SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  4
Télécharger pour lire hors ligne
"ETV ติวเขม"วิชาชีววิทยา : การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในรางกาย 1
รายการที่ 9
การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในรางกาย
วิทยากร อ.สมาน แกวไวยุทธ
คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
1. การที่รางกายขับเหงื่อออกมา จะไดประโยชนที่สําคัญอะไร
1. เปนการขับของเสีย (Excretion)
2. ทําใหอุณหภูมิรางกายลดลง
3. ระบายน้ําที่มากเกินพอออกมา
4. ปองกันรางกายจากเชื้อโรค เนื่องจากในเหงื่อมีสารที่ปองกันการเจริญของเชื้อโรค
2. กระบวนการใดที่ชวยใหสัตวเลี้ยงลูกดวยน้ํานม กําจัดความรอนออกไปจากรางกาย
1. ขับปสสาวะและเหงื่อ 2. ขับเหงื่อและอุจจาระ
3. สูดลมหายใจ ขับปสสาวะ และเหงื่อ 4. ขับปสสาวะ เหงื่อ และอุจจาระ
3. เพราะเหตุใด ตัวเหี้ยในสวนสัตวเขาดิน จึงกินอาหารนอยกวาปกติในชวงฤดูหนาว
1. อัตราการใชออกซิเจนต่ํากวาปกติมาก 2. อัตราการใชออกซิเจน สูงกวาปกติมาก
3. อัตราการใชพลังงานนอยกวาปกติมาก 4. อัตราการใชพลังงานมากกวาปกติมาก
4.
การขับเหงื่อ การคายน้ํา
ก. ลดอุณหภูมิรางกายและกําจัด Nitrogenous wastes
ข. เกิดขึ้นเฉพาะที่ผิวหนัง
ค. สวนใหญถูกควบคุมโดยระบบประสาท
ง. กําจัดน้ําและเกลือแร
ชวยการลําเลียงน้ําและลดอุณหภูมิ
เกิดขึ้นเฉพาะบริเวณผิวใบ
สวนใหญควบคุมโดยเซลลคุม
กําจัดน้ํา
จากตารางเปรียบเทียบการขับเหงื่อและการคายน้ําขางบน ขอใดที่อธิบายไมถูกตอง
1. ก 2. ข
3. ข และ ง 4. ก และ ค
"ETV ติวเขม"วิชาชีววิทยา : การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในรางกาย 2
5. สัตวในขอใดมีอัตราเมแทบอลิซึมสูงขึ้นกวาปกติ
ก. กบขณะจําศีล ข. หนูทดลองขณะถูกใสไวในตูเย็น
ค. หนูทดลองขณะถูกใสไวในตู 50 องศาเซลเซียส
1. ก 2. ข
3. ก และ ข 4. ก และ ค
6. สมอง สวนที่ควบคุมอุณหภูมิรางกายของคนเราใหคงที่ คือ สมองสวน
1. Thalamus 2. Hypothalamus
3. Cerebrum 4. Medulla oblongata
7. ถาอุณหภูมิของสิ่งแวดลอมต่ํา รางกายจะปรับตัวโดย
1. = เสนเลือดหดตัว 2. = เพิ่มกลูโคสในเลือด
3. = อัตราเมตาบอลิซึมลดลง 4. = ลดอัตราการเตนของหัวใจ
5. = เพิ่มการหลั่งไธรอกซินและอะดรีนาลิน
ขอใดที่ถูกตองคือ
ก. ขอ 1, 2 และ 5 ข. ขอ 2 , 3 และ 4
ค. ขอ 3, 4 และ 5 ง. ทั้งขอ 1, 2, 3, 4, และ 5
8. กลไกใดชวยเพิ่มอุณหภูมิใหรางกายมนุษยโดยตรง
1. การหดตัวของเสนเลือดที่ผิวหนังเมื่ออากาศหนาวเย็น
2. การมีไขมันหนาเปนชั้นอยูใตผิวหนัง
3. ขนลุกชันเมื่ออากาศหนาวเย็น
4. การสั่นของกลามเนื้อลายเมื่ออากาศหนาวเย็น
9. ฮอรโมนใดทํางานเกี่ยวของกับการควบคุมอุณหภูมิของรางกายนอยที่สุดเมื่ออุณหภูมิของสิ่งแวดลอมต่ํา
1. ไธรอกซิน 2. อะดรีนาลิน
3. นอรอะดรีนาลิน 4. ADH
10. การกระทําวิธีใด ที่จะชวยระบายความรอนออกจากรางกายไดอยางมีประสิทธิภาพต่ําสุด
1. การขับเหงื่อ 2. การหอบ
3. การขยายตัวของเสนเลือดที่ผิวหนัง 4. การเลีย
"ETV ติวเขม"วิชาชีววิทยา : การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในรางกาย 3
11. ถาอุณหภูมิของสิ่งแวดลอมสูง ไฮโพทาลามัสจะควบคุมอุณหภูมิรางกายโดยทําให
1. เพิ่มการขับเหงื่อและเสนเลือดขยายตัว
2. เพิ่มการเตนของหัวใจและเสนเลือดหดตัว
3. เพิ่มกลูโคสในเลือดและเพิ่มอัตราเมตาโบลิซึม
4. ลดอัตราการเตนของหัวใจ และอัตราเมตาบอลิซึม
12. ถาอุณหภูมิของสิ่งแวดลอมลดต่ําลงถึง 70
C โครงสรางใดของคนเราจะทํางานนอยที่สุด
1. ไฮโพทาลามัส 2. ตอมใตสมอง
3. ประสาทซิมพาเธติก 4. ตอมเหงื่อ
13. โครงสรางใดเกี่ยวของกับการควบคุมอุณหภูมิของคนเรานอยที่สุด
1. กลามเนื้อลาย 2. ตอมเหงื่อ
3. เสนเลือด 4. ลําไสเล็ก
14. อุณหภูมิในตนพืชต่ํากวาอุณหภูมิในรางกายคนเรา ทั้งนี้เปนเพราะ
1. เมตาบอลิซึมของคนทําใหเกิดพลังงานความรอนเทานั้น
2. คนมีอัตราเมตาบอลิซึมสูงกวาพืช
3. คนมีการเคลื่อนไหวอยูตลอดเวลา
4. คนมีไขมันเปนฉนวนกั้นไมใหความรอนออกจากรางกาย
15. คนระบายความรอนออกจากรางกายไดมากที่สุดทาง
1. รูจมูก 2. ปาก
3. ตอมเหงื่อ 4. ปสสาวะ
16. กลไกใดตอไปนี้ที่ไปมีผลตอการเพิ่มอุณหภูมิของรางกายโดยตรง
1. เหงื่อแตก
2. ขนลุกและออกกําลังกาย
3. กินอาหารและรางกายหลั่งไธรอกซินออกมามาก
4. หลอดเลือดที่ผิวหนังหดตัวและใสเสื้อกันหนาวหนา ๆ
"ETV ติวเขม"วิชาชีววิทยา : การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในรางกาย 4
17. สัตวเลือดอุนรวมทั้งคน มีวิธีการตางๆ เพื่อรักษาอุณหภูมิภายในรางกายใหคงที่เสมอ ยกเวน ขอใด
1. การหายใจหอบของสุนัขในวันที่อากาศรอนอบอาวมากๆ
2. ขนลุกในขณะที่สิ่งแวดลอมภายนอกหนาวเย็นเพื่อกันการสูญเสียความรอน
3. ลดเมตาบอลิซึมในรางกายเมื่ออากาศหนาวเย็น
4. หลบซอนในที่ๆ มีอุณหภูมิพอเหมาะ
18. ถาอุณหภูมิของสิ่งแวดลอมสูงกวาอุณหภูมิของรางกาย เราจะระบายความรอนออกจากรางกายโดย
1. เพิ่มอัตราเมตาบอลิซึม เพื่อใหสารพลังงานสูงในรางกายนอยลง
2. ละลายชั้นไขมันใตผิวหนัง ซึ่งเปนฉนวนกันความรอนออกใหเหลือบางลง
3. เพิ่มการขับเหงื่อ เพื่อใหน้ําออกจากรางกายมากขึ้น
4. หายใจเขาออกอยางรวดเร็ว เพื่อระบายความรอน
19. อากาศรอนกลางเดือนเมษายน จะรูสึกกระสับกระสายและอึดอัด เปนเพราะเหตุใด
1. อุณหภูมิในรางกายจะสูงขึ้น ทําใหปฏิกิริยาเคมีตางๆ ในรางกายเพิ่มมากขึ้นกวาปกติ
2. อุณหภูมิที่สูงมักมีความชื้นสูงดวย รางกายจึงระบายความรอนไดไมดี
3. มีกลูโคสในเลือดเพิ่มสูงขึ้น ทําใหรูสึกอึดอัด
4. อุณหภูมิภายนอก เปนปจจัยสําคัญไปกระตุนใหรางกายผลิตฮอรโมนเกี่ยวกับเมตาบอลิซึมเพิ่ม
มากขึ้น
20. "Thermostat" ของคนเราคือ
1. ตอมเหงื่อ 2. หัวใจ
3. Hypothalamus 4. ตอมไทรอยด

Contenu connexe

Plus de สำเร็จ นางสีคุณ

แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsแบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการสำเร็จ นางสีคุณ
 
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนPpt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์ ป.6
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์  ป.6แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์  ป.6
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์ ป.6สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้นแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้นสำเร็จ นางสีคุณ
 

Plus de สำเร็จ นางสีคุณ (20)

แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsแบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
 
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนPpt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
 
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์ ป.6
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์  ป.6แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์  ป.6
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์ ป.6
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้นแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
 
Tutur(biology)0 net 2
Tutur(biology)0 net 2Tutur(biology)0 net 2
Tutur(biology)0 net 2
 
Tutur(biology)0 net 1
Tutur(biology)0 net 1Tutur(biology)0 net 1
Tutur(biology)0 net 1
 
Tutur(biology)0 net 3
Tutur(biology)0 net 3Tutur(biology)0 net 3
Tutur(biology)0 net 3
 

9แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในร่างกาย

  • 1. "ETV ติวเขม"วิชาชีววิทยา : การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในรางกาย 1 รายการที่ 9 การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในรางกาย วิทยากร อ.สมาน แกวไวยุทธ คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 1. การที่รางกายขับเหงื่อออกมา จะไดประโยชนที่สําคัญอะไร 1. เปนการขับของเสีย (Excretion) 2. ทําใหอุณหภูมิรางกายลดลง 3. ระบายน้ําที่มากเกินพอออกมา 4. ปองกันรางกายจากเชื้อโรค เนื่องจากในเหงื่อมีสารที่ปองกันการเจริญของเชื้อโรค 2. กระบวนการใดที่ชวยใหสัตวเลี้ยงลูกดวยน้ํานม กําจัดความรอนออกไปจากรางกาย 1. ขับปสสาวะและเหงื่อ 2. ขับเหงื่อและอุจจาระ 3. สูดลมหายใจ ขับปสสาวะ และเหงื่อ 4. ขับปสสาวะ เหงื่อ และอุจจาระ 3. เพราะเหตุใด ตัวเหี้ยในสวนสัตวเขาดิน จึงกินอาหารนอยกวาปกติในชวงฤดูหนาว 1. อัตราการใชออกซิเจนต่ํากวาปกติมาก 2. อัตราการใชออกซิเจน สูงกวาปกติมาก 3. อัตราการใชพลังงานนอยกวาปกติมาก 4. อัตราการใชพลังงานมากกวาปกติมาก 4. การขับเหงื่อ การคายน้ํา ก. ลดอุณหภูมิรางกายและกําจัด Nitrogenous wastes ข. เกิดขึ้นเฉพาะที่ผิวหนัง ค. สวนใหญถูกควบคุมโดยระบบประสาท ง. กําจัดน้ําและเกลือแร ชวยการลําเลียงน้ําและลดอุณหภูมิ เกิดขึ้นเฉพาะบริเวณผิวใบ สวนใหญควบคุมโดยเซลลคุม กําจัดน้ํา จากตารางเปรียบเทียบการขับเหงื่อและการคายน้ําขางบน ขอใดที่อธิบายไมถูกตอง 1. ก 2. ข 3. ข และ ง 4. ก และ ค
  • 2. "ETV ติวเขม"วิชาชีววิทยา : การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในรางกาย 2 5. สัตวในขอใดมีอัตราเมแทบอลิซึมสูงขึ้นกวาปกติ ก. กบขณะจําศีล ข. หนูทดลองขณะถูกใสไวในตูเย็น ค. หนูทดลองขณะถูกใสไวในตู 50 องศาเซลเซียส 1. ก 2. ข 3. ก และ ข 4. ก และ ค 6. สมอง สวนที่ควบคุมอุณหภูมิรางกายของคนเราใหคงที่ คือ สมองสวน 1. Thalamus 2. Hypothalamus 3. Cerebrum 4. Medulla oblongata 7. ถาอุณหภูมิของสิ่งแวดลอมต่ํา รางกายจะปรับตัวโดย 1. = เสนเลือดหดตัว 2. = เพิ่มกลูโคสในเลือด 3. = อัตราเมตาบอลิซึมลดลง 4. = ลดอัตราการเตนของหัวใจ 5. = เพิ่มการหลั่งไธรอกซินและอะดรีนาลิน ขอใดที่ถูกตองคือ ก. ขอ 1, 2 และ 5 ข. ขอ 2 , 3 และ 4 ค. ขอ 3, 4 และ 5 ง. ทั้งขอ 1, 2, 3, 4, และ 5 8. กลไกใดชวยเพิ่มอุณหภูมิใหรางกายมนุษยโดยตรง 1. การหดตัวของเสนเลือดที่ผิวหนังเมื่ออากาศหนาวเย็น 2. การมีไขมันหนาเปนชั้นอยูใตผิวหนัง 3. ขนลุกชันเมื่ออากาศหนาวเย็น 4. การสั่นของกลามเนื้อลายเมื่ออากาศหนาวเย็น 9. ฮอรโมนใดทํางานเกี่ยวของกับการควบคุมอุณหภูมิของรางกายนอยที่สุดเมื่ออุณหภูมิของสิ่งแวดลอมต่ํา 1. ไธรอกซิน 2. อะดรีนาลิน 3. นอรอะดรีนาลิน 4. ADH 10. การกระทําวิธีใด ที่จะชวยระบายความรอนออกจากรางกายไดอยางมีประสิทธิภาพต่ําสุด 1. การขับเหงื่อ 2. การหอบ 3. การขยายตัวของเสนเลือดที่ผิวหนัง 4. การเลีย
  • 3. "ETV ติวเขม"วิชาชีววิทยา : การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในรางกาย 3 11. ถาอุณหภูมิของสิ่งแวดลอมสูง ไฮโพทาลามัสจะควบคุมอุณหภูมิรางกายโดยทําให 1. เพิ่มการขับเหงื่อและเสนเลือดขยายตัว 2. เพิ่มการเตนของหัวใจและเสนเลือดหดตัว 3. เพิ่มกลูโคสในเลือดและเพิ่มอัตราเมตาโบลิซึม 4. ลดอัตราการเตนของหัวใจ และอัตราเมตาบอลิซึม 12. ถาอุณหภูมิของสิ่งแวดลอมลดต่ําลงถึง 70 C โครงสรางใดของคนเราจะทํางานนอยที่สุด 1. ไฮโพทาลามัส 2. ตอมใตสมอง 3. ประสาทซิมพาเธติก 4. ตอมเหงื่อ 13. โครงสรางใดเกี่ยวของกับการควบคุมอุณหภูมิของคนเรานอยที่สุด 1. กลามเนื้อลาย 2. ตอมเหงื่อ 3. เสนเลือด 4. ลําไสเล็ก 14. อุณหภูมิในตนพืชต่ํากวาอุณหภูมิในรางกายคนเรา ทั้งนี้เปนเพราะ 1. เมตาบอลิซึมของคนทําใหเกิดพลังงานความรอนเทานั้น 2. คนมีอัตราเมตาบอลิซึมสูงกวาพืช 3. คนมีการเคลื่อนไหวอยูตลอดเวลา 4. คนมีไขมันเปนฉนวนกั้นไมใหความรอนออกจากรางกาย 15. คนระบายความรอนออกจากรางกายไดมากที่สุดทาง 1. รูจมูก 2. ปาก 3. ตอมเหงื่อ 4. ปสสาวะ 16. กลไกใดตอไปนี้ที่ไปมีผลตอการเพิ่มอุณหภูมิของรางกายโดยตรง 1. เหงื่อแตก 2. ขนลุกและออกกําลังกาย 3. กินอาหารและรางกายหลั่งไธรอกซินออกมามาก 4. หลอดเลือดที่ผิวหนังหดตัวและใสเสื้อกันหนาวหนา ๆ
  • 4. "ETV ติวเขม"วิชาชีววิทยา : การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในรางกาย 4 17. สัตวเลือดอุนรวมทั้งคน มีวิธีการตางๆ เพื่อรักษาอุณหภูมิภายในรางกายใหคงที่เสมอ ยกเวน ขอใด 1. การหายใจหอบของสุนัขในวันที่อากาศรอนอบอาวมากๆ 2. ขนลุกในขณะที่สิ่งแวดลอมภายนอกหนาวเย็นเพื่อกันการสูญเสียความรอน 3. ลดเมตาบอลิซึมในรางกายเมื่ออากาศหนาวเย็น 4. หลบซอนในที่ๆ มีอุณหภูมิพอเหมาะ 18. ถาอุณหภูมิของสิ่งแวดลอมสูงกวาอุณหภูมิของรางกาย เราจะระบายความรอนออกจากรางกายโดย 1. เพิ่มอัตราเมตาบอลิซึม เพื่อใหสารพลังงานสูงในรางกายนอยลง 2. ละลายชั้นไขมันใตผิวหนัง ซึ่งเปนฉนวนกันความรอนออกใหเหลือบางลง 3. เพิ่มการขับเหงื่อ เพื่อใหน้ําออกจากรางกายมากขึ้น 4. หายใจเขาออกอยางรวดเร็ว เพื่อระบายความรอน 19. อากาศรอนกลางเดือนเมษายน จะรูสึกกระสับกระสายและอึดอัด เปนเพราะเหตุใด 1. อุณหภูมิในรางกายจะสูงขึ้น ทําใหปฏิกิริยาเคมีตางๆ ในรางกายเพิ่มมากขึ้นกวาปกติ 2. อุณหภูมิที่สูงมักมีความชื้นสูงดวย รางกายจึงระบายความรอนไดไมดี 3. มีกลูโคสในเลือดเพิ่มสูงขึ้น ทําใหรูสึกอึดอัด 4. อุณหภูมิภายนอก เปนปจจัยสําคัญไปกระตุนใหรางกายผลิตฮอรโมนเกี่ยวกับเมตาบอลิซึมเพิ่ม มากขึ้น 20. "Thermostat" ของคนเราคือ 1. ตอมเหงื่อ 2. หัวใจ 3. Hypothalamus 4. ตอมไทรอยด