SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
การอ่านจับใจความสำาคัญและการอ่านคิดวิเคราะห์
ความสำาคัญ
           การอ่านเป็นทักษะที่จำาเป็นอย่างยิ่งต่อการศึกษา
หาความรู้ และพัฒนาชีวิต ซึ่งนอกจากจะทำาให้เกิด
ความรู้แล้วยังก่อให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน และส่งเสริม
ให้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ได้แนวคิดใน
การดำาเนินชีวิต การอ่านจึงเป็นหัวใจของการศึกษาทุกระดับ และ
เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้เรื่องต่างๆ
           การอ่านที่ดีมีประสิทธิภาพ จะต้องอ่านแล้วจับใจความ
ได้ สรุปสาระสำาคัญของเรื่องที่อ่านได้
แต่การสำารวจการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนพบว่า
ปัญหาที่สำาคัญในการอ่านของผู้เรียนคือ
อ่านแล้วจับใจความสำาคัญไม่ได้ ไม่สามารถสรุปประเด็นได้ ไม่
สามารถแยกความรู้ ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
ไม่สามารถแยกใจความสำาคัญกับใจความรองได้ ทำาให้ไม่ได้รับ
ประโยชน์จากการอ่านเท่าที่ควร
ทั้งยังเป็นปัญหาอุปสรรคต่อการเรียนรูและการศึกษาวิชาต่างๆด้วย
                                          ้
           หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ได้
กำาหนดคุณภาพของผู้เรียนด้านความเข้าใจ
ในการอ่านไว้ในช่วงชั้นเช่น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 กำาหนดให้
อ่านแล้ว ..เข้าใจข้อความที่อาน.. ่
ช่วงชั้น 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ..อ่านแล้วจับประเด็นสำาคัญ
แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น วิเคราะห์ความ
ตีความ สรุปความได้.. ช่วงชั้นที่ 3 คือมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 อ่าน
แล้วแสดงความคิดเห็นเชิง วิเคราะห์
ประเมินค่าเรื่องที่อ่านอย่างมีเหตุผลและในช่วงชั้นปีที่ 4 ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 4-6 อ่านแล้วสามารถตีความ
แปลความ และขยายความเรื่องที่อย่างลึกซึ้ง วิเคราะห์ วิจารณ์
ประเมินค่าเรื่องที่อ่านได้.. ซึ่งผู้เรียนจะมีคุณภาพ
ดังกล่าวได้ ต้องมีความสามารถในการอ่านจับใจความและเข้าใจ
เรื่องราวต่างๆ จากการอ่านได้เป็นอย่างดี


ความหมาย
การอ่านจับใจความ คือ การอ่านที่มงค้นหาสาระของ
                                             ุ่
เรื่องหรือของหนังสือแต่ละเล่มที่เป็นส่วนใจความสำาคัญ และส่วน
ขยายใจความสำาคัญของเรื่อง
           ใจความสำาคัญของเรื่อง คือ ข้อความทีมีสาระคลุมข้อ
                                                 ่
ความอื่นๆ ในย่อหน้านั้นหรือเรื่องนันทั้งหมด ข้อความอื่น ๆ เป็น
                                   ้
เพียงส่วนขยายใจความสำาคัญเท่านัน ข้อความหนึ่งหรือตอนหนึ่ง
                                     ้
จะมีใจความสำาคัญที่สุดเพียงหนึ่งเดียว นอกนั้นเป็นใจความรอง
คำาว่าใจความสำาคัญนี้ ผู้รได้เรียกไว้เป็นหลายอย่าง เช่น ข้อคิด
                          ู้
สำาคัญของเรื่อง แก่นของเรื่อง หรือ ความคิดหลัก ของเรื่องแต่จะ
เป็นอย่างไรก็ตาม ใจความสำาคัญก็คือสิ่งที่เป็นสาระที่สำาคัญที่สุด
ของเรื่องนั่นเอง
           ใจความสำาคัญส่วนมากจะมีลักษณะเป็นประโยค ซึ่งอาจ
ปรากฏอยู่ในส่วนใดส่วนหนึ่งของย่อหน้าก็ได้
           จุดที่พบใจความสำาคัญของเรื่องในแต่ละย่อหน้ามาก
ที่สุดคือ ประโยคที่อยู่ตอนต้นย่อหน้า
เพราะผู้เขียนมักบอกประเด็นสำาคัญไว้ก่อน แล้วจึงขยายราย
ละเอียดให้ชัดเจน รองลงมาคือประโยคตอนท้ายย่อหน้า โดยผู้
เขียนจะบอกรายละเอียดหรือประเด็นย่อยก่อน แล้วจึงสรุปด้วย
ประโยคที่เป็นประเด็นไว้ภายหลัง สำาหรับจุดที่พบใจความสำาคัญ
ยากขึ้นก็คือ ประโยคตอนกลางย่อหน้า ซึ่งผู้อ่านจะต้องใช้ความ
สังเกตและพิจารณาให้ดี ส่วนจุดที่หาใจความสำาคัญยากที่สุดคือ
ย่อหน้าที่ไม่มีประโยคใจความสำาคัญปรากฏชัดเจน อาจมีประโยค
หรืออาจอยู่รวมๆกันในย่อหน้าก็ได้ ซึ่งผู้อ่านจะต้องสรุปออกมาเอง

แนวการอ่านจับใจความ
            การอ่านจับใจความให้บรรลุจุดประสงค์ มีแนวทางดังนี้
            1.ตั้งจุดมุ่งหมายในการอ่านได้ชัดเจน เช่น อ่านเพื่อ
หาความรู้ เพื่อความเพลิดพลิน หรือเพื่อบอก
เจตนาของผู้เขียน เพราะจะเป็นแนวทางกำาหนดการอ่านได้อย่าง
เหมาะสม และจับใจความหรือคำาตอบได้รวดเร็ว
ยิ่งขึ้น
            2.สำารวจส่วนประกอบของหนังสืออย่างคร่าวๆ เช่น ชื่อ
เรื่อง คำานำา สารบัญ คำาชี้แจงการใช้หนังสือ ภาคผนวก ฯลฯ เพราะ
ส่วนประกอบของหนังสือจะทำาให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องหรือ
หนังสือที่อ่านได้กว้างขวางและรวดเร็ว
3.ทำาความเข้าใจลักษณะของหนังสือว่าประเภทใด เช่น
สารคดี ตำารา บทความ ฯลฯ
ซึ่งจะช่วยให้มีแนวทางอ่านจับใจความสำาคัญ ได้ง่าย
            4.ใช้ความสามารถทางภาษาในด้านการแปลความ
หมายของคำา ประโยค และข้อความต่างๆ
อย่างถูกต้องรวดเร็ว
            5.ใช้ประสบการณ์หรือภูมิหลังเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านมา
ประกอบ จะทำาความเข้าใจและจับใจความที่อ่านได้ง่ายและ
รวดเร็วขึ้น

ขั้นตอนการอ่านจับใจความ
            1.อ่านผ่านๆโดยตลอด เพื่อให้รู้วาเรื่องที่อานว่าด้วย
                                            ่         ่
เรื่องอะไร จุดใดเป็นจุดสำาคัญของเรื่อง
            2.อ่านให้ละเอียด เพื่อทำาความเข้าใจอย่างชัดเจน ไม่
ควรหยุดอ่านระหว่างเรื่องเพราะจะทำา
ให้ความเข้าใจไม่ติดต่อกัน
            3.อ่านซำ้าตอนที่ไม่เข้าใจ และตรวจสอบความเข้าใจ
บางตอนให้แน่นอนถูกต้อง
            4.เรียบเรียงใจความสำาคัญของเรื่องด้วยตนเอง
แนวการอ่านจับใจความ
            การอ่านจับใจความให้บรรลุจุดประสงค์ มีแนวทางดังนี้
            1.ตั้งจุดมุ่งหมายในการอ่านได้ชัดเจน เช่น อ่านเพื่อ
หาความรู้ เพื่อความเพลิดพลิน หรือเพื่อบอกเจตนาของผู้เขียน
เพราะจะเป็นแนวทางกำาหนดการอ่านได้อย่างเหมาะสม และจับใจ
ความหรือคำาตอบได้รวดเร็วยิ่งขึ้น
            2.สำารวจส่วนประกอบของหนังสืออย่างคร่าวๆ เช่น ชื่อ
เรื่อง คำานำา สารบัญ คำาชี้แจงการใช้หนังสือ ภาคผนวก ฯลฯ เพราะ
ส่วนประกอบของหนังสือจะทำาให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องหรือ
หนังสือที่อ่านได้กว้างขวางและรวดเร็ว
            3.ทำาความเข้าใจลักษณะของหนังสือว่าประเภทใด เช่น
สารคดี ตำารา บทความ ฯลฯ
ซึ่งจะช่วยให้มีแนวทางอ่านจับใจความสำาคัญ ได้ง่าย
            4.ใช้ความสามารถทางภาษาในด้านการแปลความ
หมายของคำา ประโยค และข้อความต่างๆ
อย่างถูกต้องรวดเร็ว
5.ใช้ประสบการณ์หรือภูมิหลังเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านมา
ประกอบ
จะทำาความเข้าใจและจับใจความที่อ่านได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น

ขั้นตอนการอ่านจับใจความ
           1.อ่านผ่าน ๆโดยตลอด เพื่อให้รู้วาเรื่องที่อานว่าด้วย
                                           ่          ่
เรื่องอะไร จุดใดเป็นจุดสำาคัญของเรื่อง
           2.อ่านให้ละเอียด เพื่อทำาความเข้าใจอย่างชัดเจน ไม่
ควรหยุดอ่านระหว่างเรื่องเพราะจะทำา
ให้ความเข้าใจไม่ติดต่อกัน
           3.อ่านซำ้าตอนที่ไม่เข้าใจ และตรวจสอบความเข้าใจ
บางตอนให้แน่นอนถูกต้อง
           4.เรียบเรียงใจความสำาคัญของเรื่องด้วยตนเอง


การอ่านวิเคราะห์
ความสำาคัญ
            การอ่านวิเคราะห์เป็นทักษะการอ่านในระดับที่สูงขึ้นกว่า
การอ่านทั่วๆไป กล่าวคือ มิใช่เป็นเพียงการอ่านเพื่อความรู้และ
ความเพลิดเพลินเท่านั้น แต่ยังต้องมีการวิเคราะห์สิ่งที่ผู้เขียนได้
เขียนในด้านต่าง ๆ ด้วย
            ครูควรจัดให้นักเรียนได้ฝึกทักษะการอ่านวิเคราะห์อย่าง
จริงจัง เพื่อนำาไปสู่การสร้างความรู้
ความคิด การตัดสินใจแก้ปัญหาและสร้างวิสัยทัศน์ในการดำาเนิน
ชีวิต

ความหมาย
           การอ่านเชิงวิเคราะห์เป็นการอ่านหนังสือแต่ละเล่มอย่าง
ละเอียดให้ได้ความครบถ้วนแล้วจึงแยกแยะให้ได้ว่าส่วนต่าง ๆ นั้น
มีความหมายและความสำาคัญอย่างไรบ้าง แต่ละด้านสัมพันธ์กับ
ส่วนอื่น ๆ อย่างไร วิธีอ่านแบบวิเคราะห์นี้ อาจใช้วิเคราะห์องค์
ประกอบของคำาและวลี การใช้คำาในประโยควิเคราะห์สำานวนภาษา
จุดประสงค์ของผู้แต่ง ไปจนถึงการวิเคราะห์นัย
หรือเบื้องหลังการจัดทำาหนังสือหรือเอกสารนั้น
           การวิเคราะห์เรื่องที่อ่านทุกชนิด สิ่งที่จะละเลยเสียมิได้
ก็คือ การพิจารณาถึงการใช้ถ้อยคำาสำานวนภาษาว่ามีความเหมาะ
สมกับระดับ และประเภทของงานเขียนหรือไม่ เช่น ในบทสนทนา
ก็ไม่ควรใช้ภาษาที่เป็นแบบแผน ควรใช้สำานวนให้เหมาะสมกับ
สภาพจริงหรือเหมาะ แก่กาลสมัยที่เหตุการณ์ในหนังสือนั้นเกิดขึ้น
เป็นต้น ดังนั้น การอ่านวิเคราะห์จึงต้องใช้เวลาอ่านมาก และยิ่งมี
เวลาอ่านมากก็ยิ่งมีโอกาสวิเคราะห์ ได้ดีมากขึ้น การอ่านในระดับ
นี้ ต้องรู้จักตั้งคำาถามและจัดระเบียบเรื่องราวที่อ่าน เพื่อจะได้
เข้าใจเรื่องและความคิด
ของผู้เขียนต้องการ

การวิเคราะห์การอ่าน
          การวิเคราะห์การอ่านประกอบด้วย
          1.รูปแบบ
          2.กลวิธีในการประพันธ์
          3.เนื้อหาหรือเนื้อเรื่อง
          4.สำานวนภาษา



กระบวนการวิเคราะห์
          1.ดูรูปแบบของงานประพันธ์ว่าใช้รูปแบบใด อาจเป็น
นิทาน บทละคร นวนิยาย เรื่องสั้น
บทร้อยกรอง หรือบทควมจากหนังสือพิมพ์
          2.แยกเนื้อเรื่องออกเป็นส่วนๆ ให้เห็นว่าใครทำาอะไร
ที่ไหน อย่างไร เมื่อไร
          3.แยกพิจารณาแต่ละส่วนให้ละเอียดลงไปว่าประกอบ
กันอย่างไร หรือประกอบด้วยอะไรบ้าง
          4.พิจารณาให้เห็นว่าผู้เขียนให้กลวิธีเสนอเรื่องอย่างไร

การอ่านเชิงวิเคราะห์ในขันต่าง ๆ
                           ้
          1.การอ่านวิเคราะห์คำา
           การอ่านวิเคราะห์คำา เป็นการอ่านเพื่อให้ผู้อ่านแยกแยะ
ถ้อยคำาในวลี ประโยค หรือข้อความต่างๆ โดยสามารถบอกได้ว่า
คำาใดใช้อย่างไร ใช้อย่างไร ใช้ผิดความหมาย ผิดหน้าที่ไม่เหมาะ
สม ไม่ชัดเจนอย่างไรควรจะต้องหาทางแก้ไข ปรับปรุงอย่างไร
เป็นต้น เช่น
                     1.อย่าเอาไปใช้ทับกระดาษ
2.ที่นรับอัดพระ
                             ี่
                       3.เขาท่องเที่ยวไปทัวพิภพ
                                           ่
                       4.เจ้าอาวาสวัดนี้มรณกรรมเสียแล้ว
          2.การอ่านวิเคราะห์ประโยค
           การอ่านวิเคราะห์ประโยค เป็นการอ่านเพื่อแยกแยะ
ประโยคต่างๆ ว่าเป็นประโยคที่ถูกต้องชัดเจนหรือไม่ ใช้ประโยค
ผิดไปจาก แบบแผนของภาษาอย่างไร เป็นประโยคทีถูกต้อง   ่
สมบูรณ์เพียงใดหรือไม่ มีหน่วยความคิดในประโยคขาดเกินหรือ
ไม่ เรียงลำาดับความใน ประโยคที่ใช้ได้ถูกต้องชัดเจนหรือไม่ ใช้
ฟุ่มเฟือย
โดยไม่จำาเป็นหรือใช้รูปประโยคที่สื่อความหมายไม่ชัดเจนหรือไม่
เมื่อพบข้อบกพร่องต่างๆ
แล้วก็สามารถแก้ไขให้ถูกต้องได้ เช่น
                      1) สุขภาพของคนไทยไม่ดีส่วนใหญ่
                      2) การแก้ปัญหาจราจรในกรุงเทพฯเกิดการ
จลาจล
                      3) ทุกคนย่อมประสบความสำาเร็จท่ามกลาง
ความขยันหมั่นเพียร
                      4) เขามักจะเป็นหวัดในทุกครั้งที่ฝนเริ่มตก
           3.การอ่านวิเคราะห์ทัศนะของผู้แต่ง
            ผู้อ่านต้องพิจารณาไตร่ตรองให้รอบคอบว่าผู้เขียน
เสนอทัศนะมีนำ้าหนักเหตุผลประกอบข้อเท็จจริงน่าเชื่อถือเพียงใด
เป็นคนมองโลกในแง่ใด เป็นต้น

          4.การอ่านวิเคราะห์รส
           การอ่านวิเคราะห์รส หมายถึง การอ่านอย่างพิจารณา
ถึงความซาบซึ้งประทับใจที่ได้จากการอ่าน วิธีการที่จะทำาให้เข้า
ถึงรสอย่างลึกซึ้ง คือการวิเคราะห์รสของเสียงและรสของภาพ
                      4.1 ด้านรสของเสียง ผู้อ่านจะรู้สึกได้ชัดจาก
การอ่านออกเสียงดังๆไม่ว่าจะเป็นการอ่านอย่างปกติหรือการอ่าน
ทำานองเสนาะ จึงจะช่วยให้รู้สึกถึงความไพเราะของจังหวะ และ
ความเคลื่อนไหว ซึงแฝงอยู่ในเสียง ทำาให้เกิดความรู้สึกไปตาม
                    ่
ท่วงทำานองของเสียงสูงตำ่าจากเนื้อเรื่องที่อาน
                                           ่
                      4.2 ด้านรสของภาพ เมื่อผู้อ่านอ่านแล้วเกิด
ความเข้าใจเรื่อง ในขณะเดียวกัน
ทำาให้เห็นภาพด้วย เป็นการสร้างเสริมให้ผู้อ่านได้เข้าใจความ
หมาย การเขียนบรรยายความด้วยถ้อยคำาไพเราะ ทังร้อยแก้วและ ้
ร้อยกรอง ก่อให้เกิดภาพขึ้นในใจผู้อ่าน ทำาให้เกิดความ
เพลิดเพลินและเข้าใจความหมายของเรื่องได้ดียิ่งขึ้น
                5.การอ่านเพื่อวิเคราะห์ขอบเขตของปัญหาและการ
ตีความเนื้อหาของข้อความ
              การอ่านเชิงวิเคราะห์ ยังมีสิ่งที่ต้องพิจารณา คือ การ
วิเคราะห์ขอบเขตของปัญหา และการตีความเนื้อหาของหนังสือ
ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
                        5.1 การวิเคราะห์ขอบเขตของปัญหา มีหลัก
ปฏิบัติดังนี้
                            5.1.1 จัดประเภทหนังสือตามชนิดและ
เนื้อหา หนังสือแต่ละประเภท
มีวิธีอ่านต่างกัน ก่อนอ่านต้องวิเคราะห์รู้ว่า หนังสือเล่มนั้นอยู่ใน
ประเภทใด การแบ่งประเภทจะดูแต่ชื่อเรื่องหรือลักษณะภายนอก
เพียงอย่างเดียวไม่ได้ต้องสำารวจเนื้อหาด้วย อย่างไรก็ตาม ชื่อ
เรื่องเป็นสิ่งแรกที่ใช้เป็นแนวทางได้ เพราะผู้เขียนย่อมต้อง
พยายามตั้งชื่อเรื่องให้ตรงแนวเขียนหรือจุดมุ่งหมายในการเขียน
ของตนให้มากที่สุด
                              5.1.2 สรุปให้สั้นที่สุดว่า หนังสือนั้น
กล่าวถึงอะไร หนังสือที่ดีทุกเล่ม
ต้องมีเอกภาพ มีการจัดองค์ประกอบของส่วนย่อยอย่างมีระเบียบ
ผู้อ่านต้องพยายามสรุปภาพ
ดังกล่าวออกมาเพียง 1-2 ประโยคว่า หนังสือเล่มนั้นมีอะไรเป็นจุด
สำาคัญหรือเป็นแก่นเรื่อง
แล้วจึงหาความสัมพันธ์กับส่วนสำาคัญต่อไป
                              5.1.3 กำาหนดโครงสังเขปของหนังสือ
เมื่ออ่านต้องตั้งประเด็นด้วยว่า
จากเอกภาพของหนังสือเล่มนั้นมีส่วนประกอบสำาคัญบ้าง ส่วนที่
สำาคัญๆสัมพันธ์กันโดยตลอดหรือไม่ และแต่ละส่วนก็มีหน้าที่ของ
ตน สนับสนุนซึงกันและกันหรือไม่
                 ่
                             5.1.4 กำาหนดปัญหาที่ผู้เขียนต้องการ
แก้ ผู้อ่านควรพยายามอ่านและค้นพบว่าผู้เขียนเสนอปัญหา อะไร
อย่างไร มีปัญหาย่อยอะไร และให้คำาตอบไว้ตรงๆหรือไม่ การตั้ง
ปัญหาเป็นวิธีการหนึ่ง ที่จะทำาให้เข้าใจเรื่อง แจ่มแจ้ง ยิงตั้งปัญหา
                                                            ่
ได้กว้างขวางลึกซึ้งเพียงใด ยิ่งเข้าใจได้เพิ่มขึ้นเพียงนั้น
5.2 การตีความเนื้อหาของหนังสือ การ
ตีความเป็นสิ่งที่ผู้อ่านทำาความเข้าใจ
ความคิดของผู้เขียน พิจารณาวัตถุประสงค์ของผู้เขียน ซึ่งบางครั้ง
ผู้เขียนไม่ได้บอกความหมายหรือนัยของข้อความที่เขียนออกมา
ตรงๆ แต่ผู้อ่านต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจบริบทของเรื่องเป็น
อย่างดี จึงจะตีความได้ถูกต้อง การทำาความเข้าใจความคิดของผู้
เขียนนั้น ไม่ว่าความคิดจะถูกต้องหรือไม่เราจะเห็นด้วยหรือไม่
ก็ตามแต่การพยายามเข้าใจเช่นนั้นทำาให้เราไม่วิจารณ์ผู้เขียน
อย่างไม่ยุติธรรม แต่จะพิจารณาทั้งข้อดี ข้อบกพร่อง ของงาน
เขียนนั้นอย่างแจ่มแจ้ง การตีความเนื้อหาของหนังสือมีราย
ละเอียดต่างๆ ดังนี้
                                5.2.1 ตีความหมายของคำาสำาคัญ
และค้นหาประโยคสำาคัญที่สุด ผู้อ่านต้องพยายามเข้าใจคำาสำาคัญ
และเข้าใจประเด็นที่สำาคัญที่ผู้เขียนเสนอ เพื่อเข้าใจความคิดของ
ผู้เขียน
                                5.2.2 สรุปความคิดสำาคัญของผู้
เขียน โดยพิจารณาว่าประโยคใดเป็นเหตุ ประโยคใดเป็นผล
ประโยคใดเป็นข้อสรุป ซึ่งบางครั้งผู้เขียนไม่ได้สรุปความคิดออก
มาให้เห็นชัดเจน แต่ผู้อ่านต้องพยายามสรุปออกมาให้ได้
                                5.2.3 ตัดสินว่าอะไรคือการแก้
ปัญหาของผู้เขียน เมื่อผู้อ่านตีตวามสำาคัญ
ให้ตรงกับผู้เขียน เข้าใจความคิดสำาคัญของผู้เขียน และสรุปความ
คิดของผู้เขียนได้แล้ว
ผู้อ่านก็จะวิเคราะห์หรือตัดสินได้ว่า จากเรื่องราวหรือเหตุผลต่างๆ
ที่ผู้เขียนนำามาเสนอนั้นมีความสมเหตุสมผลหนักแน่น น่าเชื่อถือ
ได้หรือไม่เพียงใด เพื่อนำาไปสู่การวิจารณ์หนังสือเรื่องนั้นๆต่อไป

More Related Content

What's hot

สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติคำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติsurang1
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6sapatchanook
 
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำKu'kab Ratthakiat
 
ใบความรู้ การเก็บรักษาเสื้อผ้า
ใบความรู้  การเก็บรักษาเสื้อผ้าใบความรู้  การเก็บรักษาเสื้อผ้า
ใบความรู้ การเก็บรักษาเสื้อผ้าDuangsuwun Lasadang
 
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความmarisa724
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒Manas Panjai
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1Sivagon Soontong
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑bangonchin
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดMethaporn Meeyai
 
เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย SAKANAN ANANTASOOK
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการNapadon Yingyongsakul
 
แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4Chutima Muangmueng
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยSuriyawaranya Asatthasonthi
 

What's hot (20)

สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติคำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
 
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
 
ใบความรู้ การเก็บรักษาเสื้อผ้า
ใบความรู้  การเก็บรักษาเสื้อผ้าใบความรู้  การเก็บรักษาเสื้อผ้า
ใบความรู้ การเก็บรักษาเสื้อผ้า
 
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
 
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษการเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
 
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
 
แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
 

Viewers also liked

การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง
การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรองการอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง
การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรองพัน พัน
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพRung Kru
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 

Viewers also liked (9)

การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง
การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรองการอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง
การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 

Similar to ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ

เธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธเธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธkhaowpun
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านAj.Mallika Phongphaew
 
การอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความการอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความmayavee16
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรมPrapa Khangkhan
 
บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความAj.Mallika Phongphaew
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอนkuneena
 
นวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนนวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนkuneena
 
นวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนนวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนkuneena
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยน้อง มัดไหม
 
5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ
5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ
5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพPloyApichaya
 
เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายjiratt
 
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานDuangsuwun Lasadang
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบปNamfon Wannapa
 

Similar to ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ (20)

เธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธเธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธ
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่าน
 
บทที่ 2.ใหม่
บทที่ 2.ใหม่บทที่ 2.ใหม่
บทที่ 2.ใหม่
 
การอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความการอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความ
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความ
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
 
01 หน่วย 1
01 หน่วย 101 หน่วย 1
01 หน่วย 1
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
 
แบบฝึกเล่ม 1
แบบฝึกเล่ม 1แบบฝึกเล่ม 1
แบบฝึกเล่ม 1
 
บทความ
บทความบทความ
บทความ
 
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 
นวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนนวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอน
 
นวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนนวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอน
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
 
5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ
5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ
5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ
 
เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมาย
 
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบป
 

More from Piyarerk Bunkoson

แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำแบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทรแบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทรPiyarerk Bunkoson
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1Piyarerk Bunkoson
 
บทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทรบทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทรPiyarerk Bunkoson
 
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อPiyarerk Bunkoson
 
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อPiyarerk Bunkoson
 
999 บทสัมภาษณ์ smedu ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์  smedu ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์  smedu ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ smedu ทำสื่อPiyarerk Bunkoson
 
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 25542554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554Piyarerk Bunkoson
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาPiyarerk Bunkoson
 
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสงบทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสงPiyarerk Bunkoson
 

More from Piyarerk Bunkoson (20)

แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำแบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทรแบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
 
บทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทรบทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทร
 
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
 
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
 
999 บทสัมภาษณ์ smedu ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์  smedu ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์  smedu ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ smedu ทำสื่อ
 
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 25542554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสงบทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
 
016 ชุดที่ 12
016 ชุดที่ 12016 ชุดที่ 12
016 ชุดที่ 12
 
015 ชุดที่ 11
015 ชุดที่ 11015 ชุดที่ 11
015 ชุดที่ 11
 
014 ชุดที่ 10
014 ชุดที่ 10014 ชุดที่ 10
014 ชุดที่ 10
 
013 ชุดที่ 9
013 ชุดที่ 9013 ชุดที่ 9
013 ชุดที่ 9
 
012 ชุดที่ 8
012 ชุดที่ 8012 ชุดที่ 8
012 ชุดที่ 8
 
011 ชุดที่ 7
011 ชุดที่ 7011 ชุดที่ 7
011 ชุดที่ 7
 
010 ชุดที่ 6
010 ชุดที่ 6010 ชุดที่ 6
010 ชุดที่ 6
 
009 ชุดที่ 5
009 ชุดที่ 5009 ชุดที่ 5
009 ชุดที่ 5
 
008 ชุดที่ 4
008 ชุดที่ 4008 ชุดที่ 4
008 ชุดที่ 4
 

ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ

  • 1. การอ่านจับใจความสำาคัญและการอ่านคิดวิเคราะห์ ความสำาคัญ การอ่านเป็นทักษะที่จำาเป็นอย่างยิ่งต่อการศึกษา หาความรู้ และพัฒนาชีวิต ซึ่งนอกจากจะทำาให้เกิด ความรู้แล้วยังก่อให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน และส่งเสริม ให้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ได้แนวคิดใน การดำาเนินชีวิต การอ่านจึงเป็นหัวใจของการศึกษาทุกระดับ และ เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้เรื่องต่างๆ การอ่านที่ดีมีประสิทธิภาพ จะต้องอ่านแล้วจับใจความ ได้ สรุปสาระสำาคัญของเรื่องที่อ่านได้ แต่การสำารวจการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนพบว่า ปัญหาที่สำาคัญในการอ่านของผู้เรียนคือ อ่านแล้วจับใจความสำาคัญไม่ได้ ไม่สามารถสรุปประเด็นได้ ไม่ สามารถแยกความรู้ ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ไม่สามารถแยกใจความสำาคัญกับใจความรองได้ ทำาให้ไม่ได้รับ ประโยชน์จากการอ่านเท่าที่ควร ทั้งยังเป็นปัญหาอุปสรรคต่อการเรียนรูและการศึกษาวิชาต่างๆด้วย ้ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ได้ กำาหนดคุณภาพของผู้เรียนด้านความเข้าใจ ในการอ่านไว้ในช่วงชั้นเช่น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 กำาหนดให้ อ่านแล้ว ..เข้าใจข้อความที่อาน.. ่ ช่วงชั้น 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ..อ่านแล้วจับประเด็นสำาคัญ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น วิเคราะห์ความ ตีความ สรุปความได้.. ช่วงชั้นที่ 3 คือมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 อ่าน แล้วแสดงความคิดเห็นเชิง วิเคราะห์ ประเมินค่าเรื่องที่อ่านอย่างมีเหตุผลและในช่วงชั้นปีที่ 4 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4-6 อ่านแล้วสามารถตีความ แปลความ และขยายความเรื่องที่อย่างลึกซึ้ง วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินค่าเรื่องที่อ่านได้.. ซึ่งผู้เรียนจะมีคุณภาพ ดังกล่าวได้ ต้องมีความสามารถในการอ่านจับใจความและเข้าใจ เรื่องราวต่างๆ จากการอ่านได้เป็นอย่างดี ความหมาย
  • 2. การอ่านจับใจความ คือ การอ่านที่มงค้นหาสาระของ ุ่ เรื่องหรือของหนังสือแต่ละเล่มที่เป็นส่วนใจความสำาคัญ และส่วน ขยายใจความสำาคัญของเรื่อง ใจความสำาคัญของเรื่อง คือ ข้อความทีมีสาระคลุมข้อ ่ ความอื่นๆ ในย่อหน้านั้นหรือเรื่องนันทั้งหมด ข้อความอื่น ๆ เป็น ้ เพียงส่วนขยายใจความสำาคัญเท่านัน ข้อความหนึ่งหรือตอนหนึ่ง ้ จะมีใจความสำาคัญที่สุดเพียงหนึ่งเดียว นอกนั้นเป็นใจความรอง คำาว่าใจความสำาคัญนี้ ผู้รได้เรียกไว้เป็นหลายอย่าง เช่น ข้อคิด ู้ สำาคัญของเรื่อง แก่นของเรื่อง หรือ ความคิดหลัก ของเรื่องแต่จะ เป็นอย่างไรก็ตาม ใจความสำาคัญก็คือสิ่งที่เป็นสาระที่สำาคัญที่สุด ของเรื่องนั่นเอง ใจความสำาคัญส่วนมากจะมีลักษณะเป็นประโยค ซึ่งอาจ ปรากฏอยู่ในส่วนใดส่วนหนึ่งของย่อหน้าก็ได้ จุดที่พบใจความสำาคัญของเรื่องในแต่ละย่อหน้ามาก ที่สุดคือ ประโยคที่อยู่ตอนต้นย่อหน้า เพราะผู้เขียนมักบอกประเด็นสำาคัญไว้ก่อน แล้วจึงขยายราย ละเอียดให้ชัดเจน รองลงมาคือประโยคตอนท้ายย่อหน้า โดยผู้ เขียนจะบอกรายละเอียดหรือประเด็นย่อยก่อน แล้วจึงสรุปด้วย ประโยคที่เป็นประเด็นไว้ภายหลัง สำาหรับจุดที่พบใจความสำาคัญ ยากขึ้นก็คือ ประโยคตอนกลางย่อหน้า ซึ่งผู้อ่านจะต้องใช้ความ สังเกตและพิจารณาให้ดี ส่วนจุดที่หาใจความสำาคัญยากที่สุดคือ ย่อหน้าที่ไม่มีประโยคใจความสำาคัญปรากฏชัดเจน อาจมีประโยค หรืออาจอยู่รวมๆกันในย่อหน้าก็ได้ ซึ่งผู้อ่านจะต้องสรุปออกมาเอง แนวการอ่านจับใจความ การอ่านจับใจความให้บรรลุจุดประสงค์ มีแนวทางดังนี้ 1.ตั้งจุดมุ่งหมายในการอ่านได้ชัดเจน เช่น อ่านเพื่อ หาความรู้ เพื่อความเพลิดพลิน หรือเพื่อบอก เจตนาของผู้เขียน เพราะจะเป็นแนวทางกำาหนดการอ่านได้อย่าง เหมาะสม และจับใจความหรือคำาตอบได้รวดเร็ว ยิ่งขึ้น 2.สำารวจส่วนประกอบของหนังสืออย่างคร่าวๆ เช่น ชื่อ เรื่อง คำานำา สารบัญ คำาชี้แจงการใช้หนังสือ ภาคผนวก ฯลฯ เพราะ ส่วนประกอบของหนังสือจะทำาให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องหรือ หนังสือที่อ่านได้กว้างขวางและรวดเร็ว
  • 3. 3.ทำาความเข้าใจลักษณะของหนังสือว่าประเภทใด เช่น สารคดี ตำารา บทความ ฯลฯ ซึ่งจะช่วยให้มีแนวทางอ่านจับใจความสำาคัญ ได้ง่าย 4.ใช้ความสามารถทางภาษาในด้านการแปลความ หมายของคำา ประโยค และข้อความต่างๆ อย่างถูกต้องรวดเร็ว 5.ใช้ประสบการณ์หรือภูมิหลังเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านมา ประกอบ จะทำาความเข้าใจและจับใจความที่อ่านได้ง่ายและ รวดเร็วขึ้น ขั้นตอนการอ่านจับใจความ 1.อ่านผ่านๆโดยตลอด เพื่อให้รู้วาเรื่องที่อานว่าด้วย ่ ่ เรื่องอะไร จุดใดเป็นจุดสำาคัญของเรื่อง 2.อ่านให้ละเอียด เพื่อทำาความเข้าใจอย่างชัดเจน ไม่ ควรหยุดอ่านระหว่างเรื่องเพราะจะทำา ให้ความเข้าใจไม่ติดต่อกัน 3.อ่านซำ้าตอนที่ไม่เข้าใจ และตรวจสอบความเข้าใจ บางตอนให้แน่นอนถูกต้อง 4.เรียบเรียงใจความสำาคัญของเรื่องด้วยตนเอง แนวการอ่านจับใจความ การอ่านจับใจความให้บรรลุจุดประสงค์ มีแนวทางดังนี้ 1.ตั้งจุดมุ่งหมายในการอ่านได้ชัดเจน เช่น อ่านเพื่อ หาความรู้ เพื่อความเพลิดพลิน หรือเพื่อบอกเจตนาของผู้เขียน เพราะจะเป็นแนวทางกำาหนดการอ่านได้อย่างเหมาะสม และจับใจ ความหรือคำาตอบได้รวดเร็วยิ่งขึ้น 2.สำารวจส่วนประกอบของหนังสืออย่างคร่าวๆ เช่น ชื่อ เรื่อง คำานำา สารบัญ คำาชี้แจงการใช้หนังสือ ภาคผนวก ฯลฯ เพราะ ส่วนประกอบของหนังสือจะทำาให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องหรือ หนังสือที่อ่านได้กว้างขวางและรวดเร็ว 3.ทำาความเข้าใจลักษณะของหนังสือว่าประเภทใด เช่น สารคดี ตำารา บทความ ฯลฯ ซึ่งจะช่วยให้มีแนวทางอ่านจับใจความสำาคัญ ได้ง่าย 4.ใช้ความสามารถทางภาษาในด้านการแปลความ หมายของคำา ประโยค และข้อความต่างๆ อย่างถูกต้องรวดเร็ว
  • 4. 5.ใช้ประสบการณ์หรือภูมิหลังเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านมา ประกอบ จะทำาความเข้าใจและจับใจความที่อ่านได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น ขั้นตอนการอ่านจับใจความ 1.อ่านผ่าน ๆโดยตลอด เพื่อให้รู้วาเรื่องที่อานว่าด้วย ่ ่ เรื่องอะไร จุดใดเป็นจุดสำาคัญของเรื่อง 2.อ่านให้ละเอียด เพื่อทำาความเข้าใจอย่างชัดเจน ไม่ ควรหยุดอ่านระหว่างเรื่องเพราะจะทำา ให้ความเข้าใจไม่ติดต่อกัน 3.อ่านซำ้าตอนที่ไม่เข้าใจ และตรวจสอบความเข้าใจ บางตอนให้แน่นอนถูกต้อง 4.เรียบเรียงใจความสำาคัญของเรื่องด้วยตนเอง การอ่านวิเคราะห์ ความสำาคัญ การอ่านวิเคราะห์เป็นทักษะการอ่านในระดับที่สูงขึ้นกว่า การอ่านทั่วๆไป กล่าวคือ มิใช่เป็นเพียงการอ่านเพื่อความรู้และ ความเพลิดเพลินเท่านั้น แต่ยังต้องมีการวิเคราะห์สิ่งที่ผู้เขียนได้ เขียนในด้านต่าง ๆ ด้วย ครูควรจัดให้นักเรียนได้ฝึกทักษะการอ่านวิเคราะห์อย่าง จริงจัง เพื่อนำาไปสู่การสร้างความรู้ ความคิด การตัดสินใจแก้ปัญหาและสร้างวิสัยทัศน์ในการดำาเนิน ชีวิต ความหมาย การอ่านเชิงวิเคราะห์เป็นการอ่านหนังสือแต่ละเล่มอย่าง ละเอียดให้ได้ความครบถ้วนแล้วจึงแยกแยะให้ได้ว่าส่วนต่าง ๆ นั้น มีความหมายและความสำาคัญอย่างไรบ้าง แต่ละด้านสัมพันธ์กับ ส่วนอื่น ๆ อย่างไร วิธีอ่านแบบวิเคราะห์นี้ อาจใช้วิเคราะห์องค์ ประกอบของคำาและวลี การใช้คำาในประโยควิเคราะห์สำานวนภาษา จุดประสงค์ของผู้แต่ง ไปจนถึงการวิเคราะห์นัย หรือเบื้องหลังการจัดทำาหนังสือหรือเอกสารนั้น การวิเคราะห์เรื่องที่อ่านทุกชนิด สิ่งที่จะละเลยเสียมิได้ ก็คือ การพิจารณาถึงการใช้ถ้อยคำาสำานวนภาษาว่ามีความเหมาะ
  • 5. สมกับระดับ และประเภทของงานเขียนหรือไม่ เช่น ในบทสนทนา ก็ไม่ควรใช้ภาษาที่เป็นแบบแผน ควรใช้สำานวนให้เหมาะสมกับ สภาพจริงหรือเหมาะ แก่กาลสมัยที่เหตุการณ์ในหนังสือนั้นเกิดขึ้น เป็นต้น ดังนั้น การอ่านวิเคราะห์จึงต้องใช้เวลาอ่านมาก และยิ่งมี เวลาอ่านมากก็ยิ่งมีโอกาสวิเคราะห์ ได้ดีมากขึ้น การอ่านในระดับ นี้ ต้องรู้จักตั้งคำาถามและจัดระเบียบเรื่องราวที่อ่าน เพื่อจะได้ เข้าใจเรื่องและความคิด ของผู้เขียนต้องการ การวิเคราะห์การอ่าน การวิเคราะห์การอ่านประกอบด้วย 1.รูปแบบ 2.กลวิธีในการประพันธ์ 3.เนื้อหาหรือเนื้อเรื่อง 4.สำานวนภาษา กระบวนการวิเคราะห์ 1.ดูรูปแบบของงานประพันธ์ว่าใช้รูปแบบใด อาจเป็น นิทาน บทละคร นวนิยาย เรื่องสั้น บทร้อยกรอง หรือบทควมจากหนังสือพิมพ์ 2.แยกเนื้อเรื่องออกเป็นส่วนๆ ให้เห็นว่าใครทำาอะไร ที่ไหน อย่างไร เมื่อไร 3.แยกพิจารณาแต่ละส่วนให้ละเอียดลงไปว่าประกอบ กันอย่างไร หรือประกอบด้วยอะไรบ้าง 4.พิจารณาให้เห็นว่าผู้เขียนให้กลวิธีเสนอเรื่องอย่างไร การอ่านเชิงวิเคราะห์ในขันต่าง ๆ ้ 1.การอ่านวิเคราะห์คำา การอ่านวิเคราะห์คำา เป็นการอ่านเพื่อให้ผู้อ่านแยกแยะ ถ้อยคำาในวลี ประโยค หรือข้อความต่างๆ โดยสามารถบอกได้ว่า คำาใดใช้อย่างไร ใช้อย่างไร ใช้ผิดความหมาย ผิดหน้าที่ไม่เหมาะ สม ไม่ชัดเจนอย่างไรควรจะต้องหาทางแก้ไข ปรับปรุงอย่างไร เป็นต้น เช่น 1.อย่าเอาไปใช้ทับกระดาษ
  • 6. 2.ที่นรับอัดพระ ี่ 3.เขาท่องเที่ยวไปทัวพิภพ ่ 4.เจ้าอาวาสวัดนี้มรณกรรมเสียแล้ว 2.การอ่านวิเคราะห์ประโยค การอ่านวิเคราะห์ประโยค เป็นการอ่านเพื่อแยกแยะ ประโยคต่างๆ ว่าเป็นประโยคที่ถูกต้องชัดเจนหรือไม่ ใช้ประโยค ผิดไปจาก แบบแผนของภาษาอย่างไร เป็นประโยคทีถูกต้อง ่ สมบูรณ์เพียงใดหรือไม่ มีหน่วยความคิดในประโยคขาดเกินหรือ ไม่ เรียงลำาดับความใน ประโยคที่ใช้ได้ถูกต้องชัดเจนหรือไม่ ใช้ ฟุ่มเฟือย โดยไม่จำาเป็นหรือใช้รูปประโยคที่สื่อความหมายไม่ชัดเจนหรือไม่ เมื่อพบข้อบกพร่องต่างๆ แล้วก็สามารถแก้ไขให้ถูกต้องได้ เช่น 1) สุขภาพของคนไทยไม่ดีส่วนใหญ่ 2) การแก้ปัญหาจราจรในกรุงเทพฯเกิดการ จลาจล 3) ทุกคนย่อมประสบความสำาเร็จท่ามกลาง ความขยันหมั่นเพียร 4) เขามักจะเป็นหวัดในทุกครั้งที่ฝนเริ่มตก 3.การอ่านวิเคราะห์ทัศนะของผู้แต่ง ผู้อ่านต้องพิจารณาไตร่ตรองให้รอบคอบว่าผู้เขียน เสนอทัศนะมีนำ้าหนักเหตุผลประกอบข้อเท็จจริงน่าเชื่อถือเพียงใด เป็นคนมองโลกในแง่ใด เป็นต้น 4.การอ่านวิเคราะห์รส การอ่านวิเคราะห์รส หมายถึง การอ่านอย่างพิจารณา ถึงความซาบซึ้งประทับใจที่ได้จากการอ่าน วิธีการที่จะทำาให้เข้า ถึงรสอย่างลึกซึ้ง คือการวิเคราะห์รสของเสียงและรสของภาพ 4.1 ด้านรสของเสียง ผู้อ่านจะรู้สึกได้ชัดจาก การอ่านออกเสียงดังๆไม่ว่าจะเป็นการอ่านอย่างปกติหรือการอ่าน ทำานองเสนาะ จึงจะช่วยให้รู้สึกถึงความไพเราะของจังหวะ และ ความเคลื่อนไหว ซึงแฝงอยู่ในเสียง ทำาให้เกิดความรู้สึกไปตาม ่ ท่วงทำานองของเสียงสูงตำ่าจากเนื้อเรื่องที่อาน ่ 4.2 ด้านรสของภาพ เมื่อผู้อ่านอ่านแล้วเกิด ความเข้าใจเรื่อง ในขณะเดียวกัน
  • 7. ทำาให้เห็นภาพด้วย เป็นการสร้างเสริมให้ผู้อ่านได้เข้าใจความ หมาย การเขียนบรรยายความด้วยถ้อยคำาไพเราะ ทังร้อยแก้วและ ้ ร้อยกรอง ก่อให้เกิดภาพขึ้นในใจผู้อ่าน ทำาให้เกิดความ เพลิดเพลินและเข้าใจความหมายของเรื่องได้ดียิ่งขึ้น 5.การอ่านเพื่อวิเคราะห์ขอบเขตของปัญหาและการ ตีความเนื้อหาของข้อความ การอ่านเชิงวิเคราะห์ ยังมีสิ่งที่ต้องพิจารณา คือ การ วิเคราะห์ขอบเขตของปัญหา และการตีความเนื้อหาของหนังสือ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 5.1 การวิเคราะห์ขอบเขตของปัญหา มีหลัก ปฏิบัติดังนี้ 5.1.1 จัดประเภทหนังสือตามชนิดและ เนื้อหา หนังสือแต่ละประเภท มีวิธีอ่านต่างกัน ก่อนอ่านต้องวิเคราะห์รู้ว่า หนังสือเล่มนั้นอยู่ใน ประเภทใด การแบ่งประเภทจะดูแต่ชื่อเรื่องหรือลักษณะภายนอก เพียงอย่างเดียวไม่ได้ต้องสำารวจเนื้อหาด้วย อย่างไรก็ตาม ชื่อ เรื่องเป็นสิ่งแรกที่ใช้เป็นแนวทางได้ เพราะผู้เขียนย่อมต้อง พยายามตั้งชื่อเรื่องให้ตรงแนวเขียนหรือจุดมุ่งหมายในการเขียน ของตนให้มากที่สุด 5.1.2 สรุปให้สั้นที่สุดว่า หนังสือนั้น กล่าวถึงอะไร หนังสือที่ดีทุกเล่ม ต้องมีเอกภาพ มีการจัดองค์ประกอบของส่วนย่อยอย่างมีระเบียบ ผู้อ่านต้องพยายามสรุปภาพ ดังกล่าวออกมาเพียง 1-2 ประโยคว่า หนังสือเล่มนั้นมีอะไรเป็นจุด สำาคัญหรือเป็นแก่นเรื่อง แล้วจึงหาความสัมพันธ์กับส่วนสำาคัญต่อไป 5.1.3 กำาหนดโครงสังเขปของหนังสือ เมื่ออ่านต้องตั้งประเด็นด้วยว่า จากเอกภาพของหนังสือเล่มนั้นมีส่วนประกอบสำาคัญบ้าง ส่วนที่ สำาคัญๆสัมพันธ์กันโดยตลอดหรือไม่ และแต่ละส่วนก็มีหน้าที่ของ ตน สนับสนุนซึงกันและกันหรือไม่ ่ 5.1.4 กำาหนดปัญหาที่ผู้เขียนต้องการ แก้ ผู้อ่านควรพยายามอ่านและค้นพบว่าผู้เขียนเสนอปัญหา อะไร อย่างไร มีปัญหาย่อยอะไร และให้คำาตอบไว้ตรงๆหรือไม่ การตั้ง ปัญหาเป็นวิธีการหนึ่ง ที่จะทำาให้เข้าใจเรื่อง แจ่มแจ้ง ยิงตั้งปัญหา ่ ได้กว้างขวางลึกซึ้งเพียงใด ยิ่งเข้าใจได้เพิ่มขึ้นเพียงนั้น
  • 8. 5.2 การตีความเนื้อหาของหนังสือ การ ตีความเป็นสิ่งที่ผู้อ่านทำาความเข้าใจ ความคิดของผู้เขียน พิจารณาวัตถุประสงค์ของผู้เขียน ซึ่งบางครั้ง ผู้เขียนไม่ได้บอกความหมายหรือนัยของข้อความที่เขียนออกมา ตรงๆ แต่ผู้อ่านต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจบริบทของเรื่องเป็น อย่างดี จึงจะตีความได้ถูกต้อง การทำาความเข้าใจความคิดของผู้ เขียนนั้น ไม่ว่าความคิดจะถูกต้องหรือไม่เราจะเห็นด้วยหรือไม่ ก็ตามแต่การพยายามเข้าใจเช่นนั้นทำาให้เราไม่วิจารณ์ผู้เขียน อย่างไม่ยุติธรรม แต่จะพิจารณาทั้งข้อดี ข้อบกพร่อง ของงาน เขียนนั้นอย่างแจ่มแจ้ง การตีความเนื้อหาของหนังสือมีราย ละเอียดต่างๆ ดังนี้ 5.2.1 ตีความหมายของคำาสำาคัญ และค้นหาประโยคสำาคัญที่สุด ผู้อ่านต้องพยายามเข้าใจคำาสำาคัญ และเข้าใจประเด็นที่สำาคัญที่ผู้เขียนเสนอ เพื่อเข้าใจความคิดของ ผู้เขียน 5.2.2 สรุปความคิดสำาคัญของผู้ เขียน โดยพิจารณาว่าประโยคใดเป็นเหตุ ประโยคใดเป็นผล ประโยคใดเป็นข้อสรุป ซึ่งบางครั้งผู้เขียนไม่ได้สรุปความคิดออก มาให้เห็นชัดเจน แต่ผู้อ่านต้องพยายามสรุปออกมาให้ได้ 5.2.3 ตัดสินว่าอะไรคือการแก้ ปัญหาของผู้เขียน เมื่อผู้อ่านตีตวามสำาคัญ ให้ตรงกับผู้เขียน เข้าใจความคิดสำาคัญของผู้เขียน และสรุปความ คิดของผู้เขียนได้แล้ว ผู้อ่านก็จะวิเคราะห์หรือตัดสินได้ว่า จากเรื่องราวหรือเหตุผลต่างๆ ที่ผู้เขียนนำามาเสนอนั้นมีความสมเหตุสมผลหนักแน่น น่าเชื่อถือ ได้หรือไม่เพียงใด เพื่อนำาไปสู่การวิจารณ์หนังสือเรื่องนั้นๆต่อไป