SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  107
Télécharger pour lire hors ligne
การศึกษาวิจัย
การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุ่นจังหวัดกาญจนบุรี ประจําปี ๒๕๕๔
โดย
กลุ่มยุทธศาสตร์และเฝ้าระวังทางวัฒนธรรม
งานวิจัยเล่มนี้ เป็นส่วนหนึ่งของโครงการเฝ้าระวังทางวัฒนธรรม
สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดกาญจนบุรี
เอกสารลําดับที่ ๑๕ /๒๕๕๔
คํานํา
ด้วยปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครองและ
วัฒนธรรม ประเทศไทยเป็นส่วนหนึ่งในสังคมโลกที่เปิดกว้างในการสัมพันธ์ติดต่อกับนานาประเทศมา
เป็นเวลานานหลายปีตั้งแต่อดีตที่บรรพบุรุษได้ค้าขายกับชาวต่างประเทศ สังคมไทยจึงรับอิทธิพลของ
อารยธรรมภายนอกอย่างต่อเนื่องตลอดมา จากการที่รับอิทธิพลของอารยธรรมภายนอกดังกล่าว
ส่งผลกระทบให้เกิดการเปลี่ยนแปลงวีถีชีวิตของคนไทยได้อย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคปัจจุบันโลก
ได้เข้าสู่ยุคข่าวสาร ข้อมูลความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และกระแสของระบบทุนนิยม ที่ทวีความ
รุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ สถานการณ์ที่กล่าวมาย่อมส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยอย่าง
หลีกเลี่ยงไม่ได้ สิ่งที่ปรากฏชัดเจนขึ้น คือ การเปลี่ยนแปลงของสังคมทางด้านวัฒนธรรม และวิถีชีวิต
ความเป็นอยู่ และเมื่อผนวกกับการที่สังคมไทยในยุคนี้มีการพัฒนา ไปอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้ ค่านิยม
วัฒนธรรมอันดีงามเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ไม่พึงประสงค์โดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่น
สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดกาญจนบุรี ตระหนักถึงปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นในปัจจุบันและให้
ความสําคัญแก่เด็กและเยาวชนในจังหวัดกาญจนบุรี จึงได้จัดทําโครงการศึกษาวิจัยการเบี่ยงเบน
พฤติกรรมของวัยรุ่นจังหวัดกาญจนบุรี ประจําปี ๒๕๕๔ ขึ้น เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการ
เบี่ยงเบนพฤติกรรมอันก่อให้เกิดปัญหาสังคมในปัจจุบัน เช่น การประพฤติตนไม่เหมาะสม ปัญหาการ
มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ปัญหายาเสพติด ฯลฯ ผลการวิจัยที่พบจะนําเสนอผู้ที่เกี่ยวข้องและจัด
กิจกรรมรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหา ดังกล่าว
การศึกษาวิจัยการเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุ่นจังหวัดกาญจนบุรี ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ฉบับนี้
เป็นส่วนหนึ่งของโครงการเฝ้าระวังทางวัฒนธรรม สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดกาญจนบุรี และหวังว่าคง
ได้ จะเป็นโยชน์แก่ผู้ที่สนใจและใฝ่รู้ ตามสมควร
สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดกาญจนบุรี
กันยายน ๒๕๕๔
สารบัญ
คํานํา………………………………………………………………………………………………………………………………………
บทที่
๑. บทนํา……………………………………………………………………………………………………………………
ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา ๑
วัตถุประสงค์การวิจัย ๒
ขอบเขตการวิจัย ๒
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ๓
นิยามศัพท์เฉพาะ ๓
๒. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง………………………………………………………………………………
พัฒนาการของวัยรุ่น ๔
พัฒนาการทางสังคม ๕
แนวคิดพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่นและรายงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ๖-๑๐
๓. วิธีดําเนินการวิจัย
จัดทําโครงการศึกษาวิจัยการเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุ่น ๑๑–๑๒
ตอนที่ ๑ สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ๑๓-๑๕
ตอนที่ ๒ แบบสอบถามพฤติกรรมที่มีต่อบุหรี่ ๑๖-๑๗
พฤติกรรมที่มีต่อการพนัน ๑๘-๒๐
พฤติกรรมที่มีต่อความเสี่ยงบนท้องถนนและการก่อความไม่สงบ ๒๑-๒๔
พฤติกรรมสื่อและการใช้เทคโนโลยี ๒๕-๒๖
พฤติกรรมที่มีต่อเรื่องเพศสัมพันธ์และการประพฤติตนไม่เหมาะสม๒๗-๒๘
ตอนที่ ๓ แบบสอบถามเกี่ยวกับการควบคุมตนเอง ๒๙-๓๗
ตอนที่ ๔ แบบสอบถามเกี่ยวกับความคิดเห็นต่อการใช้บริการสถานเริงรมย์ ๓๘-๔๒
ตอนที่ ๕ แบบสองถามเกี่ยวกับความเห็นต่อการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ๔๓-๔๕
๔. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ตารางที่ ๑ การวิเคราะห์สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ๔๖–๕๐
ตารางที่ ๒ การวิเคราะห์พฤติกรรมต่อบุหรี่ เครื่องดื่มที่ผสมแอลกอฮอล์ ๕๑–๕๔
ตารางที่ ๓ การวิเคราะห์พฤติกรรมที่มีต่อการพนัน ๕๕–๕๖
ตารางที่ ๔ การวิเคราะห์พฤติกรรมที่มีต่อความเสี่ยงบนท้องถนนและ ๕๗-๖๑
ตารางที่ ๕ การวิเคราะห์พฤติกรรมสื่อและการใช้เทคโนโลยี ๖๒–๖๔
ตารางที่ ๖ การวิเคราะห์พฤติกรรมที่มีต่อเรื่องเพศสัมพันธ์และ
การประพฤติตนไม่เหมาะสมแก่วัยอันควร ๖๕–๖๗
ตารางที่ ๗ การวิเคราะห์การควบคุมตนเอง ๖๘–๗๙
ตารางที่ ๘ การวิเคราะห์สถานเริงรมย์ ๘๐–๘๔
ตารางที่ ๙ การวิเคราะห์ความเห็นต่อการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ๘๕–๘๙
๕. สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
สรุปผลการวิจัย,อภิปรายผล ๙๐–๙๓
ข้อเสนอแนะ ๙๔
ภาคผนวก
บทที่ ๑
บทนํา
๑. ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา
ด้วยปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงทาง ด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครองและ
วัฒนธรรม ประเทศไทยเป็นส่วนหนึ่งในสังคมโลกที่เปิดกว้างในการสัมพันธ์ติดต่อกับนานาประเทศมา
เป็นเวลานานหลายปีตั้งแต่อดีตที่บรรพบุรุษได้ค้าขายกับชาวต่างประเทศ สังคมไทยจึงรับอิทธิพลของ
อารยธรรมภายนอกอย่างต่อเนื่องตลอดมา จากการที่รับอิทธิพลของอารยธรรมภายนอกดังกล่าว
ส่งผลกระทบให้เกิดการเปลี่ยนแปลงวีถีชีวิตของคนไทยได้อย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคปัจจุบันโลก
ได้เข้าสู่ยุคข่าวสาร ข้อมูลความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และกระแสของระบบทุนนิยม ที่ทวีความ
รุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ สถานการณ์ที่กล่าวมาย่อมส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยอย่าง
หลีกเลี่ยงไม่ได้ สิ่งที่ปรากฏชัดเจนขึ้น คือ การเปลี่ยนแปลงของสังคมที่มีอยู่ตลอดเวลาและเป็นไป
อย่างรวดเร็ว และเมื่อผนวกกับการที่สังคมไทยในยุคนี้มีการพัฒนาทั้งในลักษณะของสังคม
เกษตรกรรมตามรากฐานเดิมเปลี่ยนมาเป็นสังคมอุตสาหกรรม ในขณะที่ยังขาดความพร้อมในการเตรียม
ประชากรให้สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลง
การพัฒนาที่กล่าวมานั้น มีทิศทางการพัฒนาที่ให้ความสําคัญด้านเศรษฐกิจมากกว่า ด้าน
สังคมจึงเป็นผลทําให้สังคมมีความแตกต่างของฐานะของคนในสังคม คนไทยกลายเป็นนักบริโภคนิยม
และวัตถุนิยม รวมทั้งมีความเป็นปัจเจกมากขึ้น เกิดความขัดแย้งในรูปแบบการดํารงชีวิต ชีวิตใน
ชนบทมีการเปลี่ยนแปลงเป็นชีวิตของคนเมืองมากขึ้น
ผลกระทบที่เกิดขึ้นตามมาซึ่งทําให้ทุกฝ่ายในสังคมมีความกังวลก็คือปัญหาทางสังคม
วัฒนธรรมที่เกิดขึ้นโดยตลอดในรูปแบบต่าง ๆ และในความรุนแรงหลายระดับ อาทิ ปัญหาครอบครัวที่
พบว่าเด็กห่างเหินจากครอบครัวและอยู่ในสภาพครอบครัวแตกแยกมากขึ้น ปัญหาด้านความเสื่อมทาง
จริยธรรมที่พบว่า มีแนวโน้มที่ห่างไกลจากสถาบันศาสนาและขาดที่พึ่งทางใจมากขึ้นปัญหาเรื่องการมี
เพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรที่กลายเป็นค่านิยมเสรีทางเพศในเด็กวัยรุ่นจํานวนมากขึ้น ปัญหาความ
รุนแรงการใช้กําลังทําร้ายกันระหว่างกลุ่มนักเรียน นักศึกษา วัยรุ่น ปัญหาการเสพสื่อลามกอนาจาร
ปัญหาค่านิยม การบริโภค ตลอดจนปัญหายาเสพติด ซึ่งปัญหาทั้งหลายเหล่านี้ทําให้เห็นถึงวัฒนธรรม
ทั้งในส่วนของมรดกทางศิลปวัฒนธรรม ( Cultural Heritage) และวีถีชีวิตวัฒนธรรม (Living
Culture) ที่เปลี่ยนแปลงหรือเบี่ยงเบนทางวัฒนธรรมจนอาจสรุปได้ว่าสังคมไทยกําลังดําเนินชีวิตอย่าง
ขาด รากฐานทางวัฒนธรรมที่ดีงาม
ภายใต้สภาวการณ์การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีสารสนเทศตามลักษณะของ
โลกยุคการสื่อสารไร้พรมแดนในปัจจุบัน เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปว่านอกจากจะนํามาซึ่งข้อมูลอันเป็น
ประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศแล้วยังมีส่วนหนึ่งที่นํามาซึ่งปัญหาทางสังคม และวัฒนธรรม
นานัปการ กล่าวคือด้านบวก สื่อมีความรู้มากมายหลายสาขาที่ส่งผ่านเครือข่ายไปทั่วโลก
เปรียบเสมือนหอสมุดขนาดใหญ่ของโลกที่สามารถเรียนรู้ได้ตลอดเวลาไม่มีที่สิ้นสุดรวมทั้งข่าวสาร
ข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์ของโลกที่เกิดขึ้นทุกขณะสามารถสื่อสารไปยังทุกแห่งในโลกจนสามารถรับรู้
และติดตามได้ในเวลาเดียวกัน นอกจากนี้ผลิตของงานสื่อสารมวลชน ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมวัฒนธรรม
ประเภทหนึ่ง เช่น ภาพยนตร์ โทรทัศน์ เป็นต้น สามารถทํารายได้อย่างมากมายและเป็นมูลค่าทาง
เศรษฐกิจที่สูงอย่างมีนัยสําคัญ ในขณะเดียวกันก็เป็นสื่อที่สามารถถ่ายทอด สาระความรู้ในเรื่อง
วัฒนธรรม รวมทั้งการชี้นําสังคมในทิศทางที่ถูกต้องและดีงามได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงนับได้ว่าสื่อ
เป็นสิ่งทั้งสาระวัฒนธรรมและสื่อถ่ายทอดทางวัฒนธรรมได้ในขณะเดียวกันส่วนในด้านลบสื่อข้ามชาติ
ได้ขยายขอบเขตไปทั่งโลก และแผ่อิทธิพลอย่างกว้างขวาง ด้านเงินทุน วัตถุนิยม บริโภคนิยมโดยมี
เป้าหมายในการแสวงหาผลประโยชน์มากมายมหาศาล สื่อเหล่านั้นครอบงําและชี้นําสังคมจนส่งผล
กระทบต่อความคิดจิตสํานึกผ่านความรู้ ข่าวสาร และวัฒนธรรม เป็นผลให้วัฒนธรรมการบริโภคและ
วัฒนธรรมตะวันตกแพร่ไปทั่วโลก ทําให้วัฒนธรรมท้องถิ่นลดบทบาทลง
การเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจการเมืองการปกครอง สังคมและวัฒนธรรม รวมถึงการ
เปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ ความคิด วิถีชีวิต ความเชื่อ และพฤติกรรมของคนในสังคมไทยในทุกเพศทุก
วัย เป็นผลมาจากภาวะเศรษฐกิจที่บีบรัด ค่านิยมของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป และวิวัฒนาการทาง
เทคโนโลยีต่าง ๆในสังคม ส่งผลกระทบถึงการเรียนรู้และการดําเนินชีวิตของเด็กวัยรุ่นที่อยู่ใน ช่วงวัย
ของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ทําให้วัยรุ่นต้องเผชิญกับความกดดันจากภาวะต่าง ๆ ที่แวดล้อม
ตนเอง และผู้คนที่หาผลประโยชน์จากพวกเขา ได้ผลักดันให้เด็กวัยรุ่นเดินเข้าสู่พฤติกรรมเสี่ยงต่าง ๆ
มากมาย เช่น การเสพสิ่งเสพติด พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การใช้ยานพาหนะโดยประมาท การ
ทะเลาะวิวาท ภาวะ ซึมเศร้าและการฆ่าตัวตาย ซึ่งนับว่าเป็นปัญหาสังคมที่ต้องได้รับการแก้ไขอย่าง
เร่งด่วน สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดกาญจนบุรี โดยงานเฝ้าระวังทางวัฒนธรรม ได้เห็นความสําคัญ
ของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทําโครงการศึกษาวิจัยการเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุ่นจังหวัดกาญจนบุรี
ประจําปี ๒๕๕๔ ขึ้น เพื่อศึกษาถึงปัจจัยและระดับความคิดเห็นของนักเรียน นักศึกษา ในจังหวัด
กาญจนบุรี และนําผลการวิจัยไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนา การจัดกิจกรรมทางด้านวัฒนธรรมเพื่อ
ส่งเสริมและสนับสนุนการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ต่อไป
๒. วัตถุประสงค์การวิจัย
๒.๑ เพื่อจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมวัยรุ่น
๒.๒ เพื่อนําข้อมูลที่ได้รับมาวิเคราะห์และศึกษาแนวโน้มพฤติกรรมของวัยรุ่นใน
อนาคต
๒.๓ เพื่อนําผลการวิจัยมาปรับปรุง และ พัฒนางานวัฒนธรรมโดยจัดกิจกรรมด้าน
วัฒนธรรม
๓. ขอบเขตการวิจัย
เพื่อให้การวิจัยเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้ ผู้วิจัยกําหนดขอบเขตการวิจัย ดังนี้
๑. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียน นักศึกษา และเยาวชน ที่กําลังศึกษา
อยู่ในจังหวัดกาญจนบุรี ประจําปี ๒๕๕๔ จํานวน ทั้งสิ้น ๒๓,๙๘๓ คน ผู้วิจัยใช้วิธีเลือกกลุ่ม
ตัวอย่าง จํานวน ๕,๐๐๐ คน แบบเจาะจงเลือก (Purposive Sampling)
๒. ตัวแปรที่ศึกษา
๒.๑ ตัวแปรอิสระ ได้แก่
๒.๑.๑ เพศ
๒.๑.๒ อายุ
๒.๑.๓ ระดับการศึกษา
๒.๑.๔ นับถือศาสนา
๒.๑.๕ อาชีพของบิดา
๒.๑.๖. อาชีพของมารดา
๒.๑.๗ สถานภาพการสมรสของบิดามารดา
๒.๑.๘ ข้อมูลเกี่ยวกับบิดา – มารดา
๒.๑.๙ ปัจจุบันพักอาศัยอยู่กับใคร
๒.๑.๑๐ ผลการเรียนเฉลี่ยของท่านเมื่อสิ้นสุดภาคเรียนที่ผ่านมาได้เท่าไร
๒.๒ ตัวแปรตาม ได้แก่
๒.๒.๑ พฤติกรรม ต่อ บุหรี่,เครื่องดื่มที่ผสมแอลกอฮอล์ ,การพนัน , ความรัก
,การก่อความไม่สงบในพื้นที่, การใช้เทคโนโลยี
๒.๒.๒ การควบคุมตนเอง
๒.๒.๓ ความคิดเห็นต่อการใช้บริการสถานเริงรมย์
๒.๒.๔ ความคิดเห็นต่อการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
นิยามศัพท์เฉพาะ
พฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น หมายถึง การปฏิบัติที่ทําให้เสี่ยงต่อการเสียชีวิต พิการ ทุพพล
ภาพ เกิดผลเสียต่อสุขภาพอนามัยทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งพฤติกรรมเสี่ยงเหล่านี้คือ การติดยาเสพ
ติด การมีเพศสัมพันธ์ที่เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ การติดเชื้อโรคทางเพศสัมพันธ์ หรือโรค
เอดส์ การเสียชีวิตหรืออวัยวะจากอุบัติเหตุ การฆ่าตัวตาย เป็นต้น
ทุนทางสังคม (Social Assets) หมายถึง ตามความหมายที่แสดงไว้ในพจนานุกรม
หมายความถึง ทรัพย์สิน บุคคล หรือสิ่งของที่มีค่ามีประโยชน์
วัยรุ่น หมายถึง นักเรียน นักศึกษา เยาวชนในจังหวัดกาญจนบุรี อายุตั้งแต่ ๑๐ ปี - ๒๑ ปี
ที่อาศัยอยู่ที่จังหวัดกาญจนบุรี
บทที่ ๒
วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
วัยรุ่นนั้นเป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างสําคัญในทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นร่างกาย อารมณ์
และสังคม เพื่อการเรียนรู้ที่จะผ่านช่วงของวัยเด็กที่ต้องพึ่งผู้อื่นไปสู่วัยผู้ใหญ่ที่สามารถพึ่งตนเองได้
ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้จึงเป็นการเปลี่ยนแปลงในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ก่อให้เกิดความเพลี่ยง
พล้ําได้ง่าย การเรียนรู้ที่จะเติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่อย่างมีคุณภาพจึงจําเป็นต้องเรียนรู้พร้อมกันไปในทุก
ด้านของการเปลี่ยนแปลงและการเจริญเติบโตตามธรรมชาติของวัยดังกล่าว ซึ่งการเจริญเติบโตของ
วัยรุ่นจะมีลักษณะ ดังนี้
พัฒนาการของวัยรุ่น
วัยรุ่น (Adolescence) มีรากศัพท์มาจากภาษาลาติน คือ Adolescere ซึ่งหมายความว่า
เจริญเติบโตไปสู่วุฒิภาวะ (to grow into maturity) ซึ่งคําว่าวุฒิภาวะหมายถึง สภาพความเป็น
ผู้ใหญ่ หรือเป็นสภาวะสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา องค์การ
อนามัยโลกได้ให้ความหมายของวัยรุ่นว่าเป็นผู้มีลักษณะ ๓ ประการ คือ มีการพัฒนาทางด้านร่างกาย
จะมีการเจริญเติบโตในด้านความสูง น้ําหนัก รวมถึงเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงของอวัยวะเพศจนกระทั่งมีวุฒิ
ภาวะทางเพศอย่างสมบูรณ์ พัฒนาการทางด้านจิตใจ มีการเพิ่มความสามารถในความคิดเป็น
นามธรรมมากขึ้นและมีการเปลี่ยนแปลงจากเด็กเป็นผู้ใหญ่ และพัฒนาการด้านสังคม จากการพึ่งพา
ผู้อื่นในครอบครัวเป็นการ พึ่งพาตนเอง
ไนสไตน์ (Neinstein ๑๙๙๖) ได้แบ่งวัยรุ่นโดยแยกเพศเอาไว้เป็น ๓ ระยะ คือ
๑) วัยรุ่นตอนต้น (early adolescence) เพศชายอายุ ๑๒–๑๔ ปี และเพศ
หญิงอายุ ๑๐–๑๓ ปี
๒) วัยรุ่นตอนกลาง (middle adolescence) เพศชายอายุ ๑๔–๑๗ ปี และ
เพศหญิงอายุ ๑๓–๑๖ ปี
๓) วัยรุ่นตอนปลาย (late adolescence) มีอายุระหว่าง ๑๗–๒๑ ปี
พัฒนาการทางร่างกาย
อัตราการเจริญเติบโตช้าลง รูปร่างเข้าสัดส่วนผู้ใหญ่ เด็กหญิงร่างกายเริ่มเปลี่ยนแปลงหลาย
อย่าง เช่น เริ่มมีประจําเดือน น้ําหนักและส่วนสูงจะเพิ่มขึ้นจนถึงอายุประมา ๑๗–๑๘ ปี ลักษณะ
เพศอย่างที่สองเจริญอย่างสม่ําเสมอ รังไข่เจริญอย่างรวดเร็ว ทรวงอกเริ่มขยายใหญ่หรือขนาด
ใกล้เคียงกับผู้ใหญ่ เด็กชายเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายมากขึ้นตั้งแต่อายุ ๑๓ ปี การ
เจริญเติบโตด้านอื่นปานกลางแต่อวัยวะเพศเติบโตเร็ว มีขนตามใบหน้าและลําตัว เด็กวัยรุ่นเริ่มเข้าสู่
ความเป็นหนุ่มสาวเมื่ออายุ ๑๔–๑๕ ปี รูปร่างขยายใหญ่ เพิ่มทั้งน้ําหนักและส่วนสูง เสียงห้าว
และจะเริ่มเข้าสู่ปกติเมื่อถึงวัยรุ่นตอนปลาย ร่างกายจะผลิตน้ําอสุจิออกมาและจะมีน้ําอสุจิเคลื่อนที่เรียกว่า
“ฝันเปียก” หรือมีการบําบัดความใคร่ด้วยตนเอง (Masturbation) เด็กก็จะมีวุฒิภาวะทางเพศ
สมบูรณ์สามารถสืบพันธุ์ได้
การเจริญเติบโตโดยทั่วไปของเด็กหญิงจะเร็วกว่าเด็กชาย แต่เมื่อเด็กชายอายุ ๑๕ ปี แล้วจะ
สูงเท่ากับเด็กหญิงที่อยู่ในวัยเดียวกัน ความเจริญทางส่วนสูงจะหยุดเมื่ออายุประมาณ ๒๐ ปีวัยนี้
สายตาจะดีกว่าวัยที่ผ่านมา อวัยวะที่มีบทบาทสําคัญต่อพัฒนาการและการงอกงามของมนุษย์คือต่อม
ไร้ท่อต่าง ๆ โดยเฉพาะต่อมเพศซึ่งช่วยกระตุ้นให้วัยรุ่นมีความรู้สึกต่อเพศตรงข้าม
พัฒนาการทางอารมณ์
อารมณ์ของเด็กวัยรุ่นเปลี่ยนแปลงเร็ว บางครั้งรุนแรง มักแสดงความรู้สึกเปิดเผยและตรง
เกินไป เชื่อมั่นในตนเอง ชอบอิสระ ต้องการพึ่งตนเอง และพิสูจน์ให้ผู้ใหญ่เห็นว่าเขามีความเป็นตัว
ของตัวเอง สิ่งเหล่านี้เขาจะตอบสนองตัวเองโดยการคบเพื่อนวัยเดียวกัน ความต้องการที่สําคัญ
ที่สุดในวัยนี้ คือ ความต้องการความยอมรับในความเป็นเพศหญิงหรือชายอย่างเต็มที่จากคนวัย
เดียวกันและเพศตรงข้าม วัยนี้ชอบเอาใจใส่กับรูปร่างของตัวเอง และมีความกังวลใจต่อรูปร่างที่
เปลี่ยนแปลง นิยมในบุรุษและสตรีที่มีชื่อเสียงและอยากทําตาม เหตุที่ทําให้อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย
และรุนแรงคือความเปลี่ยนแปลงทางกาย การเปลี่ยนแปลงของอวัยวะภายใน เช่นต่อมต่าง ๆ และ
การปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมใหม่ๆ การพัฒนาการทางอารมณ์ของเด็กวัยนี้ผู้ปกครอง ครูหรือผู้
ใกล้ชิดควรเอาใจใส่เป็นพิเศษ เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาขึ้นได้
พัฒนาการทางสังคมและบุคลิกภาพ
วัยรุ่นเป็นช่วงวัยสําคัญในการพัฒนาและผสมผสานบุคลิกภาพจะพัฒนาได้เต็มที่ต่อเมื่อการ
เจริญเติบโตในทุกด้านได้พัฒนาใกล้ระดับสูงสุดบุคคลต้องผ่านพัฒนาการขั้นต้น ๆ มาด้วยดีบุคลิกภาพ
จึงจะปกติ
ช่วงวัยรุ่นมีพัฒนาการบุคลิกภาพมาก อันเนื่องมาจากพัฒนาการและประสบการณ์ใหม่ ๆ มี
ความสลับซับซ้อนมากขึ้นในชีวิต ประสบการณ์ใหม่เหล่านี้ได้แก่
๑. การมีร่างกายอย่างผู้ใหญ่
๒. การมีวุฒิภาวะทางเพศ พร้อมกับมีแรงผลักดันและอารมณ์
๓. การมีจิตสํานึกต่อตนเอง (Self-awareness) มากขึ้น ซึ่งเป็นผลมาจากความ
ต้องการอย่างแรงกล้าที่จะนําทางตนเอง และประเมินมาตรฐาน เป็นหมาย และอุดมคติในชีวิตเสียใหม่
๔. การต้องการความเป็นเพื่อน โดยเฉพาะกับเพื่อนต่างเพศ
๕. การปฏิบัติจากพ่อแม่ และเพื่อน ๆ
๖. การมีความขัดแย้งในช่วงวัยรุ่น
พัฒนาการทางสังคมและบุคลิกภาพในวัยรุ่นซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงหลาย ๆ ด้านได้แก่
๑) การพัฒนาแนวคิดเกี่ยวกับตนเอง
๒) การแสวงหาเอกลักษณ์ของตนเอง
๓) การพัฒนาทางเพศ
๔) การพัฒนาด้านศีลธรรม จริยธรรม
“วัยรุ่น” เป็นวัยที่ได้ผ่านการเรียนรู้และเข้าใจกฎเกณฑ์ของสังคมมามากพอสมควรเริ่มจาก
ครอบครัว โรงเรียน กลุ่มเพื่อน และสังคมรอบข้าง เป็นวัยที่พ้นสภาพจากความเป็นเด็ก เข้าสู่ความ
เป็นหนุ่มสาว เป็นระยะที่มีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายและจิตใจเพื่อที่จะก้าวไปสู่ความเป็นผู้ใหญ่ ใน
ขณะเดียวกันก็ต้องการให้ผู้ใหญ่เข้าใจและยอมรับเขาเป็นบุคคลสําคัญคนหนึ่ง
พัฒนาการทางสติปัญญา
วัยนี้เป็นวัยที่มีความกระตือรือร้นมีความสามารถหลายอย่างมีพลังในการทํางานและการ
แสดงออกทางสติปัญญา รู้จักปรับปรุงบุคลิกภาพ เลียนแบบผู้ที่ตนยกย่อง รู้จักใช้ความคิดอย่างลึกซึ่ง
ชอบทําสิ่งแปลงๆใหม่ๆ เด็กที่ขาดความมั่นคงในตนเอง จะเป็นเด็กที่ไวต่อความรู้สึก มีความกระวน
กระวายต่อคําพูดที่กล่าวออกไป ซึ่งสามารถเห็นความแตกต่างได้ พัฒนาการของวัยนี้คือ
๑. เพิ่มความสนใจตนเองและมองเห็นการณ์ไกล รู้จักปรับตัวในสังคมได้ดี
๒. ปลูกฝังการพึ่งตนเอง ชอบอิสระ
๓. รู้จักปรับตัวและจงรักภักดีต่อบุคคลในครอบครัว โรงเรียน และชุมชน
เราสามารถวัดหรือสังเกตพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กได้จากความสนใจของเด็กและ
ความต้องการของเด็ก พัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กวัยนี้จะกว้างขึ้นเนื่องจากเด็กชอบทําและ
ทดลองหรือเลียนแบบ หรือจากการทดลองผิดลองถูก ซึ่งการเรียนรู้เป็นสิ่งสําคัญเพราะเด็กได้ลงมือทํา
เอง ได้พบและแก้ปัญหาด้วยตัวเอง ผู้ใหญ่ไม่ควรขัดขวางเด็กควรจัดให้เด็กอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี และ
ช่วยให้เกิดความเชื่อมั่นในตนเอง
ความเปลี่ยนแปลงทางด้านต่าง ๆ ของเด็กเป็นสิ่งสําคัญมาก ซึ่งผู้ใหญ่ที่มีส่วนเกี่ยวข้องต้อง
เข้าใจและยอมรับว่าจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงอันเป็นธรรมชาติของเด็กแล้ว ยังต้องเข้าใจต่อไปอีกว่า
ความเปลี่ยนแปลงในชีวิตเด็กดังกล่าวแล้วจะสร้างความอึดอัดและรําคาญใจแก่เขาด้วย บางอย่าง
อาจทําให้เขาตกใจมากหากเขาเหล่านั้นจะไม่ได้ทราบความเป็นจริงและมีการเตรียมตัวมาก่อน ครู
และผู้ปกครองควรจะถือได้ว่าเป็นความจําเป็นที่จะอธิบายความจริงต่าง ๆ ให้แก่เด็ก เพื่อเขาจะได้ไม่
เกิดความกระเทือนใจหรืออึดอัดใจเกินความจําเป็น ถ้าหากผู้ใหญ่ไม่เข้าใจในสิ่งเหล่านี้อาจทําให้เกิด
ปัญหาต่าง ๆ ตามมาได้ ซึ่งในช่วงของการเจริญเติบโตจากวัยรุ่นเพื่อจะเป็นผู้ใหญ่ที่สมบูรณ์
การจะผ่านพ้นช่วงวัยนี้ไปได้ เด็กวัยรุ่นมักจะเผชิญกับความกดดันที่เกิดจากการเรียนรู้ในสิ่งที่ตนไม่
เคยได้เรียนรู้มาก่อน นั่นคือการเรียนรู้การดําเนินชีวิตของผู้ใหญ่อย่างรวดเร็วและรอบด้าน ในขณะที่
ตนเองยังไม่แข็งแกร่งเพียงพอ จึงเป็นภาระหนักของเด็กวัยรุ่นในการจะผ่านช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อนี้ไป
หากเพลี่ยงพล้ําตกอยู่ในความเสี่ยงหรือเกิดพฤติกรรมเสี่ยงขึ้น นั่นคืออุปสรรคในการเติบโต ซึ่งหากไม่
สามารถผ่านไปได้อาจอันตรายถึงชีวิต หรือถึงแม้ไม่ถึงชีวิตก็อาจไม่สามารถพัฒนาไปเป็นผู้ใหญ่ที่มี
คุณภาพต่อไปได้ และหากเด็กสามารถปรับตัวได้ทันก็จะเกิดการเรียนรู้ที่เป็นทุนสําคัญของการดําเนิน
ชีวิตได้ต่อไปในวัยผู้ใหญ่ได้
แนวคิดพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่นและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
นิยามของพฤติกรรมเสี่ยง
พฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น คือ การกระทําหรือการแสดงออกทางร่างกาย ความคิดและ
ความรู้สึก ของบุคคลที่ย่างเข้าสู่วัยหนุ่มสาว โดยไม่เกรงกลัวต่อภัยอันตรายที่จะมาสู่ตนหรือผู้อื่น ซึ่ง
พฤติกรรมเสี่ยงที่มักจะเกิดกับวัยรุ่นทั่วไป มักจะมีดังนี้
๑. การดื่มสุราหรือเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์
การดื่มสุราหรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ต่าง ๆ เป็นช่องทางที่จะไปสู่การมีพฤติกรรมเสี่ยง
อื่น ๆ ต่อไป เนื่องจากทําให้ขาดสติและไม่สามารถควบคุมตนเองได้ทั้งความคิด การเคลื่อนไหว และ
การตัดสินใจ ในขณะที่เป็นสิ่งเสพติดที่ถูกกฎหมาย และสังคมมักจะยอมรับว่าเป็นสิ่งที่จําเป็นในการ
เข้าสังคมหรือการสังสรรค์ จึงมักเป็นสาเหตุให้เกิดการสูญเสียต่าง ๆ ตามมา เช่น การทะเลาะวิวาท
อุบัติเหตุ พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ ซึ่งในเด็กวัยรุ่นโดยเฉพาะกลุ่มเด็กที่ชอบสังสรรค์ในกลุ่มเพื่อนในช่วง
กลางคืน ทั้งหญิงและชายมักจะเสพกันเป็นเหมือนของคู่กันกับการสังสรรค์ ดังคําพูดของวัยรุ่นชายที่
เรียนในวิทยาลัยอาชีวศึกษาแห่งหนึ่งว่า “ถ้าไม่เหล้าก็ไม่อะไรเป็นตัวดึงให้กลุ่มเพื่อนอยู่ด้วยกันนาน
ๆ มาเจอกันคุยกันเล็กน้อยแล้วก็แยกย้ายไป ถ้ามีเหล้าก็จะจับกลุ่มพูดคุยกันได้ตลอดทั้งคืน”
ซึ่งเหตุผลของการดื่มสุรานี้ มีงานวิจัยที่ได้เคยสํารวจไว้กับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ ๔
และ มัธยมศึกษาปีที่ ๖ ของโรงเรียนมัธยมในเมืองใหญ่ทั่วประเทศ (นิตยา กัทลีรดะพันธุ์ ๒๕๔๑)
พบว่าเหตุผลของการดื่มสุรา คือ อยากลอง เพื่อนชวน ญาติ เช่น พ่อแม่พี่น้อง ฯลฯ ชวนให้ลอง และ
เหตุผลอื่น ๆ ได้แก่ เข้าสังคม สังสรรค์ ถูกบังคับให้ดื่ม และดื่มเองเพราะเข้าใจผิด พฤติกรรมความ
เสี่ยงโดยพื้นฐานของวัยรุ่น คือ ความอยากรู้อยากลองของเด็กเอง เมื่อประกอบกับแรงชักจูง
กระตุ้นให้ความเสี่ยงมีโอกาสกระทําได้ไม่ยาก การเริ่มต้นทดลองเพื่อรู้ครั้งแรกเป็นพฤติกรรมเสี่ยง
เบื้องต้นที่ส่งผลให้มีการกระทําซ้ําและบางคนอาจมีแนวโน้มที่จะเสี่ยงตลอดไป และหากมีการทดลอง
ดื่มสุราขณะอายุยังน้อยนั้น ได้มีการสํารวจพบว่าพฤติกรรมการเสี่ยงทดลองดื่มสุราตั้งแต่อายุยังน้อย
มาก เมื่อเปรียบเทียบกับพฤติกรรมในปัจจุบัน ก็พอเห็นปัญหาได้ว่า แนวโน้มการเสพยังไม่ลดต่ําลง
เพราะนักเรียน ๑๐๖ คน จาก ๑๗๕ คน ที่ทดลองเสพ ยังการเสพอยู่ และเมื่อถามเหตุผลของการเสพ
ปัจจุบัน เหตุผลของกลุ่มที่ดื่มบ่อย อ้างว่าเพื่อนชวนและต้องเข้ากลุ่มกับเพื่อน เข้ากับสังคม โดยรู้สึก
ว่าการดื่มสุราเป็นเรื่องปกติ อร่อยและสนุกสนานกับการดื่ม ยังไม่อยากเลิกและบางคนบอกว่ายังเลิก
ไม่ได้ กลุ่มนี่มีพฤติกรรมเสี่ยงที่ค่อนข้างอันตราย เพราะให้ความรู้สึกกับสุราว่า สนุกเพลิดเพลิน เป็น
เรื่องปกติและอยู่รวมกลุ่มกับเพื่อนได้โดยใช้สุราเป็นข้ออ้าง
๒. การสูบบุหรี่
ทางการแพทย์ถือว่าการสูบบุหรี่เป็นพียงภาวะเสพติดเป็นนิสัย (habituation) ซึ่งต่างกับ
ภาวะเสพติด (addiction) เนื่องจากผลทางชีววิทยาของบุหรี่เหมือนกับกาแฟและเครื่องดื่มประเภทที่
มีค่าคาเฟอีนทั้งหลายที่แตกต่างจากผล ซึ่งเกิดจากมอร์ฟีน แอลกอฮอล์ บาร์บิทูเรต และยาเสพติดที่
มีฤทธิ์รุนแรงทั้งหลาย การเสพของผู้สูบบุหรี่ จึงเป็นการติดทางใจไม่มีการติดทางกายอันเนื่องมาจาก
ฤทธิ์ของนิโคติน หรือสารประกอบอื่น ๆ ในบุหรี่ (วิทย์ เที่ยงบูรณธรรม ๒๕๓๑ อ้างใน อุไร สมาริ
ธรรม ๒๕๓๕,๓๔) และเมื่อหยุดสูบบุหรี่ก็มักจะมีอาการขาดยา (Withdrawal Symptom) ที่เป็น
อาการทางจิตใจ เช่น อาการหงุดหงิด กระวนกระวายมากกว่า ส่วนอาการทางกายมักไม่ปรากฏ
(สํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ๒๕๒๔) มีผลการวิจัยแสดงไว้ว่า นิสัยการ
สูบบุหรี่ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในช่วงวัยรุ่น โดยเฉพาะในช่วงที่อยู่ในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
(อ้างใน อุไร สุมาริธรรม ๒๕๓๕,๒) และเมื่อบุคคลสูบบุหรี่จนติดเป็นนิสัยแล้งการจะเลิกสูบเป็นเรื่อง
กระทํายากหรือถ้ามีการเลิกสูบแล้ว โอกาสจะกลับมาสูบใหม่อีกนั้นมีสูงมาก
การเห็นคุณค่าในตนเอง (Self-esteem) จากการวิจัยพบว่าในกลุ่มผู้สูบบุหรี่มักจะเห็น
คุณค่าในตนเองต่ํา ดังเช่น อาห์ลเกรน (Ahlgren et al. ๑๙๘๒ อ้างใน สุมาริธรรม ๒๕๓๕, ๒๔)
ศึกษาปัจจัยที่สนับสนุนการไม่สูบบุหรี่ในกลุ่มนักเรียนก่อนวัยรุ่น โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนเกรด ๕-๖
รวม ๖๒๕ คน พบว่ากลุ่มนักเรียนที่สูบบุหรี่มีการเห็นคุณค่าในตนเองต่ํากว่ากลุ่มที่ไม่สูบบุหรี่
อย่างมีนัยสําคัญ อาห์ลเกรน (Ahlgren) จึงกล่าวว่า นักเรียนกลุ่มที่เสี่ยงต่อการสูบบุหรี่มากที่สุด
ก็คือ กลุ่มที่การเห็นคุณค่าในตนเองต่ํา และจากศึกษาการสูบบุหรี่ การเห็นคุณค่าในตนเอง และตัว
แปรที่เกี่ยวอื่น ๆ ในกลุ่ม นักเรียนเกรด ๔–๑๒ จํานวน ๙๓๔ คน พบว่ากลุ่มที่สูบบุหรี่มีการเห็น
คุณค่าในตนเองต่ํากว่ากลุ่มที่ไม่สูบอย่างมีนัยสําคัญเช่น ความเชื่อในอํานาจภายใน-ภายนอก (Locus
of Control) ซึ่งเป็นความเชื่อที่แสดงถึงความรู้สึกตนเองหรือสิ่งภายนอกตนเองหรือผู้อื่นเป็นผู้
ควบคุมสถานการณ์ มีงานวิจัยที่ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี่กับความเชื่อในอํานาจ
ภายนอก-ภายในตนนั้น ได้ศึกษากับกลุ่มนักเรียนเกรด ๙ ชาย ๒๐๑ คน หญิง ๑๘๕ คน
พบความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี่กับความเชื่อในอํานาจภายใน-ภายนอกตนเอง เฉพาะ
กลุ่มนักเรียนหญิง โดยกลุ่มที่สูบบุหรี่มักมีความเชื่อในอํานาจภายนอกตน คาสซิน และ เพรสชัน
(Chassin and Presson ๑๙๘๔ อ้างใน อุไร สุมาริธรรม ๒๕๓๕, ๗) สรุปจากการศึกษาตัว
แปรทางจิตวิทยาสังคม เพื่อดูอํานาจการทํานายพฤติกรรมการสูบบุหรี่ในกลุ่มนักเรียนเกรด ๖–๑๑
จํานวน ๒,๘๑๘ คน พบว่า กลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงที่จะสูบบุหรี่นั้นจะเป็นผู้ที่มีความเชื่อในอํานาจ
ภายนอกตนมากกว่ากลุ่มที่มีความเสี่ยงต่ํา
๓. การเสพสารเสพติดชนิดผิดกฎหมายอื่น ๆ
การเริ่มลองยาบ้าของวัยรุ่น ที่พบจากการศึกษาของ นิตยา กัทลีรดะพันธุ์ (๒๕๔๑) จะ
เริ่มเสพกันตั้งแต่อายุ ๑๔ ปี ทั้งหญิงและชาย นอกจากนี้ยังพบว่านักเรียนระดับ ม.๖ เคยลองเสพ
มากกว่าเด็กนักเรียน ม.๔ ประมาณ ๔ เท่า โดยมีเหตุผลการเริ่มลอง เกือบทั้งหมดบอกว่าอยากลอง
เอง เพื่อชวนให้ลอง และรู้สึกสนุก ซึ่งวัยรุ่นหญิงมีการใช้ยาในปริมาณที่มากกว่าผู้ชาย ซึ่งผู้ที่ตอบ
ทั้งหมดที่ตอบปริมาณการเสพจะเป็นนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โดยเกือบทั้งหมดที่ตอบเรื่องนี้
จะเป็นผู้ที่อยู่ในครอบครัวที่ไม่เข้มงวดกวดทัน
สํานักวิจัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (อ้างใน น้ําเพชร ชาญภิญโญ ๒๕๓๓,
๑๘) ได้ศึกษาพฤติกรรมและทัศนคติเกี่ยวกับยาเสพติดของคนหนุ่มสาว โดยมีวัตถุประสงค์ที่สําคัญ
ประการหนึ่งคือ เพื่อทราบถึงสาเหตุสําคัญของการติดยาเสพติด โดยได้ทําการสัมภาษณ์ผู้ติดยาเสพ
ติดในทัณฑสถานบําบัดพิเศษและสถาบันบําบัดรักษายาเสพติดที่มีอายุ ๑๕–๔๐ ปี จํานวน ๑,๐๓๓
คน พบว่าสาเหตุที่ทําให้บุคคลที่ติดยาเสพติดในครั้งแรกมาจากความสัมพันธ์ในครอบครัวที่ไม่ราบรื่น
ทั้งผลงานวิจัยของ กิ่งแก้วเกษโกวิท (อ้างใน น้ําเพชร ชาญภิญโญ ๒๕๓๓,๑๘) ก็ได้ยืนยันถึงปัญหา
ความสัมพันธ์ในครอบครัวของผู้ต้องโทษชายที่มีประวัติเสพยาเสพติดจากทัณฑสถานบําบัดพิเศษ
ขอนแก่น จํานวน ๑๖๐ คนพบว่า ผู้ต้องโทษที่ศึกษาเกือบทุกรายตอบว่ามีความสัมพันธ์ภายใน
ครอบครัวไม่ดี เช่น บิดามารดาทะเลาะกันเป็นประจําจนต้องแยกทางกัน ผลงานวิจัยที่สอดคล้อง
กันเป็นของ น้ําเพ็ชร ชาญภิญโญ (๒๕๓๓) ที่ทําการศึกษาปัญหาการติดสารระเหยของเด็กและ
เยาวชนในเขตดุสิต โดยใช้แบบสอบถามประกอบการสัมภาษณ์เด็กและเยาวชนอายุ ๑๐–๒๕ ปี
จํานวน ๑๑๓ คนพบว่าปัจจัยทางครอบครัวอันได้แก่ สถานภาพครอบครัว ความสัมพันธ์ของบุคคล
ภายในครอบครัว เป็นปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้สารระเหยของเด็กและเยาวชนในเขตดุสิต และ
งานวิจัยของ ธวัชชัย ไชยเขียว (๒๕๒๖) ที่ศึกษาถึงสาเหตุของการเสพสารระเหย ในกลุ่มเด็กและ
เยาวชนที่ถูกควบคุมตัวอยู่ที่กองสวัสดิภาพเด็กและเยาวชนและสถานพินิจและคุ้มครองเด็กกลาง
จํานวน ๑๑๖ คน ก็ได้แสดงให้เห็นว่า ผู้สูดดมสารระเหยส่วนใหญ่อยู่ในครองครัวที่แตกแยก คือ บิดา
มารดาแยกกันอยู่ หรือบิดามารดาเสียชีวิต มีพี่น้องร่วมบิดามารดามากกว่า ๔ คนขึ้นไป ซึ่งจาก
สภาพที่เด็กหรือเยาวชนต้องเผชิญกับเหตุการณ์วิกฤติในทางด้านครอบครัวอันได้แก่ เหตุการณ์ที่บิดา
มารดาทะเลาะวิวาทกัน บิดามารดาเมาสุราหรือเล่นการพนัน บิดามารดาเลิกร้างกัน ทําให้เด็กเยาวชน
เกิดความเครียดมาก และในขณะที่เกิดความเครียด เด็กและเยาวชนที่ขาดแรงสนันสนุนทางสังคม
ขาดผู้ให้คําแนะนําในการแก้ปัญหา จึงทําให้เด็กและเยาวชนหันไปพึ่งยาเสพติดในการแก้ปัญหาแทน
(สุธีรา วิสารทพงศ์ ๒๕๓๒ อ้างใน น้ําเพชร ชาญภิญโญ ๒๕๓๓)
๔. พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
จากการรายงานของยูเอ็นเอดส์ (United Nations Program on HIV/AIDS หรือ
UNAIDS) และองค์การอนามัยโลก (World Health Organization หรือ WHO) พบว่าในปี
ค.ศ. ๑๙๙๘ มีผู้ติดเชื้อเอดส์ทั่วโลกถึง ๓๓.๔ ล้านคน ซึ่งเพิ่มจากปี ค.ศ. ๑๙๙๗ ถึง ๕.๘ ล้านคน
โดยครึ่งหนึ่งของผู้ติดเชื้อรายใหม่ที่อยู่ในช่วงอายุ ๑๕–๒๔ ปี (UNAIDS and WHO ๑๙๙๘)
ซึ่งในปี ค.ศ. ๒๐๐๑ คาดว่าจะมีประชากรโลกติดเชื้อเอชไอวีประมาณ ๔๐–๑๐๐ ล้านคน
ในประเทศไทย จากรายงานของกองระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข (๒๕๔๓) ตั้งแต่
ปี พ.ศ.๒๕๒๗ ถึงวันที่ ๓๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๓ มีจํานวนผู้ป่วยเอดส์ทั้งสิ้น ๑๕๑,๓๒๒ รายโดย
กลุ่มอายุที่พบมากที่สุดเป็นกลุ่มวัยทํางานที่มีอายุระหว่าง ๒๕–๒๙ ปี คิดเป็นร้อยละ ๒๘.๖ โดยมี
ปัจจัยเสี่ยงจากเพศสัมพันธ์สูงถึงร้อยละ ๘๒.๖ (กองระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข ๒๕๔๓) ซึ่ง
อาจพิจารณาได้ว่าคนเหล่านี้เริ่มได้รับเชื้อไวรัสเอชไอวีมาตั้งแต่เป็นวัยรุ่น (Sullivan Cited in
Guthrie, Janz, Schottenfeld, & Selig, ๑๙๙๖ อ้างใน พิสมัย นพรัตน์ ๒๕๔๓,๑)
ปัจจัยที่เป็นผลให้วัยรุ่นมีพฤติกรรมทางเพศ แซนดร้า (Sandra L. Hanson ๑๙๘๗
อ้างใน จันทร์แรม ทองศิริ ๒๕๓๙) กล่าวว่า การพิจารณาถึงปัจจัยที่เป็นผลทําให้เกิดการตั้งครรภ์
ในวัยรุ่นนั้น จะต้องพิจารณาในเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองและเด็กความขัดแย้งภายใน
ครอบครัว อิทธิพลของกลุ่มเพื่อนและสภาพแวดล้อมอื่น ๆ รวมทั้งปัจจัยส่วนบุคคล เช่น
บุคลิกภาพ ความเชื่อมั่นในตนเอง โอกาสในชิวิต ความรู้เรื่องเพศศึกษา การควบคุมกําเนิด ทัศนคติ
และค่านิยมในเรื่องเพศ
พฤติกรรมทางเพศที่ได้รับอิทธิพลมาจากเพื่อนนั้น พบจากการสํารวจของชลอศรี แดง
เปี่ยม และประยงค์ ลิ้มตระกูล ในปี พ.ศ. ๒๕๒๖ (อ้างใน ปวีณา สายสูง ๒๕๔๑, ๗๔) เรื่องปัจจัย
ส่งเสริม พฤติกรรมทางเพศที่มีต่อการเป็นกามโรคของเด็กวัยรุ่นชาย ในอําเภอเมืองจังหวัด
เชียงใหม่ พบว่า กลุ่มเพื่อนมีอิทธิพลต่อการปฏิบัติพฤติกรรมทางเพศที่มีผลต่อการเป็นกามโรคของ
เด็กชายวัยรุ่นในจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ วิภาภรณ์ ปัญญาดี (๒๕๓๕ อ้างใน
ปวีณา สายสูง ๒๕๔๑,๗๕) เรื่องความตั้งใจในการปฏิบัติตนในการป้องกันโรคเอดส์ของนักเรียนมัธยม
ปลายในจังหวัดเชียงรายพบว่า กลุ่มเพื่อนและการคล้อยตามกลุ่มเพื่อนมีอิทธิพลโดยตรงต่อความ
ตั้งใจในการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันโรคเอดส์ของนักเรียนมากที่สุด โดยพบว่านักเรียนมัธยมตอนปลายมี
การปรึกษาปัญหาในการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันโรคเอดส์กับเพื่อนร้อยละ ๗๐
๕. ภาวะซึมเศร้า/การฆ่าตัวตาย
อาการซึมเศร้าที่เกิดกับวัยรุ่นและมีผลถึงขั้นกระทําความรุนแรงหรือทําร้ายชีวิตตนเองได้
มักจะเป็นความซึมเศร้าที่เกิดกับความรู้สึกเสียดาย น้อยใจ พลาดหวัง (นิตยา กัทลีรดะพันธ์
๒๕๔๑,๔๖) มักจะเป็นเรื่องที่เกิดกับวัยรุ่นเองโดยตรง เช่น อกหัก ถูกแฟนทิ้ง ถูกหลอก ทะเลาะกับ
คนรัก แพ้กีฬา สอบตกหรือได้คะแนนไม่เป็นที่น่าพอใจ ฯลฯ อาการเศร้าเหล่านี้ ถ้าได้รับการ
ปลอบโยนให้กําลังใจ ก็จะไม่ผลกระทบรุนแรงเกิดขึ้นแต่ในทางตรงกันข้าม หากบุคคลใกล้ชิด
ประนามซ้ําเติมและไม่การถนอมน้ําใจ ก็จะเป็นชนวนให้เกิดผลร้ายสะสมรุนแรงถึงขั้นคิดฆ่าตัวตายได้
การฆ่าตัวตายนับว่าเป็นปัญหาสําคัญปัญหาหนึ่งของเด็กวัยรุ่น พบว่า ปัญหาการตัวตายใน
วัยรุ่นทวีความรุนแรงขึ้น ดังสถิติรายงานของประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี ค.ศ. ๑๙๙๒ พบว่าการฆ่า
ตัวตายเป็นสาเหตุการตายอับดับที่ ๓ ในวัยรุ่นอายุ ๑๕–๑๙ ปี โดยมีอัตราการฆ่าตัวตายเท่ากับ ๑๐.๙
ต่อ ๑๐๐,๐๐๐ ประชากร (CDC, ๑๙๘๐–๑๙๙๒) และในปี ค.ศ. ๑๙๙๓ มีรายงานการฆ่าตัวตายถึง
๓๐,๐๐๐ คน (CDC, ๑๙๘๐–๑๙๙๒) ในจํานวนนี้พบว่า เป็นผู้ที่อายุต่ํากว่า ๑๕ ปี จํานวน ๒๕๐ คน
อายุ ๑๕–๒๔ ปี จํานวน ๔,๙๐๐ คน (Blumeenthal ๑๙๙๐ อ้างใน นิตยา กัทลีรดะพันธ์ ๒๕๔๑,
๑๖) ในประเทศไทย จากรายงานที่ผ่านมาพบว่า วัยรุ่นฆ่าตัวตายคิดเป็นสัดส่วนเพิ่มขึ้นจาก 6.8 ต่อ
ประชากรแสนคนในปี พ.ศ. ๒๕๓๐ (กระทรวงสาธารณสุข ๒๕๓๕ อ้างใน จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ
๒๕๔๑,๓๕) ต่อประชากรแสนคนในปี พ.ศ. ๒๕๓๕ (กระทรวงสาธารณสุข ๒๕๓๖ อ้างใน จันทร์เพ็ญ
ชูประภาวรรณ ๒๕๔๑,๓๕) นับว่าปัญหาฆ่าตัวตายในวัยรุ่นเป็นปัญหาที่นํามาซึ่งการสูญเสียบุคลากรที่
เป็นวัยเจริญพันธ์และเป็นกําลังของสังคม
๖. พฤติกรรมต่อต้านสังคม
พฤติกรรมเสี่ยงและทดลองเสี่ยงต่าง ๆ โดยเหตุผลใหญ่ ๆ แล้วก็คือ ความต้องการ
แสดงออกหรือโอ้อวด คึกคะนองตามประสาวัยรุ่น พวกเขาจะมีความเป็นผู้นําอยู่ในตัว แต่วัยรุ่นก็จะ
เป็นพวกที่มีระดับอารมณ์สูง ซึ่งเป็นอารมณ์ความรู้สึกมากเกินปกติ ทั้งจากการกระทําของตนเอง
และเป็นผลกระทบจากการกระทําของผู้อื่น ระดับอารมณ์สูงต่าง ๆ ได้ แก่ ความกลัว ความเกลียด
ความโกรธ ความเศร้าสะเทือนใจ ความวิตกกังวล และความพึงพอใจ
มีการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมทําร้ายผู้อื่นของนักเรียนในเมืองใหญ่ทั่วประเทศ
(นิตยา กัทลีรดะพันธ์ ๒๕๔๑) ที่พบว่า ในกลุ่มเด็กที่เคยทําร้ายผู้อื่น ถ้าเปรียบเทียบกันในกลุ่มอายุ
เดียวกันแล้วพบว่า เด็กกลุ่มอายุ ๑๔ ปี จะก่อเหตุมากกว่าคิดเป็นร้อยละ ๕๔.๕ ของกลุ่มอายุเดียวกัน
เด็กที่อยู่กับพ่อและแม่มีประวัติการทําร้ายร่างกายผู้อื่นมากเป็น ๓ เท่าของเด็กที่ไม่ได้อยู่กับพ่อและ
แม่ เด็กที่มีอยู่กับแม่จะมีพฤติกรรมรุนแรงประเภทนี้มากกว่าเด็กที่อยู่กับพ่อ โดยเด็กที่อยู่กับแม่มี
ประวัติการทําร้ายร่างกายผู้อื่นถึงร้อยละ ๔๔.๔ ในขณะที่เด็กที่อยู่กับพ่อที่เคยทําร้ายร่างกายผู้อื่นมี
ร้อยละ ๔๕.๔ ซึ่งที่เป็นเช่นนี้อาจกล่าวได้ว่า เนื่องจากเด็กอยู่ในความเข้มงวดกวดขันของพ่อหรือแม่
หรือญาติพี่น้องค่อนข้างมาก และได้รับแรงกดดันจากการบังคับหรือการลงโทษ จึงหาทางออกด้วย
การทําร้ายผู้อื่น
จากการวิจัยของ นิตยา กัทรีลดะพันธ์ (๒๕๔๑) ที่พบว่านักเรียนเกือบร้อยละ ๕๐ เคย
เป็นผู้ทําร้ายร่างกายบุคคลอื่น และนักเรียนชายร้อยละ ๕.๖ เคยทําร้ายล่วงเกินทางเพศผู้อื่นส่วน
พฤติกรรมของนักเรียนชายที่ล่วงละเมิดทางเพศต่อบุคคลอื่น คําตอบที่ได้ก็แสดงให้เห็นว่าเป็นการ
กระทําที่เสี่ยงต่อไปถึงพฤติกรรมที่อาจรุนแรงขึ้นได้ เพราะเป็นกลุ่มวัยรุ่นที่คึกคะนอง และส่วนใหญ่อยู่
ในอายุ ๑๗ ปี
พฤติกรรมการทําร้าย คือ การทะเลาะวิวาทในกลุ่มวัยรุ่น ซึ่งมีสาเหตุมาจากสภาวะ
อารมณ์ของวัยรุ่นที่แปรปรวนได้ง่าย ไม่ค่อยระงับอารมณ์ บางคนชอบแสดงอํานาจ พกพาอาวุธ การ
บุกรุกระรานผู้อื่น กลุ่มอื่น ๆ และถ้าอยู่ในภาวะมึนเมาจากเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ก็จะขาดสติ
ยับยั้ง ถ้ามีเหตุปัจจัยอื่นที่ทําให้เกิดความรู้สึกว่าถูกกระทําให้อับอายเสียศักดิ์ศรี ถูกเหยียดหยาม
ประณาม หรือปัญหาถูกแย่งคนรักหรือคนที่ชื่นชอบ แม้แต่เพียงมองหน้าไม่ต้องชะตากันก็นําไปสู่การ
ทะเลาะวิวาททําร้ายร่างกายกันได้ การได้รับแรงกระตุ้นยุยงจากคนรอบข้าง การยึดถือสถาบันเป็น
ใหญ่ ก็เป็นเหตุให้มีการกระทบกระทั่งกันระหว่างกลุ่ม เพราะเชื่อว่าการกระทําเหล่านี้แสดงถึงการรัก
พวกรักพ้อง การทะเลาะวิวาทและทําร้ายร่างกายดังนี้ ส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มนักเรียนชาย ส่วนกลุ่ม
นักเรียนหญิง อาจไม่ถึงขั้นทําร้ายร่างกาย เพียงแต่มีปากมีเสียงโต้เถียง หรือพูดจาเสียดสี หยาบคาย
ต่อกันแล้วก็เลิกลากันไป
จากข้อสังเกตของคณะครูอาจารย์ ที่ได้จากการสัมภาษณ์ครูอาจารย์ที่สอนในโรงเรียนที่
อยู่ในเมืองทั่วประเทศ จํานวน ๓๑ ราย (นิตยา กัทรีลดะพันธ์ ๒๕๔๑) ได้ให้ข้อสังเกตว่า สถานการณ์
เกี่ยวกับการทําร้ายในกลุ่มวัยรุ่นตั้งแต่ปี ๒๕๓๙ เป็นต้นมามีการทะเลาะวิวาทในโรงเรียน เช่น ยก
พวกตีกันระหว่างรุ่นพี่รุ่นน้องมากขึ้น แม้กระทั่งการทะเลาะกันระหว่างโรงเรียนก็มีบ้าง สาเหตุคือ
การไม่เคารพกฎกติกา ไม่รู้จักคําว่ารุ่นพี่รุ่นน้อง เอาแต่อารมณ์มาเป็นเครื่องตัดสิน ไม่มีเหตุผล เหตุ
เกิดจากการเล่นกีฬา การพนัน ชู้สาว ซึ่งพฤติกรรมเช่นนี้มักเกิดขึ้นกับนักเรียนชายเป็นส่วนใหญ่ แต่
ระยะหลังมีบ้างที่เกิดกับนักเรียนหญิงเพราะเรื่องชูสาว
๗. พฤติกรรมเสี่ยงต่อการยุติการเรียน
พฤติกรรมเสี่ยงอย่างหนึ่งของวัยรุ่นคือ การหนีเรียน ซึ่งเป็นพฤติกรรมเริ่มต้นของการ
นําไปสู่การออกจากโรงเรียนกลางคัน หรือเรียนไม่จบมัธยมปลาย การหนีเรียนเป็นการกระทําผิด
กฎระเบียบของ โรงเรียน และเป็นสาเหตุของการไม่มีเวลาเรียนเพียงพอ การขาดข้อมูลในช่วงหนี
เรียน การเรียนไม่ทันเพื่อนคนอื่น ๆ ทําให้เนื้อหาและกระบวนการเรียนไม่ต่อเนื่องกัน เกิดผลการ
เรียนตกต่ํา ไม่อยากเรียน หนีเรียน และเบื่อเรียนมากขึ้น
๘. การใช้ยานพาหนะ
พฤติกรรมเสี่ยงของเด็กนักเรียนมักจะเกิดจากความคึกคะนองและความประมาท (นิตยา
กัทรีลดะพันธ์ ๒๕๔๑) กลุ่มนักเรียนวัยรุ่นที่ขับขี่รถจักรยานยนต์หรือรถยนต์มาโรงเรียน เด็กกลุ่มนี้
จะมีความคึกคะนองในการขับขี่ยวดยาน ใช้ความรวดเร็วสูงและไม่ระมัดระวังหลายคนยังไม่มี
ใบอนุญาตขับขี่และไม่ได้เรียนรู้กฎจราจรให้เข้าใจ คิดว่าการพาหนะใช้หรือสามารถขับขี่ยวดยาน
พาหนะได้เป็นความเท่ห์ แสดงถึงความฐานะร่ํารวย พ่อแม่บางคนก็ตามใจผิด ๆ อนุญาตให้ลูกมีรถ
และขับมาโรงเรียนได้ กรณีที่เสี่ยงต่อชีวิตและการบาดเจ็บที่ระบาดกันในหมู่วัยรุ่นคือ การแข่งขัน
ประลองความเร็วกันในช่วงเวลากลางคืน (ขับรถซิ่ง) อุบัติเหตุส่วนมากจะมาจากรถจักรยานยนต์ และที่
เสี่ยงจากความประมาทอื่น ๆ คือ การไม่สวมหมวกนิรภัย และชอบซ้อนท้ายจักรยานยนต์มากกว่า ๑ คน
บทที่ ๓
วิธีดําเนินการวิจัย
การวิจัยเรื่อง การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุ่นจังหวัดกาญจนบุรี ประจําปี ๒๕๕๔ เป็นการ
วิจัยเชิงสํารวจ (Servey Research) มีวิธีดําเนินการวิจัย ดังนี้
๑. จัดทําโครงการศึกษาวิจัยการเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุ่นจังหวัดกาญจนบุรี
๒. แต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงาน
๓. กระบวนการสร้างแบบสอบถาม (นําแบบสอบถามของสถาบันรามจิตติมาเป็นต้นแบบและ
ปรับปรุง)
๔. การหาประสิทธิภาพของแบบสอบถาม
๕. การเก็บรวบรวมข้อมูล
๖. การวิเคราะห์ข้อมูล
จัดทําโครงการศึกษาวิจัยการเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุ่นจังหวัดกาญจนบุรี
๑. ขั้นเตรียมการและจัดทําโครงการฯ
ศึกษาสภาพแวดล้อมและสถานการณ์การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุ่นจังหวัดกาญจนบุรี
โดยนําข้อมูลที่ได้รับมากําหนดกรอบและแนวทางในการปฏิบัติงาน และจัดทําโครงการศึกษาวิจัยการ
เบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุ่นจังหวัดกาญจนบุรี เสนอขออนุมัติโครงการฯ และขอคําปรึกษาท่านประ
ยุธ โอสธีรกุล วัฒนธรรมจังหวัดกาญจนบุรี เกี่ยวกับกลุ่มเป้าหมาย วัตถุประสงค์และแนวทางการ
ดําเนินงานการวิจัย
๒. แต่งตั้งกรรมการดําเนินงาน
งานเฝ้าระวังทางวัฒนธรรม กลุ่มยุทธศาสตร์และแผนงาน สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัด
กาญจนบุรี ดําเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงาน ซึ่งเป็นนักวิชาการวัฒนธรรม ที่ได้รับมอบหมาย
เป็นผู้ประสานงาน ในการจัดเก็บข้อมูลผู้วิจัยได้ดําเนินการจัดเก็บด้วยตนเองและมอบหมายเครือข่าย
ทางวัฒนธรรม นักเรียน นักศึกษาที่กําลังศึกษาอยู่ในสถาบันเป้าหมาย เพื่อดําเนินการจัดเก็บข้อมูล
และนําข้อมูลมาจัดเรียง วิเคราะห์ และแปลผล
๓. กระบวนการสร้างแบบสอบถาม
๒.๑ ขั้นเตรียมการ
ศึกษาวัตถุประสงค์ เนื้อหา สภาพปัจจุบันปัญหาของการวิจัยเพื่อนําไปตั้งคําถามและ
ตัวเลือกตอบ
๒.๒ ขั้นการสร้างแบบสอบถาม (นําแบบสอบถามของสถาบันรามจิตติมาเป็นต้นแบบและ
ปรับปรุง)
สร้างแบบสอบถาม ให้ครอบคลุมเนื้อหา และวัตถุประสงค์ ข้อคําถามมีทั้ง หมด ๕
ตอน ดังนี้
ตอนที่ ๑ สอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ชนิดเลือกตอบ
ทั้งหมด ๑๐ ข้อ
ตอนที่ ๒ สอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมที่มีต่อบุหรี่ เครื่องดื่มที่ผสมแอลกอฮอล์ การ
พนัน การก่อความไม่สงบในพื้นที่ พฤติกรรมสื่อและการใช้เทคโนโลยี ชนิดเลือกตอบ ทั้งหมด ๔๖ ข้อ
ตอนที่ ๓ สอบถามเกี่ยวกับการควบคุมตนเอง ชนิดเลือกตอบ ตามระดับความเป็นจริง
๕ ระดับ ทั้งหมด ๓๓ ข้อ
ตอนที่ ๔ สอบถามเกี่ยวกับความคิดเห็นต่อการใช้บริการสถานเริงรมย์ ชนิด
เลือกตอบตามระดับความคิดเห็น ๕ ระดับ ทั้งหมด ๑๒ ข้อ
ตอนที่ ๕ สอบถามเกี่ยวกับความคิดเห็นต่อการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ชนิด
เลือกตอบตามระดับความคิดเห็น ๕ ระดับ ทั้งหมด ๑๑ ข้อ
และชนิดเติมคํา โดยให้คําแนะนําเพิ่มเติม เป็นคําถามปลายเปิด
การให้ค่าน้ําหนักคะแนน ดังนี้
ตอนที่ ๑ เป็นค่าร้อยละ
ตอนที่ ๒-๕ เป็นมาตราส่วนประมาณค่าตามแนวคิดของ ลิเคอร์ท (Likert Five Rating)(อ้าง
ในพวงรัตน์ ทวีรัตน์ ๒๕๓๘:๑๐๗–๑๐๘)กําหนดค่าคะแนนของช่วงน้ําหนักออกเป็น๕ระดับคือ
น้ําหนัก ๕ หมายถึง ความคิดเห็นและระดับความเป็นจริง อยู่ในระดับมากที่สุด
น้ําหนัก ๔ หมายถึง ความคิดเห็นและระดับความเป็นจริง อยู่ในระดับมาก
น้ําหนัก ๓ หมายถึง ความคิดเห็นและระดับความเป็นจริง อยู่ในระดับปานกลาง
น้ําหนัก ๒ หมายถึง ความคิดเห็นและระดับความเป็นจริง อยู่ในระดับน้อย
น้ําหนัก ๑ หมายถึง ความคิดเห็นและระดับความเป็นจริง อยู่ในระดับน้อยที่สุด
สําหรับการแปลความหมายของค่าคะแนนตามเกณฑ์ประเมินค่า ใช้แนวทางของเบสท์ (Best ๑๙๘๖
: ๑๘๒) ดังนี้
คะแนนเฉลี่ยระหว่าง ๔.๕๐ - ๕.๐๐ หมายถึง ความคิดเห็นและระดับความเป็นจริง
อยู่ในระดับมากที่สุด
คะแนนเฉลี่ยระหว่าง ๓.๕๐ - ๔.๔๙ หมายถึง ความคิดเห็นและระดับความเป็นจริง
อยู่ในระดับมาก
คะแนนเฉลี่ยระหว่าง ๒.๕๐ - ๓.๔๙ หมายถึง ความคิดเห็นและระดับความเป็นจริง
อยู่ในระดับปานกลาง
คะแนนเฉลี่ยระหว่าง ๑.๕๐ - ๒.๔๙ หมายถึง ความคิดเห็นและระดับความเป็นจริง
อยู่ในระดับน้อย
คะแนนเฉลี่ยระหว่าง ๑.๐๐ - ๑.๔๙ หมายถึง ความคิดเห็นและระดับความเป็นจริง
อยู่ในระดับน้อยที่สุด
ซึ่งแบบสอบ ทั้ง ๑๑๓ ข้อ นําเสนอที่ปรึกษา อาจารย์ ดร.สุริยงค์ ชวนขยัน มหาวิทยาลัยราชภัฎ
กาญจนบุรี อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ตรวจสอบความถูกต้อง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนที่กําลังศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษา ทั้งในระบบ
ในโรงเรียนและนอกโรงเรียนทั้งสายสามัญและสายอาชีพ สถานศึกษาที่เปิดการเรียนการสอนขยาย
โอกาสทางการศึกษาและระดับมัธยมของจังหวัดกาญจนบุรี จํานวนนักเรียน ทั้งสิ้น ๒๓,๙๘๓ คน
กลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนนักศึกษาที่กําลังศึกษาอยู่ในระดับมัธยม ตอนต้น
– ตอนปลาย-อุดมศึกษา จํานวนนักเรียน ๕,๐๐๐ คน ได้มาโดยวิธีเจาะจงเลือก (Purposive
Sampling)
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ โปรแกรม SPSS For window
ตอนที่ ๑ สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตารางที่ ๑ สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
รายการ
N= ๕,๐๐๐
ลําดับที่
จํานวน X
เพศ
ชาย
หญิง
๑๒๗๘
๓๗๒๒
๒๓.๔
๖๘.๒๐
๒
๑
อายุ
๑๓ - ๑๕ ปี
๑๖ - ๑๘ ปี
๑๙ - ๒๑ ปี
๒๔ - ๒๕ ปี
๒๓๙๑
๒๔๒๖
๘๐
๑๐๓
๔๓.๘
๔๔.๔
๑.๕
๑.๘
๒
๑
๔
๓
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน

Contenu connexe

Tendances

แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล natdhanai rungklin
 
แบบสอบถามการติดเกมออนไลน์ของวัยรุ่น
แบบสอบถามการติดเกมออนไลน์ของวัยรุ่นแบบสอบถามการติดเกมออนไลน์ของวัยรุ่น
แบบสอบถามการติดเกมออนไลน์ของวัยรุ่นNutchaporn Kanchanakorn
 
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์niralai
 
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา ส๒๓๑๐๓
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา  ส๒๓๑๐๓โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา  ส๒๓๑๐๓
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา ส๒๓๑๐๓ไพบููลย์ หัดรัดชัย
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆLooktan Kp
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดA-NKR Ning
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
งานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนงานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนSukanya Polratanamonkol
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
ความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาค
ความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาคความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาค
ความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาคMintraMarisa
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นพจีกานต์ หว่านพืช
 
เฉลยแนวข้อสอบ GAT Eng 2565 (อังกฤษ)
เฉลยแนวข้อสอบ GAT Eng 2565 (อังกฤษ)เฉลยแนวข้อสอบ GAT Eng 2565 (อังกฤษ)
เฉลยแนวข้อสอบ GAT Eng 2565 (อังกฤษ)Non Phakanon
 

Tendances (20)

แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
 
แบบสอบถามการติดเกมออนไลน์ของวัยรุ่น
แบบสอบถามการติดเกมออนไลน์ของวัยรุ่นแบบสอบถามการติดเกมออนไลน์ของวัยรุ่น
แบบสอบถามการติดเกมออนไลน์ของวัยรุ่น
 
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
 
สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์
 
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา ส๒๓๑๐๓
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา  ส๒๓๑๐๓โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา  ส๒๓๑๐๓
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา ส๒๓๑๐๓
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
แผนการสอนที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพ
แผนการสอนที่ 2  เรื่อง สัมพันธภาพแผนการสอนที่ 2  เรื่อง สัมพันธภาพ
แผนการสอนที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพ
 
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวันภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
งานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนงานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียน
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
อำลา อาลัย จากใจครู
อำลา  อาลัย  จากใจครูอำลา  อาลัย  จากใจครู
อำลา อาลัย จากใจครู
 
ความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาค
ความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาคความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาค
ความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาค
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
 
เฉลยแนวข้อสอบ GAT Eng 2565 (อังกฤษ)
เฉลยแนวข้อสอบ GAT Eng 2565 (อังกฤษ)เฉลยแนวข้อสอบ GAT Eng 2565 (อังกฤษ)
เฉลยแนวข้อสอบ GAT Eng 2565 (อังกฤษ)
 

Similaire à แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน

ภาษาพาเราก้าวไกล
ภาษาพาเราก้าวไกลภาษาพาเราก้าวไกล
ภาษาพาเราก้าวไกลFreesia Gardenia
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1Taraya Srivilas
 
ไอเอส1
ไอเอส1ไอเอส1
ไอเอส10866589628
 
ภารกิจคนจนในการฟื้นฟูประชาธิปไตย
ภารกิจคนจนในการฟื้นฟูประชาธิปไตยภารกิจคนจนในการฟื้นฟูประชาธิปไตย
ภารกิจคนจนในการฟื้นฟูประชาธิปไตยweeraboon wisartsakul
 
เรื่อง การใช้อินเตอร์เน็ตอย่างพอพียง
เรื่อง    การใช้อินเตอร์เน็ตอย่างพอพียงเรื่อง    การใช้อินเตอร์เน็ตอย่างพอพียง
เรื่อง การใช้อินเตอร์เน็ตอย่างพอพียงpalmmy545
 
สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานีTaraya Srivilas
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD_RSU
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2krupornpana55
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุคKruBeeKa
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตTor Jt
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมBoonlert Aroonpiboon
 
Social network and_ir
Social network and_irSocial network and_ir
Social network and_irTeeranan
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศonthicha1993
 
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ  คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ  คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗นายจักราวุธ คำทวี
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยกฤตพร สุดสงวน
 
10151 ไทยศึกษา (ถอดคำบรรยาย)
10151 ไทยศึกษา (ถอดคำบรรยาย)10151 ไทยศึกษา (ถอดคำบรรยาย)
10151 ไทยศึกษา (ถอดคำบรรยาย)Khwanchai Phunchanat
 
กลุ่มประชากรที่นิยมเดินเซ็นทรัลพลาซ่าขอนแก่นมากที่สุดดด
กลุ่มประชากรที่นิยมเดินเซ็นทรัลพลาซ่าขอนแก่นมากที่สุดดดกลุ่มประชากรที่นิยมเดินเซ็นทรัลพลาซ่าขอนแก่นมากที่สุดดด
กลุ่มประชากรที่นิยมเดินเซ็นทรัลพลาซ่าขอนแก่นมากที่สุดดดNaus' Ntp
 

Similaire à แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน (20)

ภาษาพาเราก้าวไกล
ภาษาพาเราก้าวไกลภาษาพาเราก้าวไกล
ภาษาพาเราก้าวไกล
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1
 
เบญจศีล
เบญจศีลเบญจศีล
เบญจศีล
 
ไอเอส1
ไอเอส1ไอเอส1
ไอเอส1
 
5
55
5
 
ภารกิจคนจนในการฟื้นฟูประชาธิปไตย
ภารกิจคนจนในการฟื้นฟูประชาธิปไตยภารกิจคนจนในการฟื้นฟูประชาธิปไตย
ภารกิจคนจนในการฟื้นฟูประชาธิปไตย
 
เรื่อง การใช้อินเตอร์เน็ตอย่างพอพียง
เรื่อง    การใช้อินเตอร์เน็ตอย่างพอพียงเรื่อง    การใช้อินเตอร์เน็ตอย่างพอพียง
เรื่อง การใช้อินเตอร์เน็ตอย่างพอพียง
 
สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานี
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
 
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seekerรายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
 
Social network and_ir
Social network and_irSocial network and_ir
Social network and_ir
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ  คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ  คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
10151 ไทยศึกษา (ถอดคำบรรยาย)
10151 ไทยศึกษา (ถอดคำบรรยาย)10151 ไทยศึกษา (ถอดคำบรรยาย)
10151 ไทยศึกษา (ถอดคำบรรยาย)
 
กลุ่มประชากรที่นิยมเดินเซ็นทรัลพลาซ่าขอนแก่นมากที่สุดดด
กลุ่มประชากรที่นิยมเดินเซ็นทรัลพลาซ่าขอนแก่นมากที่สุดดดกลุ่มประชากรที่นิยมเดินเซ็นทรัลพลาซ่าขอนแก่นมากที่สุดดด
กลุ่มประชากรที่นิยมเดินเซ็นทรัลพลาซ่าขอนแก่นมากที่สุดดด
 

Plus de สำเร็จ นางสีคุณ

แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsแบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการสำเร็จ นางสีคุณ
 
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนPpt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์ ป.6
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์  ป.6แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์  ป.6
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์ ป.6สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้นแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้นสำเร็จ นางสีคุณ
 

Plus de สำเร็จ นางสีคุณ (20)

ของเล่นทำให้เกิดเสียง
ของเล่นทำให้เกิดเสียงของเล่นทำให้เกิดเสียง
ของเล่นทำให้เกิดเสียง
 
สาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรมสาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรม
 
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsแบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
 
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนPpt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
 
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์ ป.6
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์  ป.6แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์  ป.6
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์ ป.6
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้นแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
 
Tutur(biology)0 net 2
Tutur(biology)0 net 2Tutur(biology)0 net 2
Tutur(biology)0 net 2
 

แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน

  • 1. การศึกษาวิจัย การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุ่นจังหวัดกาญจนบุรี ประจําปี ๒๕๕๔ โดย กลุ่มยุทธศาสตร์และเฝ้าระวังทางวัฒนธรรม งานวิจัยเล่มนี้ เป็นส่วนหนึ่งของโครงการเฝ้าระวังทางวัฒนธรรม สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดกาญจนบุรี เอกสารลําดับที่ ๑๕ /๒๕๕๔
  • 2. คํานํา ด้วยปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครองและ วัฒนธรรม ประเทศไทยเป็นส่วนหนึ่งในสังคมโลกที่เปิดกว้างในการสัมพันธ์ติดต่อกับนานาประเทศมา เป็นเวลานานหลายปีตั้งแต่อดีตที่บรรพบุรุษได้ค้าขายกับชาวต่างประเทศ สังคมไทยจึงรับอิทธิพลของ อารยธรรมภายนอกอย่างต่อเนื่องตลอดมา จากการที่รับอิทธิพลของอารยธรรมภายนอกดังกล่าว ส่งผลกระทบให้เกิดการเปลี่ยนแปลงวีถีชีวิตของคนไทยได้อย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคปัจจุบันโลก ได้เข้าสู่ยุคข่าวสาร ข้อมูลความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และกระแสของระบบทุนนิยม ที่ทวีความ รุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ สถานการณ์ที่กล่าวมาย่อมส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยอย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้ สิ่งที่ปรากฏชัดเจนขึ้น คือ การเปลี่ยนแปลงของสังคมทางด้านวัฒนธรรม และวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ และเมื่อผนวกกับการที่สังคมไทยในยุคนี้มีการพัฒนา ไปอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้ ค่านิยม วัฒนธรรมอันดีงามเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ไม่พึงประสงค์โดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่น สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดกาญจนบุรี ตระหนักถึงปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นในปัจจุบันและให้ ความสําคัญแก่เด็กและเยาวชนในจังหวัดกาญจนบุรี จึงได้จัดทําโครงการศึกษาวิจัยการเบี่ยงเบน พฤติกรรมของวัยรุ่นจังหวัดกาญจนบุรี ประจําปี ๒๕๕๔ ขึ้น เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการ เบี่ยงเบนพฤติกรรมอันก่อให้เกิดปัญหาสังคมในปัจจุบัน เช่น การประพฤติตนไม่เหมาะสม ปัญหาการ มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ปัญหายาเสพติด ฯลฯ ผลการวิจัยที่พบจะนําเสนอผู้ที่เกี่ยวข้องและจัด กิจกรรมรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหา ดังกล่าว การศึกษาวิจัยการเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุ่นจังหวัดกาญจนบุรี ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่งของโครงการเฝ้าระวังทางวัฒนธรรม สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดกาญจนบุรี และหวังว่าคง ได้ จะเป็นโยชน์แก่ผู้ที่สนใจและใฝ่รู้ ตามสมควร สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดกาญจนบุรี กันยายน ๒๕๕๔
  • 3. สารบัญ คํานํา……………………………………………………………………………………………………………………………………… บทที่ ๑. บทนํา…………………………………………………………………………………………………………………… ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา ๑ วัตถุประสงค์การวิจัย ๒ ขอบเขตการวิจัย ๒ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ๓ นิยามศัพท์เฉพาะ ๓ ๒. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง……………………………………………………………………………… พัฒนาการของวัยรุ่น ๔ พัฒนาการทางสังคม ๕ แนวคิดพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่นและรายงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ๖-๑๐ ๓. วิธีดําเนินการวิจัย จัดทําโครงการศึกษาวิจัยการเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุ่น ๑๑–๑๒ ตอนที่ ๑ สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ๑๓-๑๕ ตอนที่ ๒ แบบสอบถามพฤติกรรมที่มีต่อบุหรี่ ๑๖-๑๗ พฤติกรรมที่มีต่อการพนัน ๑๘-๒๐ พฤติกรรมที่มีต่อความเสี่ยงบนท้องถนนและการก่อความไม่สงบ ๒๑-๒๔ พฤติกรรมสื่อและการใช้เทคโนโลยี ๒๕-๒๖ พฤติกรรมที่มีต่อเรื่องเพศสัมพันธ์และการประพฤติตนไม่เหมาะสม๒๗-๒๘ ตอนที่ ๓ แบบสอบถามเกี่ยวกับการควบคุมตนเอง ๒๙-๓๗ ตอนที่ ๔ แบบสอบถามเกี่ยวกับความคิดเห็นต่อการใช้บริการสถานเริงรมย์ ๓๘-๔๒ ตอนที่ ๕ แบบสองถามเกี่ยวกับความเห็นต่อการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ๔๓-๔๕
  • 4. ๔. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตารางที่ ๑ การวิเคราะห์สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ๔๖–๕๐ ตารางที่ ๒ การวิเคราะห์พฤติกรรมต่อบุหรี่ เครื่องดื่มที่ผสมแอลกอฮอล์ ๕๑–๕๔ ตารางที่ ๓ การวิเคราะห์พฤติกรรมที่มีต่อการพนัน ๕๕–๕๖ ตารางที่ ๔ การวิเคราะห์พฤติกรรมที่มีต่อความเสี่ยงบนท้องถนนและ ๕๗-๖๑ ตารางที่ ๕ การวิเคราะห์พฤติกรรมสื่อและการใช้เทคโนโลยี ๖๒–๖๔ ตารางที่ ๖ การวิเคราะห์พฤติกรรมที่มีต่อเรื่องเพศสัมพันธ์และ การประพฤติตนไม่เหมาะสมแก่วัยอันควร ๖๕–๖๗ ตารางที่ ๗ การวิเคราะห์การควบคุมตนเอง ๖๘–๗๙ ตารางที่ ๘ การวิเคราะห์สถานเริงรมย์ ๘๐–๘๔ ตารางที่ ๙ การวิเคราะห์ความเห็นต่อการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ๘๕–๘๙ ๕. สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ สรุปผลการวิจัย,อภิปรายผล ๙๐–๙๓ ข้อเสนอแนะ ๙๔ ภาคผนวก
  • 5. บทที่ ๑ บทนํา ๑. ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา ด้วยปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงทาง ด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครองและ วัฒนธรรม ประเทศไทยเป็นส่วนหนึ่งในสังคมโลกที่เปิดกว้างในการสัมพันธ์ติดต่อกับนานาประเทศมา เป็นเวลานานหลายปีตั้งแต่อดีตที่บรรพบุรุษได้ค้าขายกับชาวต่างประเทศ สังคมไทยจึงรับอิทธิพลของ อารยธรรมภายนอกอย่างต่อเนื่องตลอดมา จากการที่รับอิทธิพลของอารยธรรมภายนอกดังกล่าว ส่งผลกระทบให้เกิดการเปลี่ยนแปลงวีถีชีวิตของคนไทยได้อย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคปัจจุบันโลก ได้เข้าสู่ยุคข่าวสาร ข้อมูลความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และกระแสของระบบทุนนิยม ที่ทวีความ รุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ สถานการณ์ที่กล่าวมาย่อมส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยอย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้ สิ่งที่ปรากฏชัดเจนขึ้น คือ การเปลี่ยนแปลงของสังคมที่มีอยู่ตลอดเวลาและเป็นไป อย่างรวดเร็ว และเมื่อผนวกกับการที่สังคมไทยในยุคนี้มีการพัฒนาทั้งในลักษณะของสังคม เกษตรกรรมตามรากฐานเดิมเปลี่ยนมาเป็นสังคมอุตสาหกรรม ในขณะที่ยังขาดความพร้อมในการเตรียม ประชากรให้สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลง การพัฒนาที่กล่าวมานั้น มีทิศทางการพัฒนาที่ให้ความสําคัญด้านเศรษฐกิจมากกว่า ด้าน สังคมจึงเป็นผลทําให้สังคมมีความแตกต่างของฐานะของคนในสังคม คนไทยกลายเป็นนักบริโภคนิยม และวัตถุนิยม รวมทั้งมีความเป็นปัจเจกมากขึ้น เกิดความขัดแย้งในรูปแบบการดํารงชีวิต ชีวิตใน ชนบทมีการเปลี่ยนแปลงเป็นชีวิตของคนเมืองมากขึ้น ผลกระทบที่เกิดขึ้นตามมาซึ่งทําให้ทุกฝ่ายในสังคมมีความกังวลก็คือปัญหาทางสังคม วัฒนธรรมที่เกิดขึ้นโดยตลอดในรูปแบบต่าง ๆ และในความรุนแรงหลายระดับ อาทิ ปัญหาครอบครัวที่ พบว่าเด็กห่างเหินจากครอบครัวและอยู่ในสภาพครอบครัวแตกแยกมากขึ้น ปัญหาด้านความเสื่อมทาง จริยธรรมที่พบว่า มีแนวโน้มที่ห่างไกลจากสถาบันศาสนาและขาดที่พึ่งทางใจมากขึ้นปัญหาเรื่องการมี เพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรที่กลายเป็นค่านิยมเสรีทางเพศในเด็กวัยรุ่นจํานวนมากขึ้น ปัญหาความ รุนแรงการใช้กําลังทําร้ายกันระหว่างกลุ่มนักเรียน นักศึกษา วัยรุ่น ปัญหาการเสพสื่อลามกอนาจาร ปัญหาค่านิยม การบริโภค ตลอดจนปัญหายาเสพติด ซึ่งปัญหาทั้งหลายเหล่านี้ทําให้เห็นถึงวัฒนธรรม ทั้งในส่วนของมรดกทางศิลปวัฒนธรรม ( Cultural Heritage) และวีถีชีวิตวัฒนธรรม (Living Culture) ที่เปลี่ยนแปลงหรือเบี่ยงเบนทางวัฒนธรรมจนอาจสรุปได้ว่าสังคมไทยกําลังดําเนินชีวิตอย่าง ขาด รากฐานทางวัฒนธรรมที่ดีงาม ภายใต้สภาวการณ์การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีสารสนเทศตามลักษณะของ โลกยุคการสื่อสารไร้พรมแดนในปัจจุบัน เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปว่านอกจากจะนํามาซึ่งข้อมูลอันเป็น ประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศแล้วยังมีส่วนหนึ่งที่นํามาซึ่งปัญหาทางสังคม และวัฒนธรรม นานัปการ กล่าวคือด้านบวก สื่อมีความรู้มากมายหลายสาขาที่ส่งผ่านเครือข่ายไปทั่วโลก
  • 6. เปรียบเสมือนหอสมุดขนาดใหญ่ของโลกที่สามารถเรียนรู้ได้ตลอดเวลาไม่มีที่สิ้นสุดรวมทั้งข่าวสาร ข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์ของโลกที่เกิดขึ้นทุกขณะสามารถสื่อสารไปยังทุกแห่งในโลกจนสามารถรับรู้ และติดตามได้ในเวลาเดียวกัน นอกจากนี้ผลิตของงานสื่อสารมวลชน ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมวัฒนธรรม ประเภทหนึ่ง เช่น ภาพยนตร์ โทรทัศน์ เป็นต้น สามารถทํารายได้อย่างมากมายและเป็นมูลค่าทาง เศรษฐกิจที่สูงอย่างมีนัยสําคัญ ในขณะเดียวกันก็เป็นสื่อที่สามารถถ่ายทอด สาระความรู้ในเรื่อง วัฒนธรรม รวมทั้งการชี้นําสังคมในทิศทางที่ถูกต้องและดีงามได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงนับได้ว่าสื่อ เป็นสิ่งทั้งสาระวัฒนธรรมและสื่อถ่ายทอดทางวัฒนธรรมได้ในขณะเดียวกันส่วนในด้านลบสื่อข้ามชาติ ได้ขยายขอบเขตไปทั่งโลก และแผ่อิทธิพลอย่างกว้างขวาง ด้านเงินทุน วัตถุนิยม บริโภคนิยมโดยมี เป้าหมายในการแสวงหาผลประโยชน์มากมายมหาศาล สื่อเหล่านั้นครอบงําและชี้นําสังคมจนส่งผล กระทบต่อความคิดจิตสํานึกผ่านความรู้ ข่าวสาร และวัฒนธรรม เป็นผลให้วัฒนธรรมการบริโภคและ วัฒนธรรมตะวันตกแพร่ไปทั่วโลก ทําให้วัฒนธรรมท้องถิ่นลดบทบาทลง การเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจการเมืองการปกครอง สังคมและวัฒนธรรม รวมถึงการ เปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ ความคิด วิถีชีวิต ความเชื่อ และพฤติกรรมของคนในสังคมไทยในทุกเพศทุก วัย เป็นผลมาจากภาวะเศรษฐกิจที่บีบรัด ค่านิยมของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป และวิวัฒนาการทาง เทคโนโลยีต่าง ๆในสังคม ส่งผลกระทบถึงการเรียนรู้และการดําเนินชีวิตของเด็กวัยรุ่นที่อยู่ใน ช่วงวัย ของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ทําให้วัยรุ่นต้องเผชิญกับความกดดันจากภาวะต่าง ๆ ที่แวดล้อม ตนเอง และผู้คนที่หาผลประโยชน์จากพวกเขา ได้ผลักดันให้เด็กวัยรุ่นเดินเข้าสู่พฤติกรรมเสี่ยงต่าง ๆ มากมาย เช่น การเสพสิ่งเสพติด พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การใช้ยานพาหนะโดยประมาท การ ทะเลาะวิวาท ภาวะ ซึมเศร้าและการฆ่าตัวตาย ซึ่งนับว่าเป็นปัญหาสังคมที่ต้องได้รับการแก้ไขอย่าง เร่งด่วน สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดกาญจนบุรี โดยงานเฝ้าระวังทางวัฒนธรรม ได้เห็นความสําคัญ ของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทําโครงการศึกษาวิจัยการเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุ่นจังหวัดกาญจนบุรี ประจําปี ๒๕๕๔ ขึ้น เพื่อศึกษาถึงปัจจัยและระดับความคิดเห็นของนักเรียน นักศึกษา ในจังหวัด กาญจนบุรี และนําผลการวิจัยไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนา การจัดกิจกรรมทางด้านวัฒนธรรมเพื่อ ส่งเสริมและสนับสนุนการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ต่อไป ๒. วัตถุประสงค์การวิจัย ๒.๑ เพื่อจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมวัยรุ่น ๒.๒ เพื่อนําข้อมูลที่ได้รับมาวิเคราะห์และศึกษาแนวโน้มพฤติกรรมของวัยรุ่นใน อนาคต ๒.๓ เพื่อนําผลการวิจัยมาปรับปรุง และ พัฒนางานวัฒนธรรมโดยจัดกิจกรรมด้าน วัฒนธรรม
  • 7. ๓. ขอบเขตการวิจัย เพื่อให้การวิจัยเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้ ผู้วิจัยกําหนดขอบเขตการวิจัย ดังนี้ ๑. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียน นักศึกษา และเยาวชน ที่กําลังศึกษา อยู่ในจังหวัดกาญจนบุรี ประจําปี ๒๕๕๔ จํานวน ทั้งสิ้น ๒๓,๙๘๓ คน ผู้วิจัยใช้วิธีเลือกกลุ่ม ตัวอย่าง จํานวน ๕,๐๐๐ คน แบบเจาะจงเลือก (Purposive Sampling) ๒. ตัวแปรที่ศึกษา ๒.๑ ตัวแปรอิสระ ได้แก่ ๒.๑.๑ เพศ ๒.๑.๒ อายุ ๒.๑.๓ ระดับการศึกษา ๒.๑.๔ นับถือศาสนา ๒.๑.๕ อาชีพของบิดา ๒.๑.๖. อาชีพของมารดา ๒.๑.๗ สถานภาพการสมรสของบิดามารดา ๒.๑.๘ ข้อมูลเกี่ยวกับบิดา – มารดา ๒.๑.๙ ปัจจุบันพักอาศัยอยู่กับใคร ๒.๑.๑๐ ผลการเรียนเฉลี่ยของท่านเมื่อสิ้นสุดภาคเรียนที่ผ่านมาได้เท่าไร ๒.๒ ตัวแปรตาม ได้แก่ ๒.๒.๑ พฤติกรรม ต่อ บุหรี่,เครื่องดื่มที่ผสมแอลกอฮอล์ ,การพนัน , ความรัก ,การก่อความไม่สงบในพื้นที่, การใช้เทคโนโลยี ๒.๒.๒ การควบคุมตนเอง ๒.๒.๓ ความคิดเห็นต่อการใช้บริการสถานเริงรมย์ ๒.๒.๔ ความคิดเห็นต่อการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร นิยามศัพท์เฉพาะ พฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น หมายถึง การปฏิบัติที่ทําให้เสี่ยงต่อการเสียชีวิต พิการ ทุพพล ภาพ เกิดผลเสียต่อสุขภาพอนามัยทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งพฤติกรรมเสี่ยงเหล่านี้คือ การติดยาเสพ ติด การมีเพศสัมพันธ์ที่เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ การติดเชื้อโรคทางเพศสัมพันธ์ หรือโรค เอดส์ การเสียชีวิตหรืออวัยวะจากอุบัติเหตุ การฆ่าตัวตาย เป็นต้น ทุนทางสังคม (Social Assets) หมายถึง ตามความหมายที่แสดงไว้ในพจนานุกรม หมายความถึง ทรัพย์สิน บุคคล หรือสิ่งของที่มีค่ามีประโยชน์ วัยรุ่น หมายถึง นักเรียน นักศึกษา เยาวชนในจังหวัดกาญจนบุรี อายุตั้งแต่ ๑๐ ปี - ๒๑ ปี ที่อาศัยอยู่ที่จังหวัดกาญจนบุรี
  • 8. บทที่ ๒ วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง วัยรุ่นนั้นเป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างสําคัญในทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นร่างกาย อารมณ์ และสังคม เพื่อการเรียนรู้ที่จะผ่านช่วงของวัยเด็กที่ต้องพึ่งผู้อื่นไปสู่วัยผู้ใหญ่ที่สามารถพึ่งตนเองได้ ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้จึงเป็นการเปลี่ยนแปลงในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ก่อให้เกิดความเพลี่ยง พล้ําได้ง่าย การเรียนรู้ที่จะเติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่อย่างมีคุณภาพจึงจําเป็นต้องเรียนรู้พร้อมกันไปในทุก ด้านของการเปลี่ยนแปลงและการเจริญเติบโตตามธรรมชาติของวัยดังกล่าว ซึ่งการเจริญเติบโตของ วัยรุ่นจะมีลักษณะ ดังนี้ พัฒนาการของวัยรุ่น วัยรุ่น (Adolescence) มีรากศัพท์มาจากภาษาลาติน คือ Adolescere ซึ่งหมายความว่า เจริญเติบโตไปสู่วุฒิภาวะ (to grow into maturity) ซึ่งคําว่าวุฒิภาวะหมายถึง สภาพความเป็น ผู้ใหญ่ หรือเป็นสภาวะสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา องค์การ อนามัยโลกได้ให้ความหมายของวัยรุ่นว่าเป็นผู้มีลักษณะ ๓ ประการ คือ มีการพัฒนาทางด้านร่างกาย จะมีการเจริญเติบโตในด้านความสูง น้ําหนัก รวมถึงเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงของอวัยวะเพศจนกระทั่งมีวุฒิ ภาวะทางเพศอย่างสมบูรณ์ พัฒนาการทางด้านจิตใจ มีการเพิ่มความสามารถในความคิดเป็น นามธรรมมากขึ้นและมีการเปลี่ยนแปลงจากเด็กเป็นผู้ใหญ่ และพัฒนาการด้านสังคม จากการพึ่งพา ผู้อื่นในครอบครัวเป็นการ พึ่งพาตนเอง ไนสไตน์ (Neinstein ๑๙๙๖) ได้แบ่งวัยรุ่นโดยแยกเพศเอาไว้เป็น ๓ ระยะ คือ ๑) วัยรุ่นตอนต้น (early adolescence) เพศชายอายุ ๑๒–๑๔ ปี และเพศ หญิงอายุ ๑๐–๑๓ ปี ๒) วัยรุ่นตอนกลาง (middle adolescence) เพศชายอายุ ๑๔–๑๗ ปี และ เพศหญิงอายุ ๑๓–๑๖ ปี ๓) วัยรุ่นตอนปลาย (late adolescence) มีอายุระหว่าง ๑๗–๒๑ ปี พัฒนาการทางร่างกาย อัตราการเจริญเติบโตช้าลง รูปร่างเข้าสัดส่วนผู้ใหญ่ เด็กหญิงร่างกายเริ่มเปลี่ยนแปลงหลาย อย่าง เช่น เริ่มมีประจําเดือน น้ําหนักและส่วนสูงจะเพิ่มขึ้นจนถึงอายุประมา ๑๗–๑๘ ปี ลักษณะ เพศอย่างที่สองเจริญอย่างสม่ําเสมอ รังไข่เจริญอย่างรวดเร็ว ทรวงอกเริ่มขยายใหญ่หรือขนาด ใกล้เคียงกับผู้ใหญ่ เด็กชายเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายมากขึ้นตั้งแต่อายุ ๑๓ ปี การ เจริญเติบโตด้านอื่นปานกลางแต่อวัยวะเพศเติบโตเร็ว มีขนตามใบหน้าและลําตัว เด็กวัยรุ่นเริ่มเข้าสู่ ความเป็นหนุ่มสาวเมื่ออายุ ๑๔–๑๕ ปี รูปร่างขยายใหญ่ เพิ่มทั้งน้ําหนักและส่วนสูง เสียงห้าว และจะเริ่มเข้าสู่ปกติเมื่อถึงวัยรุ่นตอนปลาย ร่างกายจะผลิตน้ําอสุจิออกมาและจะมีน้ําอสุจิเคลื่อนที่เรียกว่า
  • 9. “ฝันเปียก” หรือมีการบําบัดความใคร่ด้วยตนเอง (Masturbation) เด็กก็จะมีวุฒิภาวะทางเพศ สมบูรณ์สามารถสืบพันธุ์ได้ การเจริญเติบโตโดยทั่วไปของเด็กหญิงจะเร็วกว่าเด็กชาย แต่เมื่อเด็กชายอายุ ๑๕ ปี แล้วจะ สูงเท่ากับเด็กหญิงที่อยู่ในวัยเดียวกัน ความเจริญทางส่วนสูงจะหยุดเมื่ออายุประมาณ ๒๐ ปีวัยนี้ สายตาจะดีกว่าวัยที่ผ่านมา อวัยวะที่มีบทบาทสําคัญต่อพัฒนาการและการงอกงามของมนุษย์คือต่อม ไร้ท่อต่าง ๆ โดยเฉพาะต่อมเพศซึ่งช่วยกระตุ้นให้วัยรุ่นมีความรู้สึกต่อเพศตรงข้าม พัฒนาการทางอารมณ์ อารมณ์ของเด็กวัยรุ่นเปลี่ยนแปลงเร็ว บางครั้งรุนแรง มักแสดงความรู้สึกเปิดเผยและตรง เกินไป เชื่อมั่นในตนเอง ชอบอิสระ ต้องการพึ่งตนเอง และพิสูจน์ให้ผู้ใหญ่เห็นว่าเขามีความเป็นตัว ของตัวเอง สิ่งเหล่านี้เขาจะตอบสนองตัวเองโดยการคบเพื่อนวัยเดียวกัน ความต้องการที่สําคัญ ที่สุดในวัยนี้ คือ ความต้องการความยอมรับในความเป็นเพศหญิงหรือชายอย่างเต็มที่จากคนวัย เดียวกันและเพศตรงข้าม วัยนี้ชอบเอาใจใส่กับรูปร่างของตัวเอง และมีความกังวลใจต่อรูปร่างที่ เปลี่ยนแปลง นิยมในบุรุษและสตรีที่มีชื่อเสียงและอยากทําตาม เหตุที่ทําให้อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย และรุนแรงคือความเปลี่ยนแปลงทางกาย การเปลี่ยนแปลงของอวัยวะภายใน เช่นต่อมต่าง ๆ และ การปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมใหม่ๆ การพัฒนาการทางอารมณ์ของเด็กวัยนี้ผู้ปกครอง ครูหรือผู้ ใกล้ชิดควรเอาใจใส่เป็นพิเศษ เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาขึ้นได้ พัฒนาการทางสังคมและบุคลิกภาพ วัยรุ่นเป็นช่วงวัยสําคัญในการพัฒนาและผสมผสานบุคลิกภาพจะพัฒนาได้เต็มที่ต่อเมื่อการ เจริญเติบโตในทุกด้านได้พัฒนาใกล้ระดับสูงสุดบุคคลต้องผ่านพัฒนาการขั้นต้น ๆ มาด้วยดีบุคลิกภาพ จึงจะปกติ ช่วงวัยรุ่นมีพัฒนาการบุคลิกภาพมาก อันเนื่องมาจากพัฒนาการและประสบการณ์ใหม่ ๆ มี ความสลับซับซ้อนมากขึ้นในชีวิต ประสบการณ์ใหม่เหล่านี้ได้แก่ ๑. การมีร่างกายอย่างผู้ใหญ่ ๒. การมีวุฒิภาวะทางเพศ พร้อมกับมีแรงผลักดันและอารมณ์ ๓. การมีจิตสํานึกต่อตนเอง (Self-awareness) มากขึ้น ซึ่งเป็นผลมาจากความ ต้องการอย่างแรงกล้าที่จะนําทางตนเอง และประเมินมาตรฐาน เป็นหมาย และอุดมคติในชีวิตเสียใหม่ ๔. การต้องการความเป็นเพื่อน โดยเฉพาะกับเพื่อนต่างเพศ ๕. การปฏิบัติจากพ่อแม่ และเพื่อน ๆ ๖. การมีความขัดแย้งในช่วงวัยรุ่น
  • 10. พัฒนาการทางสังคมและบุคลิกภาพในวัยรุ่นซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงหลาย ๆ ด้านได้แก่ ๑) การพัฒนาแนวคิดเกี่ยวกับตนเอง ๒) การแสวงหาเอกลักษณ์ของตนเอง ๓) การพัฒนาทางเพศ ๔) การพัฒนาด้านศีลธรรม จริยธรรม “วัยรุ่น” เป็นวัยที่ได้ผ่านการเรียนรู้และเข้าใจกฎเกณฑ์ของสังคมมามากพอสมควรเริ่มจาก ครอบครัว โรงเรียน กลุ่มเพื่อน และสังคมรอบข้าง เป็นวัยที่พ้นสภาพจากความเป็นเด็ก เข้าสู่ความ เป็นหนุ่มสาว เป็นระยะที่มีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายและจิตใจเพื่อที่จะก้าวไปสู่ความเป็นผู้ใหญ่ ใน ขณะเดียวกันก็ต้องการให้ผู้ใหญ่เข้าใจและยอมรับเขาเป็นบุคคลสําคัญคนหนึ่ง พัฒนาการทางสติปัญญา วัยนี้เป็นวัยที่มีความกระตือรือร้นมีความสามารถหลายอย่างมีพลังในการทํางานและการ แสดงออกทางสติปัญญา รู้จักปรับปรุงบุคลิกภาพ เลียนแบบผู้ที่ตนยกย่อง รู้จักใช้ความคิดอย่างลึกซึ่ง ชอบทําสิ่งแปลงๆใหม่ๆ เด็กที่ขาดความมั่นคงในตนเอง จะเป็นเด็กที่ไวต่อความรู้สึก มีความกระวน กระวายต่อคําพูดที่กล่าวออกไป ซึ่งสามารถเห็นความแตกต่างได้ พัฒนาการของวัยนี้คือ ๑. เพิ่มความสนใจตนเองและมองเห็นการณ์ไกล รู้จักปรับตัวในสังคมได้ดี ๒. ปลูกฝังการพึ่งตนเอง ชอบอิสระ ๓. รู้จักปรับตัวและจงรักภักดีต่อบุคคลในครอบครัว โรงเรียน และชุมชน เราสามารถวัดหรือสังเกตพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กได้จากความสนใจของเด็กและ ความต้องการของเด็ก พัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กวัยนี้จะกว้างขึ้นเนื่องจากเด็กชอบทําและ ทดลองหรือเลียนแบบ หรือจากการทดลองผิดลองถูก ซึ่งการเรียนรู้เป็นสิ่งสําคัญเพราะเด็กได้ลงมือทํา เอง ได้พบและแก้ปัญหาด้วยตัวเอง ผู้ใหญ่ไม่ควรขัดขวางเด็กควรจัดให้เด็กอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี และ ช่วยให้เกิดความเชื่อมั่นในตนเอง ความเปลี่ยนแปลงทางด้านต่าง ๆ ของเด็กเป็นสิ่งสําคัญมาก ซึ่งผู้ใหญ่ที่มีส่วนเกี่ยวข้องต้อง เข้าใจและยอมรับว่าจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงอันเป็นธรรมชาติของเด็กแล้ว ยังต้องเข้าใจต่อไปอีกว่า ความเปลี่ยนแปลงในชีวิตเด็กดังกล่าวแล้วจะสร้างความอึดอัดและรําคาญใจแก่เขาด้วย บางอย่าง อาจทําให้เขาตกใจมากหากเขาเหล่านั้นจะไม่ได้ทราบความเป็นจริงและมีการเตรียมตัวมาก่อน ครู และผู้ปกครองควรจะถือได้ว่าเป็นความจําเป็นที่จะอธิบายความจริงต่าง ๆ ให้แก่เด็ก เพื่อเขาจะได้ไม่ เกิดความกระเทือนใจหรืออึดอัดใจเกินความจําเป็น ถ้าหากผู้ใหญ่ไม่เข้าใจในสิ่งเหล่านี้อาจทําให้เกิด ปัญหาต่าง ๆ ตามมาได้ ซึ่งในช่วงของการเจริญเติบโตจากวัยรุ่นเพื่อจะเป็นผู้ใหญ่ที่สมบูรณ์ การจะผ่านพ้นช่วงวัยนี้ไปได้ เด็กวัยรุ่นมักจะเผชิญกับความกดดันที่เกิดจากการเรียนรู้ในสิ่งที่ตนไม่ เคยได้เรียนรู้มาก่อน นั่นคือการเรียนรู้การดําเนินชีวิตของผู้ใหญ่อย่างรวดเร็วและรอบด้าน ในขณะที่ ตนเองยังไม่แข็งแกร่งเพียงพอ จึงเป็นภาระหนักของเด็กวัยรุ่นในการจะผ่านช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อนี้ไป
  • 11. หากเพลี่ยงพล้ําตกอยู่ในความเสี่ยงหรือเกิดพฤติกรรมเสี่ยงขึ้น นั่นคืออุปสรรคในการเติบโต ซึ่งหากไม่ สามารถผ่านไปได้อาจอันตรายถึงชีวิต หรือถึงแม้ไม่ถึงชีวิตก็อาจไม่สามารถพัฒนาไปเป็นผู้ใหญ่ที่มี คุณภาพต่อไปได้ และหากเด็กสามารถปรับตัวได้ทันก็จะเกิดการเรียนรู้ที่เป็นทุนสําคัญของการดําเนิน ชีวิตได้ต่อไปในวัยผู้ใหญ่ได้ แนวคิดพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่นและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นิยามของพฤติกรรมเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น คือ การกระทําหรือการแสดงออกทางร่างกาย ความคิดและ ความรู้สึก ของบุคคลที่ย่างเข้าสู่วัยหนุ่มสาว โดยไม่เกรงกลัวต่อภัยอันตรายที่จะมาสู่ตนหรือผู้อื่น ซึ่ง พฤติกรรมเสี่ยงที่มักจะเกิดกับวัยรุ่นทั่วไป มักจะมีดังนี้ ๑. การดื่มสุราหรือเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์ การดื่มสุราหรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ต่าง ๆ เป็นช่องทางที่จะไปสู่การมีพฤติกรรมเสี่ยง อื่น ๆ ต่อไป เนื่องจากทําให้ขาดสติและไม่สามารถควบคุมตนเองได้ทั้งความคิด การเคลื่อนไหว และ การตัดสินใจ ในขณะที่เป็นสิ่งเสพติดที่ถูกกฎหมาย และสังคมมักจะยอมรับว่าเป็นสิ่งที่จําเป็นในการ เข้าสังคมหรือการสังสรรค์ จึงมักเป็นสาเหตุให้เกิดการสูญเสียต่าง ๆ ตามมา เช่น การทะเลาะวิวาท อุบัติเหตุ พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ ซึ่งในเด็กวัยรุ่นโดยเฉพาะกลุ่มเด็กที่ชอบสังสรรค์ในกลุ่มเพื่อนในช่วง กลางคืน ทั้งหญิงและชายมักจะเสพกันเป็นเหมือนของคู่กันกับการสังสรรค์ ดังคําพูดของวัยรุ่นชายที่ เรียนในวิทยาลัยอาชีวศึกษาแห่งหนึ่งว่า “ถ้าไม่เหล้าก็ไม่อะไรเป็นตัวดึงให้กลุ่มเพื่อนอยู่ด้วยกันนาน ๆ มาเจอกันคุยกันเล็กน้อยแล้วก็แยกย้ายไป ถ้ามีเหล้าก็จะจับกลุ่มพูดคุยกันได้ตลอดทั้งคืน” ซึ่งเหตุผลของการดื่มสุรานี้ มีงานวิจัยที่ได้เคยสํารวจไว้กับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ ๔ และ มัธยมศึกษาปีที่ ๖ ของโรงเรียนมัธยมในเมืองใหญ่ทั่วประเทศ (นิตยา กัทลีรดะพันธุ์ ๒๕๔๑) พบว่าเหตุผลของการดื่มสุรา คือ อยากลอง เพื่อนชวน ญาติ เช่น พ่อแม่พี่น้อง ฯลฯ ชวนให้ลอง และ เหตุผลอื่น ๆ ได้แก่ เข้าสังคม สังสรรค์ ถูกบังคับให้ดื่ม และดื่มเองเพราะเข้าใจผิด พฤติกรรมความ เสี่ยงโดยพื้นฐานของวัยรุ่น คือ ความอยากรู้อยากลองของเด็กเอง เมื่อประกอบกับแรงชักจูง กระตุ้นให้ความเสี่ยงมีโอกาสกระทําได้ไม่ยาก การเริ่มต้นทดลองเพื่อรู้ครั้งแรกเป็นพฤติกรรมเสี่ยง เบื้องต้นที่ส่งผลให้มีการกระทําซ้ําและบางคนอาจมีแนวโน้มที่จะเสี่ยงตลอดไป และหากมีการทดลอง ดื่มสุราขณะอายุยังน้อยนั้น ได้มีการสํารวจพบว่าพฤติกรรมการเสี่ยงทดลองดื่มสุราตั้งแต่อายุยังน้อย มาก เมื่อเปรียบเทียบกับพฤติกรรมในปัจจุบัน ก็พอเห็นปัญหาได้ว่า แนวโน้มการเสพยังไม่ลดต่ําลง เพราะนักเรียน ๑๐๖ คน จาก ๑๗๕ คน ที่ทดลองเสพ ยังการเสพอยู่ และเมื่อถามเหตุผลของการเสพ ปัจจุบัน เหตุผลของกลุ่มที่ดื่มบ่อย อ้างว่าเพื่อนชวนและต้องเข้ากลุ่มกับเพื่อน เข้ากับสังคม โดยรู้สึก ว่าการดื่มสุราเป็นเรื่องปกติ อร่อยและสนุกสนานกับการดื่ม ยังไม่อยากเลิกและบางคนบอกว่ายังเลิก ไม่ได้ กลุ่มนี่มีพฤติกรรมเสี่ยงที่ค่อนข้างอันตราย เพราะให้ความรู้สึกกับสุราว่า สนุกเพลิดเพลิน เป็น เรื่องปกติและอยู่รวมกลุ่มกับเพื่อนได้โดยใช้สุราเป็นข้ออ้าง
  • 12. ๒. การสูบบุหรี่ ทางการแพทย์ถือว่าการสูบบุหรี่เป็นพียงภาวะเสพติดเป็นนิสัย (habituation) ซึ่งต่างกับ ภาวะเสพติด (addiction) เนื่องจากผลทางชีววิทยาของบุหรี่เหมือนกับกาแฟและเครื่องดื่มประเภทที่ มีค่าคาเฟอีนทั้งหลายที่แตกต่างจากผล ซึ่งเกิดจากมอร์ฟีน แอลกอฮอล์ บาร์บิทูเรต และยาเสพติดที่ มีฤทธิ์รุนแรงทั้งหลาย การเสพของผู้สูบบุหรี่ จึงเป็นการติดทางใจไม่มีการติดทางกายอันเนื่องมาจาก ฤทธิ์ของนิโคติน หรือสารประกอบอื่น ๆ ในบุหรี่ (วิทย์ เที่ยงบูรณธรรม ๒๕๓๑ อ้างใน อุไร สมาริ ธรรม ๒๕๓๕,๓๔) และเมื่อหยุดสูบบุหรี่ก็มักจะมีอาการขาดยา (Withdrawal Symptom) ที่เป็น อาการทางจิตใจ เช่น อาการหงุดหงิด กระวนกระวายมากกว่า ส่วนอาการทางกายมักไม่ปรากฏ (สํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ๒๕๒๔) มีผลการวิจัยแสดงไว้ว่า นิสัยการ สูบบุหรี่ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในช่วงวัยรุ่น โดยเฉพาะในช่วงที่อยู่ในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (อ้างใน อุไร สุมาริธรรม ๒๕๓๕,๒) และเมื่อบุคคลสูบบุหรี่จนติดเป็นนิสัยแล้งการจะเลิกสูบเป็นเรื่อง กระทํายากหรือถ้ามีการเลิกสูบแล้ว โอกาสจะกลับมาสูบใหม่อีกนั้นมีสูงมาก การเห็นคุณค่าในตนเอง (Self-esteem) จากการวิจัยพบว่าในกลุ่มผู้สูบบุหรี่มักจะเห็น คุณค่าในตนเองต่ํา ดังเช่น อาห์ลเกรน (Ahlgren et al. ๑๙๘๒ อ้างใน สุมาริธรรม ๒๕๓๕, ๒๔) ศึกษาปัจจัยที่สนับสนุนการไม่สูบบุหรี่ในกลุ่มนักเรียนก่อนวัยรุ่น โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนเกรด ๕-๖ รวม ๖๒๕ คน พบว่ากลุ่มนักเรียนที่สูบบุหรี่มีการเห็นคุณค่าในตนเองต่ํากว่ากลุ่มที่ไม่สูบบุหรี่ อย่างมีนัยสําคัญ อาห์ลเกรน (Ahlgren) จึงกล่าวว่า นักเรียนกลุ่มที่เสี่ยงต่อการสูบบุหรี่มากที่สุด ก็คือ กลุ่มที่การเห็นคุณค่าในตนเองต่ํา และจากศึกษาการสูบบุหรี่ การเห็นคุณค่าในตนเอง และตัว แปรที่เกี่ยวอื่น ๆ ในกลุ่ม นักเรียนเกรด ๔–๑๒ จํานวน ๙๓๔ คน พบว่ากลุ่มที่สูบบุหรี่มีการเห็น คุณค่าในตนเองต่ํากว่ากลุ่มที่ไม่สูบอย่างมีนัยสําคัญเช่น ความเชื่อในอํานาจภายใน-ภายนอก (Locus of Control) ซึ่งเป็นความเชื่อที่แสดงถึงความรู้สึกตนเองหรือสิ่งภายนอกตนเองหรือผู้อื่นเป็นผู้ ควบคุมสถานการณ์ มีงานวิจัยที่ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี่กับความเชื่อในอํานาจ ภายนอก-ภายในตนนั้น ได้ศึกษากับกลุ่มนักเรียนเกรด ๙ ชาย ๒๐๑ คน หญิง ๑๘๕ คน พบความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี่กับความเชื่อในอํานาจภายใน-ภายนอกตนเอง เฉพาะ กลุ่มนักเรียนหญิง โดยกลุ่มที่สูบบุหรี่มักมีความเชื่อในอํานาจภายนอกตน คาสซิน และ เพรสชัน (Chassin and Presson ๑๙๘๔ อ้างใน อุไร สุมาริธรรม ๒๕๓๕, ๗) สรุปจากการศึกษาตัว แปรทางจิตวิทยาสังคม เพื่อดูอํานาจการทํานายพฤติกรรมการสูบบุหรี่ในกลุ่มนักเรียนเกรด ๖–๑๑ จํานวน ๒,๘๑๘ คน พบว่า กลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงที่จะสูบบุหรี่นั้นจะเป็นผู้ที่มีความเชื่อในอํานาจ ภายนอกตนมากกว่ากลุ่มที่มีความเสี่ยงต่ํา ๓. การเสพสารเสพติดชนิดผิดกฎหมายอื่น ๆ การเริ่มลองยาบ้าของวัยรุ่น ที่พบจากการศึกษาของ นิตยา กัทลีรดะพันธุ์ (๒๕๔๑) จะ เริ่มเสพกันตั้งแต่อายุ ๑๔ ปี ทั้งหญิงและชาย นอกจากนี้ยังพบว่านักเรียนระดับ ม.๖ เคยลองเสพ
  • 13. มากกว่าเด็กนักเรียน ม.๔ ประมาณ ๔ เท่า โดยมีเหตุผลการเริ่มลอง เกือบทั้งหมดบอกว่าอยากลอง เอง เพื่อชวนให้ลอง และรู้สึกสนุก ซึ่งวัยรุ่นหญิงมีการใช้ยาในปริมาณที่มากกว่าผู้ชาย ซึ่งผู้ที่ตอบ ทั้งหมดที่ตอบปริมาณการเสพจะเป็นนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โดยเกือบทั้งหมดที่ตอบเรื่องนี้ จะเป็นผู้ที่อยู่ในครอบครัวที่ไม่เข้มงวดกวดทัน สํานักวิจัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (อ้างใน น้ําเพชร ชาญภิญโญ ๒๕๓๓, ๑๘) ได้ศึกษาพฤติกรรมและทัศนคติเกี่ยวกับยาเสพติดของคนหนุ่มสาว โดยมีวัตถุประสงค์ที่สําคัญ ประการหนึ่งคือ เพื่อทราบถึงสาเหตุสําคัญของการติดยาเสพติด โดยได้ทําการสัมภาษณ์ผู้ติดยาเสพ ติดในทัณฑสถานบําบัดพิเศษและสถาบันบําบัดรักษายาเสพติดที่มีอายุ ๑๕–๔๐ ปี จํานวน ๑,๐๓๓ คน พบว่าสาเหตุที่ทําให้บุคคลที่ติดยาเสพติดในครั้งแรกมาจากความสัมพันธ์ในครอบครัวที่ไม่ราบรื่น ทั้งผลงานวิจัยของ กิ่งแก้วเกษโกวิท (อ้างใน น้ําเพชร ชาญภิญโญ ๒๕๓๓,๑๘) ก็ได้ยืนยันถึงปัญหา ความสัมพันธ์ในครอบครัวของผู้ต้องโทษชายที่มีประวัติเสพยาเสพติดจากทัณฑสถานบําบัดพิเศษ ขอนแก่น จํานวน ๑๖๐ คนพบว่า ผู้ต้องโทษที่ศึกษาเกือบทุกรายตอบว่ามีความสัมพันธ์ภายใน ครอบครัวไม่ดี เช่น บิดามารดาทะเลาะกันเป็นประจําจนต้องแยกทางกัน ผลงานวิจัยที่สอดคล้อง กันเป็นของ น้ําเพ็ชร ชาญภิญโญ (๒๕๓๓) ที่ทําการศึกษาปัญหาการติดสารระเหยของเด็กและ เยาวชนในเขตดุสิต โดยใช้แบบสอบถามประกอบการสัมภาษณ์เด็กและเยาวชนอายุ ๑๐–๒๕ ปี จํานวน ๑๑๓ คนพบว่าปัจจัยทางครอบครัวอันได้แก่ สถานภาพครอบครัว ความสัมพันธ์ของบุคคล ภายในครอบครัว เป็นปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้สารระเหยของเด็กและเยาวชนในเขตดุสิต และ งานวิจัยของ ธวัชชัย ไชยเขียว (๒๕๒๖) ที่ศึกษาถึงสาเหตุของการเสพสารระเหย ในกลุ่มเด็กและ เยาวชนที่ถูกควบคุมตัวอยู่ที่กองสวัสดิภาพเด็กและเยาวชนและสถานพินิจและคุ้มครองเด็กกลาง จํานวน ๑๑๖ คน ก็ได้แสดงให้เห็นว่า ผู้สูดดมสารระเหยส่วนใหญ่อยู่ในครองครัวที่แตกแยก คือ บิดา มารดาแยกกันอยู่ หรือบิดามารดาเสียชีวิต มีพี่น้องร่วมบิดามารดามากกว่า ๔ คนขึ้นไป ซึ่งจาก สภาพที่เด็กหรือเยาวชนต้องเผชิญกับเหตุการณ์วิกฤติในทางด้านครอบครัวอันได้แก่ เหตุการณ์ที่บิดา มารดาทะเลาะวิวาทกัน บิดามารดาเมาสุราหรือเล่นการพนัน บิดามารดาเลิกร้างกัน ทําให้เด็กเยาวชน เกิดความเครียดมาก และในขณะที่เกิดความเครียด เด็กและเยาวชนที่ขาดแรงสนันสนุนทางสังคม ขาดผู้ให้คําแนะนําในการแก้ปัญหา จึงทําให้เด็กและเยาวชนหันไปพึ่งยาเสพติดในการแก้ปัญหาแทน (สุธีรา วิสารทพงศ์ ๒๕๓๒ อ้างใน น้ําเพชร ชาญภิญโญ ๒๕๓๓) ๔. พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ จากการรายงานของยูเอ็นเอดส์ (United Nations Program on HIV/AIDS หรือ UNAIDS) และองค์การอนามัยโลก (World Health Organization หรือ WHO) พบว่าในปี ค.ศ. ๑๙๙๘ มีผู้ติดเชื้อเอดส์ทั่วโลกถึง ๓๓.๔ ล้านคน ซึ่งเพิ่มจากปี ค.ศ. ๑๙๙๗ ถึง ๕.๘ ล้านคน โดยครึ่งหนึ่งของผู้ติดเชื้อรายใหม่ที่อยู่ในช่วงอายุ ๑๕–๒๔ ปี (UNAIDS and WHO ๑๙๙๘) ซึ่งในปี ค.ศ. ๒๐๐๑ คาดว่าจะมีประชากรโลกติดเชื้อเอชไอวีประมาณ ๔๐–๑๐๐ ล้านคน
  • 14. ในประเทศไทย จากรายงานของกองระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข (๒๕๔๓) ตั้งแต่ ปี พ.ศ.๒๕๒๗ ถึงวันที่ ๓๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๓ มีจํานวนผู้ป่วยเอดส์ทั้งสิ้น ๑๕๑,๓๒๒ รายโดย กลุ่มอายุที่พบมากที่สุดเป็นกลุ่มวัยทํางานที่มีอายุระหว่าง ๒๕–๒๙ ปี คิดเป็นร้อยละ ๒๘.๖ โดยมี ปัจจัยเสี่ยงจากเพศสัมพันธ์สูงถึงร้อยละ ๘๒.๖ (กองระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข ๒๕๔๓) ซึ่ง อาจพิจารณาได้ว่าคนเหล่านี้เริ่มได้รับเชื้อไวรัสเอชไอวีมาตั้งแต่เป็นวัยรุ่น (Sullivan Cited in Guthrie, Janz, Schottenfeld, & Selig, ๑๙๙๖ อ้างใน พิสมัย นพรัตน์ ๒๕๔๓,๑) ปัจจัยที่เป็นผลให้วัยรุ่นมีพฤติกรรมทางเพศ แซนดร้า (Sandra L. Hanson ๑๙๘๗ อ้างใน จันทร์แรม ทองศิริ ๒๕๓๙) กล่าวว่า การพิจารณาถึงปัจจัยที่เป็นผลทําให้เกิดการตั้งครรภ์ ในวัยรุ่นนั้น จะต้องพิจารณาในเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองและเด็กความขัดแย้งภายใน ครอบครัว อิทธิพลของกลุ่มเพื่อนและสภาพแวดล้อมอื่น ๆ รวมทั้งปัจจัยส่วนบุคคล เช่น บุคลิกภาพ ความเชื่อมั่นในตนเอง โอกาสในชิวิต ความรู้เรื่องเพศศึกษา การควบคุมกําเนิด ทัศนคติ และค่านิยมในเรื่องเพศ พฤติกรรมทางเพศที่ได้รับอิทธิพลมาจากเพื่อนนั้น พบจากการสํารวจของชลอศรี แดง เปี่ยม และประยงค์ ลิ้มตระกูล ในปี พ.ศ. ๒๕๒๖ (อ้างใน ปวีณา สายสูง ๒๕๔๑, ๗๔) เรื่องปัจจัย ส่งเสริม พฤติกรรมทางเพศที่มีต่อการเป็นกามโรคของเด็กวัยรุ่นชาย ในอําเภอเมืองจังหวัด เชียงใหม่ พบว่า กลุ่มเพื่อนมีอิทธิพลต่อการปฏิบัติพฤติกรรมทางเพศที่มีผลต่อการเป็นกามโรคของ เด็กชายวัยรุ่นในจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ วิภาภรณ์ ปัญญาดี (๒๕๓๕ อ้างใน ปวีณา สายสูง ๒๕๔๑,๗๕) เรื่องความตั้งใจในการปฏิบัติตนในการป้องกันโรคเอดส์ของนักเรียนมัธยม ปลายในจังหวัดเชียงรายพบว่า กลุ่มเพื่อนและการคล้อยตามกลุ่มเพื่อนมีอิทธิพลโดยตรงต่อความ ตั้งใจในการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันโรคเอดส์ของนักเรียนมากที่สุด โดยพบว่านักเรียนมัธยมตอนปลายมี การปรึกษาปัญหาในการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันโรคเอดส์กับเพื่อนร้อยละ ๗๐ ๕. ภาวะซึมเศร้า/การฆ่าตัวตาย อาการซึมเศร้าที่เกิดกับวัยรุ่นและมีผลถึงขั้นกระทําความรุนแรงหรือทําร้ายชีวิตตนเองได้ มักจะเป็นความซึมเศร้าที่เกิดกับความรู้สึกเสียดาย น้อยใจ พลาดหวัง (นิตยา กัทลีรดะพันธ์ ๒๕๔๑,๔๖) มักจะเป็นเรื่องที่เกิดกับวัยรุ่นเองโดยตรง เช่น อกหัก ถูกแฟนทิ้ง ถูกหลอก ทะเลาะกับ คนรัก แพ้กีฬา สอบตกหรือได้คะแนนไม่เป็นที่น่าพอใจ ฯลฯ อาการเศร้าเหล่านี้ ถ้าได้รับการ ปลอบโยนให้กําลังใจ ก็จะไม่ผลกระทบรุนแรงเกิดขึ้นแต่ในทางตรงกันข้าม หากบุคคลใกล้ชิด ประนามซ้ําเติมและไม่การถนอมน้ําใจ ก็จะเป็นชนวนให้เกิดผลร้ายสะสมรุนแรงถึงขั้นคิดฆ่าตัวตายได้ การฆ่าตัวตายนับว่าเป็นปัญหาสําคัญปัญหาหนึ่งของเด็กวัยรุ่น พบว่า ปัญหาการตัวตายใน วัยรุ่นทวีความรุนแรงขึ้น ดังสถิติรายงานของประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี ค.ศ. ๑๙๙๒ พบว่าการฆ่า ตัวตายเป็นสาเหตุการตายอับดับที่ ๓ ในวัยรุ่นอายุ ๑๕–๑๙ ปี โดยมีอัตราการฆ่าตัวตายเท่ากับ ๑๐.๙ ต่อ ๑๐๐,๐๐๐ ประชากร (CDC, ๑๙๘๐–๑๙๙๒) และในปี ค.ศ. ๑๙๙๓ มีรายงานการฆ่าตัวตายถึง
  • 15. ๓๐,๐๐๐ คน (CDC, ๑๙๘๐–๑๙๙๒) ในจํานวนนี้พบว่า เป็นผู้ที่อายุต่ํากว่า ๑๕ ปี จํานวน ๒๕๐ คน อายุ ๑๕–๒๔ ปี จํานวน ๔,๙๐๐ คน (Blumeenthal ๑๙๙๐ อ้างใน นิตยา กัทลีรดะพันธ์ ๒๕๔๑, ๑๖) ในประเทศไทย จากรายงานที่ผ่านมาพบว่า วัยรุ่นฆ่าตัวตายคิดเป็นสัดส่วนเพิ่มขึ้นจาก 6.8 ต่อ ประชากรแสนคนในปี พ.ศ. ๒๕๓๐ (กระทรวงสาธารณสุข ๒๕๓๕ อ้างใน จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ ๒๕๔๑,๓๕) ต่อประชากรแสนคนในปี พ.ศ. ๒๕๓๕ (กระทรวงสาธารณสุข ๒๕๓๖ อ้างใน จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ ๒๕๔๑,๓๕) นับว่าปัญหาฆ่าตัวตายในวัยรุ่นเป็นปัญหาที่นํามาซึ่งการสูญเสียบุคลากรที่ เป็นวัยเจริญพันธ์และเป็นกําลังของสังคม ๖. พฤติกรรมต่อต้านสังคม พฤติกรรมเสี่ยงและทดลองเสี่ยงต่าง ๆ โดยเหตุผลใหญ่ ๆ แล้วก็คือ ความต้องการ แสดงออกหรือโอ้อวด คึกคะนองตามประสาวัยรุ่น พวกเขาจะมีความเป็นผู้นําอยู่ในตัว แต่วัยรุ่นก็จะ เป็นพวกที่มีระดับอารมณ์สูง ซึ่งเป็นอารมณ์ความรู้สึกมากเกินปกติ ทั้งจากการกระทําของตนเอง และเป็นผลกระทบจากการกระทําของผู้อื่น ระดับอารมณ์สูงต่าง ๆ ได้ แก่ ความกลัว ความเกลียด ความโกรธ ความเศร้าสะเทือนใจ ความวิตกกังวล และความพึงพอใจ มีการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมทําร้ายผู้อื่นของนักเรียนในเมืองใหญ่ทั่วประเทศ (นิตยา กัทลีรดะพันธ์ ๒๕๔๑) ที่พบว่า ในกลุ่มเด็กที่เคยทําร้ายผู้อื่น ถ้าเปรียบเทียบกันในกลุ่มอายุ เดียวกันแล้วพบว่า เด็กกลุ่มอายุ ๑๔ ปี จะก่อเหตุมากกว่าคิดเป็นร้อยละ ๕๔.๕ ของกลุ่มอายุเดียวกัน เด็กที่อยู่กับพ่อและแม่มีประวัติการทําร้ายร่างกายผู้อื่นมากเป็น ๓ เท่าของเด็กที่ไม่ได้อยู่กับพ่อและ แม่ เด็กที่มีอยู่กับแม่จะมีพฤติกรรมรุนแรงประเภทนี้มากกว่าเด็กที่อยู่กับพ่อ โดยเด็กที่อยู่กับแม่มี ประวัติการทําร้ายร่างกายผู้อื่นถึงร้อยละ ๔๔.๔ ในขณะที่เด็กที่อยู่กับพ่อที่เคยทําร้ายร่างกายผู้อื่นมี ร้อยละ ๔๕.๔ ซึ่งที่เป็นเช่นนี้อาจกล่าวได้ว่า เนื่องจากเด็กอยู่ในความเข้มงวดกวดขันของพ่อหรือแม่ หรือญาติพี่น้องค่อนข้างมาก และได้รับแรงกดดันจากการบังคับหรือการลงโทษ จึงหาทางออกด้วย การทําร้ายผู้อื่น จากการวิจัยของ นิตยา กัทรีลดะพันธ์ (๒๕๔๑) ที่พบว่านักเรียนเกือบร้อยละ ๕๐ เคย เป็นผู้ทําร้ายร่างกายบุคคลอื่น และนักเรียนชายร้อยละ ๕.๖ เคยทําร้ายล่วงเกินทางเพศผู้อื่นส่วน พฤติกรรมของนักเรียนชายที่ล่วงละเมิดทางเพศต่อบุคคลอื่น คําตอบที่ได้ก็แสดงให้เห็นว่าเป็นการ กระทําที่เสี่ยงต่อไปถึงพฤติกรรมที่อาจรุนแรงขึ้นได้ เพราะเป็นกลุ่มวัยรุ่นที่คึกคะนอง และส่วนใหญ่อยู่ ในอายุ ๑๗ ปี พฤติกรรมการทําร้าย คือ การทะเลาะวิวาทในกลุ่มวัยรุ่น ซึ่งมีสาเหตุมาจากสภาวะ อารมณ์ของวัยรุ่นที่แปรปรวนได้ง่าย ไม่ค่อยระงับอารมณ์ บางคนชอบแสดงอํานาจ พกพาอาวุธ การ บุกรุกระรานผู้อื่น กลุ่มอื่น ๆ และถ้าอยู่ในภาวะมึนเมาจากเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ก็จะขาดสติ ยับยั้ง ถ้ามีเหตุปัจจัยอื่นที่ทําให้เกิดความรู้สึกว่าถูกกระทําให้อับอายเสียศักดิ์ศรี ถูกเหยียดหยาม ประณาม หรือปัญหาถูกแย่งคนรักหรือคนที่ชื่นชอบ แม้แต่เพียงมองหน้าไม่ต้องชะตากันก็นําไปสู่การ ทะเลาะวิวาททําร้ายร่างกายกันได้ การได้รับแรงกระตุ้นยุยงจากคนรอบข้าง การยึดถือสถาบันเป็น
  • 16. ใหญ่ ก็เป็นเหตุให้มีการกระทบกระทั่งกันระหว่างกลุ่ม เพราะเชื่อว่าการกระทําเหล่านี้แสดงถึงการรัก พวกรักพ้อง การทะเลาะวิวาทและทําร้ายร่างกายดังนี้ ส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มนักเรียนชาย ส่วนกลุ่ม นักเรียนหญิง อาจไม่ถึงขั้นทําร้ายร่างกาย เพียงแต่มีปากมีเสียงโต้เถียง หรือพูดจาเสียดสี หยาบคาย ต่อกันแล้วก็เลิกลากันไป จากข้อสังเกตของคณะครูอาจารย์ ที่ได้จากการสัมภาษณ์ครูอาจารย์ที่สอนในโรงเรียนที่ อยู่ในเมืองทั่วประเทศ จํานวน ๓๑ ราย (นิตยา กัทรีลดะพันธ์ ๒๕๔๑) ได้ให้ข้อสังเกตว่า สถานการณ์ เกี่ยวกับการทําร้ายในกลุ่มวัยรุ่นตั้งแต่ปี ๒๕๓๙ เป็นต้นมามีการทะเลาะวิวาทในโรงเรียน เช่น ยก พวกตีกันระหว่างรุ่นพี่รุ่นน้องมากขึ้น แม้กระทั่งการทะเลาะกันระหว่างโรงเรียนก็มีบ้าง สาเหตุคือ การไม่เคารพกฎกติกา ไม่รู้จักคําว่ารุ่นพี่รุ่นน้อง เอาแต่อารมณ์มาเป็นเครื่องตัดสิน ไม่มีเหตุผล เหตุ เกิดจากการเล่นกีฬา การพนัน ชู้สาว ซึ่งพฤติกรรมเช่นนี้มักเกิดขึ้นกับนักเรียนชายเป็นส่วนใหญ่ แต่ ระยะหลังมีบ้างที่เกิดกับนักเรียนหญิงเพราะเรื่องชูสาว ๗. พฤติกรรมเสี่ยงต่อการยุติการเรียน พฤติกรรมเสี่ยงอย่างหนึ่งของวัยรุ่นคือ การหนีเรียน ซึ่งเป็นพฤติกรรมเริ่มต้นของการ นําไปสู่การออกจากโรงเรียนกลางคัน หรือเรียนไม่จบมัธยมปลาย การหนีเรียนเป็นการกระทําผิด กฎระเบียบของ โรงเรียน และเป็นสาเหตุของการไม่มีเวลาเรียนเพียงพอ การขาดข้อมูลในช่วงหนี เรียน การเรียนไม่ทันเพื่อนคนอื่น ๆ ทําให้เนื้อหาและกระบวนการเรียนไม่ต่อเนื่องกัน เกิดผลการ เรียนตกต่ํา ไม่อยากเรียน หนีเรียน และเบื่อเรียนมากขึ้น ๘. การใช้ยานพาหนะ พฤติกรรมเสี่ยงของเด็กนักเรียนมักจะเกิดจากความคึกคะนองและความประมาท (นิตยา กัทรีลดะพันธ์ ๒๕๔๑) กลุ่มนักเรียนวัยรุ่นที่ขับขี่รถจักรยานยนต์หรือรถยนต์มาโรงเรียน เด็กกลุ่มนี้ จะมีความคึกคะนองในการขับขี่ยวดยาน ใช้ความรวดเร็วสูงและไม่ระมัดระวังหลายคนยังไม่มี ใบอนุญาตขับขี่และไม่ได้เรียนรู้กฎจราจรให้เข้าใจ คิดว่าการพาหนะใช้หรือสามารถขับขี่ยวดยาน พาหนะได้เป็นความเท่ห์ แสดงถึงความฐานะร่ํารวย พ่อแม่บางคนก็ตามใจผิด ๆ อนุญาตให้ลูกมีรถ และขับมาโรงเรียนได้ กรณีที่เสี่ยงต่อชีวิตและการบาดเจ็บที่ระบาดกันในหมู่วัยรุ่นคือ การแข่งขัน ประลองความเร็วกันในช่วงเวลากลางคืน (ขับรถซิ่ง) อุบัติเหตุส่วนมากจะมาจากรถจักรยานยนต์ และที่ เสี่ยงจากความประมาทอื่น ๆ คือ การไม่สวมหมวกนิรภัย และชอบซ้อนท้ายจักรยานยนต์มากกว่า ๑ คน
  • 17. บทที่ ๓ วิธีดําเนินการวิจัย การวิจัยเรื่อง การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุ่นจังหวัดกาญจนบุรี ประจําปี ๒๕๕๔ เป็นการ วิจัยเชิงสํารวจ (Servey Research) มีวิธีดําเนินการวิจัย ดังนี้ ๑. จัดทําโครงการศึกษาวิจัยการเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุ่นจังหวัดกาญจนบุรี ๒. แต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงาน ๓. กระบวนการสร้างแบบสอบถาม (นําแบบสอบถามของสถาบันรามจิตติมาเป็นต้นแบบและ ปรับปรุง) ๔. การหาประสิทธิภาพของแบบสอบถาม ๕. การเก็บรวบรวมข้อมูล ๖. การวิเคราะห์ข้อมูล จัดทําโครงการศึกษาวิจัยการเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุ่นจังหวัดกาญจนบุรี ๑. ขั้นเตรียมการและจัดทําโครงการฯ ศึกษาสภาพแวดล้อมและสถานการณ์การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุ่นจังหวัดกาญจนบุรี โดยนําข้อมูลที่ได้รับมากําหนดกรอบและแนวทางในการปฏิบัติงาน และจัดทําโครงการศึกษาวิจัยการ เบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุ่นจังหวัดกาญจนบุรี เสนอขออนุมัติโครงการฯ และขอคําปรึกษาท่านประ ยุธ โอสธีรกุล วัฒนธรรมจังหวัดกาญจนบุรี เกี่ยวกับกลุ่มเป้าหมาย วัตถุประสงค์และแนวทางการ ดําเนินงานการวิจัย ๒. แต่งตั้งกรรมการดําเนินงาน งานเฝ้าระวังทางวัฒนธรรม กลุ่มยุทธศาสตร์และแผนงาน สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัด กาญจนบุรี ดําเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงาน ซึ่งเป็นนักวิชาการวัฒนธรรม ที่ได้รับมอบหมาย เป็นผู้ประสานงาน ในการจัดเก็บข้อมูลผู้วิจัยได้ดําเนินการจัดเก็บด้วยตนเองและมอบหมายเครือข่าย ทางวัฒนธรรม นักเรียน นักศึกษาที่กําลังศึกษาอยู่ในสถาบันเป้าหมาย เพื่อดําเนินการจัดเก็บข้อมูล และนําข้อมูลมาจัดเรียง วิเคราะห์ และแปลผล ๓. กระบวนการสร้างแบบสอบถาม ๒.๑ ขั้นเตรียมการ ศึกษาวัตถุประสงค์ เนื้อหา สภาพปัจจุบันปัญหาของการวิจัยเพื่อนําไปตั้งคําถามและ ตัวเลือกตอบ ๒.๒ ขั้นการสร้างแบบสอบถาม (นําแบบสอบถามของสถาบันรามจิตติมาเป็นต้นแบบและ ปรับปรุง)
  • 18. สร้างแบบสอบถาม ให้ครอบคลุมเนื้อหา และวัตถุประสงค์ ข้อคําถามมีทั้ง หมด ๕ ตอน ดังนี้ ตอนที่ ๑ สอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ชนิดเลือกตอบ ทั้งหมด ๑๐ ข้อ ตอนที่ ๒ สอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมที่มีต่อบุหรี่ เครื่องดื่มที่ผสมแอลกอฮอล์ การ พนัน การก่อความไม่สงบในพื้นที่ พฤติกรรมสื่อและการใช้เทคโนโลยี ชนิดเลือกตอบ ทั้งหมด ๔๖ ข้อ ตอนที่ ๓ สอบถามเกี่ยวกับการควบคุมตนเอง ชนิดเลือกตอบ ตามระดับความเป็นจริง ๕ ระดับ ทั้งหมด ๓๓ ข้อ ตอนที่ ๔ สอบถามเกี่ยวกับความคิดเห็นต่อการใช้บริการสถานเริงรมย์ ชนิด เลือกตอบตามระดับความคิดเห็น ๕ ระดับ ทั้งหมด ๑๒ ข้อ ตอนที่ ๕ สอบถามเกี่ยวกับความคิดเห็นต่อการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ชนิด เลือกตอบตามระดับความคิดเห็น ๕ ระดับ ทั้งหมด ๑๑ ข้อ และชนิดเติมคํา โดยให้คําแนะนําเพิ่มเติม เป็นคําถามปลายเปิด การให้ค่าน้ําหนักคะแนน ดังนี้ ตอนที่ ๑ เป็นค่าร้อยละ ตอนที่ ๒-๕ เป็นมาตราส่วนประมาณค่าตามแนวคิดของ ลิเคอร์ท (Likert Five Rating)(อ้าง ในพวงรัตน์ ทวีรัตน์ ๒๕๓๘:๑๐๗–๑๐๘)กําหนดค่าคะแนนของช่วงน้ําหนักออกเป็น๕ระดับคือ น้ําหนัก ๕ หมายถึง ความคิดเห็นและระดับความเป็นจริง อยู่ในระดับมากที่สุด น้ําหนัก ๔ หมายถึง ความคิดเห็นและระดับความเป็นจริง อยู่ในระดับมาก น้ําหนัก ๓ หมายถึง ความคิดเห็นและระดับความเป็นจริง อยู่ในระดับปานกลาง น้ําหนัก ๒ หมายถึง ความคิดเห็นและระดับความเป็นจริง อยู่ในระดับน้อย น้ําหนัก ๑ หมายถึง ความคิดเห็นและระดับความเป็นจริง อยู่ในระดับน้อยที่สุด สําหรับการแปลความหมายของค่าคะแนนตามเกณฑ์ประเมินค่า ใช้แนวทางของเบสท์ (Best ๑๙๘๖ : ๑๘๒) ดังนี้ คะแนนเฉลี่ยระหว่าง ๔.๕๐ - ๕.๐๐ หมายถึง ความคิดเห็นและระดับความเป็นจริง อยู่ในระดับมากที่สุด คะแนนเฉลี่ยระหว่าง ๓.๕๐ - ๔.๔๙ หมายถึง ความคิดเห็นและระดับความเป็นจริง อยู่ในระดับมาก คะแนนเฉลี่ยระหว่าง ๒.๕๐ - ๓.๔๙ หมายถึง ความคิดเห็นและระดับความเป็นจริง อยู่ในระดับปานกลาง คะแนนเฉลี่ยระหว่าง ๑.๕๐ - ๒.๔๙ หมายถึง ความคิดเห็นและระดับความเป็นจริง อยู่ในระดับน้อย
  • 19. คะแนนเฉลี่ยระหว่าง ๑.๐๐ - ๑.๔๙ หมายถึง ความคิดเห็นและระดับความเป็นจริง อยู่ในระดับน้อยที่สุด ซึ่งแบบสอบ ทั้ง ๑๑๓ ข้อ นําเสนอที่ปรึกษา อาจารย์ ดร.สุริยงค์ ชวนขยัน มหาวิทยาลัยราชภัฎ กาญจนบุรี อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ตรวจสอบความถูกต้อง ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนที่กําลังศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษา ทั้งในระบบ ในโรงเรียนและนอกโรงเรียนทั้งสายสามัญและสายอาชีพ สถานศึกษาที่เปิดการเรียนการสอนขยาย โอกาสทางการศึกษาและระดับมัธยมของจังหวัดกาญจนบุรี จํานวนนักเรียน ทั้งสิ้น ๒๓,๙๘๓ คน กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนนักศึกษาที่กําลังศึกษาอยู่ในระดับมัธยม ตอนต้น – ตอนปลาย-อุดมศึกษา จํานวนนักเรียน ๕,๐๐๐ คน ได้มาโดยวิธีเจาะจงเลือก (Purposive Sampling) การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ โปรแกรม SPSS For window ตอนที่ ๑ สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางที่ ๑ สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม รายการ N= ๕,๐๐๐ ลําดับที่ จํานวน X เพศ ชาย หญิง ๑๒๗๘ ๓๗๒๒ ๒๓.๔ ๖๘.๒๐ ๒ ๑ อายุ ๑๓ - ๑๕ ปี ๑๖ - ๑๘ ปี ๑๙ - ๒๑ ปี ๒๔ - ๒๕ ปี ๒๓๙๑ ๒๔๒๖ ๘๐ ๑๐๓ ๔๓.๘ ๔๔.๔ ๑.๕ ๑.๘ ๒ ๑ ๔ ๓