         3
ตัวบ่งชี้ 3.3       ระดับ 4                ระดับ 4                                         3
ตัวบ่งชี้ 3.4         80%                   100%                                           3
ตัวบ่งชี้ 3.5       ระดับ 3                ระดับ 2                                         1
ตัวบ่งชี้ 5.5       ระดับ 4                ระดับ 2                                         1        ไม่มีการบูรณาการความรู ้และประสบการณ์จากการ
                                                                                                     บริ การวิชาการมาสู่ การเรี ยนการสอน




                                                                                                                                                9
5. ผลการประเมินตามองค์ ประกอบคุณภาพ 9 ด้ าน

ตารางที่ ป.2 ผลการประเมินตามองค์ ประกอบคุณภาพ 9 ด้ าน

                                                                           จานวนตัวบ่ งชี้
                 องค์ ประกอบ                                                                                 ผลการประเมิน
                                                        ปัจจัยนาเข้ า   กระบวนการ            ผลผลิต   รวม
1. ปรัชญา ปณิธานวัตถุประสงค์ และแผนการ
                                                                                                                  ดีมาก
ดาเนินการ                                                     -             3.00              3.00    3.00
2. การเรียนการสอน                                           1.67            2.20              2.75    2.25          ดี
3. กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา                               -             2.00                -     2.00        พอใช้
4. การวิจัย                                                 2.00            1.50              1.00    1.50    ยังไม่ได้คุณภาพ
5. การบริการวิชาการแก่สังคม                                 3.00            1.00              2.00    2.00        พอใช้
6. การทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรม                                  -             2.00                -     2.00        พอใช้
7. การบริหารและการจัดการ                                    3.00            2.60              1.33    2.22          ดี
8. การเงินและงบประมาณ                                         -             1.00                -     1.00    ยังไม่ได้คุณภาพ
9. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ                                 -             3.00              3.00    3.00        ดีมาก
                       รวม                                  2.17            2.14              2.17    2.15          ดี

                 ผลการประเมิน                                ดี              ดี                ดี




                                                                                                                                9
เอกสารประกอบ ป.2

                                      องค์ ประกอบที่ 1

จุดเด่ น
    มีปรัชญาและแผนการปฏิบติงานครบภารกิจทุกด้าน
                         ั

จุดทีควรพัฒนา
     ่
       จานวนตัวบ่งชี้ในแผนปฏิบติงานประจาปี น้อยเกินไป
                              ั

ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา
               ่
        ควรเพิ่มและพัฒนาตัวบ่งชี้ในแผนปฏิบติงานให้สอดคล้องและครอบคลุมวัตถุประสงค์ของ
                                            ั
แผนกลยุทธ์คณะวิชา เช่น ตัวบ่งชี้ภารกิจด้านทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรม

                                       องค์ ประกอบที่ 2

จุดเด่ น
    1. มีระบบและกลไกในการบริ หารหลักสู ตรที่ชดเจน
                                             ั
                                                   ่
    2. สัดส่ วนจานวนนักศึกษาต่อจานวนอาจารย์ประจาอยูในเกณฑ์ดีมาก

จุดทีควรพัฒนา
     ่
    1. ยังไม่มีระบบการปรับปรุ งวิธีการเรี ยนการสอนและพัฒนาผูเ้ รี ยนอย่างต่อเนื่องทุกหลักสู ตร
    2. ระบบกลไกสนับสนุนให้อาจารย์ทาวิจยในชั้นเรี ยนเพื่อนามาพัฒนาการเรี ยนการสอนยังไม่
                                             ั
        ชัดเจน

ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา
              ่
     1. ควรสร้ า งระบบการนาผลการประเมิ นมาปรั บ ปรุ ง และพัฒนาผูเ้ รี ย นอย่า งต่ อเนื่ องโดย
        กาหนดเป็ นแนวทางวิธีปฏิ บติของคณะวิชาให้ทุกหลักสู ตรเนิ นการ เช่ น มีการติดตามผล
                                     ั
        การประเมินของผูเ้ รี ยน มีการวิเคราะห์จุดอ่อนที่ควรปรับปรุ งหรื อแก้ไขในวิธีการสอนโดย
        ระบุในแผนการสอนภาคการศึกษาถัดไป ตลาดจนมีการปรับปรุ งวิธีการเรี ยนการสอนเพื่อ
        พัฒนาผูเ้ รี ยน


                                                                                           10
2. ควรจัดระบบและกลไกสนับสนุนให้อาจารย์ทาการวิ จยในชั้นเรี ยน เพื่อนามาพัฒนาการ
                                                      ั
       เรี ยนการสอนและนวัตกรรมให้ชดเจนและปฏิบติได้
                                    ั            ั
    3. ควรมีการวิเคราะห์ผลการดาเนิ นงานการเรี ยนการสอน เพื่อนาไปปรับปรุ งหลักสู ตรอย่าง
       ชัดเจน



                                         องค์ ประกอบที่ 3

จุดเด่ น
       มีการจัดกิจกรรมเสริ มหลักสู ตรอย่างหลากหลายสอดคล้องกับเป้ าหมายของหลักสู ตรตาม
คุณลักษณะของบัณฑิตพึงประสงค์ของคณะ

จุดทีควรพัฒนา
     ่
    1. ยัง ไม่มี การประเมิ นการให้บ ริ การด้า นกายภาพที่ ส่งเสริ ม คุ ณภาพชี วิต การบริ ก ารข้อมู ล
ข่าวสารที่เป็ นประโยชน์ต่อนักศึกษาและศิษย์เก่า
    2. โครงการส่ งเสริ มพัฒนาวิชาชีพแก่ศิษย์เก่ายังไม่ชดเจน
                                                       ั

ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา
                ่
     1. ควรมีการทาแบบสารวจและประเมินการให้บริ การด้านกายภาพที่ส่งเสริ มคุณภาพชี วิต การ
บริ การข้อมูลข่าวสารที่เป็ นประโยชน์ต่อนักศึกษาและศิษย์เก่า
     2. ควรนาผลการประเมินการให้บริ การต่างๆ ไปวิเคราะห์ เพื่อพัฒนาต่อไปโดยผ่านทางการ
ประชุมคณะกรรมการฯ หรื อมอบหมายคณะทางานดาเนินการข้างต้น




                                                                                                11
องค์ ประกอบที่ 4

จุดเด่ น
      มีแผนงาน ระบบการบริ หารงานวิจยและงานสร้างสรรค์ที่ชดเจน และสอดคล้องกับ
                                   ั                    ั
นโยบายของมหาวิทยาลัย

จุดทีควรพัฒนา
     ่
    1. จัดตั้งคณะกรรมการวิจยของคณะ เพื่อให้การดาเนินงานด้านการวิจยเป็ นไปอย่างมีระบบ
                           ั                                        ั
    2. มีมาตรการในการเพิ่มแรงจูงใจให้อาจารย์ดาเนินงานวิจยเพิ่มมากขึ้น
                                                        ั
    3. จัดสรรงบประมาณในการสนับสนุ นงานวิจยเพิ่มมากขึ้น และส่ งเสริ มอาจารย์ให้ขอรับทุน
                                              ั
        สนับสนุนงานวิจยภายนอกมากขึ้น
                       ั
    4. มีระบบสารสนเทศ แหล่งค้นคว้า ฐานข้อมูลเกี่ ยวกับงานวิจย เพื่ออานวยความสะดวกใน
                                                              ั
        การดาเนินงานวิจยของอาจารย์
                         ั
    5. ควรให้อาจารย์ตระหนักถึงความสาคัญของงานวิจยว่าเป็ นส่ วนหนึ่งของภาระงาน
                                                   ั

ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา
               ่
     1. ควรมีการส่ งเสริ มในการสร้างเครื อข่าย หรื อความร่ วมมือกับนักวิจยหรื อหน่วยงาน
                                                                         ั
        ภายนอกทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
     2. ควรมีระบบการสร้างขวัญและกาลังใจในการยกย่องนักวิจยที่มีผลงานวิจยอย่างเป็ น
                                                                 ั             ั
        รู ปธรรม
                                      องค์ ประกอบที่ 5

จุดเด่ น
    1. มีแผนการดาเนิ นงานด้านบริ การวิชาการแก่สังคม
    2. มีร้อยละของอาจารย์ประจามีส่วนร่ วมในการบริ การวิชาการแก่สังคมเป็ นจานวนมาก

จุดทีควรพัฒนา
     ่
    1. จานวนกิจกรรมที่เป็ นลักษณะการบริ การวิชาการแก่สังคมที่ชดเจนยังมีนอย
                                                               ั        ้
    2. ให้บุคลากรในทุกสาขาวิชาเข้าไปมีส่วนร่ วมในการบริ การวิชาการแก่สังคม
    3. มีการบูรณาการการบริ การวิชาการแก่สังคมเข้ากับการเรี ยนการสอน การวิจย และการทานุ
                                                                           ั
        บารุ งศิลปวัฒนธรรม




                                                                                          12
ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา
              ่
     1. ควรจัดให้มีกิจกรรมที่เป็ นลักษณะการบริ การวิชาการที่หลากหลายและครบทุกสาขาวิชา
     2. ควรมีสนับสนุนและส่ งบุคลากรเข้าร่ วมในการบริ การวิชาการแก่สังคมอย่างต่อเนื่ อง
     3. ควรให้มีการนาผลการประเมินไปพัฒนา ปรับปรุ งการบริ การวิชาการแก่สังคมให้เกิด
        ประโยชน์ต่อสังคมภายนอก



                                     องค์ ประกอบที่ 6

จุดเด่ น
           มีการจัดโครงการทางด้านศิลปวัฒนธรรมที่หลากหลาย

จุดทีควรพัฒนา
     ่
        1. การกาหนดนโยบาย แผนงานด้านการทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรมยังไม่ชดเจน
                                                                       ั
        2. กิจกรรมหรื อโครงการด้านการทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรมให้ยงไม่หลากหลาย
                                                               ั

ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา
                 ่
         ควรมีการกาหนดตัวบ่งชี้ที่เกี่ยวข้องกับการบูรณาการความรู ้ดานศิลปวัฒนธรรมกับภารกิจ
                                                                   ้
ด้านอื่นๆ เพื่อเป็ นแนวทางในการจัดทาโครงการและ/แผนการสอนที่ครบ KPI ได้

                                     องค์ ประกอบที่ 7

จุดเด่ น
    1. การบริ หารการมีส่วนร่ วมจากผูใต้บงคับบัญชาเห็นได้จากการประชุมอย่างต่อเนื่อง
                                    ้ ั
    2. มีการประเมินผูบริ หาร
                     ้

จุดทีควรพัฒนา
     ่
    1. แผนบริ หารและการดาเนิ นงานด้านความเสี่ ยงยังไม่เป็ นรู ปธรรม โดยแยกจาก SWOT
    2. ยังไม่มีภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่ วมในการบริ หาร
    3. ดาเนินการด้านประสิ ทธิ ภาพด้านฐานข้อมูลไม่ชดเจนและเป็ นระบบ
                                                    ั
    4. แผนการจัดการความรู ้ยงไม่นาสู่ การปฏิบติอย่างชัดเจน
                             ั               ั
    5. ยังไม่มีการนาผลการประเมินผูบริ หารไปปรับปรุ งแก้ไข
                                   ้




                                                                                         13
ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา
              ่
     1. ควรจัดทาแผนที่กลยุทธ์ (Strategy Map) ของคณะที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์
     2. ควรมีระบบธารงรักษาบุคลากรให้ชดเจนั

                                     องค์ ประกอบที่ 8

จุดเด่ น
    มีการจัดทารายงานการใช้งบประมาณในการจัดโครงการของคณะ

จุดทีควรพัฒนา
     ่
    ควรจัดทาฐานข้อมูลทางการเงินของคณะ เพื่อให้สามารถตรวจสอบได้ตลอดเวลา



ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา
                ่
                                                                  ่
     1. ควรจัดตั้งคณะกรรมการในการบริ หารทางการเงินและบัญชีให้อยูในรู ปธรรม
     2. ผูบริ หารระดับสู งควรติดตามผลการใช้เงินจากรายงานทางการเงินให้เป็ นไปตามเป้ าหมาย
          ้

                                     องค์ ประกอบที่ 9

จุดเด่ น
    1. มีหนังสื อพิมพ์ฝึกปฏิบติงาน ณ เกษม เป็ นช่องทางการเผยแพร่ กิจกรรมการประกันคุณภาพ
                             ั
         การศึกษา
    2. มีนกศึกษามีส่วนร่ วมในการดาเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษา
            ั

จุดทีควรพัฒนา
     ่
    1. ส่ งเสริ มให้นกศึกษาเข้าร่ วมในกิจกรรมด้านการประกันคุณภาพการศึกษาในทุกเรื่ องที่
                       ั
        สามารถทาได้ตามบทบาทของนักศึกษา และขยายเครื อข่ายไปสู่ ผมีส่วนได้ส่วนเสี ยและ
                                                                 ู้
        ชุมชน
    2. มีแนวปฏิบติที่ดี เพื่อเป็ นนวตกรรมด้านการประกันคุณภาพ
                     ั




                                                                                          14
ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา
               ่
     ควรพัฒนาช่องทางเครื อข่ายการประกันคุณภาพการศึกษา เช่น หนังสื อพิมพ์ ณ เกษม หรื อ
Website ให้ดีและต่อเนื่ อง




                                                                                        15
6. ผลการประเมินตามมาตรฐานการอุดมศึกษา
                   ด้ าน
ตารางที่ ป.3 ผลการประเมินตามมาตรฐานการอุดมศึกษา
                                                                                             ตัวบ่ งชี้ด้านผลผลิตหรือ
             มาตรฐาน                  ตัวบ่ งชี้ด้านปัจจัย นาเข้ า ตัวบ่ งชี้ด้านกระบวนการ                              รวม    ผลการประเมิน
                                                                                                       ผลลัพธ์

1. มาตรฐานด้ านคุณภาพบัณฑิต (4)                    -                         -                         2.75             2.75        ดีมาก

2. มาตรฐานด้ านการบริหารจัดการ
อุดมศึกษา(33)
  ก. มาตรฐานด้ านธรรมาภิบาลของการ
                                                  3.00                     2.50                        2.00             2.38          ดี
บริหารการอุดมศึกษา (16)
 ข. มาตรฐานด้ านพันธกิจของการ
                                                  2.00                     1.89                        1.67             1.88        พอใช้
บริหารการอุดมศึกษา (17)
3. มาตรฐานด้ านการสร้ างและพัฒนา
                                                   -                       1.50                         -               1.50    ยังไม่ได้คุณภาพ
สั งคมฐานความรู้ ฯ (2)

                รวม                               2.17                     2.14                        2.17             2.15          ดี


            ผลการประเมิน                           ดี                        ดี                         ดี




                                                                                                                                           16
17
เอกสารประกอบ ป.3

                                  มาตรฐานด้ านคุณภาพบัณฑิต

จุดเด่ น
           1. บัณฑิตเป็ นที่ยอมรับของหน่วยงานภายนอก
           2. บัณฑิตมีความขยัน อดทน สู้งาน และมีความสามารถในการพัฒนาการเรี ยนรู้

จุดทีควรพัฒนา
     ่
        1. ทักษะในการปฏิบติในทางวิชาชีพยังไม่เพียงพอ
                          ั
        2. ขาดการพัฒนาวุฒิภาวะทางอารมณ์ของนักศึกษา

ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา
              ่
        1. ควรจัดกิจกรรมเพิมทักษะในการปฏิบติดานวิชาชีพให้มากขึ้น
                           ่              ั ้
                                                                  ั
        2. ควรเสริ มสร้างความสามารถในการพัฒนาวุฒิภาวะทางอารมณ์ให้กบนักศึกษาเพิ่มมากขึ้น



                           มาตรฐานด้ านการบริหารจัดการการอุดมศึกษา

 ก. มาตรฐานด้ านธรรมาภิบาลของการบริหารการอุดมศึกษา
จุดเด่ น
         ให้ความเป็ นอิสระต่อบุคลากรภายในคณะ

จุดทีควรพัฒนา
     ่
        1. ยังไม่มีระบบการสรรหาผูบริ หารภายในคณะที่ชดเจน โปร่ งใสและสามารถตรวจสอบได้
                                 ้                   ั
        2. ยังไม่มีระบบการประเมินผูบริ หารภายในคณะที่ชดเจน
                                   ้                   ั

ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา
              ่
        1. ควรจัดระบบการสรรหาผูบริ หารภายในคณะให้เป็ นที่ยอมรับของบุคลากรทุกระดับ โดย
                                     ้
           อาจเป็ นการเลือกตั้งจากบุคคลที่มีคุณสมบัติของผูบริ หารตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด
                                                          ้



                                                                                      17
2. ควรจัดระบบการประเมิ นผูบ ริ หารภายในคณะให้ชัดเจน โดยก าหนดผูรับ ผิดชอบวาง
                                     ้                                    ้
              แนวทาง ประเมินและติดตามผลอย่างต่อเนื่อง

ข. มาตรฐานด้ านพันธกิจของการบริ หารการอุดมศึกษา
จุดเด่ น
         ไม่มี

จุดทีควรพัฒนา
     ่
        1. ยังไม่มีแผนพัฒนาบุคลากรที่ชดเจน
                                      ั
        2. ยังไม่มีแผนการใช้ทรัพยากรและการเงินอย่างชัดเจน
        3. ยังไม่มีการนาผลการประเมินบุคลากรไปปรับปรุ งแก้ไข

ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา
              ่
        1. ควรมี แ ผนพัฒ นาบุ ค ลากรที่ ชั ด เจนในทุ ก ๆ ด้า น และประเมิ น ผลการปฏิ บ ัติ ง านให้
           สอดคล้องกับแผน
        2. ควรมีแผนการใช้ทรัพยากรและการเงินอย่างชัดเจน สามารถตรวจสอบได้
        3. ควรมีระบบการนาผลการประเมินบุคลากรไปปรับปรุ ง โดยมีผรับผิดชอบ ติดตามการนา
                                                                      ู้
           ผลไปใช้ให้เกิดประสิ ทธิ ภาพได้จริ ง

                   มาตรฐานด้ านการสร้ างและพัฒนาสั งคมฐานความรู้ และสั งคมแห่ งการเรียนรู้
จุดเด่ น
           ไม่มี

จุดทีควรพัฒนา
     ่
        ยังไม่มีระบบและกลไกการบริ หารจัดการเรื่ องการจัดการความรู้

ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา
              ่
        ควรวางแผนดาเนินงานเรื่ องการบริ หารจัดการความรู้ของคณะอย่างเป็ นรู ปธรรม




                                                                                              18
เอกสารประกอบ ป.3

                                  มาตรฐานด้ านคุณภาพบัณฑิต

จุดเด่ น
           1. บัณฑิตเป็ นที่ยอมรับของหน่วยงานภายนอก
           2. บัณฑิตมีความขยัน อดทน สู้งาน และมีความสามารถในการพัฒนาการเรี ยนรู้

จุดทีควรพัฒนา
     ่
        1. ทักษะในการปฏิบติในทางวิชาชีพยังไม่เพียงพอ
                          ั
        2. ขาดการพัฒนาวุฒิภาวะทางอารมณ์ของนักศึกษา

ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา
              ่
        1. ควรจัดกิจกรรมเพิมทักษะในการปฏิบติดานวิชาชีพให้มากขึ้น
                           ่              ั ้
                                                                  ั
        2. ควรเสริ มสร้างความสามารถในการพัฒนาวุฒิภาวะทางอารมณ์ให้กบนักศึกษาเพิ่มมากขึ้น



                           มาตรฐานด้ านการบริหารจัดการการอุดมศึกษา

 ก. มาตรฐานด้ านธรรมาภิบาลของการบริหารการอุดมศึกษา
จุดเด่ น
         ให้ความเป็ นอิสระต่อบุคลากรภายในคณะ

จุดทีควรพัฒนา
     ่
        1. ยังไม่มีระบบการสรรหาผูบริ หารภายในคณะที่ชดเจน โปร่ งใสและสามารถตรวจสอบได้
                                 ้                   ั
        2. ยังไม่มีระบบการประเมินผูบริ หารภายในคณะที่ชดเจน
                                   ้                   ั

ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา
              ่
        1. ควรจัดระบบการสรรหาผูบริ หารภายในคณะให้เป็ นที่ยอมรับของบุคลากรทุกระดับ โดย
                                     ้
           อาจเป็ นการเลือกตั้งจากบุคคลที่มีคุณสมบัติของผูบริ หารตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด
                                                          ้



                                                                                      17
2. ควรจัดระบบการประเมิ นผูบ ริ หารภายในคณะให้ชัดเจน โดยก าหนดผูรับ ผิดชอบวาง
                                     ้                                    ้
              แนวทาง ประเมินและติดตามผลอย่างต่อเนื่อง

ข. มาตรฐานด้ านพันธกิจของการบริ หารการอุดมศึกษา
จุดเด่ น
         ไม่มี

จุดทีควรพัฒนา
     ่
        1. ยังไม่มีแผนพัฒนาบุคลากรที่ชดเจน
                                      ั
        2. ยังไม่มีแผนการใช้ทรัพยากรและการเงินอย่างชัดเจน
        3. ยังไม่มีการนาผลการประเมินบุคลากรไปปรับปรุ งแก้ไข

ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา
              ่
        1. ควรมี แ ผนพัฒ นาบุ ค ลากรที่ ชั ด เจนในทุ ก ๆ ด้า น และประเมิ น ผลการปฏิ บ ัติ ง านให้
           สอดคล้องกับแผน
        2. ควรมีแผนการใช้ทรัพยากรและการเงินอย่างชัดเจน สามารถตรวจสอบได้
        3. ควรมีระบบการนาผลการประเมินบุคลากรไปปรับปรุ ง โดยมีผรับผิดชอบ ติดตามการนา
                                                                      ู้
           ผลไปใช้ให้เกิดประสิ ทธิ ภาพได้จริ ง

                   มาตรฐานด้ านการสร้ างและพัฒนาสั งคมฐานความรู้ และสั งคมแห่ งการเรียนรู้
จุดเด่ น
           ไม่มี

จุดทีควรพัฒนา
     ่
        ยังไม่มีระบบและกลไกการบริ หารจัดการเรื่ องการจัดการความรู้

ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา
              ่
        ควรวางแผนดาเนินงานเรื่ องการบริ หารจัดการความรู้ของคณะอย่างเป็ นรู ปธรรม




                                                                                              18
7. ผลการประเมินตามมุมมองด้ านการบริ หาร
                 จัดการ
 ตารางที่ ป.4 ผลการประเมินตามมุมมองด้ านการบริหารจัดการ


    มุมมองด้ านการบริหาร           ตัวบ่ งชี้ด้านปัจจัย                             ตัวบ่ งชี้ด้านผลผลิตหรือ
                                                          ตัวบ่ งชี้ด้านกระบวนการ                              รวม    ผลการประเมิน
          จัดการ                          นาเข้ า                                             ผลลัพธ์
 1. ด้ านนักศึกษาและผู้มีส่วนได้
                                          3.00                     2.00                       2.43             2.33          ดี
 ส่ วนเสี ย

 2. ด้ านกระบวนการภายใน                     -                      2.71                       2.67             2.70        ดีมาก


 3. ด้ านการเงิน                          2.00                     1.00                        -               1.33    ยังไม่ได้คุณภาพ

 4. ด้ านบุคลากรการเรียนรู้ และ
                                          1.67                     2.00                       0.50             1.64        พอใช้
 นวัตกรรม

                   รวม                    2.17                     2.14                       2.17             2.15          ดี


          ผลการประเมิน                      ดี                      ดี                         ดี




                                                                                                                                  19
เอกสารประกอบ ป.4

                               ด้ านนักศึกษาและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสี ย
จุดเด่ น
           อาจารย์อุทิศเวลาและให้ความสนใจในการปฏิบติหน้าที่เป็ นอย่างดี
                                                  ั

จุดทีควรพัฒนา
     ่
        นักศึกษายังไม่มีส่วนร่ วมในการประกันคุณภาพการศึกษาเท่าที่ควร

ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา
               ่
         ควรกาหนดแนวทางให้อาจารย์มีการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ ความรู ้ เกี่ ยวกับการประกัน
คุณภาพให้มากขึ้นและทัวถึง โดยผ่านทางการเรี ยนการสอนและการประเมินผลการเรี ยนการสอน
                       ่
หรื อจัดกิจกรรมให้นกศึกษามีส่วนร่ วมในการประกันคุณภาพการศึกษาของคณะวิชา
                   ั

                                     ด้ านกระบวนการภายใน
จุดเด่ น
           ไม่มี

จุดทีควรพัฒนา
     ่
         ยังขาดอุปกรณ์ ระบบสารสนเทศ เพื่อสนับสนุ นการเรี ยนการสอน และปฏิบติภารกิ จของ
                                                                         ั
อาจารย์ เช่น ระบบ Internet WIFI Computer ในห้องปฏิบติการการเรี ยนการสอน
                                                   ั

ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา
              ่
        ควรมีแบบสารวจการใช้อุปกรณ์ระบบสารสนเทศ เพื่อสนับสนุ นการเรี ยนการสอน และ
จัดทาแผนการจัดหาให้มีความทันสมัยและเพียงพอต่อความต้องการ




                                                                                     20
ด้ านการเงิน
จุดเด่ น
           ไม่มี

จุดทีควรพัฒนา
     ่
        1. ยังไม่มีการสารวจความจาเป็ นและความต้องการ ด้านการเงินให้สอดคล้องกับแผนกล
           ยุทธ์
        2. ยังไม่มีแผนและการวิเคราะห์การจัดสรรงบประมาณ และใช้งบประมาณ

ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา
              ่
        1. ควรจัดทาแบบสารวจความจาเป็ นและความต้องการด้านการเงินของคณะวิชา
        2. ควรวางแผนและการวิเคราะห์การจัดสรรงบประมาณ และใช้งบประมาณ

                               ด้ านบุคลากรการเรียนรู้ และนวัตกรรม
จุดเด่ น
           อาจารย์มีความใฝ่ รู้ และพร้อมพัฒนาตนเองในการเรี ยนรู้ และสร้างนวัตกรรม

จุดทีควรพัฒนา
     ่
        ยังขาดแนวทางและเป้ าหมายในการดาเนินการเรื่ องการเรี ยนรู้และนวัตกรรมของบุคลากร



ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา
               ่
        ควรจัดทาแผนการพัฒนาบุคลากรด้านการเรี ยนรู้และนวัตกรรม โดยคานึงถึงการนาผลไป
ใช้ในการเรี ยนการสอน




                                                                                     21
สรุปผลการประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาในภาพรวม
                                   คณะนิเทศศาสตร์

จุดเด่ น
           1.   สถานประกอบการมีความพึงพอใจบัณฑิตของคณะวิชาอยูในเกณฑ์สูง่
           2.                                                        ่
                มีร้อยละนักศึกษาที่ได้รับรางวัลและเกียรติคุณยกย่องอยูในระดับดี
           3.   มีการส่ งเสริ มกิจกรรมนักศึกษาที่ครบถ้วนตามคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์
           4.   มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพที่ชดเจนและต่อเนื่ อง
                                                       ั

ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนาเร่ งด่ วน
                ่
        1. จัดทาแผนการเงินสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์
                                             ั
        2. ควรจัดทาแผนบูรณาการความรู ้กบการบริ หาร เช่น ความเสี่ ยง การจัดการความรู ้ และ
            ฐานข้อมูล
        3. จัดสัมมนาทางวิชาการทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
        4. จัดทาแผนพัฒนาคุณภาพ หลังจากการประเมินคุณภาพ
        5. จัดทาแผนการพัฒนาคุณวุฒิอาจารย์ และกาหนดแนวทางให้อาจารย์ได้ศึกษาต่อใน
            ระดับปริ ญญาโทและปริ ญญาเอก เพื่อให้ได้ตามเกณฑ์ สกอ.
        6. กาหนดระบบสนับสนุนให้อาจารย์ทาวิจยเพื่อพัฒนา การเรี ยนการสอน และพัฒนา
                                                  ั
            นวัตกรรมในการเรี ยนการสอน
        7. จัดทารายงานแบบวิเคราะห์ขอมูลการดาเนินงานหลักสู ตรต่าง ๆ ประจาทุกปี การศึกษา
                                       ้
            อาทิ ร้อยละของหลักสู ตรที่ไม่เป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน สกอ. ครบทุกข้อ ร้อยละ
            ของจานวนบัณฑิตที่ผลิตได้ตรงตามแผน เพื่อนาไปปรับปรุ งบริ หารจัดการหลักสู ตร
            ก่อนรับนักศึกษารุ่ นใหม่
        8. จัดทาคู่มือปฏิบติงาน มีการให้โอกาสบุคลากรทุกคน มีความก้าวหน้าในการทางาน
                             ั
            โดยมีการกาหนดเส้นทางของตาแหน่ง (Career Path) ทุกสายงาน
        9. รับฟังความคิดเห็นจากผูรับบริ การ นักศึกษา อาจารย์และผูปกครองของคณะฯ อย่าง
                                   ้                             ้
            สม่าเสมอ โดยอาจจัดให้มีสายตรงคณบดี ผ่านเว็บไซต์ เป็ นต้น
        10. ควรกาหนดเป้ าประสงค์ของแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานให้
            เชื่อมโยงกับเป้ าประสงค์และประเด็นยุทธศาสตร์ ของคณะ ที่สอดคล้องและเชื่อมโยง
            ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย



                                                                                             22
11. กระตุนและสนับสนุนให้อาจารย์ทาวิจยเพื่อการเรี ยนการสอน และสร้างเครื อข่าย
              ้                             ั
        งานวิจยทางด้านการเรี ยนการสอนตามเกณฑ์ สกอ.
                ั
    12. ให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับงานประกันคุณภาพ ไปดูงานจากมหาวิทยาลัยภายนอกที่เป็ น
        แบบอย่างที่ดีในด้านนี้

ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนาภายใน 3-5 ปี
                 ่
     1. ควรตั้งค่าเป้ าหมายให้เป็ นจริ งตามหลักฐานที่มีอยู่
     2. ควรตั้งค่าเป้ าหมายให้สูงขึ้นในปี ต่อๆ ไป
     3. พัฒนาแผนกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัยและวิเคราะห์แผน
        โดยบุคลากรของคณะ มีส่วนร่ วมเพื่อทาให้เกิดความเข้าใจและนาไปสู่ ภาคปฏิบติ  ั
     4. จัดทาประชาสัมพันธ์ เรื่ องแผนกลยุทธ์ของคณะให้บุคลากรภายในคณะ ฯ ได้ทราบ
        รวมถึงเปิ ดโอกาสให้บุคลากรมีส่วนร่ วมในการจัดทาแผน
     5. ส่ งเสริ มให้มีการใช้ Teaching Portfolio ในการพัฒนาตนเองของอาจารย์ ซึ่งจะทาให้
        งานประกันคุณภาพแทรกซึ มไปทุกส่ วนงาน
     6. มีการสร้างทีมวิจย เพื่อผลิตผลงานวิจย และงานสร้างสรรค์ระดับสากล
                          ั                   ั
     7. ควรมีคณะกรรมการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษา เพื่อพัฒนาระบบกลไกและพัฒนา
        นักศึกษาในคณะ
     8. สนับสนุนให้มีการสร้างเครื อข่าย ความร่ วมมือระหว่างหน่วยงานระดับประเทศและ
        ระดับนานาชาติในด้านต่าง ๆ โดยเน้นงานวิจย งานวิชาการ การเรี ยนการสอน และ
                                                     ั
        การแลกเปลี่ยนนักศึกษา
     9. จัดทาระบบฐานข้อมูล เพื่อใช้ในการบริ หารและตัดสิ นใจให้เชื่อมโยงทุกระบบ




                                                                                         23
7. ข้ อมูลจากการสัมภาษณ์
1. ผู้ประกอบการ
ข้ อดี
                                                             ่
1) โดยภาพรวมบัณฑิต มีคุณภาพ จริ ยธรรม และมีทกษะความรู ้อยูในเกณฑ์ดี และตรงตามความ
                                                 ั
     ต้องการ และมีความขยัน ตั้งในพัฒนาความสามารถในการทางาน
2) ผูประกอบการมองในทัศนคติที่ดีต่อองค์การและตัวบัณฑิต
       ้
ข้ อเสนอแนะ
1) ควรพัฒนาทักษะคอมพิวเตอร์ ให้ดีข้ ึน
2) ควรมีการเสริ มสร้างและสอดแทรกการพัฒนาทางอารมณ์ และทัศนคติต่อการปฏิบติงานร่ วมกัน
                                                                         ั
     คนอื่นและดารงชีวิตในสังคมอย่างมีความสุ ขจะต้องทาอย่างไร

2. บัณฑิต (ศิษย์ เก่า)และนักศึกษาปัจจุบัน
ข้ อดี
1) อาจารย์สอนดี ความรู้ดี เป็ นการเอง
2) สังคมน่าอยู่
3) มีอาจารย์พิเศษที่มีความรู้ดี
                             ่
4) การบริ การของคณะอยูในระดับดี
5) มีอาจารย์ผเู้ ชี่ยวชาญวิชาชีพจานวนมาก
ข้ อเสนอแนะ
1) ต้องการให้มีการฝึ กทักษะการปฏิบติทางด้านวิชาชีพให้มากขึ้น เช่นทักษะการตัดต่อ การทา
                                      ั
     โฆษณา
2) ต้องการผูมีประสบการณ์ตรงในสาขาวิชามาร่ วมสอน
             ้
3) ควรปลูกฝังทัศนคติในการทางานร่ วมกับคนอื่น
4) ควรสร้างแรงกระตุนให้นกศึกษาทากิจกรรม/โครงการ
                        ้      ั
5) ปลูกฝังทัศนคติการเรี ยนรู ้ในการมองภาพสถาบันว่าสามารถแข่งขันกับสถาบันอื่นได้
2.7 ควรมีตาราที่ทนสมัยในห้องสมุด ให้สามารถค้นคว้าได้ตรงตามความต้องการ
                    ั
2.8 ควรมีห้องสมุดของคณะวิชา
2.9 ควรมีกิจกรรมร่ วมกับคณะวิชาอื่น ๆ เพื่อเป็ นการแลกเปลี่ยนความรู ้และทัศนะคติในการทางาน
2.10 ควรเน้นให้นกศึกษาเห็นความสาคัญของการสร้างเครื อข่าย
                      ั
2.11 ควรเพิ่มอุปกรณ์ที่ใช้ในการเรี ยนการสอนทีใช้ในการฝึ กปฏิบติของนักศึกษาให้เพียงพอกับ
                                                              ั
       จานวนนักศึกษาที่เพิ่มขึ้น

                                                                                       24
2.12 ควรพัฒนาระบบอินเตอร์เนต wi-fi ภายในมหาวิทยาลัยที่มีประสิ ทธิ ภาพ และครอบคลุมพื้นที่
     ภายในมหาวิทยาลัย
2.13 ในการปั จฉิ มนิ เทศที่ตองการให้เพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่ องการแต่งกายอย่างไรให้สุภาพให้มากขึ้น
                            ้
2.14 ในระดับปริ ญญาโท บรรยากาศในชั้นเรี ยนเกี่ยวกับเพื่อนนักศึกษาค่อนข้างไม่เปิ ดกว้างทาง
     ความคิด จึงควรให้มีการจัดบรรยากาศให้เปิ ดกว้างมากขึ้น

4. อาจารย์
           4.1 อายุงาน 1-3 ปี
ข้ อดี
     1) มีบรรยาการการทางานที่อบอุ่น คณาจารย์และเจ้าหน้าที่มีความเป็ นกันเอง
     2) มีการเปิ ดกว้างในการ
ข้ อเสนอแนะ
       1) ควรมีการฝึ กประสบการณ์วชาชีพให้นกศึกษามากขึ้นเพื่อให้นกศึกษาเกิดความชานาญ
                                  ิ          ั                  ั
       2) ต้องการความพร้อมและความเหมาะสมของอุปกรณ์การเรี ยนการสอนและสารธารณูปโภค
พื้นฐาน เช่น ระบบอินเตอร์ ภายในมหาวิทยาลัย
       3) ควรจัดระบบการรับส่ งเอกสารระหว่างมหาวิทยาลัย กับคณะวิชาและคณาจารย์ ให้มีความ
รวดเร็ ว และทันเวลา
                                                         ่
       4)ควรมีระบบบารุ งรักษาอุปกรณ์การเรี ยนการสอนให้อยูในสภาพที่ใช้งานได้ตลอดเวลา

         4.2 อายุงานมากกว่ า 5 ปี
ข้ อดี
      1) มีความสบายใจในการอยูร่วมกันในสภาพแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัย
                                     ่
      2) มีเพื่อนร่ วมงานดี
                            ุ่
      3) มหาวิทยาลัยไม่วนวายกับอาจารย์
ข้ อเสนอแนะ
      1) ควรมีการอานวนความสะดวกในการไปร่ วมอบรมต่าง ๆ ของอาจารย์
                               ่
      2) ควรมีความยืดหยุนเรื่ องเวลาเข้า-ออกของอาจารย์ เช่นทางาน 8 ชัวโม ไม่ตองจากัดว่าจะเข้า
                                                                     ่       ้
         เมื่อใดแต่ตองให้ครบ 8 ชัวโมง ใน 1 วัน
                      ้                ่
      3) ควรมีระบบการสรรหาผูบริ หารที่โปร่ งใสและสามารถปฏิบติงานได้จริ ง โดยการจัดเลือกตั้ง
                                   ้                            ั
         จากผูที่มีคุณสมบัติตามที่กาหนดไว้เป็ นมาตรฐาน
                ้
      4) ควรมีระบบการกระตุนและส่ งเสริ มการจัดทาวิจย
                                 ้                   ั

                                                                                              25
5) ควรมีความพร้อมเรื่ องอุปกรณ์การเรี ยนการสอน ทันต่อการฝึ กปฏิบติในการจัดการเรี ยนการ
                                                                      ั
   สอนของอาจารย์
6) ควรมีการบริ หารจัดการเรื่ องการเดินทางระหว่างวิทยาเขตให้มีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น เช่น
   ควรจัดรถสาหรับอาจารย์โดยเฉพาะ
7) ควรมีการให้ความรู ้เกี่ยวกับการประกันคุณภาพนักศึกษาให้มากขึ้นและอย่างทัวถึง่
8) ควรมีคู่มืออาจารย์ซ่ ึ งระบุภาระหน้าที่ สวัสดิการ และกฎระเบียบต่าง ๆ เผยแพร่ ให้บุคลากร
   อย่างทัวถึงเพื่อจะได้รู้หน้าที่และสิ ทธิ ต่าง ๆในการเป็ นบุคลากรของมหาวิทยาลัย
           ่
9) ควรมีการเผยแพร่ ความาเคลื่อนไหวของข้อมูลต่าง ๆของมหาวิทยาลัยผ่านทางอินเตอร์ เนต
   ใน website ของมหาวิทยาลัย หรื่ อจัดให้มี cell-center เพื่อสอบถามข้อมูลต่าง ๆของ
   มหาวิทยาลัย
10) ควรมีความชัดเจนเกี่ยวกับระบบการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน
11) ควรจัดอบรมอาจารย์ที่ปรึ กษาให้ทราบโครงสร้างหลักสู ตรและภาระหน้าที่ของอาจารย์ที่
     ปรึ กษาอย่างจริ งจัง
12) ควรมีระบบการติดตาม ประเมินผล การปฏิบติงานของผูบริ หารให้ชดเจน เพื่อให้การ
                                                    ั          ้        ั
     พัฒนาคณะวิชาสามารถขับเคลื่อนไปได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
13) ควรมีระบบการลงโทษบุคลากรที่ปฏิบติงานผิดพลาดั




                                                                                       26
Quality Assurance communication Arts KBU

Contenu connexe

Tendances

Personal dl31
Personal dl31Personal dl31
Personal dl31noismart
 
1.1คู่มือประเมินสายงานการสอน
1.1คู่มือประเมินสายงานการสอน1.1คู่มือประเมินสายงานการสอน
1.1คู่มือประเมินสายงานการสอนink3828
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04jirupi
 
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56Drnine Nan
 
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนสภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนpentanino
 
ตัวอย่างผลงาน Obec awards ด้านวิชาการ
ตัวอย่างผลงาน Obec awards  ด้านวิชาการตัวอย่างผลงาน Obec awards  ด้านวิชาการ
ตัวอย่างผลงาน Obec awards ด้านวิชาการptv534224
 
การใช้O net
การใช้O netการใช้O net
การใช้O netDhanee Chant
 
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.nang_phy29
 
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54Montree Jareeyanuwat
 
SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555Teacher Sophonnawit
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05jirupi
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552Nattapon
 
คู่มือ การประเมินข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้มีวิทยฐานะและเลื่อ...
คู่มือ การประเมินข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้มีวิทยฐานะและเลื่อ...คู่มือ การประเมินข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้มีวิทยฐานะและเลื่อ...
คู่มือ การประเมินข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้มีวิทยฐานะและเลื่อ...สมใจ จันสุกสี
 
คู่มือการประเมินวิทยะฐานะ สายงานการสอน
คู่มือการประเมินวิทยะฐานะ สายงานการสอนคู่มือการประเมินวิทยะฐานะ สายงานการสอน
คู่มือการประเมินวิทยะฐานะ สายงานการสอนTongsook Wong
 
Sarครูโต้
Sarครูโต้Sarครูโต้
Sarครูโต้wichsitb
 
ระบบควบคุมภายใน
ระบบควบคุมภายในระบบควบคุมภายใน
ระบบควบคุมภายในphaholtup53
 
ประกาศการใช้มาตรฐานสถานศึกษาโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศการใช้มาตรฐานสถานศึกษาโรงเรียนวัดพวงนิมิตประกาศการใช้มาตรฐานสถานศึกษาโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศการใช้มาตรฐานสถานศึกษาโรงเรียนวัดพวงนิมิตtassanee chaicharoen
 

Tendances (19)

Personal dl31
Personal dl31Personal dl31
Personal dl31
 
1.1คู่มือประเมินสายงานการสอน
1.1คู่มือประเมินสายงานการสอน1.1คู่มือประเมินสายงานการสอน
1.1คู่มือประเมินสายงานการสอน
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
 
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
 
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนสภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
 
ตัวอย่างผลงาน Obec awards ด้านวิชาการ
ตัวอย่างผลงาน Obec awards  ด้านวิชาการตัวอย่างผลงาน Obec awards  ด้านวิชาการ
ตัวอย่างผลงาน Obec awards ด้านวิชาการ
 
การใช้O net
การใช้O netการใช้O net
การใช้O net
 
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
 
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
 
SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
 
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sarรายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
 
คู่มือ การประเมินข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้มีวิทยฐานะและเลื่อ...
คู่มือ การประเมินข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้มีวิทยฐานะและเลื่อ...คู่มือ การประเมินข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้มีวิทยฐานะและเลื่อ...
คู่มือ การประเมินข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้มีวิทยฐานะและเลื่อ...
 
คู่มือการประเมินวิทยะฐานะ สายงานการสอน
คู่มือการประเมินวิทยะฐานะ สายงานการสอนคู่มือการประเมินวิทยะฐานะ สายงานการสอน
คู่มือการประเมินวิทยะฐานะ สายงานการสอน
 
Sar เจียมจิตร
Sar เจียมจิตรSar เจียมจิตร
Sar เจียมจิตร
 
Sarครูโต้
Sarครูโต้Sarครูโต้
Sarครูโต้
 
ระบบควบคุมภายใน
ระบบควบคุมภายในระบบควบคุมภายใน
ระบบควบคุมภายใน
 
ประกาศการใช้มาตรฐานสถานศึกษาโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศการใช้มาตรฐานสถานศึกษาโรงเรียนวัดพวงนิมิตประกาศการใช้มาตรฐานสถานศึกษาโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศการใช้มาตรฐานสถานศึกษาโรงเรียนวัดพวงนิมิต
 

Similaire à Quality Assurance communication Arts KBU

การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาAonaon Krubpom
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02Wes Yod
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Meaw Sukee
 
การปรับ คอศ. 1
การปรับ คอศ. 1การปรับ คอศ. 1
การปรับ คอศ. 1Totsaporn Inthanin
 
คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553
คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553
คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553Kasem S. Mcu
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษาjeabjeabloei
 
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...Panuwat Butriang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2Meaw Sukee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3Meaw Sukee
 
แบบประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน
แบบประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานแบบประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน
แบบประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานNarumol Surasak
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลnarongsak promwang
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรpaween
 
เนรัญญา แอโรบิค
เนรัญญา แอโรบิคเนรัญญา แอโรบิค
เนรัญญา แอโรบิคNAY Aupara
 
เนรัญญา แอโรบิค
เนรัญญา แอโรบิคเนรัญญา แอโรบิค
เนรัญญา แอโรบิคNAY Aupara
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลwasan
 

Similaire à Quality Assurance communication Arts KBU (20)

ครู 3
ครู 3ครู 3
ครู 3
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
การปรับ คอศ. 1
การปรับ คอศ. 1การปรับ คอศ. 1
การปรับ คอศ. 1
 
คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553
คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553
คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553
 
File1
File1File1
File1
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
 
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
Id plan
Id planId plan
Id plan
 
คู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNtคู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNt
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
แบบประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน
แบบประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานแบบประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน
แบบประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผล
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
เนรัญญา แอโรบิค
เนรัญญา แอโรบิคเนรัญญา แอโรบิค
เนรัญญา แอโรบิค
 
เนรัญญา แอโรบิค
เนรัญญา แอโรบิคเนรัญญา แอโรบิค
เนรัญญา แอโรบิค
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
Plan
PlanPlan
Plan
 

Plus de Pises Tantimala

Rulebook Phuket hotel tycoon
Rulebook Phuket hotel tycoonRulebook Phuket hotel tycoon
Rulebook Phuket hotel tycoonPises Tantimala
 
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ Pises Tantimala
 
Introduction to digitalart
Introduction to digitalartIntroduction to digitalart
Introduction to digitalartPises Tantimala
 
แผนการสอนJm100
แผนการสอนJm100แผนการสอนJm100
แผนการสอนJm100Pises Tantimala
 
แผนการสอนJt308
แผนการสอนJt308แผนการสอนJt308
แผนการสอนJt308Pises Tantimala
 
บทที่12ecomerce
บทที่12ecomerceบทที่12ecomerce
บทที่12ecomercePises Tantimala
 
บทที่14ระบบรักษาความปลอดภัย
บทที่14ระบบรักษาความปลอดภัยบทที่14ระบบรักษาความปลอดภัย
บทที่14ระบบรักษาความปลอดภัยPises Tantimala
 
Quality Assurance communication Arts KBU 2552
Quality Assurance communication Arts KBU 2552Quality Assurance communication Arts KBU 2552
Quality Assurance communication Arts KBU 2552Pises Tantimala
 
Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1Pises Tantimala
 
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์Pises Tantimala
 
การออกแบบสื่อนำเสนอ
การออกแบบสื่อนำเสนอการออกแบบสื่อนำเสนอ
การออกแบบสื่อนำเสนอPises Tantimala
 
บทที่4socialnetwork
บทที่4socialnetwork บทที่4socialnetwork
บทที่4socialnetwork Pises Tantimala
 
บทที่3internet
บทที่3internetบทที่3internet
บทที่3internetPises Tantimala
 

Plus de Pises Tantimala (20)

Rulebook Phuket hotel tycoon
Rulebook Phuket hotel tycoonRulebook Phuket hotel tycoon
Rulebook Phuket hotel tycoon
 
Symboldesign
SymboldesignSymboldesign
Symboldesign
 
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
 
Port
PortPort
Port
 
Resume Pises Tantimala
Resume Pises TantimalaResume Pises Tantimala
Resume Pises Tantimala
 
Seo_pdf
Seo_pdfSeo_pdf
Seo_pdf
 
Introduction to digitalart
Introduction to digitalartIntroduction to digitalart
Introduction to digitalart
 
แผนการสอนJm100
แผนการสอนJm100แผนการสอนJm100
แผนการสอนJm100
 
แผนการสอนJt308
แผนการสอนJt308แผนการสอนJt308
แผนการสอนJt308
 
Course syllabus AD.308
Course syllabus AD.308 Course syllabus AD.308
Course syllabus AD.308
 
บทที่12ecomerce
บทที่12ecomerceบทที่12ecomerce
บทที่12ecomerce
 
บทที่14ระบบรักษาความปลอดภัย
บทที่14ระบบรักษาความปลอดภัยบทที่14ระบบรักษาความปลอดภัย
บทที่14ระบบรักษาความปลอดภัย
 
Quality Assurance communication Arts KBU 2552
Quality Assurance communication Arts KBU 2552Quality Assurance communication Arts KBU 2552
Quality Assurance communication Arts KBU 2552
 
Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1
 
Googleplus thailand
Googleplus thailandGoogleplus thailand
Googleplus thailand
 
Social4pr
Social4pr Social4pr
Social4pr
 
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
การออกแบบสื่อนำเสนอ
การออกแบบสื่อนำเสนอการออกแบบสื่อนำเสนอ
การออกแบบสื่อนำเสนอ
 
บทที่4socialnetwork
บทที่4socialnetwork บทที่4socialnetwork
บทที่4socialnetwork
 
บทที่3internet
บทที่3internetบทที่3internet
บทที่3internet
 

Quality Assurance communication Arts KBU

  • 1. รายงาน ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปี การศึกษา 2551 คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต โดย คณะผูประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ้ (วันที่ 17-18 กันยายน 2552)
  • 2. สารบัญ หน้ า 1. รายนามคณะผูประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ้ 1 2. บทนํา 2 3. วิธีการประเมิน 2 4. ผลการประเมินรายตัวบ่งชี้ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 4 5. ผลการประเมินตามองค์ประกอบคุณภาพ 9 6. ผลการประเมินตามมาตรฐานการอุดมศึกษา 18 7. ผลการประเมินตามมุมมองด้านการบริ หารจัดการ 21 ภาคผนวก 25
  • 3. 1. รายนามคณะผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต …….………………………………ประธานผู้ ประเมิน (ผศ.ดร.บุญชาล ทองประยูร) …….………………………………ผู้ ประเมิน (อาจารย์ เครือวัลย์ เคลือนสู งเนิน) ่ …….………………………………ผู้ ประเมิน (อาจาร์ ฉนวน เอือการ) ้ …….………………………………ผู้ ประเมิน (อาจารย์ สมสมัย เจริญสุ ข) …….………………………………ผู้ ประเมิน (อาจารย์ ภาวนา เมนทะระ) 1
  • 4. 2. บทนา  สรุ ปข้ อมูลพืนฐาน ้ ั ่ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิ ต เป็ นมหาวิทยาลัยเอกชนที่ต้ งอยูในกรุ งเทพมหานคร โดยมี สถานะภาพเป็ นวิ ท ยาลั ย ตั้ งแต่ ปี พุ ท ธศั ก ราช 2530 ต่ อ มาในปี พุ ท ธศั ก ราช 2535 ทบวงมหาวิทยาลัยได้อนุญาตให้วทยาลัยเกษมบัณฑิตเปลี่ ยนประเภทเป็ นมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ิ โดยได้ดาเนินการศึกษาในระดับปริ ญญาตรี และปริ ญญาโท จนถึงปั จจุบนได้มีการบริ หารและการ ั จัดการการเรี ยนการสอนเป็ น 2 วิทยาเขต คือ วิทยาเขตพัฒนาการ และวิทยาเขตร่ มเกล้าซึ่ งเป็ น วิทยาเขตที่จดตั้งขึ้นใหม่ต้ งแต่ปีพุทธศักราช 2546 ั ั ในปี การศึกษา 2531 ทบวงมหาวิทยาลัยได้อนุมติให้เปิ ดดาเนิ นการเรี ยนการสอนในคณะ ั นิเทศศาสตร์ จนกระทังถึงปั จจุบนได้เปิ ดสอนหลักสู ตรนิเทศศาสตร์ บณฑิต จานวน 6 สาขาวิชา ่ ั ั ได้แก่ สาขาวิชาการประชาสัมพันธ์ สาขาวิชาการโฆษณา สาขาวิชาวิทยุและโทรทัศน์ สาขาวิชา สื่ อการแสดงและสื่ อสมัยใหม่ สาขาวิชาภาพยนตร์ และดิ จิตอล และสาขาวิชาเทคโนโลยีวารสาร สนเทศ และนิเทศศาสตร์ มหาบัณฑิต จานวน 1 สาขา คือสาขาบริ หารสื่ อสาร 3. วิธีประเมิน 3.1 การวางแผนและการประเมิน  การเตรียมการและการวางแผนก่อนการตรวจเยียม ่ 1. ประชุมคณะผูประเมิน เพื่อวางแผนการดาเนินการเตรี ยมการตรวจเยียมและตรวจสอบ ้ ่ ข้อมูล 2. ศึกษาเอกสารรายงานที่ เกี่ ยวข้อง ได้แก่ คู่มือการประเมิ นคุ ณภาพการศึ กษาภายใน สถานศึ ก ษาระดับ อุ ด มศึ ก ษา รายงานสรุ ปผลการประเมิ น ตนเอง (คณะนิ เ ทศศาสตร์ (SAR) ประจาปี การศึกษา 2551) เพื่อการประกันคุณภาพภายใน และเอกสารที่เกี่ยวข้อง 3. จัดทากาหนดการตรวจเยียมและนัดหมายกับคณะนิเทศศาสตร์ ่  การดาเนินการระหว่ างตรวจเยียม ่ คณะผูประเมิ นได้ดาเนิ นการตรวจเยี่ย มคณะนิ เทศศาสตร์ ที่ วิทยาเขตร่ มเกล้า โดยมี ้ กระบวนการ ดังนี้ 1. ประชุมร่ วมกับคณบดีและผูบริ หารคณะเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์การประเมิน และ ้ การตรวจเยียม คณบดีได้ช้ ีแจงสรุ ปการดาเนินงานของคณะโดยคณะผูประเมินได้ซกถามข้อมูลบาง ่ ้ ั ประการ โดยเฉพาะแนวทางบริ หารและการพัฒนาคณะ 2. คณะผูประเมินตรวจสอบเอกสาร ตรวจเยี่ยมคณะและหน่ วยงานที่เกี่ ยวข้อง ที่วิทยา ้ เขตร่ มเกล้า 2
  • 5. 3. คณะผูประเมินได้เข้าเยียมชมการเรี ยนการสอน ห้องปฏิบติการทางนิเทศศาสตร์ ที่ ้ ่ ั วิทยาเขตร่ มเกล้า 4. คณะผูป ระเมิ นร่ วมกันสัมภาษณ์ ตวแทน ผูใ ช้บณฑิ ต จานวน 2 คน นัก ศึก ษา ้ ั ้ ั จานวน 7 คน ศิษย์เก่า จานวน 4 คน อาจารย์และเจ้าหน้าที่ จานวน 8 คน 5. คณะผูประเมินประชุมร่ วมกัน ตรวจสอบเอกสารต่าง ๆ และพิจารณาข้อสรุ ปผลการ ้ ประเมินคุณภาพภายในคณะในภาพรวม จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนาปรับปรุ ง และข้อเสนอแนะต่อ ทิศทางการพัฒนาคณะในอนาคต  การดาเนินการหลังการตรวจเยียม ่ 1. จัดทารายงานสรุ ปผลการประเมินคุณภาพภายใน คณะนิเทศาสตร์ โดยใช้เกณฑ์การ ให้คะแนนแต่ละตัวบ่งชี้ของ สกอ. 2. คณะผูประเมินร่ วมกันพิจารณารายงาน ้ 3. ส่ งรายงานการประเมินคุณภาพภายใน คณะนิเทศศาสตร์ ให้คณะวิชาพิจารณาและ รับคืน มาปรับแก้แล้วเสนอสานักประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัย 3.2 วิธีการตรวจสอบความถูกต้ องน่ าเชื่ อถือของข้ อมูล นอกจากข้อมูลที่ได้รับจากรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ของคณะแล้ว คณะผูประเมิน ้ ได้ใช้เทคนิควิธีการต่าง ๆในการตรวจสอบความถูกต้องน่าเชื่อถือของข้อมูลโดยวิธีการดังต่อไปนี้ 1. สื บค้นข้อมูลจากฐานข้อมูล 2. สื บค้นจากเอกสารอื่น ๆ รวมถึงงานวิจยสถาบัน ั 3. สื บค้นจากการสัมภาษณ์ผบริ หาร ผูปฏิบติงาน เพื่อค้นหาสภาพความเป็ นจริ ง ู้ ้ ั 4. สื บค้นจากการสังเกตการณ์ปฏิบติงานจริ ง ั 5. สื บค้นจากการสัมภาษณ์ผมีส่วนได้เสี ย เช่น นักศึกษา ศิษย์เก่า ู้ 3
  • 6. 4. ผลการประเมินรายตัวบ่ งชี้ของสํานักงานคณะกรรมการการ ตารางที่ ป.1 ผลการประเมินรายตัวบ่ งชี้ของสํ านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ผลการดําเนินงาน บรรลุเปาหมาย ้ คะแนน ตัวบ่ งชี้ เปาหมาย ้ ตัวตั้ง ผลลัพธ์ = บรรลุ ประเมิน หมายเหตุ คุณภาพ ตัวหาร (% หรือสั ดส่ วน)  = ไม่ บรรลุ ( เกณฑ์ สกอ. ) (เช่ น เหตุผลของการประเมินทีต่างจากทีระบุใน SAR) ่ ่ ตัวบ่งชี้ 1.1 ระดับ 7 ระดับ 7  3 ตัวบ่งชี้ 1.2 ร้อยละ 90 9  100 90%  3 10 ตัวบ่งชี้ 2.1 ระดับ 5 ระดับ 6  3 ตัวบ่งชี้ 2.2 ระดับ 7 ระดับ 6  2 ยังไม่มีระบบการปรับปรุ งวิธีการเรี ยนการสอนและ พัฒนาผูเ้ รี ยนอย่างต่อเนื่องทุกหลักสู ตร ตัวบ่งชี้ 2.3 ระดับ 5 ระดับ 4  2 ยังไม่มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุ งการมีส่วนร่ วม ของบุคลากร องค์การและชุมชนภายนอกในการพัฒนา หลักสู ตรและการเรี ยนการสอนทุกหลักสู ตรอย่างเป็ น ระบบ ตัวบ่งชี้ 2.4 ร้อยละ 6-9.99 25.22 - 25  100 0.88%  3 25 และ -6- (-9.99) ของ เกณฑ์มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ 2.5 ป.เอก  ร้อยละ 4  100 13.79%  1 29 20 ป.ตรี นอยกว่า ้ 1  100 21.05 29 ร้อยละ 5 4
  • 7. ผลการดําเนินงาน บรรลุเปาหมาย ้ คะแนน ตัวบ่ งชี้ เปาหมาย ้ ตัวตั้ง ผลลัพธ์ = บรรลุ ประเมิน หมายเหตุ คุณภาพ ตัวหาร (% หรือสั ดส่ วน)  = ไม่ บรรลุ ( เกณฑ์ สกอ. ) (เช่ น เหตุผลของการประเมินทีต่างจากทีระบุใน SAR) ่ ่ ตัวบ่งชี้ 2.6 ศ +รศ+ผศ  40 1  100 3.45  1 29 รศ.ขึ้นไป  10 ตัวบ่งชี้ 2.7 ระดับ 4 ระดับ 4  3 ตัวบ่งชี้ 2.8 3 ข้อ 1 ข้อ  1 1.ยังไม่มีแนวทางพัฒนาอาจารย์ดานความรู ้ความเข้าใจ ้ เกี่ยวกับวิจยและพัฒนานวัตกรรมการเรี ยนการสอนที่ ั ชัดเจนและแจ้งให้คณาจารย์ทราบทัวกันอย่างเป็ นลาย ่ ลักษณ์อกษร ั 2.ยังไม่มีกลไกการบริ หารวิชาการที่กระตุนให้อาจารย์ ้ คิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆอยูเ่ สมอ ตัวบ่งชี้ 2.9 ร้อยละ 1-59 81.48%  3 ผลการประเมืนจากส่ วนกลางมหาวิทยาลัย ตัวบ่งชี้ 2.10 ร้อยละ 100 82.73%  2 ผลการประเมินจากส่ วนกลางมหาวิทยาลัย ตัวบ่งชี้ 2.11 3.50 3.62  3 ตัวบ่งชี้ 2.12 ร้อยละ 0.03 14  100 2.13  3 657 ตัวบ่งชี้ 3.1 ระดับ 8 ระดับ 6  1 ยังมีการประเมินการให้บริ การด้านการให้บริ การ แหล่งข้อมูลข่าวสารต่อนักศึกษาและศิษย์เก่าและยังไม่มี การนําผลการประเมินไปพัฒนาการจัดการเรี ยนการสอน แก่นกศึกษาและศิษย์เก่า ั 5
  • 8. ผลการดําเนินงาน บรรลุเปาหมาย ้ คะแนน ตัวบ่ งชี้ เปาหมาย ้ ตัวตั้ง ผลลัพธ์ = บรรลุ ประเมิน หมายเหตุ คุณภาพ ตัวหาร (% หรือสั ดส่ วน)  = ไม่ บรรลุ ( เกณฑ์ สกอ. ) (เช่ น เหตุผลของการประเมินทีต่างจากทีระบุใน SAR) ่ ่ ตัวบ่งชี้ 3.2 ระดับ 4 ระดับ 4  3 ตัวบ่งชี้ 4.1 5 ข้อ 4 ข้อ  2 ยังไม่มีการสร้างขวัญและกําลังใจในการยกย่องนักวิจย ั ตัวบ่งชี้ 4.2 4 ข้อ 1 ข้อ  1 ยังไม่มีคณะกรรมการ/คณะทํางานในการรวบรวมและ สังเคราะห์งานวิจยั ตัวบ่งชี้ 4.3 16,999 บาท 49,750 1,715.52  2 29 ตัวบ่งชี้ 4.4 ร้อยละ 30 2  100 6.90  1 - บทความเรื่ อง “ภาวะการว่างงานของบัณฑิต 29 มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต - บทความเรื่ อง “Local people’s opinions about the proposed Chiang Saen World Heritage Site, Chiang Rai Province” ตัวบ่งชี้ 5.1 ระดับ 5 ระดับ 1  1 ยังไม่มีคณะกรรมการบริ การวิชาการ ควรมีคาสังแต่งตั้ง ํ ่ ที่ชดเจนไม่ควรใช้ชุดเดียวกับคณะกรรมการวิชาการ ั 6
  • 9. ผลการดําเนินงาน บรรลุเปาหมาย ้ ตัวบ่ งชี้ คะแนนประเมิน เปาหมาย ้ ตัวตั้ง ผลลัพธ์ = บรรลุ หมายเหตุ คุณภาพ ( เกณฑ์ สกอ. ) ตัวหาร (% หรือสั ดส่ วน)  = ไม่ บรรลุ (เช่ น เหตุผลของการประเมินทีต่างจากทีระบุใน SAR) ่ ่ ตัวบ่งชี้ 5.2 ร้อยละ 30 9  100 31.04  3 29 ตัวบ่งชี้ 5.3 ร้อยละ 30 3  100 10.34  1 - โครงการเปิ ดโลกการสื่ อสาร 360 องศา 29 - โครงการสัมมนาสร้างความสําเร็ จให้องค์กร ด้วย กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ - โครงการค่ายสนุกทุกการเรี ยนรู ้ ตัวบ่งชี้ 5.4 มากกว่า 3.51 4.19  3 (3.93+3.97+4.66)/3 = 4.19 (มี 3 โครงการ) ตัวบ่งชี้ 6.1 ระดับ 4 ระดับ 3  2 ขาดฐานข้อมูลด้านศิลปวัฒนธรรมที่เป็ นการส่ งเสริ ม การดําเนินงานด้านศิลปวัฒนธรรมทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตัวบ่งชี้ 7.1 5 ข้อ 5 ข้อ  3 ตัวบ่งชี้ 7.2 ระดับ 4 ระดับ 4  3 ตัวบ่งชี้ 7.3 ระดับ 3 ระดับ 3  2 ตัวบ่งชี้ 7.4 ระดับ 5 ระดับ 5  3 ตัวบ่งชี้ 7.5 ระดับ 5 ระดับ 4  3 ยังไม่มีการนําผลการประเมินมาปรับปรุ งระบบ ฐานข้อมูล 7
  • 10. ผลการดําเนินงาน บรรลุเปาหมาย ้ ตัวบ่ งชี้ เปาหมาย ้ ตัวตั้ง ผลลัพธ์ = บรรลุ คะแนนประเมิน หมายเหตุ คุณภาพ ตัวหาร (% หรือสั ดส่ วน)  = ไม่ บรรลุ ( เกณฑ์ สกอ. ) (เช่ น เหตุผลของการประเมินทีต่างจากทีระบุใน SAR) ่ ่ ตัวบ่งชี้ 7.6 ระดับ 4 ระดับ 4  2 ตัวบ่งชี้ 7.7 ร้อยละ 1 0  100  0 29 ตัวบ่งชี้ 7.8 ระดับ 4 ระดับ 4  2 ตัวบ่งชี้ 7.9 ระดับ 7 ระดับ 5  2 ยังไม่มีคารับรองของผูบริ หารในการดําเนินงานตาม ํ ้ ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ 8.1 ระดับ 6 ระดับ 2  1 ขาดการจัดทําระบบฐานข้อมูลทางการเงิน เพื่อเสนอ ผูบริ หารใช้ในการตัดสิ นใจ ้ ตัวบ่งชี้ 8.2 ระดับ 3 ระดับ 1  1 ขาดผลการวิเคราะห์ความต้องการในการใช้ ทรัพยากรของหน่วยงาน มีเพียงแค่รายการทรัพย์สิน ที่มี ตัวบ่งชี้ 9.1 ระดับ 7 ระดับ 6  3 ตัวบ่งชี้ 9.2 ระดับ 7 ระดับ 7  3 ตัวบ่งชี้ 9.3 ระดับ 5 ระดับ 4  3 ยังไม่มีแนวปฏิบติที่ดีดานการประกันคุณภาพ ั ้ การศึษาที่เป็ นนวตกรรมด้านการประกันคุณภาพ การศึกษา 8
  • 11. ผลการดําเนินงาน บรรลุเปาหมาย ้ ตัวบ่ งชี้ คะแนนประเมิน หมายเหตุ เปาหมาย ้ ตัวตั้ง ผลลัพธ์ = บรรลุ คุณภาพ ( เกณฑ์ สกอ. ) (เช่ น เหตุผลของการประเมินทีต่างจากทีระบุใน SAR) ่ ่ ตัวหาร (% หรือสั ดส่ วน)  = ไม่ บรรลุ ตัวบ่งชี้ 2.13 มากกว่า 3.5 4.63  3 ตัวบ่งชี้ 2.14 ไม่นอยกว่า 8 ้ 12 โครงการ  3 โครงการ ตัวบ่งชี้ 2.15 ระดับ 5 ระดับ 5  3 ตัวบ่งชี้ 3.3 ระดับ 4 ระดับ 4  3 ตัวบ่งชี้ 3.4 80% 100%  3 ตัวบ่งชี้ 3.5 ระดับ 3 ระดับ 2  1 ตัวบ่งชี้ 5.5 ระดับ 4 ระดับ 2  1 ไม่มีการบูรณาการความรู ้และประสบการณ์จากการ บริ การวิชาการมาสู่ การเรี ยนการสอน 9
  • 12. 5. ผลการประเมินตามองค์ ประกอบคุณภาพ 9 ด้ าน ตารางที่ ป.2 ผลการประเมินตามองค์ ประกอบคุณภาพ 9 ด้ าน จานวนตัวบ่ งชี้ องค์ ประกอบ ผลการประเมิน ปัจจัยนาเข้ า กระบวนการ ผลผลิต รวม 1. ปรัชญา ปณิธานวัตถุประสงค์ และแผนการ ดีมาก ดาเนินการ - 3.00 3.00 3.00 2. การเรียนการสอน 1.67 2.20 2.75 2.25 ดี 3. กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา - 2.00 - 2.00 พอใช้ 4. การวิจัย 2.00 1.50 1.00 1.50 ยังไม่ได้คุณภาพ 5. การบริการวิชาการแก่สังคม 3.00 1.00 2.00 2.00 พอใช้ 6. การทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรม - 2.00 - 2.00 พอใช้ 7. การบริหารและการจัดการ 3.00 2.60 1.33 2.22 ดี 8. การเงินและงบประมาณ - 1.00 - 1.00 ยังไม่ได้คุณภาพ 9. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ - 3.00 3.00 3.00 ดีมาก รวม 2.17 2.14 2.17 2.15 ดี ผลการประเมิน ดี ดี ดี 9
  • 13. เอกสารประกอบ ป.2 องค์ ประกอบที่ 1 จุดเด่ น มีปรัชญาและแผนการปฏิบติงานครบภารกิจทุกด้าน ั จุดทีควรพัฒนา ่ จานวนตัวบ่งชี้ในแผนปฏิบติงานประจาปี น้อยเกินไป ั ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา ่ ควรเพิ่มและพัฒนาตัวบ่งชี้ในแผนปฏิบติงานให้สอดคล้องและครอบคลุมวัตถุประสงค์ของ ั แผนกลยุทธ์คณะวิชา เช่น ตัวบ่งชี้ภารกิจด้านทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรม องค์ ประกอบที่ 2 จุดเด่ น 1. มีระบบและกลไกในการบริ หารหลักสู ตรที่ชดเจน ั ่ 2. สัดส่ วนจานวนนักศึกษาต่อจานวนอาจารย์ประจาอยูในเกณฑ์ดีมาก จุดทีควรพัฒนา ่ 1. ยังไม่มีระบบการปรับปรุ งวิธีการเรี ยนการสอนและพัฒนาผูเ้ รี ยนอย่างต่อเนื่องทุกหลักสู ตร 2. ระบบกลไกสนับสนุนให้อาจารย์ทาวิจยในชั้นเรี ยนเพื่อนามาพัฒนาการเรี ยนการสอนยังไม่ ั ชัดเจน ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา ่ 1. ควรสร้ า งระบบการนาผลการประเมิ นมาปรั บ ปรุ ง และพัฒนาผูเ้ รี ย นอย่า งต่ อเนื่ องโดย กาหนดเป็ นแนวทางวิธีปฏิ บติของคณะวิชาให้ทุกหลักสู ตรเนิ นการ เช่ น มีการติดตามผล ั การประเมินของผูเ้ รี ยน มีการวิเคราะห์จุดอ่อนที่ควรปรับปรุ งหรื อแก้ไขในวิธีการสอนโดย ระบุในแผนการสอนภาคการศึกษาถัดไป ตลาดจนมีการปรับปรุ งวิธีการเรี ยนการสอนเพื่อ พัฒนาผูเ้ รี ยน 10
  • 14. 2. ควรจัดระบบและกลไกสนับสนุนให้อาจารย์ทาการวิ จยในชั้นเรี ยน เพื่อนามาพัฒนาการ ั เรี ยนการสอนและนวัตกรรมให้ชดเจนและปฏิบติได้ ั ั 3. ควรมีการวิเคราะห์ผลการดาเนิ นงานการเรี ยนการสอน เพื่อนาไปปรับปรุ งหลักสู ตรอย่าง ชัดเจน องค์ ประกอบที่ 3 จุดเด่ น มีการจัดกิจกรรมเสริ มหลักสู ตรอย่างหลากหลายสอดคล้องกับเป้ าหมายของหลักสู ตรตาม คุณลักษณะของบัณฑิตพึงประสงค์ของคณะ จุดทีควรพัฒนา ่ 1. ยัง ไม่มี การประเมิ นการให้บ ริ การด้า นกายภาพที่ ส่งเสริ ม คุ ณภาพชี วิต การบริ ก ารข้อมู ล ข่าวสารที่เป็ นประโยชน์ต่อนักศึกษาและศิษย์เก่า 2. โครงการส่ งเสริ มพัฒนาวิชาชีพแก่ศิษย์เก่ายังไม่ชดเจน ั ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา ่ 1. ควรมีการทาแบบสารวจและประเมินการให้บริ การด้านกายภาพที่ส่งเสริ มคุณภาพชี วิต การ บริ การข้อมูลข่าวสารที่เป็ นประโยชน์ต่อนักศึกษาและศิษย์เก่า 2. ควรนาผลการประเมินการให้บริ การต่างๆ ไปวิเคราะห์ เพื่อพัฒนาต่อไปโดยผ่านทางการ ประชุมคณะกรรมการฯ หรื อมอบหมายคณะทางานดาเนินการข้างต้น 11
  • 15. องค์ ประกอบที่ 4 จุดเด่ น มีแผนงาน ระบบการบริ หารงานวิจยและงานสร้างสรรค์ที่ชดเจน และสอดคล้องกับ ั ั นโยบายของมหาวิทยาลัย จุดทีควรพัฒนา ่ 1. จัดตั้งคณะกรรมการวิจยของคณะ เพื่อให้การดาเนินงานด้านการวิจยเป็ นไปอย่างมีระบบ ั ั 2. มีมาตรการในการเพิ่มแรงจูงใจให้อาจารย์ดาเนินงานวิจยเพิ่มมากขึ้น ั 3. จัดสรรงบประมาณในการสนับสนุ นงานวิจยเพิ่มมากขึ้น และส่ งเสริ มอาจารย์ให้ขอรับทุน ั สนับสนุนงานวิจยภายนอกมากขึ้น ั 4. มีระบบสารสนเทศ แหล่งค้นคว้า ฐานข้อมูลเกี่ ยวกับงานวิจย เพื่ออานวยความสะดวกใน ั การดาเนินงานวิจยของอาจารย์ ั 5. ควรให้อาจารย์ตระหนักถึงความสาคัญของงานวิจยว่าเป็ นส่ วนหนึ่งของภาระงาน ั ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา ่ 1. ควรมีการส่ งเสริ มในการสร้างเครื อข่าย หรื อความร่ วมมือกับนักวิจยหรื อหน่วยงาน ั ภายนอกทั้งภาครัฐและภาคเอกชน 2. ควรมีระบบการสร้างขวัญและกาลังใจในการยกย่องนักวิจยที่มีผลงานวิจยอย่างเป็ น ั ั รู ปธรรม องค์ ประกอบที่ 5 จุดเด่ น 1. มีแผนการดาเนิ นงานด้านบริ การวิชาการแก่สังคม 2. มีร้อยละของอาจารย์ประจามีส่วนร่ วมในการบริ การวิชาการแก่สังคมเป็ นจานวนมาก จุดทีควรพัฒนา ่ 1. จานวนกิจกรรมที่เป็ นลักษณะการบริ การวิชาการแก่สังคมที่ชดเจนยังมีนอย ั ้ 2. ให้บุคลากรในทุกสาขาวิชาเข้าไปมีส่วนร่ วมในการบริ การวิชาการแก่สังคม 3. มีการบูรณาการการบริ การวิชาการแก่สังคมเข้ากับการเรี ยนการสอน การวิจย และการทานุ ั บารุ งศิลปวัฒนธรรม 12
  • 16. ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา ่ 1. ควรจัดให้มีกิจกรรมที่เป็ นลักษณะการบริ การวิชาการที่หลากหลายและครบทุกสาขาวิชา 2. ควรมีสนับสนุนและส่ งบุคลากรเข้าร่ วมในการบริ การวิชาการแก่สังคมอย่างต่อเนื่ อง 3. ควรให้มีการนาผลการประเมินไปพัฒนา ปรับปรุ งการบริ การวิชาการแก่สังคมให้เกิด ประโยชน์ต่อสังคมภายนอก องค์ ประกอบที่ 6 จุดเด่ น มีการจัดโครงการทางด้านศิลปวัฒนธรรมที่หลากหลาย จุดทีควรพัฒนา ่ 1. การกาหนดนโยบาย แผนงานด้านการทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรมยังไม่ชดเจน ั 2. กิจกรรมหรื อโครงการด้านการทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรมให้ยงไม่หลากหลาย ั ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา ่ ควรมีการกาหนดตัวบ่งชี้ที่เกี่ยวข้องกับการบูรณาการความรู ้ดานศิลปวัฒนธรรมกับภารกิจ ้ ด้านอื่นๆ เพื่อเป็ นแนวทางในการจัดทาโครงการและ/แผนการสอนที่ครบ KPI ได้ องค์ ประกอบที่ 7 จุดเด่ น 1. การบริ หารการมีส่วนร่ วมจากผูใต้บงคับบัญชาเห็นได้จากการประชุมอย่างต่อเนื่อง ้ ั 2. มีการประเมินผูบริ หาร ้ จุดทีควรพัฒนา ่ 1. แผนบริ หารและการดาเนิ นงานด้านความเสี่ ยงยังไม่เป็ นรู ปธรรม โดยแยกจาก SWOT 2. ยังไม่มีภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่ วมในการบริ หาร 3. ดาเนินการด้านประสิ ทธิ ภาพด้านฐานข้อมูลไม่ชดเจนและเป็ นระบบ ั 4. แผนการจัดการความรู ้ยงไม่นาสู่ การปฏิบติอย่างชัดเจน ั ั 5. ยังไม่มีการนาผลการประเมินผูบริ หารไปปรับปรุ งแก้ไข ้ 13
  • 17. ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา ่ 1. ควรจัดทาแผนที่กลยุทธ์ (Strategy Map) ของคณะที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์ 2. ควรมีระบบธารงรักษาบุคลากรให้ชดเจนั องค์ ประกอบที่ 8 จุดเด่ น มีการจัดทารายงานการใช้งบประมาณในการจัดโครงการของคณะ จุดทีควรพัฒนา ่ ควรจัดทาฐานข้อมูลทางการเงินของคณะ เพื่อให้สามารถตรวจสอบได้ตลอดเวลา ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา ่ ่ 1. ควรจัดตั้งคณะกรรมการในการบริ หารทางการเงินและบัญชีให้อยูในรู ปธรรม 2. ผูบริ หารระดับสู งควรติดตามผลการใช้เงินจากรายงานทางการเงินให้เป็ นไปตามเป้ าหมาย ้ องค์ ประกอบที่ 9 จุดเด่ น 1. มีหนังสื อพิมพ์ฝึกปฏิบติงาน ณ เกษม เป็ นช่องทางการเผยแพร่ กิจกรรมการประกันคุณภาพ ั การศึกษา 2. มีนกศึกษามีส่วนร่ วมในการดาเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ั จุดทีควรพัฒนา ่ 1. ส่ งเสริ มให้นกศึกษาเข้าร่ วมในกิจกรรมด้านการประกันคุณภาพการศึกษาในทุกเรื่ องที่ ั สามารถทาได้ตามบทบาทของนักศึกษา และขยายเครื อข่ายไปสู่ ผมีส่วนได้ส่วนเสี ยและ ู้ ชุมชน 2. มีแนวปฏิบติที่ดี เพื่อเป็ นนวตกรรมด้านการประกันคุณภาพ ั 14
  • 18. ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา ่ ควรพัฒนาช่องทางเครื อข่ายการประกันคุณภาพการศึกษา เช่น หนังสื อพิมพ์ ณ เกษม หรื อ Website ให้ดีและต่อเนื่ อง 15
  • 19. 6. ผลการประเมินตามมาตรฐานการอุดมศึกษา ด้ าน ตารางที่ ป.3 ผลการประเมินตามมาตรฐานการอุดมศึกษา ตัวบ่ งชี้ด้านผลผลิตหรือ มาตรฐาน ตัวบ่ งชี้ด้านปัจจัย นาเข้ า ตัวบ่ งชี้ด้านกระบวนการ รวม ผลการประเมิน ผลลัพธ์ 1. มาตรฐานด้ านคุณภาพบัณฑิต (4) - - 2.75 2.75 ดีมาก 2. มาตรฐานด้ านการบริหารจัดการ อุดมศึกษา(33) ก. มาตรฐานด้ านธรรมาภิบาลของการ 3.00 2.50 2.00 2.38 ดี บริหารการอุดมศึกษา (16) ข. มาตรฐานด้ านพันธกิจของการ 2.00 1.89 1.67 1.88 พอใช้ บริหารการอุดมศึกษา (17) 3. มาตรฐานด้ านการสร้ างและพัฒนา - 1.50 - 1.50 ยังไม่ได้คุณภาพ สั งคมฐานความรู้ ฯ (2) รวม 2.17 2.14 2.17 2.15 ดี ผลการประเมิน ดี ดี ดี 16
  • 20. 17
  • 21. เอกสารประกอบ ป.3 มาตรฐานด้ านคุณภาพบัณฑิต จุดเด่ น 1. บัณฑิตเป็ นที่ยอมรับของหน่วยงานภายนอก 2. บัณฑิตมีความขยัน อดทน สู้งาน และมีความสามารถในการพัฒนาการเรี ยนรู้ จุดทีควรพัฒนา ่ 1. ทักษะในการปฏิบติในทางวิชาชีพยังไม่เพียงพอ ั 2. ขาดการพัฒนาวุฒิภาวะทางอารมณ์ของนักศึกษา ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา ่ 1. ควรจัดกิจกรรมเพิมทักษะในการปฏิบติดานวิชาชีพให้มากขึ้น ่ ั ้ ั 2. ควรเสริ มสร้างความสามารถในการพัฒนาวุฒิภาวะทางอารมณ์ให้กบนักศึกษาเพิ่มมากขึ้น มาตรฐานด้ านการบริหารจัดการการอุดมศึกษา ก. มาตรฐานด้ านธรรมาภิบาลของการบริหารการอุดมศึกษา จุดเด่ น ให้ความเป็ นอิสระต่อบุคลากรภายในคณะ จุดทีควรพัฒนา ่ 1. ยังไม่มีระบบการสรรหาผูบริ หารภายในคณะที่ชดเจน โปร่ งใสและสามารถตรวจสอบได้ ้ ั 2. ยังไม่มีระบบการประเมินผูบริ หารภายในคณะที่ชดเจน ้ ั ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา ่ 1. ควรจัดระบบการสรรหาผูบริ หารภายในคณะให้เป็ นที่ยอมรับของบุคลากรทุกระดับ โดย ้ อาจเป็ นการเลือกตั้งจากบุคคลที่มีคุณสมบัติของผูบริ หารตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด ้ 17
  • 22. 2. ควรจัดระบบการประเมิ นผูบ ริ หารภายในคณะให้ชัดเจน โดยก าหนดผูรับ ผิดชอบวาง ้ ้ แนวทาง ประเมินและติดตามผลอย่างต่อเนื่อง ข. มาตรฐานด้ านพันธกิจของการบริ หารการอุดมศึกษา จุดเด่ น ไม่มี จุดทีควรพัฒนา ่ 1. ยังไม่มีแผนพัฒนาบุคลากรที่ชดเจน ั 2. ยังไม่มีแผนการใช้ทรัพยากรและการเงินอย่างชัดเจน 3. ยังไม่มีการนาผลการประเมินบุคลากรไปปรับปรุ งแก้ไข ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา ่ 1. ควรมี แ ผนพัฒ นาบุ ค ลากรที่ ชั ด เจนในทุ ก ๆ ด้า น และประเมิ น ผลการปฏิ บ ัติ ง านให้ สอดคล้องกับแผน 2. ควรมีแผนการใช้ทรัพยากรและการเงินอย่างชัดเจน สามารถตรวจสอบได้ 3. ควรมีระบบการนาผลการประเมินบุคลากรไปปรับปรุ ง โดยมีผรับผิดชอบ ติดตามการนา ู้ ผลไปใช้ให้เกิดประสิ ทธิ ภาพได้จริ ง มาตรฐานด้ านการสร้ างและพัฒนาสั งคมฐานความรู้ และสั งคมแห่ งการเรียนรู้ จุดเด่ น ไม่มี จุดทีควรพัฒนา ่ ยังไม่มีระบบและกลไกการบริ หารจัดการเรื่ องการจัดการความรู้ ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา ่ ควรวางแผนดาเนินงานเรื่ องการบริ หารจัดการความรู้ของคณะอย่างเป็ นรู ปธรรม 18
  • 23. เอกสารประกอบ ป.3 มาตรฐานด้ านคุณภาพบัณฑิต จุดเด่ น 1. บัณฑิตเป็ นที่ยอมรับของหน่วยงานภายนอก 2. บัณฑิตมีความขยัน อดทน สู้งาน และมีความสามารถในการพัฒนาการเรี ยนรู้ จุดทีควรพัฒนา ่ 1. ทักษะในการปฏิบติในทางวิชาชีพยังไม่เพียงพอ ั 2. ขาดการพัฒนาวุฒิภาวะทางอารมณ์ของนักศึกษา ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา ่ 1. ควรจัดกิจกรรมเพิมทักษะในการปฏิบติดานวิชาชีพให้มากขึ้น ่ ั ้ ั 2. ควรเสริ มสร้างความสามารถในการพัฒนาวุฒิภาวะทางอารมณ์ให้กบนักศึกษาเพิ่มมากขึ้น มาตรฐานด้ านการบริหารจัดการการอุดมศึกษา ก. มาตรฐานด้ านธรรมาภิบาลของการบริหารการอุดมศึกษา จุดเด่ น ให้ความเป็ นอิสระต่อบุคลากรภายในคณะ จุดทีควรพัฒนา ่ 1. ยังไม่มีระบบการสรรหาผูบริ หารภายในคณะที่ชดเจน โปร่ งใสและสามารถตรวจสอบได้ ้ ั 2. ยังไม่มีระบบการประเมินผูบริ หารภายในคณะที่ชดเจน ้ ั ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา ่ 1. ควรจัดระบบการสรรหาผูบริ หารภายในคณะให้เป็ นที่ยอมรับของบุคลากรทุกระดับ โดย ้ อาจเป็ นการเลือกตั้งจากบุคคลที่มีคุณสมบัติของผูบริ หารตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด ้ 17
  • 24. 2. ควรจัดระบบการประเมิ นผูบ ริ หารภายในคณะให้ชัดเจน โดยก าหนดผูรับ ผิดชอบวาง ้ ้ แนวทาง ประเมินและติดตามผลอย่างต่อเนื่อง ข. มาตรฐานด้ านพันธกิจของการบริ หารการอุดมศึกษา จุดเด่ น ไม่มี จุดทีควรพัฒนา ่ 1. ยังไม่มีแผนพัฒนาบุคลากรที่ชดเจน ั 2. ยังไม่มีแผนการใช้ทรัพยากรและการเงินอย่างชัดเจน 3. ยังไม่มีการนาผลการประเมินบุคลากรไปปรับปรุ งแก้ไข ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา ่ 1. ควรมี แ ผนพัฒ นาบุ ค ลากรที่ ชั ด เจนในทุ ก ๆ ด้า น และประเมิ น ผลการปฏิ บ ัติ ง านให้ สอดคล้องกับแผน 2. ควรมีแผนการใช้ทรัพยากรและการเงินอย่างชัดเจน สามารถตรวจสอบได้ 3. ควรมีระบบการนาผลการประเมินบุคลากรไปปรับปรุ ง โดยมีผรับผิดชอบ ติดตามการนา ู้ ผลไปใช้ให้เกิดประสิ ทธิ ภาพได้จริ ง มาตรฐานด้ านการสร้ างและพัฒนาสั งคมฐานความรู้ และสั งคมแห่ งการเรียนรู้ จุดเด่ น ไม่มี จุดทีควรพัฒนา ่ ยังไม่มีระบบและกลไกการบริ หารจัดการเรื่ องการจัดการความรู้ ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา ่ ควรวางแผนดาเนินงานเรื่ องการบริ หารจัดการความรู้ของคณะอย่างเป็ นรู ปธรรม 18
  • 25. 7. ผลการประเมินตามมุมมองด้ านการบริ หาร จัดการ ตารางที่ ป.4 ผลการประเมินตามมุมมองด้ านการบริหารจัดการ มุมมองด้ านการบริหาร ตัวบ่ งชี้ด้านปัจจัย ตัวบ่ งชี้ด้านผลผลิตหรือ ตัวบ่ งชี้ด้านกระบวนการ รวม ผลการประเมิน จัดการ นาเข้ า ผลลัพธ์ 1. ด้ านนักศึกษาและผู้มีส่วนได้ 3.00 2.00 2.43 2.33 ดี ส่ วนเสี ย 2. ด้ านกระบวนการภายใน - 2.71 2.67 2.70 ดีมาก 3. ด้ านการเงิน 2.00 1.00 - 1.33 ยังไม่ได้คุณภาพ 4. ด้ านบุคลากรการเรียนรู้ และ 1.67 2.00 0.50 1.64 พอใช้ นวัตกรรม รวม 2.17 2.14 2.17 2.15 ดี ผลการประเมิน ดี ดี ดี 19
  • 26. เอกสารประกอบ ป.4 ด้ านนักศึกษาและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสี ย จุดเด่ น อาจารย์อุทิศเวลาและให้ความสนใจในการปฏิบติหน้าที่เป็ นอย่างดี ั จุดทีควรพัฒนา ่ นักศึกษายังไม่มีส่วนร่ วมในการประกันคุณภาพการศึกษาเท่าที่ควร ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา ่ ควรกาหนดแนวทางให้อาจารย์มีการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ ความรู ้ เกี่ ยวกับการประกัน คุณภาพให้มากขึ้นและทัวถึง โดยผ่านทางการเรี ยนการสอนและการประเมินผลการเรี ยนการสอน ่ หรื อจัดกิจกรรมให้นกศึกษามีส่วนร่ วมในการประกันคุณภาพการศึกษาของคณะวิชา ั ด้ านกระบวนการภายใน จุดเด่ น ไม่มี จุดทีควรพัฒนา ่ ยังขาดอุปกรณ์ ระบบสารสนเทศ เพื่อสนับสนุ นการเรี ยนการสอน และปฏิบติภารกิ จของ ั อาจารย์ เช่น ระบบ Internet WIFI Computer ในห้องปฏิบติการการเรี ยนการสอน ั ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา ่ ควรมีแบบสารวจการใช้อุปกรณ์ระบบสารสนเทศ เพื่อสนับสนุ นการเรี ยนการสอน และ จัดทาแผนการจัดหาให้มีความทันสมัยและเพียงพอต่อความต้องการ 20
  • 27. ด้ านการเงิน จุดเด่ น ไม่มี จุดทีควรพัฒนา ่ 1. ยังไม่มีการสารวจความจาเป็ นและความต้องการ ด้านการเงินให้สอดคล้องกับแผนกล ยุทธ์ 2. ยังไม่มีแผนและการวิเคราะห์การจัดสรรงบประมาณ และใช้งบประมาณ ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา ่ 1. ควรจัดทาแบบสารวจความจาเป็ นและความต้องการด้านการเงินของคณะวิชา 2. ควรวางแผนและการวิเคราะห์การจัดสรรงบประมาณ และใช้งบประมาณ ด้ านบุคลากรการเรียนรู้ และนวัตกรรม จุดเด่ น อาจารย์มีความใฝ่ รู้ และพร้อมพัฒนาตนเองในการเรี ยนรู้ และสร้างนวัตกรรม จุดทีควรพัฒนา ่ ยังขาดแนวทางและเป้ าหมายในการดาเนินการเรื่ องการเรี ยนรู้และนวัตกรรมของบุคลากร ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนา ่ ควรจัดทาแผนการพัฒนาบุคลากรด้านการเรี ยนรู้และนวัตกรรม โดยคานึงถึงการนาผลไป ใช้ในการเรี ยนการสอน 21
  • 28. สรุปผลการประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาในภาพรวม คณะนิเทศศาสตร์ จุดเด่ น 1. สถานประกอบการมีความพึงพอใจบัณฑิตของคณะวิชาอยูในเกณฑ์สูง่ 2. ่ มีร้อยละนักศึกษาที่ได้รับรางวัลและเกียรติคุณยกย่องอยูในระดับดี 3. มีการส่ งเสริ มกิจกรรมนักศึกษาที่ครบถ้วนตามคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ 4. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพที่ชดเจนและต่อเนื่ อง ั ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนาเร่ งด่ วน ่ 1. จัดทาแผนการเงินสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ ั 2. ควรจัดทาแผนบูรณาการความรู ้กบการบริ หาร เช่น ความเสี่ ยง การจัดการความรู ้ และ ฐานข้อมูล 3. จัดสัมมนาทางวิชาการทั้งในระดับชาติและนานาชาติ 4. จัดทาแผนพัฒนาคุณภาพ หลังจากการประเมินคุณภาพ 5. จัดทาแผนการพัฒนาคุณวุฒิอาจารย์ และกาหนดแนวทางให้อาจารย์ได้ศึกษาต่อใน ระดับปริ ญญาโทและปริ ญญาเอก เพื่อให้ได้ตามเกณฑ์ สกอ. 6. กาหนดระบบสนับสนุนให้อาจารย์ทาวิจยเพื่อพัฒนา การเรี ยนการสอน และพัฒนา ั นวัตกรรมในการเรี ยนการสอน 7. จัดทารายงานแบบวิเคราะห์ขอมูลการดาเนินงานหลักสู ตรต่าง ๆ ประจาทุกปี การศึกษา ้ อาทิ ร้อยละของหลักสู ตรที่ไม่เป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน สกอ. ครบทุกข้อ ร้อยละ ของจานวนบัณฑิตที่ผลิตได้ตรงตามแผน เพื่อนาไปปรับปรุ งบริ หารจัดการหลักสู ตร ก่อนรับนักศึกษารุ่ นใหม่ 8. จัดทาคู่มือปฏิบติงาน มีการให้โอกาสบุคลากรทุกคน มีความก้าวหน้าในการทางาน ั โดยมีการกาหนดเส้นทางของตาแหน่ง (Career Path) ทุกสายงาน 9. รับฟังความคิดเห็นจากผูรับบริ การ นักศึกษา อาจารย์และผูปกครองของคณะฯ อย่าง ้ ้ สม่าเสมอ โดยอาจจัดให้มีสายตรงคณบดี ผ่านเว็บไซต์ เป็ นต้น 10. ควรกาหนดเป้ าประสงค์ของแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานให้ เชื่อมโยงกับเป้ าประสงค์และประเด็นยุทธศาสตร์ ของคณะ ที่สอดคล้องและเชื่อมโยง ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย 22
  • 29. 11. กระตุนและสนับสนุนให้อาจารย์ทาวิจยเพื่อการเรี ยนการสอน และสร้างเครื อข่าย ้ ั งานวิจยทางด้านการเรี ยนการสอนตามเกณฑ์ สกอ. ั 12. ให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับงานประกันคุณภาพ ไปดูงานจากมหาวิทยาลัยภายนอกที่เป็ น แบบอย่างที่ดีในด้านนี้ ข้ อเสนอแนะเพือการพัฒนาภายใน 3-5 ปี ่ 1. ควรตั้งค่าเป้ าหมายให้เป็ นจริ งตามหลักฐานที่มีอยู่ 2. ควรตั้งค่าเป้ าหมายให้สูงขึ้นในปี ต่อๆ ไป 3. พัฒนาแผนกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัยและวิเคราะห์แผน โดยบุคลากรของคณะ มีส่วนร่ วมเพื่อทาให้เกิดความเข้าใจและนาไปสู่ ภาคปฏิบติ ั 4. จัดทาประชาสัมพันธ์ เรื่ องแผนกลยุทธ์ของคณะให้บุคลากรภายในคณะ ฯ ได้ทราบ รวมถึงเปิ ดโอกาสให้บุคลากรมีส่วนร่ วมในการจัดทาแผน 5. ส่ งเสริ มให้มีการใช้ Teaching Portfolio ในการพัฒนาตนเองของอาจารย์ ซึ่งจะทาให้ งานประกันคุณภาพแทรกซึ มไปทุกส่ วนงาน 6. มีการสร้างทีมวิจย เพื่อผลิตผลงานวิจย และงานสร้างสรรค์ระดับสากล ั ั 7. ควรมีคณะกรรมการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษา เพื่อพัฒนาระบบกลไกและพัฒนา นักศึกษาในคณะ 8. สนับสนุนให้มีการสร้างเครื อข่าย ความร่ วมมือระหว่างหน่วยงานระดับประเทศและ ระดับนานาชาติในด้านต่าง ๆ โดยเน้นงานวิจย งานวิชาการ การเรี ยนการสอน และ ั การแลกเปลี่ยนนักศึกษา 9. จัดทาระบบฐานข้อมูล เพื่อใช้ในการบริ หารและตัดสิ นใจให้เชื่อมโยงทุกระบบ 23
  • 30. 7. ข้ อมูลจากการสัมภาษณ์ 1. ผู้ประกอบการ ข้ อดี ่ 1) โดยภาพรวมบัณฑิต มีคุณภาพ จริ ยธรรม และมีทกษะความรู ้อยูในเกณฑ์ดี และตรงตามความ ั ต้องการ และมีความขยัน ตั้งในพัฒนาความสามารถในการทางาน 2) ผูประกอบการมองในทัศนคติที่ดีต่อองค์การและตัวบัณฑิต ้ ข้ อเสนอแนะ 1) ควรพัฒนาทักษะคอมพิวเตอร์ ให้ดีข้ ึน 2) ควรมีการเสริ มสร้างและสอดแทรกการพัฒนาทางอารมณ์ และทัศนคติต่อการปฏิบติงานร่ วมกัน ั คนอื่นและดารงชีวิตในสังคมอย่างมีความสุ ขจะต้องทาอย่างไร 2. บัณฑิต (ศิษย์ เก่า)และนักศึกษาปัจจุบัน ข้ อดี 1) อาจารย์สอนดี ความรู้ดี เป็ นการเอง 2) สังคมน่าอยู่ 3) มีอาจารย์พิเศษที่มีความรู้ดี ่ 4) การบริ การของคณะอยูในระดับดี 5) มีอาจารย์ผเู้ ชี่ยวชาญวิชาชีพจานวนมาก ข้ อเสนอแนะ 1) ต้องการให้มีการฝึ กทักษะการปฏิบติทางด้านวิชาชีพให้มากขึ้น เช่นทักษะการตัดต่อ การทา ั โฆษณา 2) ต้องการผูมีประสบการณ์ตรงในสาขาวิชามาร่ วมสอน ้ 3) ควรปลูกฝังทัศนคติในการทางานร่ วมกับคนอื่น 4) ควรสร้างแรงกระตุนให้นกศึกษาทากิจกรรม/โครงการ ้ ั 5) ปลูกฝังทัศนคติการเรี ยนรู ้ในการมองภาพสถาบันว่าสามารถแข่งขันกับสถาบันอื่นได้ 2.7 ควรมีตาราที่ทนสมัยในห้องสมุด ให้สามารถค้นคว้าได้ตรงตามความต้องการ ั 2.8 ควรมีห้องสมุดของคณะวิชา 2.9 ควรมีกิจกรรมร่ วมกับคณะวิชาอื่น ๆ เพื่อเป็ นการแลกเปลี่ยนความรู ้และทัศนะคติในการทางาน 2.10 ควรเน้นให้นกศึกษาเห็นความสาคัญของการสร้างเครื อข่าย ั 2.11 ควรเพิ่มอุปกรณ์ที่ใช้ในการเรี ยนการสอนทีใช้ในการฝึ กปฏิบติของนักศึกษาให้เพียงพอกับ ั จานวนนักศึกษาที่เพิ่มขึ้น 24
  • 31. 2.12 ควรพัฒนาระบบอินเตอร์เนต wi-fi ภายในมหาวิทยาลัยที่มีประสิ ทธิ ภาพ และครอบคลุมพื้นที่ ภายในมหาวิทยาลัย 2.13 ในการปั จฉิ มนิ เทศที่ตองการให้เพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่ องการแต่งกายอย่างไรให้สุภาพให้มากขึ้น ้ 2.14 ในระดับปริ ญญาโท บรรยากาศในชั้นเรี ยนเกี่ยวกับเพื่อนนักศึกษาค่อนข้างไม่เปิ ดกว้างทาง ความคิด จึงควรให้มีการจัดบรรยากาศให้เปิ ดกว้างมากขึ้น 4. อาจารย์ 4.1 อายุงาน 1-3 ปี ข้ อดี 1) มีบรรยาการการทางานที่อบอุ่น คณาจารย์และเจ้าหน้าที่มีความเป็ นกันเอง 2) มีการเปิ ดกว้างในการ ข้ อเสนอแนะ 1) ควรมีการฝึ กประสบการณ์วชาชีพให้นกศึกษามากขึ้นเพื่อให้นกศึกษาเกิดความชานาญ ิ ั ั 2) ต้องการความพร้อมและความเหมาะสมของอุปกรณ์การเรี ยนการสอนและสารธารณูปโภค พื้นฐาน เช่น ระบบอินเตอร์ ภายในมหาวิทยาลัย 3) ควรจัดระบบการรับส่ งเอกสารระหว่างมหาวิทยาลัย กับคณะวิชาและคณาจารย์ ให้มีความ รวดเร็ ว และทันเวลา ่ 4)ควรมีระบบบารุ งรักษาอุปกรณ์การเรี ยนการสอนให้อยูในสภาพที่ใช้งานได้ตลอดเวลา 4.2 อายุงานมากกว่ า 5 ปี ข้ อดี 1) มีความสบายใจในการอยูร่วมกันในสภาพแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัย ่ 2) มีเพื่อนร่ วมงานดี ุ่ 3) มหาวิทยาลัยไม่วนวายกับอาจารย์ ข้ อเสนอแนะ 1) ควรมีการอานวนความสะดวกในการไปร่ วมอบรมต่าง ๆ ของอาจารย์ ่ 2) ควรมีความยืดหยุนเรื่ องเวลาเข้า-ออกของอาจารย์ เช่นทางาน 8 ชัวโม ไม่ตองจากัดว่าจะเข้า ่ ้ เมื่อใดแต่ตองให้ครบ 8 ชัวโมง ใน 1 วัน ้ ่ 3) ควรมีระบบการสรรหาผูบริ หารที่โปร่ งใสและสามารถปฏิบติงานได้จริ ง โดยการจัดเลือกตั้ง ้ ั จากผูที่มีคุณสมบัติตามที่กาหนดไว้เป็ นมาตรฐาน ้ 4) ควรมีระบบการกระตุนและส่ งเสริ มการจัดทาวิจย ้ ั 25
  • 32. 5) ควรมีความพร้อมเรื่ องอุปกรณ์การเรี ยนการสอน ทันต่อการฝึ กปฏิบติในการจัดการเรี ยนการ ั สอนของอาจารย์ 6) ควรมีการบริ หารจัดการเรื่ องการเดินทางระหว่างวิทยาเขตให้มีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น เช่น ควรจัดรถสาหรับอาจารย์โดยเฉพาะ 7) ควรมีการให้ความรู ้เกี่ยวกับการประกันคุณภาพนักศึกษาให้มากขึ้นและอย่างทัวถึง่ 8) ควรมีคู่มืออาจารย์ซ่ ึ งระบุภาระหน้าที่ สวัสดิการ และกฎระเบียบต่าง ๆ เผยแพร่ ให้บุคลากร อย่างทัวถึงเพื่อจะได้รู้หน้าที่และสิ ทธิ ต่าง ๆในการเป็ นบุคลากรของมหาวิทยาลัย ่ 9) ควรมีการเผยแพร่ ความาเคลื่อนไหวของข้อมูลต่าง ๆของมหาวิทยาลัยผ่านทางอินเตอร์ เนต ใน website ของมหาวิทยาลัย หรื่ อจัดให้มี cell-center เพื่อสอบถามข้อมูลต่าง ๆของ มหาวิทยาลัย 10) ควรมีความชัดเจนเกี่ยวกับระบบการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน 11) ควรจัดอบรมอาจารย์ที่ปรึ กษาให้ทราบโครงสร้างหลักสู ตรและภาระหน้าที่ของอาจารย์ที่ ปรึ กษาอย่างจริ งจัง 12) ควรมีระบบการติดตาม ประเมินผล การปฏิบติงานของผูบริ หารให้ชดเจน เพื่อให้การ ั ้ ั พัฒนาคณะวิชาสามารถขับเคลื่อนไปได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ 13) ควรมีระบบการลงโทษบุคลากรที่ปฏิบติงานผิดพลาดั 26