SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
บทที่ 1
                                      เงินสด และเงินฝากธนาคาร


           ในการประกอบธุ รกิจ ไม่ว่าจะอยูในรู ปแบบเจ้าของคนเดี ยว ห้างหุ ้นส่ วน หรื อบริ ษท เจ้าของ
                                              ่                                                        ั
กิจการจะต้องจัดหาสิ นทรั พย์ต่างๆ มาไว้เพื่อใช้ในการดาเนิ นงานอย่า งเพียงพอ เงิ นสดเป็ นสิ่ งแรกที่
ธุ รกิจต้องมีไว้ใช้เป็ นสื่ อกลางในการแลกเปลี่ยนสิ นค้าและบริ การและเป็ นที่ตองการของทุกคน เงินสด
                                                                                   ้
ถือเป็ นสิ นทรั พ ย์หมุนเวี ยนที่ มีส ภาพคล่ องมากที่ สุ ด และสามารถเปลี่ยนเป็ นสิ นทรั พ ย์อื่น ๆ ได้ง่ า ย
กิจการควรมีเงิ นสดไว้ในกิจการในปริ มาณที่เพียงพอกับการดาเนิ นงานสาหรั บรายจ่ายต่างๆ เช่น ซื้ อ
สิ นค้า จ่ ายชาระหนี้ จ่ายค่าใช้จ่าย เป็ นต้น แต่การมีเงินสดไว้ในกิจการมากเกินไป โดยไม่นาไปลงทุ น
หรื อฝากธนาคารถื อว่าไม่ เป็ นผลดี ซึ่ งนอกจากไม่ ก่อให้เกิดรายได้จากผลตอบแทนแล้ว ยังอาจเป็ น
ช่ อ งทางให้ เ กิ ดการทุ จริ ตได้ง่ า ย เพราะรายการบัญ ชี เ กี่ ยวกับ เงิ นสดเป็ นรายการที่ เ กิ ดขึ้ นมากและ
ผิดพลาดได้ง่าย จึ งต้องมีระบบการควบคุมภายในที่รัดกุม เกี่ยวกับวิธีควบคุมและการจัดการเงินสดทั้ง
ด้านการรับเงิน การจ่ายเงิน รวมถึงวิธีการบันทึกบัญชีเงินสดให้มีประสิ ทธิภาพ

ความหมายของเงินสด
         มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 25 เรื่ องงบกระแสเงินสดของสมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับ
                                                                                      ้
อนุ ญาตแห่ งประเทศไทย (2542, หน้า 4)ได้กาหนดความหมายของคาว่า เงิ นสด และรายการเทียบเท่า
เงินสด ไว้ดงนี้
             ั
         เงิ นสด (cash) หมายถึ ง เงิ นสดในมื อและเงิ นฝากธนาคารทุ กประเภท แต่ ไม่ รวมเงิ นฝาก
ประเภทที่ ตองจ่ ายคืนเมื่อสิ้ นระยะเวลาอันกาหนดไว้ส่วนรายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึงเงินลงทุน
               ้
ระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสู ง ซึ่ งพร้ อมที่ จะเปลี่ยนเป็ นเงิ นสดในจานวนที่ทราบได้ และมีความเสี่ ยงต่อ
การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าน้อยหรื อไม่มีนยสาคัญ ตัวอย่างของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ได้แก่
                                           ั
ธนบัตร เหรี ยญกษาปณ์ เช็คของธนาคาร ดร้าฟท์ ธนาณัติ เงินฝากธนาคารทุกประเภท (บัญชีเงินฝาก
กระแสรายวัน บัญชีเงินฝากออมทรัพย์ บัญชีเงินฝากประจา ซึ่ งต้องไม่มีขอจากัดในการใช้เงิ นฝาก
                                                                            ้
จานวนนี้ ) ตัวสัญญาใช้เงิน ตัวแลกเงิน บัตรเงินฝากของสถาบันการเงินที่ไม่มีขอจากัดในการใช้เงิ น
                 ๋               ๋                                               ้
ฝาก เงินทดรองจ่ายที่กนไว้เพื่อใช้จ่ายหมุนเวียนเล็กๆ น้อยๆ
                      ั
4




         รายการบางรายการเป็ นสิ่ งที่ใกล้เคียงกับเงิ นสด แต่นักบัญชีไม่นับรวมเป็ นเงิ นสดของกิจการ
ได้แก่
           1. เช็คลงวันที่ล่วงหน้า ซึ่ งยังไม่สามารถนาไปขึ้นเงินได้ เมื่อได้รับอาจบันทึกความทรงจาไว้
ในทะเบียนเช็คลงวันที่ล่วงหน้าเรี ยงตามวันที่ที่ครบกาหนด และเมื่อครบกาหนดแล้วจึ งนาไปขึ้นเงิ น
พร้อมบันทึกบัญชีรายการรับเช็คหรื ออีกวิธีหนึ่ ง เมื่อได้รับเช็คลงวันที่ล่วงหน้า จะบันทึกไว้ในบัญชีตว ั๋
เงินรับก็ได้
           2. เช็คที่ธนาคารคืน ซึ่ งเป็ นเช็คที่ลูกค้าจ่ายชาระหนี้ ให้แก่กิจการ แต่ธนาคารปฏิเสธการ
จ่ายเงิน เมื่อกิจการนาไปขึ้นเงินกับธนาคาร เนื่ องจากเจ้าของเช็คมีเงินในบัญชีไม่พอจ่าย
           3. เงินฝากที่มีเงื่อนไข ซึ่ งกิจการเปิ ดบัญชีเงินฝากเพื่อไว้ใช้ตามวัตถุประสงค์ต่าง ๆ เช่น
ไถ่ถอนหุ ้นกู้ ซื้ อสิ นทรั พย์ เงิ นสะสมพนักงาน เป็ นต้น เงิ นเหล่านี้ จะนามาใช้ได้ตามวัตถุประสงค์
เท่านั้น
           4. เงินมัดจาตามสัญญา ซึ่ งเกิดจากกิจการวางเงินไว้เพื่อเป็ นหลักประกันในการทาตามสัญญา
ในอนาคตเงินจานวนนี้ ไม่นบรวมเป็ นเงินสด
                                ั
           5. เงินยืมพนักงาน ซึ่ งกิจการให้พนักงานยืมเงินทดรองสาหรับค่าใช้จ่ายต่างๆ เพื่อทาธุ รกิจให้
เช่ น ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปแนะนาสิ นค้าให้ลูกค้าที่ต่างจังหวัด หรื อค่าใช้จ่ายจัดกิจกรรมส่ งเสริ ม
การขาย ซึ่ งพนักงานจะส่ งใบสาคัญมาเบิกเป็ นค่าใช้จ่ายในภายหลัง รายการนี้ ถือว่าพนักงานเป็ นลูกหนี้
เงินยืมพนักงาน
           6. ดวงตราไปรษณี ย ์ อากรแสตมป์ ซึ่ งจะมีมูลค่ากาหนดใช้ แต่ไม่สามารถเปลี่ยนเป็ นเงินสดได้
จึงไม่นบรวมเป็ นเงินสด ให้ถือเป็ นวัสดุสานักงาน
         ั

การควบคุมภายในเกียวกับเงินสด
                         ่
            เนื่ องจากว่า ในธุ รกิ จขนาดเล็ก เจ้าของกิ จการย่อมสามารถที่ จะควบคุ มดู แลกิ จการและการ
ดาเนินงานทุกอย่างของตนเองได้อย่างทัวถึง ตั้งแต่ทาหน้าที่เป็ นเจ้าของ ขายของ เก็บเงิน ลงบัญชีเองได้
                                            ่
แต่ ถ้า ธุ ร กิ จขนาดใหญ่ ข้ ึน เจ้า ของกิ จการอาจดู แลกิ จการของตนเองได้ไ ม่ ท ั่ว ถึ ง จึ งจ าเป็ นต้อ งจ้า ง
บุคคลภายนอกมาช่วยทางานเป็ นพนักงาน ซึ่ งจะต้องมีการแบ่งงานออกเป็ น ฝ่ าย แผนก หรื อส่ วนงาน
ต่าง ๆ ตามความจาเป็ นและความเหมาะสมในการรั บผิดชอบงาน ดังนั้นกิ จการต้องจัดทาระบบการ
ควบคุมเพื่ อป้ องกันการรั่ วไหลและการทุ จริ ต โดยเฉพาะเกี่ยวกับรายการเงิ นสด ที่ มีสภาพคล่องสู ง
5




สามารถโอนเปลี่ ยนมือได้ง่าย และเป็ นที่ตองการของคนทั่วไป ถ้าไม่มีการวางแผนควบคุ มภายในให้
                                              ้
รัดกุม จะทาให้มีการทุจริ ตเกี่ยวกับเงินสดเกิดขึ้นทั้งด้านการรับเงินสด และด้านการจ่ายเงินสด
          การควบคุมด้ านการรับเงิน
          เงิ นสดรั บของธุ รกิ จโดยทัวไปจะมาจากหลายทาง เช่ น การรั บเงิ นสดจากการขายสิ นค้าหรื อ
                                       ่
ให้บริ การหน้าร้าน การรับชาระหนี้ จากลูกหนี้ เป็ นเงิ นสด หรื อเช็คหรื อธนาณัติทางไปรษณี ย ์ การส่ ง
พนักงานไปเก็บเงิ นกับ ลูกค้า รายได้จากดอกเบี้ ยรั บ ค่า เช่ า รั บ เงิ นปั นผลรั บ เงิ นที่ ได้รับ จากการที่
                                                ้ื
เจ้าของนามาลงทุนเพิ่ม เงินที่ได้รับจากการกูยม เป็ นต้น เมื่อมีการรับเงินเข้ามาหลายทางเช่นนี้ ก็ยอมมี   ่
โอกาสเกิดการทุจริ ตขึ้นได้ เช่น การรับเงินสดจากการขายหน้าร้านอาจทุจริ ตได้โดยใส่ จานวนเงินที่ลง
บันทึ กบัญชี น้อยกว่า ที่ ได้รับจริ ง หรื อลงบันทึ กบัญชี ค่า ขายไม่ครบตามจานวนที่ ขายจริ ง การทุ จริ ต
เกี่ยวกับรายการลูกหนี้โดยจะไม่บนทึกบัญชีการรับชาระเงินจากลูกหนี้ ในทันที แต่จะนาเงินที่ได้รับจาก
                                     ั
ลูกหนี้ ไปใช้ส่วนตัวก่อนแล้วจึงบันทึกบัญชีการรับชาระเงินจากลูกหนี้ รายเก่าก็ต่อเมื่อมีลูกหนี้ รายใหม่
นาเงินมาชาระให้ เราเรี ยกวิธีการเช่ นนี้ ว่า “lapping” แต่ถึงอย่างไร ณ วันสิ้ นปี ผูทุจริ ตต้องนาเงินมาคืน
                                                                                     ้
และลงบันทึกบัญชีให้ถูกต้อง นอกจากนี้ อาจมีการทุจริ ตจากการไม่บนทึกบัญชีรายการขายเชื่อ และเมื่อ
                                                                       ั
ลูกหนี้ นาเงินมาชาระหนี้ ก็จะนาเงินไปใช้ส่วนตัว การไม่ลงบันทึกบัญชี รายการรับชาระหนี้ จากลูกหนี้
ที่ตดเป็ นหนี้สูญไปแล้ว หรื อการบันทึกบัญชีการรับชาระหนี้จากลูกหนี้ ต่ากว่าความเป็ นจริ ง เป็ นต้น
     ั
          ธุรกิจควรมีการควบคุมภายในเกี่ยวกับด้านการรับเงิน ดังนี้
          1. การแบ่งแยกหน้าที่ โดยไม่ควรให้บุคคลใดบุ คคลหนึ่ งทาทั้งหน้าที่รับเงิ นและลงบัญชี ควร
แยกหน้าที่ระหว่างพนักงานรับเงินและพนักงานลงบัญชีออกจากกัน นอกจากนี้ ยงต้องแยกหน้าที่การรับ
                                                                                   ั
เงิน และการจ่ายเงินออกจากกันด้วย รวมถึงการจัดทาสมุดบัญชีเงินสดรับ และสมุ ดเงินสดจ่าย แยกจาก
กัน
          2. การรับเงินสด หรื อเช็คทุกรายการ ให้นาฝากธนาคารทุกวัน หรื อย่างช้าภายในช่วงเช้าของ
วันเปิ ดท าการถัดไป เพื่ อไม่ให้มีเงิ นสดในกิจการมากเกินไป จนเป็ นสิ่ งล่อใจและทาให้เกิดการทุจริ ต
ของพนักงาน
          3. การรั บเงิ นทุกประเภทต้องออกใบเสร็ จรับเงิน และนาสาเนาใบเสร็ จส่ งฝ่ ายบัญชีภายในวัน
นั้น เพื่อทาการบันทึกบัญชี ซึ่ งการยักยอกเงินส่ วนใหญ่มกจะเกิดขึ้นก่อนการบันทึกบัญชี
                                                           ั
          4. ใบเสร็ จรับเงิ นของกิจการต้องมีเลขที่ เล่มที่ และมีผูรับผิดชอบควบคุมใบเสร็ จรับเงิ นที่ ยง
                                                                   ้                                     ั
ไม่ได้ใช้ โดยทาทะเบียนใบเสร็ จรั บเงิน ขึ้นมาเพื่อควบคุมการเบิกใช้ใบเสร็ จรับเงิน จากฝ่ ายหรื อแผนก
ต่างๆ ที่มาขอเบิก ซึ่ งต้องมีใบเบิกเป็ นหลักฐานการเบิก และทาการตรวจนับจานวนใบเสร็ จรั บเงินที่
6




                ่
คงเหลืออยูจริ ง ให้มีจานวนตรงกับในทะเบียนใบเสร็ จรับเงิน สาหรับการเขียนใบเสร็ จรับเงิน ต้องเขียน
เรี ยงตามเลขที่ใบเสร็ จหากใบเสร็ จรับเงินใบใดเขียนผิด ให้เขียนคาว่า “ยกเลิก” แล้วเก็บไว้ในเล่มโดยไม่
ต้องฉี กทิ้ง เมื่อมีการตรวจสอบจะได้ทราบว่าใบเสร็ จรับเงินฉบับใดหายไป
                                                                 ั
            5 จัดให้พนักงานมีการสับเปลี่ยนหน้าที่ กน เพื่อป้ องกันการทุจริ ตจากการที่อยูในตาแหน่ งใด         ่
ตาแหน่ งหนึ่ งนานเกินไปจนเห็ นลู่ ทางการทุ จริ ตได้ นอกจากนี้ ยงช่ วยป้ องกันการผิดพลาด จากการ
                                                                                        ั
ทางานอยู่คนเดี ยวจนมองไม่ เห็ นหรื อถ้าเห็ นก็อาจปล่ อยไป เพราะคิดว่ าไม่มีใครมารับรู้ การท างาน
ผิด พลาดของตนหากมี ก ารสั บ เปลี่ ย นหน้ า ที่ ห มุ น เวี ย นไป พนัก งานคนใหม่ อ าจพบข้อ ทุ จ ริ ต หรื อ
ข้อผิดพลาดที่คนเดิมทาไว้ ดังนั้น การสั บเปลี่ยนหน้าที่ การปฏิบติงานจะทาให้พนักงานไม่กล้าทุจริ ต
                                                                                    ั
และเพิ่มความระมัดระวังในการทางาน เพราะรู ้ว่าจะมีคนอื่นหมุนเวียนมาทาหน้าที่แทนตน
            6. ควรใช้เครื่ องบันทึกเงินสด สาหรับรับเงินจากการขายหน้าร้าน และมีพนักงานอีกคนหนึ่ งมา
เก็บเงินจากพนักงานขายอีกทีหนึ่ ง โดยจะทาการตรวจสอบยอดเงิน กับม้วนเทปบันทึกภายในเครื่ องว่า
จานวนเงินตรงกันหรื อไม่ ถ้าเป็ นการรับเงินค่าขายทางไปรษณี ย ์ ควรมีพนักงานเปิ ดจดหมายและบันทึก
รายการเช็ คหรื อธนาณัติ ที่ ได้รั บ อย่า งน้ อย 2 คนร่ วมกัน และน าเช็ คหรื อ ธนาณัติที่ ได้รั บ ส่ ง ให้ฝ่ าย
การเงิ นต่อไป และถ้าเป็ นการส่ งพนักงานไปเก็บเงินจากลูกค้า จะต้องมีการตรวจสอบเอกสารการเก็บ
เงินก่อนมอบให้พนักงานไปเก็บเงินจากลูกค้า และต้องแจ้งให้ลูกค้าทราบด้วยว่ากิจการได้มอบหมายให้
ใครเป็ นผูเ้ ก็บเงินบ้าง เมื่อพนักงานได้เก็บเงิ นจากลูกค้ากลับมา ก็ตองตรวจเช็คเอกสารที่ บนทึกการรั บ
                                                                                          ้                       ั
เงินกับจานวนเงินที่ได้รับมาว่าครบถ้วนถูกต้องหรื อไม่
            การควบคุมด้ านการจ่ ายเงิน
            เงิ นสดจ่ายของธุ รกิจ จะมีการจ่ ายออกไปหลายทาง เช่ น จ่ ายชาระหนี้ ให้แก่เจ้าหนี้ สาหรั บค่า
สิ นค้า ที่ ไ ด้ซ้ื อมา จ่ า ยช าระหนี้ เงิ นกู้ยืม จ่ า ยเงิ น ซื้ อ สิ นทรั พ ย์มาไว้ใช้ใ นกิ จ การ จ่ า ยค่ า ใช้จ่ า ยต่ า งๆ
เป็ นต้น การทุจริ ตด้านการจ่ายเงินที่พบมักเป็ นการจ่ ายชาระหนี้ สูงกว่าหนี้ ที่ตองจ่ายจริ ง จ่ายเช็คเงินสด
                                                                                                ้
โดยมีการปลอมลายมือชื่อผูมีอานาจในการลงนาม มีการลงนามล่วงหน้าไว้ในเช็คเปล่าหรื อมีการโอน
                                   ้
เช็คลอย (check kiting) ซึ่ งมักจะทา ณ วันสิ้ นเดื อน โดยสั่งจ่ ายเช็คธนาคารหนึ่ ง แล้วนาไปฝากอี ก
ธนาคารหนึ่ งเป็ นจานวนเงินเท่ากันที่ได้ยกยอกไป ทาให้ยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดธนาคาร
                                                    ั
ของธนาคารแรกจะยังไม่ลดลงเนื่ องจากธนาคารยังเคลียร์ เช็คไม่ทน แต่ยอดเงินฝากธนาคารหลังจะเพิ่ม
                                                                                      ั
สู งขึ้น เท่ากับจานวนเงินของเช็คที่นาไปฝาก นอกจากนี้ อาจมีการทุจริ ตโดยวิธีนาใบสาคัญจ่ายมาขอเบิก
ซ้ า หรื อทาการแก้ไขใบสาคัญจ่ายให้มียอดเงินสู งกว่าที่ได้จ่ายจริ ง เป็ นต้น
7




          ธุรกิจควรมีการควบคุมภายในด้านการจ่ายเงิน ดังนี้
          1. การจ่ายเงินทุกรายการควรจ่ายเป็ นเช็คของธนาคาร โดยก่อนการจ่ายเงินควรมีการตรวจสอบ
และอนุ มติจากผูมีอานาจ สาหรับรายจ่ายที่เป็ นจานวนเงินเล็กน้อย ไม่สามารถจ่ายเป็ นเช็คได้ ก็ให้ต้ ง
           ั      ้                                                                                   ั
วงเงินสดย่อยไว้เพื่อใช้จ่าย ซึ่ งจะกาหนดให้มีพนักงานผูหนึ่ งเป็ นผูดูแลรับผิดชอบถือเงินสดย่อยไว้ และ
                                                       ้           ้
ทาหน้าที่จ่ายเงินเมื่อมีผมาขอเบิก
                         ู้
          2. การเขียนเช็คทุ กใบควรเขียนเรี ยงตามลาดับเลขที่ ในสมุดเช็ค ต้นขั้วเช็คให้เขียนวันที่ที่จ่าย
รายการจ่ายและชื่อผูรับเงินไว้ เพื่อสะดวกในการตรวจสอบ เช็คฉบับใดเขียนผิดหรื อต้องการยกเลิกให้
                      ้
                                                 ั
ขีดฆ่า แล้วเขียนคาว่า “ยกเลิก” และนามาติดไว้กบต้นขั้วทุกครั้ง เพื่อเป็ นหลักฐานว่าได้ยกเลิกเช็คฉบับ
นั้นจริ ง
          3. ไม่ลงนามล่วงหน้าในเช็คเปล่ าที่ ไม่ มีรายการและ ก่ อนจะลงนามสั่ง จ่ ายเงิ นตามเช็คต้อง
ตรวจดูยอดเงินให้ถูกต้องตรงกับหลักฐานประกอบการจ่ายเงิน เช่น ใบสาคัญจ่ ายที่ได้รับอนุ มติให้จ่าย
                                                                                             ั
ใบเสร็ จรับ เงิ นหรื อใบกากับสิ นค้า ใบส่ งของ และควรใช้ตรายางประทับลงในเอกสารประกอบการ
จ่ายเงินทุกใบว่า “จ่ายแล้ว” พร้อมลงวันที่ และเลขที่เช็คกากับ เพื่อป้ องกันการจ่ายเงินซ้ า
          4. ให้มีการตรวจสอบเงินสดย่อย และยอดเงินฝากธนาคารตามสมุดบัญชีของกิจการกับใบแจ้ง
ยอดเงินฝากจากธนาคารทุกเดือน

เงินขาดและเงินเกิน
          ในการควบคุมภายในเกี่ยวกับเงินสด เมื่อต้องมีการตรวจนับเงินสดคงเหลือในมือผูรักษาเงินสด
                                                                                        ้
กับยอดเงินสดคงเหลือในบัญชี หากพบว่ายอดเงินที่ตรวจนับไม่ตรงกับยอดตามบัญชีโดยมีเงิ นสดขาด
หรื อเกิ นบัญชี เ กิดขึ้น อาจเนื่ องมาจากความผิดพลาดเผลอเรอ การทอนเงิ นผิด หรื อการรวมเงิ นใน
ใบสาคัญมากหรื อน้อยกว่าความเป็ นจริ ง ผลต่างที่ เกิดขึ้นกิจการจะเป็ นผูรับผิดชอบ ซึ่ งจะบันทึกไว้ใน
                                                                        ้
“บัญชีเงินขาดและเงิ นเกินบัญชี” ถ้าเป็ นกรณี เงินขาดจะบันทึกบัญชีไว้ทางด้านเดบิตถือ เป็ นค่าใช้จ่าย
อื่น แต่ถาเป็ นกรณี เงินเกิน จะบันทึกบัญชีไว้ทางด้านเครดิตถือว่าเป็ นรายได้อื่น และในวันสิ้ นปี จะโอน
           ้
ปิ ดบัญชีเงินขาดและเงินเกินไปเข้าบัญชีกาไรขาดทุน
8




           ตัวอย่ างที่ 1 ในวัน ที่ 31 มกราคม 2547 จากการตรวจนับ เงิ นสดรั บ จากการขายสิ น ค้า
ประจาวันของพนักงานขายหน้าร้าน พบว่ามียอดเงินรวมทั้งสิ้ น 34,998 บาท แต่ยอดรวมเงินสดตามที่
เครื่ องรั บเงิ นสดบันทึ กไว้ มียอดเงิ นรวมทั้งสิ้ น 35,050 บาท แสดงว่าเงิ นขาดอยู่จานวน 52 บาท จะ
บันทึกบัญชีโดย
           ม.ค. 31 เงินสด                                    34,988
                        เงินขาดและเงินเกินบัญชี                  52
                               ขายสิ นค้า                                    35,050
                         บันทึกการขายเงินสดประจาวัน และบันทึกเงินขาดบัญชี
           ในทางตรงกันข้าม ถ้าเงินสดในมือมียอดคงเหลือมากว่าเงินสดตามบัญชี โดยสมมติว่าตรวจนับ
เงินสดได้ผลรวมทั้งสิ้ น 35,150 บาท ยอดรวมเงินสดตามเครื่ องรับเงินสดบันทึกไว้ 35,050 บาท แสดง
ว่ามีเงินเกินอยู่ 100 บาท จะบันทึกบัญชีโดย

        ม.ค. 31 เงินสด                               35,150
                      ขายสิ นค้า                                         35,050
                      เงินขาดหรื อเงินเกินบัญชี                             100
               บันทึกการขายเงินสดประจาวัน และเงินเกินบัญชี

เงินฝากธนาคาร
          ในกรณี ที่กิจการมีเงินสดคงเหลือใช้จ่ายหมุนเวียนมากเกินความต้องการ และเพื่อให้สอดคล้อง
กับหลักการควบคุมภายในเกี่ยวกับเงินสดที่ว่าเมื่อรับเงินควรนาฝากธนาคารทันที และเวลาจ่ายเงินควร
จ่ายเป็ นเช็ค กิจการจึงมักจะนาเงินสดไปฝากธนาคาร ซึ่งเงินฝากธนาคาร มี 3 ประเภท คือ
          1. เงินฝากธนาคารประเภทประจา เงินฝากประเภทนี้ ธนาคารจะออกสมุดคู่ฝาก (pass book)
ให้ผูฝากเงิ น เพื่อนาไปใช้เมื่ อเวลามาติดต่อฝากหรื อถอนเงิ นสดกับธนาคาร ซึ่ งจะทาให้ยอดคงเหลือ
      ้
ปรากฏอยูในบัญชีเป็ นปั จจุบนอยูตลอดเวลา โดยปกติกิจการจะฝากเงินประเภทประจาในช่วงเวลาที่คาด
            ่                  ั ่
ว่ายังไม่ ใช้เงิ นในระยะเวลานี้ และมักจะไม่ ถอนก่อนครบกาหนดเวลา เนื่ องจากต้องการรั บดอกเบี้ ย
ตามที่สถาบันการเงินกาหนดไว้ ในอัตราดอกเบี้ยที่สูงกว่าเงินฝากธนาคารประเภทอื่น และหากว่าถ้าไถ่
ถอนก่อนครบกาหนดเวลาก็จะได้รับดอกเบี้ยในอัตราที่ต่ากว่ากาหนดไว้
9




         2. เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์ เงิ นฝากประเภทนี้ ธนาคารจะออกใบรับฝากเงิน หรื อ
สมุดคู่ฝาก ให้ผูฝากเงิ นเช่ นเดี ยวกับเงินฝากประจา เพื่อนาไปใช้เมื่อเวลามาติดต่อฝากหรื อถอนเงิ นสด
                  ้
                                                  ่
กับธนาคาร ซึ่ งจะทาให้ยอดคงเหลือปรากฏอยูในบัญชีเป็ นปั จจุบนตลอดเวลา ผลประโยชน์ที่ได้รับ จาก
                                                                  ั
อัตราดอกเบี้ ย ของเงิ นฝากประเภทนี้ จะต่ากว่าเงิ นฝากประเภทประจา นอกจากนี้ ธนาคารยังมีบริ การ
เสริ มสาหรับเงินฝากประเภทออมทรัพย์ในรู ปบัตรเอทีเอ็ม ที่ผถือบัตรสามารถใช้บตรในการฝากหรื อ
                                                               ู้                   ั
ถอนเงินจากเครื่ อง เอทีเอ็มได้
         3. เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน เงินฝากประเภทนี้ ธนาคารจะไม่ออกสมุดคู่ฝากให้ ผู ้
ฝากสามารถทราบรายละเอี ยดเกี่ ยวกับ การฝากเงิ น การถอนเงิ น และยอดคงเหลื อในบัญชี เ งิ นฝาก
ธนาคาร ได้จากใบแจ้งยอดเงินฝากจากธนาคาร (bank Statement) ซึ่ งธนาคารจะส่ งมาให้ในวันสิ้ น
เดือนของแต่ละเดือน เมื่อกิจการนาเงินสดหรื อเช็คฝากธนาคาร จะเขียนใบนาฝากเงิน (pay-in slip cash
, cheque) ส่ วนการถอนเงินจะเขียนเช็คสั่งจ่าย เนื่ องจากกฎหมายกาหนดไว้ให้เฉพาะธนาคารพาณิ ชย์
เท่านั้น ที่ผูฝากเงินกระแสรายวันสามารถใช้เช็คได้โดยธนาคารจะไม่คิดดอกเบี้ยเงินฝากให้สาหรับเงิน
              ้
ฝากประเภทนี้ เพราะไม่ สามารถนาเงิ นฝากกระแสรายวันไปแสวงหาผลประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ ใน
บางครั้งกิจการอาจมีรายจ่ายที่ตองจ่ายจากเช็คเป็ นจานวนเงินมาก และอาจหาเงินเข้าบัญชีไม่ทน จึงมักมี
                                  ้                                                             ั
การตกลงกับธนาคารเพื่อขอวงเงินเบิกเกินบัญชี (over draw) กับธนาคารไว้ ว่าหากมีการสั่งจ่ายจานวน
                                                ่                               ั
เงินในเช็คมากกว่าจานวนเงินคงเหลือที่มีอยูในบัญชี แต่ไม่เกินวงเงินที่ตกลงไว้กบธนาคารให้ธนาคาร
ผ่านเช็คให้ ซึ่ งจานวนเงิ นจากการสั่งจ่ายเช็คที่สูงกว่าจานวนเงินคงเหลือในบัญชีน้ ี เรี ยกว่า เงินเบิกเกิน
บัญชีธนาคาร (bank overdraft) และธนาคารจะมีการคิดดอกเบี้ยจากเจ้าของบัญชี สาหรับการตรวจสอบ
ความถูกต้องของเงินฝากกระแสรายวัน สามารถทาได้ ณ วันสิ้ นเดื อน โดยการเปรี ยบเที ยบสาเนาใบนา
ฝากเงิน และต้นขั้วเช็คซึ่ งผูฝากสั่งจ่ายเงิน กับใบแจ้งยอดจากธนาคาร
                             ้

        ทางด้านผูฝากเงิน
                   ้
        เมื่อนาเงินฝากธนาคาร จะบันทึกบัญชี
                  เดบิต เงินฝากธนาคาร                               XX
                           เครดิต เงินสด                                   XX
                  นาเงินสดฝากธนาคาร
        เมื่อนาเช็คที่ได้รับจากการรับชาระหนี้ จากลูกหนี้ หรื อขายสิ นค้าไปเข้าบัญชีธนาคาร จะบันทึก
บัญชี
10




                  เดบิต เงินฝากธนาคาร                               XX
                         เครดิต ลูกหนี้                                   XX
                                 ขายสิ นค้า                               XX
                  บันทึกการรับชาระหนี้จากลูกหนี้ หรื อขายสิ นค้าแล้วนาฝากธนาคารทันที

             เมื่อมีการสั่งจ่ายเช็ค เพื่อจ่ายชาระหนี้ ซื้ อสิ นค้า ซื้ อสิ นทรัพย์ และจ่ายค่าใช้จ่ายต่าง ๆ จะ
ทาให้ยอดเงินฝากธนาคารลดลง จะบันทึกบัญชี
                  เดบิต เจ้าหนี้ /เงินกูยม้ื                                XX
                           ซื้ อสิ นค้า                                     XX
                           สิ นทรัพย์                                       XX
                           ค่าใช้จ่าย                                       XX
                           เครดิต เงินฝากธนาคาร                                     XX
                  บันทึกการจ่ายชาระหนี้ , ซื้ อสิ นค้า, ซื้ อสิ นทรัพย์และค่าใช้จ่ายต่าง ๆ แล้วแต่กรณี โดย
เขียนเช็คสังจ่าย
           ่

         ทางด้านธนาคาร
         ธนาคารจะถือว่าเงินฝากธนาคารทุกประเภท เป็ นบัญชีหนี้สิน
                เมื่อธนาคารรับฝากเงิน จะบันทึกบัญชี
                เดบิต เงินสด                                   XX
                        เครดิต เงินฝาก                                           XX
                บันทึกการรับฝากเงินจากลูกค้า
                เมื่อธนาคารจ่ายเงินตามเช็ค จะบันทึกบัญชี
                เดบิต เงินฝาก                                  XX
                        เครดิต เงินสด                                            XX
                บันทึกการจ่ายเงินตามเช็คสั่งจ่ายของลูกค้า
11




การทางบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร
                                                                    ั
         จากการที่ธนาคารได้มีการจัดส่ งใบแจ้งยอดเงินฝากธนาคารให้กบกิจการซึ่งยอดคงเหลือตาม
ใบแจ้งยอดเงินฝากธนาคารดังกล่าว ควรเท่ากับยอดคงเหลือตามสมุดบัญชีของกิจการ แต่ส่วนใหญ่แล้ว
มักพบว่ายอดคงเหลือจะไม่ตรงกัน จึงต้องจัดทางบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร หรื อ งบพิสูจน์ยอดเงิน
ฝากธนาคาร เพื่อหาสาเหตุและอธิบายให้ทราบถึงความแตกต่างของยอดคงเหลือระหว่างธนาคารกับ
กิจการที่อาจเกิดจากความแตกต่างของเวลาที่บนทึกบัญชีรายการฝากถอน (time lags) เนื่องจาก
                                            ั
บางครั้งกิจการบันทึกบัญชีแล้วแต่ธนาคารยังไม่บนทึกบัญชี หรื อธนาคารบันทึกบัญชีแล้ว แต่กิจการยัง
                                               ั
ไม่บนทึกบัญชีเพราะยังไม่ทราบว่ามีรายการเกิดขึ้น หรื อเกิดจากความผิดพลาด (errors)จากการที่กิจการ
     ั
หรื อธนาคารอาจบันทึกรายการหรื อตัวเลขผิด ซึ่ งสาเหตุที่ทาให้เกิดความแตกต่างในยอดคงเหลือของ
บัญชีเงินฝากธนาคารระหว่างกิจการกับธนาคาร จะประกอบด้วย สาเหตุดงนี้     ั

        1. รายการที่กิจการบันทึกในสมุดบัญชีแล้ว แต่ธนาคารยังไม่ได้บนทึกบัญชี ได้แก่
                                                                   ั
            1.1 เงินฝากระหว่างทาง คือ รายการที่กิจการนาเงินไปฝากธนาคารในวันสิ้ นเดือน และได้
บันทึกเพิ่มยอดบัญชีเงินฝากธนาคารในสมุดบัญชีของตนแล้ว แต่ธนาคารยังไม่บนทึกเพิ่มยอดบัญชีเงิน
                                                                         ั
ฝากธนาคารให้ เนื่ องจากกิจการนาเงินไปฝาก เมื่อเลยเวลาปฏิบติงานของธนาคารที่ปิดทาการแล้ว แต่
                                                           ั
ธนาคารจะรับเงินที่นามาฝากไว้โดยไปเพิ่มยอดบัญชีเงินฝากธนาคารให้ในวันทาการถัดไป จึงมีผลทา
ให้ยอดเงินฝากธนาคารในตามใบแจ้งยอดธนาคารในวันสิ้ นเดือนต่ากว่ายอดเงินฝากธนาคารตามสมุด
บัญชีของกิจการ

         1.2 เช็คค้างจ่าย คือ รายการเช็คที่กิจการสั่งจ่ายให้บุคคลภายนอกและได้บนทึกลดยอดเงิ น
                                                                              ั
ฝากธนาคารในบัญชีแล้ว แต่ผรับเช็คยังไม่ได้นาเช็คไปขึ้นเงินกับธนาคาร ธนาคารจึงยังไม่บนทึกบัญชี
                           ู้                                                      ั
ลดยอดเงินฝากธนาคาร จึ งมีผลทาให้ยอดเงิ นฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดจากธนาคารสู งกว่ายอดเงิ น
ฝากธนาคารตามสมุดบัญชีของกิจการ

       2. รายการที่ธนาคารบันทึกรายการแล้ว แต่กิจการยังไม่ได้บนทึกบัญชี ได้แก่
                                                                    ั
           2.1 ธนาคารเรี ยกเก็บเงินตามตัวเงินรั บให้กิจการ เนื่ องจากในบางครั้งกิจการอาจนาตัวเงิ น
                                            ๋                                                  ๋
รับมาให้ธนาคารเรี ยกเก็บเงินให้ ซึ่ งกิจการจะยังไม่บนทึกบัญชีในวันที่นาตัวเงินมามอบให้ธนาคาร เมื่อ
                                                    ั                      ๋
ธนาคารเรี ยกเก็บเงิ นตามตัว พร้ อมดอกเบี้ ยตัว (ถ้ามี) ได้แล้ว ก็จะนาเข้าบัญชีเพิ่มยอดเงินฝากธนาคาร
                          ๋                   ๋
12




ทันที แต่กิจการยังไม่ทราบจนกว่าจะได้รับแจ้งการเข้าบัญชี จึงมีผลทาให้ยอดเงินฝากธนาคารตามสมุด
บัญชีของกิจการต่ากว่ายอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดจากธนาคาร
               2.2 ธนาคารจ่ายเงินตามตัวเงินจ่ายให้กิจการ เนื่ องจากในบางครั้งกิจการอาจขอให้ธนาคาร
                                            ๋
จ่ายเงิ นตามตัวเงิ นจ่ายพร้อมดอกเบี้ยจ่ ายให้ เมื่อธนาคารจ่ายเงินตามตัว พร้อมดอกเบี้ยให้แล้ว ก็จะลด
                 ๋                                                         ๋
ยอดเงิ นฝากธนาคารทันที แต่ กิจ การยังไม่ ท ราบจนกว่ าจะได้รับ การแจ้ง ลดยอดบัญชี จึ ง มี ผลทาให้
ยอดเงินฝากตามสมุดบัญชีของกิจการสู งกว่ายอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดจากธนาคาร
               2.3 เช็คคืนหรื อเช็คที่มีเงิ นในบัญชี ไม่เพียงพอ เมื่อกิจการได้รับเช็คจากค่าขายสิ นค้า หรื อ
รั บ ชาระหนี้ จากลูกหนี้ กิ จการจะนาฝากธนาคารเพื่ อให้ ธนาคารเรี ยกเก็บเงิ นแทนซึ่ งทั้ง กิจการและ
ธนาคารจะบันทึกเพิ่มยอดบัญชีเงินฝากธนาคารทั้งสองฝ่ ายก่อน ต่อมาถ้าปรากฏว่าธนาคารไม่สามารถ
เรี ยกเก็บ เงิ นได้ เพราะเจ้าของเช็คมีเ งิ นในบัญชี ไม่ พอ ธนาคารจะลดยอดบัญชีเ งินฝากธนาคารของ
กิ จการ พร้ อมคืนเช็คแต่กิจการยัง ไม่ทราบจนกว่าจะได้รับแจ้งการคืนเช็ค จึ ง มีผลทาให้ยอดเงิ นฝาก
ธนาคารตามสมุดบัญชีของกิจการสู งกว่ายอดเงินฝากตามใบแจ้งยอดจากธนาคาร
               2.4 ค่าสาธารณูปโภค เมื่อกิจการใช้บริ การหักบัญชีเงินฝากธนาคารในการจ่ายค่าน้ าประปา
ค่าไฟฟ้ า และค่าโทรศัพท์ เป็ นต้น ซึ่ งธนาคารจะจ่ายชาระค่าสาธารณู ปโภคแทน โดยหักจากยอดเงิน
ฝากธนาคาร แต่กิจการยังไม่ทราบจนกว่าจะได้รับแจ้งลดยอดบัญชี จึ งมีผลทาให้ยอดเงิ นฝากตามสมุด
บัญชีของกิจการสู งกว่ายอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดจากธนาคาร
               2.5 ค่าธรรมเนียมธนาคาร เมื่อธนาคารได้ให้บริ การต่างๆ แก่ลูกค้า เช่น เรี ยกเก็บเงินตาม
ตัวหรื อเช็ค ในการส่ งดราฟท์ไปต่างประเทศ เป็ นต้น ธนาคารจะคิดค่าธรรมเนี ยม โดยหักจากยอดเงิน
   ๋
ฝากธนาคารทันที แต่ กิจการยัง ไม่ ท ราบจนกว่า จะได้รับแจ้งลดยอดบัญชี จึงมีผลทาให้ยอดเงิ นฝาก
ธนาคารตามสมุดบัญชีของกิจการ สู งกว่ายอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดจากธนาคาร

       3. รายการที่บนทึกบัญชีผดพลาดทั้งสองฝ่ าย ซึ่ งทั้งกิจการและธนาคาร อาจมีการบันทึกบัญชี
                     ั         ิ
ผิดพลาดได้ รายการที่พบ ได้แก่
           3.1 รายการที่กิจการลงบัญชีผด การลงบัญชีผิดส่ วนใหญ่เกิดจากบันทึกตัวเลขในสมุดบัญชี
                                      ิ
ผิดพลาดทั้งด้านรายการนาเงิ นฝากหรื อรายการสั่งจ่ ายเช็ค เช่น เขียนจานวนเงิ นในเช็ค 895 บาท ซึ่ ง
ธนาคารจ่ ายตามนี้ แต่กิจการลงบัญชี 859 บาท ทาให้ยอดของธนาคารและกิจการไม่เท่ากัน ดังนั้น จึง
ต้องตรวจสอบว่า บันทึกยอดเงินผิดพลาดไปเท่าใด และมีผลทาให้ยอดเงินฝากธนาคารในสมุดบัญชีสูง
13




หรื อต่ากว่ายอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดจากธนาคาร
          3.2 รายการที่ธนาคารบันทึกรายการผิด บางครั้ งธนาคารอาจบันทึกรายการผิดพลาดได้ โดย
นาเช็คของกิจการมาเพิ่มยอด หรื อหักออกจากบัญชีของกิจการ ซึ่ งมีผลทาให้ยอดเงินฝากธนาคารตามใบ
แจ้งยอดธนาคาร สู งหรื อต่ากว่ายอดเงินฝากธนาคารในสมุดบัญชีของกิจการ

วิธีการทางบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร
        การทางบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร สามารถกระทาได้ 2 วิธี ดังนี้
        1. วิธีหายอดที่ ถูกต้อง วิธีน้ ี จะแสดงให้ผูอ่านงบทราบยอดเงิ นฝากคงเหลือที่ถูกต้อง โดยทา
                                                      ้
การปรั บยอดเงิ นคงเหลือที่ ไม่ เท่ ากันระหว่างกิ จการกับธนาคาร อันเนื่ องมาจากสาเหตุ ท่ี กิจการหรื อ
ธนาคารยังไม่บนทึ กบัญชี หรื อบันทึ กบัญชีแล้วยังไม่ถูกต้อง เมื่อมีการปรั บแล้วจะทาให้ยอดเงิ นฝาก
                ั
                                                                           ั ่
ธนาคารของทั้งสองฝ่ ายเท่ากันด้วยยอดที่ถูกต้อง วิธีน้ ีจ้ ึงเป็ นที่นิยมใช้กนทัวไป
        2. วิธีกระทบยอดจากยอดของฝ่ ายหนึ่ งไปหายอดอีกฝ่ ายหนึ่ ง ทาให้ผอ่านงบไม่สามารถทราบ
                                                                                  ู้
ยอดเงินฝากคงเหลือที่ถกต้อง วิธีน้ ีจึงไม่เป็ นที่นิยมใช้กน
                     ู                                    ั

ขั้นตอนการทางบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร
         1. ตรวจสอบยอดเงิ นคงเหลือยกมาจากสิ้ นเดือนก่อนว่าได้บนทึกบัญชีให้ตรงกันแล้วหรื อไม่
                                                                     ั
หากยังไม่ได้บนทึ กบัญชีตองนามาใช้ทางบกระทบยอดเงิ นฝากของเดือนปั จจุ บนด้วย ซึ่ งรายการส่ วน
                ั          ้                                                  ั
ใหญ่มกจะ ได้แก่ เงินฝากระหว่างทาง และเช็คค้างจ่าย
      ั
         2. ตรวจสอบรายการนาเงิ นฝากของเดื อนปั จจุ บันที่ กิจการบันทึ กบัญชี ไว้ เปรี ยบเที ยบกับ
รายการเงิ นฝากตามที่ปรากฏในใบแจ้งยอดจากธนาคารว่ามียอดตรงกันหรื อไม่ รายการใดที่มียอดเงิ น
ฝากตรงกัน ให้ทาเครื่ องหมาย  ทั้งในสมุดบัญชีและในใบแจ้งยอดจากธนาคาร ถ้ามีรายการเงินฝาก
ธนาคารที่ ป รากฏในบัญชี ของกิจการแต่ ไม่ ปรากฏในใบแจ้ง ยอดจากธนาคารรายการนี้ คือ เงิ นฝาก
ระหว่างทาง ถ้ามีรายการเงินฝากที่ปรากฏในใบแจ้งยอดจากธนาคารแต่ไม่ปรากฏในบัญชีของกิจการ
อาจจะเป็ นรายการตัวเงินรับและดอกเบี้ย (ถ้ามี) ที่ธนาคารเรี ยกเก็บให้หรื อธนาคารนาเช็คของกิจการอื่น
                     ๋
มาเครดิตเพิมยอดบัญชีเงินฝากให้
            ่
         3. ตรวจสอบรายการถอนเงิน จากการที่กิจการได้สั่งจ่ายเช็คของเดื อนปั จจุ บนที่ กิจการบันทึ ก
                                                                                  ั
บัญชีไว้ เปรี ยบเทียบกับรายการถอนเงินตามที่ปรากฏในใบแจ้งยอดจากธนาคารว่ามียอดตรงกันหรื อไม่
รายการใดที่ มีย อดถอนเงิ น ตรงกัน ให้ ท าเครื่ องหมาย  ทั้ง ในสมุ ด บัญ ชี และในใบแจ้ง ยอดจาก
14




ธนาคาร ถ้ามีรายการถอนเงินฝากธนาคารที่ ปรากฏในบัญชีของกิจการแต่ไม่ปรากฏในใบแจ้งยอดจาก
ธนาคาร รายการนี้ คือ เช็คค้างจ่าย ถ้ามีรายการถอนเงินฝากธนาคารที่ปรากฏในใบแจ้งยอดจากธนาคาร
แต่ไม่ปรากฏในบัญชีของกิจการ อาจจะเป็ นรายการตัวเงินจ่ายและดอกเบี้ย (ถ้ามี) ที่ธนาคารจ่ายเงินให้
                                                     ๋
เช็คคืน ค่าสาธารณูปโภค ค่าธรรมเนียมธนาคาร หรื อธนาคารอาจนาเช็คของกิจการอื่นมาเดบิตลดยอด
บัญชีเงินฝากของกิจการ
         4. ตรวจสอบรายการที่อาจบันทึกตัวเลขจานวนเงินผิดพลาด ซึ่ งอาจจะเป็ นได้ท้ งรายการนาเงิน
                                                                                           ั
ฝากและรายการถอนเงิน ที่บนทึกตัวเลขจานวนเงินไม่ถูกต้อง และให้นาจานวนเงินที่บนทึกผิดพลาดไป
                            ั                                                            ั
พิจารณาในการทางบกระทบยอดเงินฝากด้วย
         5. เมื่อหาสาเหตุครบถ้วนถูกต้องแล้ว ก็จดทางบกระทบยอดเงินฝากธนาคารได้ โดยอาจใช้วิธี
                                                 ั
หายอดที่ถูกต้อง หรื อวิธีกระทบยอดของฝ่ ายหนึ่ งไปหายอดของอีกฝ่ ายหนึ่ ง ซึ่ งจะทาให้ได้ยอดเงินฝาก
ธนาคารที่ถกต้องตรงกันทั้งสองฝ่ าย
            ู
         6. การบันทึ กรายการที่ กิจการยัง ไม่ บันทึ ก บัญชี หรื อปรั บ ปรุ ง แก้ไ ขข้อผิดพลาดจากการที่
กิจการบันทึกบัญชีไม่ถูกต้อง จะบันทึกบัญชีเฉพาะรายการเพิ่ม หรื อลดยอดเงินฝากธนาคารตามบัญชี
ของกิจการเท่านั้น ในสมุดรายวันทัวไป่

ตัวอย่ างที่ 2 นายเชิดชัย เจ้าของร้าน “เชิดชัยการช่าง” ต้องการที่จะทางบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร
เนื่ องจากยอดประจาเดือนมีนาคม มียอดคงเหลือไม่ตรงกับยอดเงินฝากตาม Bank Statement ดังนั้น
นายเชิดชัยจึงได้รวบรวมรายการรับ – จ่าย เงินที่ผ่านธนาคาร ประจาเดือนมีนาคม 2547 จากสมุดเงินสด
ดังนี้
15




                 รายการฝากเงิน                                       รายการสังจ่าย
                                                                             ่
       2547                                          2547
     มี.ค. 1              18,000                   มี.ค. 2       เช็คเลขที่ 31001             12,880
           3              80,000                         3                  31002             18,240
           5              20,000                         4                  31003             34,760
          10              56,000                         5                  31004              9,280
          12              70,000                        10                  31005             32,280
          15              92,000                        15                  31006             76,000
          20              24,000                        21                  31007             54,000
          21              28,000                        23                  31008             11,000
          28               2,000                        26                  31009              9,600
          29               7,200                        27                  31010             19,000
          30               8,000                        28                  31011             48,000


       ในวันที่ 1 มีนาคม 2547      มีเช็คค้างจ่ายที่กิจการได้ทาการสั่งจ่ายไปแล้วในเดือนกุมภาพันธ์ แต่ผู ้
ทรงเช็คยังไม่นามาขึ้นเงิน
                          เลขที่   30089 จำนวน                 500    บำท
                          เลขที่   30092 จำนวน               9,256    บาท
                          เลขที่   30097 จำนวน               3,600    บาท
16




                      ใบแจ้ งยอดเงินฝากธนาคาร(Bank Statement)
                               ประจาเดือน มีนาคม 2547
วันที่         รายการ          เช็คเลขที่              ถอน ฝาก         ยอดคงเหลือ
  2547
มี.ค. 1      ยอดยกมา                                                      185,755
       2         PC                                          18,000       203,755
       3       TRD                                           80,000       283,755
       3         CS            31001               12,880                 270,875
       3         CS            31002               18,240                 252,635
       5         CL                                          20,000       272,635
       6         CS            30089                  500                 272,135
       7         CS            31004                9,280                 262,855
     10          CC                                          56,000       318,855
     11          CS            30092                9,256                 309,599
     12          PC                                          70,000       379,599
     13          CS            31108               16,000                 363,599
     13          CS            31005               32,280                 331,319
     15          PC                                          92,000       423,319
     16          CS            31006               76,000                 347,319
     21          PC                                          52,000       399,319
     22          CS            31007               54,000                 345,319
     25          CS            31008               11,000                 334,319
     26          CS            31009               16,800                 317,519
     27          CR                                20,000                 297,519
     28         CM                                     80                 297,439
     28          PC                                           2,000       299,439
     30          CS            31011               48,000                 251,439
     30          IN                                            300        251,739
     31      ยอดยกไป                                                      251,739
    PC    ฝากด้วยเงินสด        TRD        ฝากโดยการโอน       CR            เช็คคืน
    CC ฝากด้วยเช็คเรี ยกเก็บ   DD          ฝากด้วยดร๊ าฟท์   IN       ดอกเบี้ยเงินฝาก
    CL ฝากด้วยเช็คของธนาคาร     CS            ถอนเงินสด      CM        ค่าธรรมเนียม
17




ข้ อมูลเพิมเติม
          ่
         1. ยอดเงินฝากธนาคารคงเหลือตามบัญชีของกิจการ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2547 เท่ากับ
            252,559 บาท
         2. เช็คทุกฉบับเป็ นการจ่ายชาระหนี้ ให้แก่เจ้าหนี้
         3. ตัวเลขจานวนเงินตามใบแจ้งยอดของธนาคารถือว่าเป็ นตัวเลขที่ถกต้อง
                                                                     ู
         4. เช็คเลขที่ 31108 ไม่ใช่เช็คของกิจการ

งบกระทบยอดเงินฝากธนาคารสามารถจัดทาตามลาดับขั้นที่ได้อธิบายไปแล้ว ได้ดงนี้
                                                                     ั
      วิธีที่ 1 งบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร โดยวิธีหายอดที่ถกต้อง
                                                        ู
                                       ร้ านเชิดชัยการช่ าง
                                  งบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร
                                        31 มีนาคม 2547
ยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดจากธนาคาร ณ 31 มีนาคม 2547              251,739
บวก เงินฝากระหว่างทาง                              67,200
    เช็คหักผิดบัญชีหมายเลข 31108                   16,000            83,200
                                                                    334,939
หัก เช็คค้างจ่าย
   No. 30097                                            3,600
   No. 31003                                           34,760
   No. 31010                                           19,000      (57,360)
ยอดเงินฝากธนาคารที่ถูกต้อง                                          277,579

ยอดเงินฝากธนาคารตามบัญชีของกิจการ ณ 31 มีนาคม 2547                  252,559
บวก ตัวเงินรับที่ธนาคารเรี ยกเก็บเงินให้
      ๋                                            52,000
    ดอกเบี้ยรับ                                       300            52,300
                                                                    304,859
หัก เช็คคืน                                            20,000
    ค่าธรรมเนียมธนาคาร                                     80
    เช็คหมายเลข 31009 ซึ่งกิจการบันทึกบัญชีทวไป
                                            ั่          7,200      (27,280)
ยอดเงินฝากธนาคารที่ถูกต้อง                                          277,579
18




        การทางบกระทบยอดเงิ นฝากธนาคาร โดยวิธีหายอดที่ถูกต้องนั้น จะนายอดเงิ นฝากธนาคาร
คงเหลือในสมุดบัญชี และยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดธนาคารมาตั้งเป็ นยอดไว้ ขั้นต่อไปจึงนา
รายการที่กิจการหรื อธนาคารยังไม่ลงบัญชี หรื อลงบัญชีแล้วผิดพลาด มาปรับบวก หรื อหัก ยอดคงเหลือ
ของแต่ ละฝ่ ายก็จ ะท าให้ ได้ย อดที่ ถูก ต้อ งตรงกันทั้ง ยอดในสมุ ดบัญชี และยอดตามใบแจ้ง ยอดจาก
ธนาคาร แล้วจึ งท าการบันทึ กรายการที่ กิจการยัง ไม่ บันทึ กบัญชี หรื อปรั บ ปรุ ง แก้ไขข้อผิดพลาดที่
กิ จกรรมลงบัญชี ไม่ ถูกต้อง ในสมุ ดรายวันทั่วไป เนื่ องจากยอดเงิ นฝากคงเหลื อในสมุ ดบัญชี ยง ไม่
                                                                                               ั
ถูกต้อง และถ้ากิจการตรวจพบว่าธนาคารมีรายการทาผิดพลาด เช่ น นาเช็คของกิจการอื่นมาหักบัญชี
ของกิ จการ ก็ไม่ตองทาการปรั บปรุ ง เพียงแต่ ตองแจ้งให้ธนาคารทราบเพื่อทาการแก้ไขยอดเงิ นฝาก
                  ้                               ้
ธนาคารของกิจการที่ธนาคารบันทึกไว้ให้ถกต้อง    ู
        จากตัวอย่าง รายการปรับปรุ งในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้
                                                          ่

2547
มี.ค. 31   ธนาคาร                                                       52,300 -
               ตัวเงินรับ
                 ๋                                                                     52,000 -
               ดอกเบี้ยรับ                                                                300 -
           บันทึกรายการตัวเงิ นรั บที่ธนาคารเรี ยกเก็บให้และ
                            ๋
           ดอกเบี้ยรับจากตัวเงินรับ
                              ๋
           ลูกหนี้                                                      20,000 -
           ค่าธรรมเนียมธนาคาร                                               80 -
           เงินสด                                                        7,200 -
               ธนาคาร                                                                  27,280 -
           บันทึ กเช็คคืน ค่าธรรมเนี ยมธนาคาร และถอนเงิ น
           สดที่บนทึกบัญชีผด
                   ั            ิ

         ถ้ายอดเงิ นฝากธนาคารเป็ นยอดเงิ นเบิ กเกิ นบัญชี จะมีวิธีการจัดท าเช่ นเดี ยวกันทุ กประการ
เพียงแต่ให้ใส่ วงเล็บในกรณี ที่เป็ นเงินเบิกเกินบัญชี
19




     วิธีที่ 2 งบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร โดยวิธีกระทบยอดของฝ่ ายหนึ่งไปหายอดของอีกฝ่ ายหนึ่ง
               2.1 งบกระทบยอดโดยการกระทบจากยอดของกิจการไปหายอดของธนาคาร
                                     ร้ านเชิดชัยการช่ าง
                                งบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร
                                     31 มีนาคม 2547
ยอดเงินฝากธนาคารตามบัญชีของกิจการ ณ 31 มีนาคม 2547                                  252,559
บวก ตัวเงินรับที่ธนาคารเรี ยกเก็บให้
      ๋                                            52,000
    ดอกเบี้ยรับ                                       300            52,300
   เช็คค้างจ่าย No.30097                            3,600
                  No.31003                         34,760
                  No.31010                         19,000            57,360         109,660
                                                                                    362,219
หัก เงินฝากระหว่างทาง                                                67,200
    เช็คหักผิดบัญชี หมายเลข 31108                                    16,000
    เช็คคืน                                                          20,000
    ค่าธรรมเนียมธนาคาร                                                   80
    เช็คหมายเลข 31009 ซึ่งกิจการบันทึกบัญชีต่าไป                      7,200        (110,480)
ยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดของธนาคาร                                                251,739


รายการปรับปรุ งในสมุดรายวันทัวไป ทาเช่นเดียวกับวิธีหายอดที่ถูกต้อง
                             ่
20




                 2.2 งบกระทบยอดโดยการกระทบยอดของธนาคารไปหายอดของกิจการ
                                   ร้ านเชิดชัยการช่ าง
                               งบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร
                                    31 มีนาคม 2547
ยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดจากธนาคาร ณ 31 มีนาคม 2547                                  251,739
บวก เงินฝากระหว่างทาง                                             67,200
    เช็คหักผิดบัญชีหมายเลข 31108                                  16,000
   เช็คคืน                                                        20,000
   ค่าธรรมเนียมธนาคาร                                                 80
   เช็คหมายเลข 31009 ซึ่งกิจการบันทึกบัญชีต่าไป                    7,200                110,480
                                                                                        362,219
หัก ตัวเงินที่ธนาคารเรี ยกเก็บเงินให้
      ๋                                            52,000
    ดอกเบี้ยรับ                                       300         52,300
    เช็คค้างจ่าย No. 30097                          3,600
                 No. 31003                         34,760
                 No. 31010                         19,000         57,360               (109,660)
ยอดเงินฝากธนาคารตามบัญชีของกิจการ                                                        252,559


        รายการปรับปรุ งในสมุดรายวันทัวไป ทาเช่นเดียวกับวิธีหายอดที่ถูกต้อง
                                     ่

           การทางบกระทบยอดเงินฝาก โดยวิธีการกระทบยอดจากยอดของฝ่ ายหนึ่ ง ไปหายอดของอีก
ฝ่ ายหนึ่ ง นั้น สามารถท าการกระทบยอดของกิ จ การไปหายอดของธนาคาร หรื อ กระทบยอดของ
ธนาคารไปหายอดของกิ จการก็ได้ ซึ่ งการกระทบยอดวิธีน้ ี ไม่ นิยมใช้ เนื่ องจากผูอ่า นงบจะไม่ ทราบ
                                                                              ้
ยอดเงิ นฝากธนาคารคงเหลือที่ถูกต้อง ส่ วนรายการปรั บปรุ งในสมุดรายวันทัวไป จะเหมือนกับวิธีหา
                                                                          ่
ยอดที่ถูกต้อง เพื่อให้ยอดเงินฝากธนาคารคงเหลือในสมุดบัญชีของกิจการถูกต้อง
21




เงินสดย่อย
           ตามหลักการควบคุมภายในเกี่ยวกับเงินสดที่ว่า เมื่อรั บเงินควรนาฝากธนาคารทันที และเวลา
จ่ า ยเงิ นควรจ่ า ยเป็ นเช็ ค ในการนาไปปฏิ บัติจริ ง การจ่ า ยเงิ นบางรายการไม่ สามารถจ่ า ยเป็ นเช็คได้
เนื่ องจากเป็ นจานวนเงินน้อย เช่น ค่าไปรษณี ยากร ค่าพาหนะ ค่ารับรอง ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด เป็ นต้น เพื่อ
เป็ นการแก้ปัญหาดังกล่าว กิจการจะตั้งวงเงินสดย่อย ขึ้นจานวนหนึ่ ง โดยมอบหมายให้พนักงานผูหนึ่ ง      ้
เป็ นผูรับผิดชอบ เรี ยกว่า ผูรักษาเงิ นสดย่อย ซึ่ งจะรับเช็คจากกิจการนาไปเบิ กเป็ นเงิ นสดไว้ เมื่อมีผูมา
        ้                       ้                                                                      ้
ขอเบิกค่าใช้จ่า ย และได้รับอนุ มติอย่างถูกต้อง ผูรักษาเงิ นสดย่อย จะทาการจ่ ายเงิ นและเก็บใบสาคัญ
                                    ั                ้
จ่ายเงินสดย่อยไว้ เพื่อทาการรวบรวมใบสาคัญจ่ายเงินสดสดย่อยมาขออนุ มติเบิกเงินชดเชยเงินสดย่อย
                                                                               ั
ตามเวลาที่ กาหนด ซึ่ ง จ านวนเงิ นสดย่อยในมื อ เมื่ อรวมกับ ใบส าคัญจ่ า ยเงิ นสดย่อยที่ ยง ไม่ ได้เ บิ ก
                                                                                             ั
จะต้องมียอดเท่ ากับ วงเงิ นสดย่อยเสมอ และวงเงิ นสดย่อยนี้ อาจเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น หรื อลดลงก็ได้
เพื่อให้เพียงพอกับความต้องการใช้ เราจะเรี ยก ระบบเงิ นสดย่อยที่ได้กล่าวมานี้ เรี ยกว่า ระบบกาหนด
วงเงินสดย่อย (imprest system) ซึ่ งเป็ นวิธีที่นิยมใช้ปฏิบติในปั จจุบนเนื่ องจากช่วยประหยัดเวลาในการ
                                                            ั          ั
ลงบันทึกบัญชี และสะดวกในการตรวจสอบเงินสดย่อยคงเหลือในมือผูรักษาเงินสดย่อย้

ขั้นตอนการบันทึกบัญชีเงินสดย่อย

         1. การตั้งวงเงินสดย่อย กิจการจะทาการประมาณรายจ่ายเล็กๆ น้อยๆ ที่ ไม่สะดวกในการจ่าย
ด้วยเช็คว่าควรเป็ นจานวนเงิ นเท่าใด ในแต่ ละเดือนแล้วจะกาหนดเป็ นวงเงิ นสดย่อยขึ้น และทาการ
เซ็นเช็คจ่ายให้ ผูรักษาเงินสดย่อยเพื่อนาไปขอเบิกจากธนาคารมาเป็ นเงินสดถือไว้ในมือ เพื่อจ่ายให้กบ
                  ้                                                                             ั
ผูที่มาขอเบิก เช่น เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2547 บริ ษทดวงใจ ได้เริ่ มใช้ระบบเงินสดย่อย โดยมีการกาหนด
  ้                                               ั
วงเงินสดย่อยจานวน 5,000 บาท การบันทึกบัญชีจะเป็ นดังนี้

         2547
          ม.ค. 1 เงินสดย่อย                                          5,000 -
                     เงินฝากธนาคาร                                                   5,000 -
                 บันทึกการตั้งวงเงินสดย่อย

       2. การจ่ายเงินจากเงินสดย่อย เมื่อมีผมาขอเบิกค่าใช้จ่ายจากเงินสดย่อย ผูรักษาเงินสดย่อยจะทา
                                           ู้                                  ้
ใบสาคัญจ่ายเงินสดย่อยขึ้น เสนอให้ผมีอานาจอนุ มติแล้วจึงจ่ายเงินให้ผเู ้ บิกพร้อมกับให้ผเู้ บิกทาการลง
                                  ู้            ั
22




นามรับเงินในใบสาคัญด้วย ซึ่ งผูรักษาเงิ นสดย่อยจะเก็บใบสาคัญจ่ายเงินสดย่อยไว้ใช้เป็ นหลักฐานใน
                                  ้
การจ่ ายเงิ น จากนั้น เพื่อความสะดวกในการรวบรวมใบสาคัญจ่ ายไปขอเบิ กชดเชย และจะได้ทราบ
ข้อมูลว่าได้มีการจ่ายเงินออกไปสาหรับรายการอะไรบ้าง ผูรักษาเงินสดย่อยอาจบันทึกความทรงจาการ
                                                           ้
จ่ า ยเงิ น สดย่อยไว้ในสมุ ด ส่ วนตัว ของตนด้วย ซึ่ งการบัน ทึ ก ดัง กล่ า วเป็ นเพี ยงบัน ทึ ก ความทรงจ า
(Memo) ของผูรักษาเงินสดย่อย โดยไม่ใช่เป็ นการบันทึกบัญชีของกิจการ จึงไม่ตองทาการผ่านรายการ
                 ้                                                                    ้
ไปบัญชีแยกประเภทของกิจการ

                                     ใบสาคัญจ่ายเงินสดย่ อย                              เลขที่ 01
                                        PETTY CASH VOUCHER

        จ่ายให้ นายทนง ใจกล้าหาญ                                       วันที่ 2 มกราคม 2547

                ลาดับที่                       รายการ                         จานวนเงิน
                  1          ค่าพาหนะ                                            220 -
                  2          ค่าเครื่ องดื่ม                                      50 -
                  3          ค่าไปรษณี ย ์                                        80 -
                  4          ปากกา 6 แท่ง ๆ ละ 5 บาท                              30 -

               (สามร้อยแปดสิ บบาทถ้วน)                          รวม                    380 -

            ----------------------     ----------------------    -------------------
                  ผูจดทา
                    ้ั                        ผูอนุมติ
                                                ้ ั                     ผูรับเงิน
                                                                          ้

ภาพที่ 1.                       จัดทาใบสาคัญจ่ ายเงินสดย่ อย

        เมื่อมีผมาขอเบิกเงินสาหรับค่าใช้จ่ายและผูรักษาเงินสดย่อยได้จ่ายเงินตามใบสาคัญจ่ายเงินสด
                ู้                               ้
ย่อยแล้ว ก็อาจจะบันทึกความทรงจาการจ่ ายเงิ นสดย่อยออกไป ลงในสมุดเงิ นสดย่อย และเก็บรั กษา
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร

More Related Content

What's hot

ความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็คความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็คAttaporn Ninsuwan
 
การบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointการบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointOrawonya Wbac
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชีความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชีAttachoke Putththai
 
เอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชีเอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชีAttachoke Putththai
 
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนtumetr1
 
หลักการบัญชีเบื้องต้น รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่มหลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น รวมเล่มpaka10011
 
การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1Siriya Lekkang
 
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าKu'kab Ratthakiat
 
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าKu'kab Ratthakiat
 
นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ) นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)ประพันธ์ เวารัมย์
 
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินCh5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินple2516
 
นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1
นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1
นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1Niti Nachit
 
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสารส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสารAttachoke Putththai
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56dnavaroj
 
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงานการฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงานWiroj Suknongbueng
 
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อpeter dontoom
 

What's hot (20)

สรุปแนวข้อสอบการเงิน
สรุปแนวข้อสอบการเงินสรุปแนวข้อสอบการเงิน
สรุปแนวข้อสอบการเงิน
 
ความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็คความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็ค
 
การบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointการบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power point
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชีความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
 
เอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชีเอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชี
 
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
 
หลักการบัญชีเบื้องต้น รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่มหลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น รวมเล่ม
 
การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1
 
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
 
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
 
นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ) นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินCh5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สิน
 
นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1
นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1
นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1
 
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสารส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
 
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงานการฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
 
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
 
แนวข้อสอบ ด้านการเงินหรือการคลังของท้องถิ่น (เจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงาน-นักวิชาก...
แนวข้อสอบ ด้านการเงินหรือการคลังของท้องถิ่น (เจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงาน-นักวิชาก...แนวข้อสอบ ด้านการเงินหรือการคลังของท้องถิ่น (เจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงาน-นักวิชาก...
แนวข้อสอบ ด้านการเงินหรือการคลังของท้องถิ่น (เจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงาน-นักวิชาก...
 
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหารรวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
 

Similar to Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร

Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการCh6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการple2516
 
บบที่9
บบที่9บบที่9
บบที่9praphol
 
Ebooksint accsimple
Ebooksint accsimpleEbooksint accsimple
Ebooksint accsimpleRose Banioki
 
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจการเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจsmile-girl
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfdrchanidap
 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...Earn LikeStock
 
การบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
การบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้การบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
การบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้สมพร บุญนวล
 
ลงทุนออนไลน์ (Internet trading)
ลงทุนออนไลน์ (Internet trading)ลงทุนออนไลน์ (Internet trading)
ลงทุนออนไลน์ (Internet trading)Peerapat Teerawattanasuk
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์Ooa Worrawalun
 

Similar to Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร (20)

Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการCh6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
 
บบที่9
บบที่9บบที่9
บบที่9
 
Ebooksint accsimple
Ebooksint accsimpleEbooksint accsimple
Ebooksint accsimple
 
Ch1
Ch1Ch1
Ch1
 
หน่วยที่ 3ร่วมค้า
หน่วยที่ 3ร่วมค้าหน่วยที่ 3ร่วมค้า
หน่วยที่ 3ร่วมค้า
 
unit01
unit01unit01
unit01
 
ร่วมค้า หน่วยที่-2
ร่วมค้า หน่วยที่-2ร่วมค้า หน่วยที่-2
ร่วมค้า หน่วยที่-2
 
5
55
5
 
งานการเงินบัญชีพัสดุ
งานการเงินบัญชีพัสดุงานการเงินบัญชีพัสดุ
งานการเงินบัญชีพัสดุ
 
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจการเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
 
Unit 1
Unit 1Unit 1
Unit 1
 
Unit 1
Unit 1Unit 1
Unit 1
 
Unit 1
Unit 1Unit 1
Unit 1
 
Unit 1
Unit 1Unit 1
Unit 1
 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
 
Ossf2012 gls-final.pdf
Ossf2012 gls-final.pdfOssf2012 gls-final.pdf
Ossf2012 gls-final.pdf
 
การบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
การบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้การบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
การบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
 
ลงทุนออนไลน์ (Internet trading)
ลงทุนออนไลน์ (Internet trading)ลงทุนออนไลน์ (Internet trading)
ลงทุนออนไลน์ (Internet trading)
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
 

Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร

  • 1. บทที่ 1 เงินสด และเงินฝากธนาคาร ในการประกอบธุ รกิจ ไม่ว่าจะอยูในรู ปแบบเจ้าของคนเดี ยว ห้างหุ ้นส่ วน หรื อบริ ษท เจ้าของ ่ ั กิจการจะต้องจัดหาสิ นทรั พย์ต่างๆ มาไว้เพื่อใช้ในการดาเนิ นงานอย่า งเพียงพอ เงิ นสดเป็ นสิ่ งแรกที่ ธุ รกิจต้องมีไว้ใช้เป็ นสื่ อกลางในการแลกเปลี่ยนสิ นค้าและบริ การและเป็ นที่ตองการของทุกคน เงินสด ้ ถือเป็ นสิ นทรั พ ย์หมุนเวี ยนที่ มีส ภาพคล่ องมากที่ สุ ด และสามารถเปลี่ยนเป็ นสิ นทรั พ ย์อื่น ๆ ได้ง่ า ย กิจการควรมีเงิ นสดไว้ในกิจการในปริ มาณที่เพียงพอกับการดาเนิ นงานสาหรั บรายจ่ายต่างๆ เช่น ซื้ อ สิ นค้า จ่ ายชาระหนี้ จ่ายค่าใช้จ่าย เป็ นต้น แต่การมีเงินสดไว้ในกิจการมากเกินไป โดยไม่นาไปลงทุ น หรื อฝากธนาคารถื อว่าไม่ เป็ นผลดี ซึ่ งนอกจากไม่ ก่อให้เกิดรายได้จากผลตอบแทนแล้ว ยังอาจเป็ น ช่ อ งทางให้ เ กิ ดการทุ จริ ตได้ง่ า ย เพราะรายการบัญ ชี เ กี่ ยวกับ เงิ นสดเป็ นรายการที่ เ กิ ดขึ้ นมากและ ผิดพลาดได้ง่าย จึ งต้องมีระบบการควบคุมภายในที่รัดกุม เกี่ยวกับวิธีควบคุมและการจัดการเงินสดทั้ง ด้านการรับเงิน การจ่ายเงิน รวมถึงวิธีการบันทึกบัญชีเงินสดให้มีประสิ ทธิภาพ ความหมายของเงินสด มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 25 เรื่ องงบกระแสเงินสดของสมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับ ้ อนุ ญาตแห่ งประเทศไทย (2542, หน้า 4)ได้กาหนดความหมายของคาว่า เงิ นสด และรายการเทียบเท่า เงินสด ไว้ดงนี้ ั เงิ นสด (cash) หมายถึ ง เงิ นสดในมื อและเงิ นฝากธนาคารทุ กประเภท แต่ ไม่ รวมเงิ นฝาก ประเภทที่ ตองจ่ ายคืนเมื่อสิ้ นระยะเวลาอันกาหนดไว้ส่วนรายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึงเงินลงทุน ้ ระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสู ง ซึ่ งพร้ อมที่ จะเปลี่ยนเป็ นเงิ นสดในจานวนที่ทราบได้ และมีความเสี่ ยงต่อ การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าน้อยหรื อไม่มีนยสาคัญ ตัวอย่างของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ได้แก่ ั ธนบัตร เหรี ยญกษาปณ์ เช็คของธนาคาร ดร้าฟท์ ธนาณัติ เงินฝากธนาคารทุกประเภท (บัญชีเงินฝาก กระแสรายวัน บัญชีเงินฝากออมทรัพย์ บัญชีเงินฝากประจา ซึ่ งต้องไม่มีขอจากัดในการใช้เงิ นฝาก ้ จานวนนี้ ) ตัวสัญญาใช้เงิน ตัวแลกเงิน บัตรเงินฝากของสถาบันการเงินที่ไม่มีขอจากัดในการใช้เงิ น ๋ ๋ ้ ฝาก เงินทดรองจ่ายที่กนไว้เพื่อใช้จ่ายหมุนเวียนเล็กๆ น้อยๆ ั
  • 2. 4 รายการบางรายการเป็ นสิ่ งที่ใกล้เคียงกับเงิ นสด แต่นักบัญชีไม่นับรวมเป็ นเงิ นสดของกิจการ ได้แก่ 1. เช็คลงวันที่ล่วงหน้า ซึ่ งยังไม่สามารถนาไปขึ้นเงินได้ เมื่อได้รับอาจบันทึกความทรงจาไว้ ในทะเบียนเช็คลงวันที่ล่วงหน้าเรี ยงตามวันที่ที่ครบกาหนด และเมื่อครบกาหนดแล้วจึ งนาไปขึ้นเงิ น พร้อมบันทึกบัญชีรายการรับเช็คหรื ออีกวิธีหนึ่ ง เมื่อได้รับเช็คลงวันที่ล่วงหน้า จะบันทึกไว้ในบัญชีตว ั๋ เงินรับก็ได้ 2. เช็คที่ธนาคารคืน ซึ่ งเป็ นเช็คที่ลูกค้าจ่ายชาระหนี้ ให้แก่กิจการ แต่ธนาคารปฏิเสธการ จ่ายเงิน เมื่อกิจการนาไปขึ้นเงินกับธนาคาร เนื่ องจากเจ้าของเช็คมีเงินในบัญชีไม่พอจ่าย 3. เงินฝากที่มีเงื่อนไข ซึ่ งกิจการเปิ ดบัญชีเงินฝากเพื่อไว้ใช้ตามวัตถุประสงค์ต่าง ๆ เช่น ไถ่ถอนหุ ้นกู้ ซื้ อสิ นทรั พย์ เงิ นสะสมพนักงาน เป็ นต้น เงิ นเหล่านี้ จะนามาใช้ได้ตามวัตถุประสงค์ เท่านั้น 4. เงินมัดจาตามสัญญา ซึ่ งเกิดจากกิจการวางเงินไว้เพื่อเป็ นหลักประกันในการทาตามสัญญา ในอนาคตเงินจานวนนี้ ไม่นบรวมเป็ นเงินสด ั 5. เงินยืมพนักงาน ซึ่ งกิจการให้พนักงานยืมเงินทดรองสาหรับค่าใช้จ่ายต่างๆ เพื่อทาธุ รกิจให้ เช่ น ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปแนะนาสิ นค้าให้ลูกค้าที่ต่างจังหวัด หรื อค่าใช้จ่ายจัดกิจกรรมส่ งเสริ ม การขาย ซึ่ งพนักงานจะส่ งใบสาคัญมาเบิกเป็ นค่าใช้จ่ายในภายหลัง รายการนี้ ถือว่าพนักงานเป็ นลูกหนี้ เงินยืมพนักงาน 6. ดวงตราไปรษณี ย ์ อากรแสตมป์ ซึ่ งจะมีมูลค่ากาหนดใช้ แต่ไม่สามารถเปลี่ยนเป็ นเงินสดได้ จึงไม่นบรวมเป็ นเงินสด ให้ถือเป็ นวัสดุสานักงาน ั การควบคุมภายในเกียวกับเงินสด ่ เนื่ องจากว่า ในธุ รกิ จขนาดเล็ก เจ้าของกิ จการย่อมสามารถที่ จะควบคุ มดู แลกิ จการและการ ดาเนินงานทุกอย่างของตนเองได้อย่างทัวถึง ตั้งแต่ทาหน้าที่เป็ นเจ้าของ ขายของ เก็บเงิน ลงบัญชีเองได้ ่ แต่ ถ้า ธุ ร กิ จขนาดใหญ่ ข้ ึน เจ้า ของกิ จการอาจดู แลกิ จการของตนเองได้ไ ม่ ท ั่ว ถึ ง จึ งจ าเป็ นต้อ งจ้า ง บุคคลภายนอกมาช่วยทางานเป็ นพนักงาน ซึ่ งจะต้องมีการแบ่งงานออกเป็ น ฝ่ าย แผนก หรื อส่ วนงาน ต่าง ๆ ตามความจาเป็ นและความเหมาะสมในการรั บผิดชอบงาน ดังนั้นกิ จการต้องจัดทาระบบการ ควบคุมเพื่ อป้ องกันการรั่ วไหลและการทุ จริ ต โดยเฉพาะเกี่ยวกับรายการเงิ นสด ที่ มีสภาพคล่องสู ง
  • 3. 5 สามารถโอนเปลี่ ยนมือได้ง่าย และเป็ นที่ตองการของคนทั่วไป ถ้าไม่มีการวางแผนควบคุ มภายในให้ ้ รัดกุม จะทาให้มีการทุจริ ตเกี่ยวกับเงินสดเกิดขึ้นทั้งด้านการรับเงินสด และด้านการจ่ายเงินสด การควบคุมด้ านการรับเงิน เงิ นสดรั บของธุ รกิ จโดยทัวไปจะมาจากหลายทาง เช่ น การรั บเงิ นสดจากการขายสิ นค้าหรื อ ่ ให้บริ การหน้าร้าน การรับชาระหนี้ จากลูกหนี้ เป็ นเงิ นสด หรื อเช็คหรื อธนาณัติทางไปรษณี ย ์ การส่ ง พนักงานไปเก็บเงิ นกับ ลูกค้า รายได้จากดอกเบี้ ยรั บ ค่า เช่ า รั บ เงิ นปั นผลรั บ เงิ นที่ ได้รับ จากการที่ ้ื เจ้าของนามาลงทุนเพิ่ม เงินที่ได้รับจากการกูยม เป็ นต้น เมื่อมีการรับเงินเข้ามาหลายทางเช่นนี้ ก็ยอมมี ่ โอกาสเกิดการทุจริ ตขึ้นได้ เช่น การรับเงินสดจากการขายหน้าร้านอาจทุจริ ตได้โดยใส่ จานวนเงินที่ลง บันทึ กบัญชี น้อยกว่า ที่ ได้รับจริ ง หรื อลงบันทึ กบัญชี ค่า ขายไม่ครบตามจานวนที่ ขายจริ ง การทุ จริ ต เกี่ยวกับรายการลูกหนี้โดยจะไม่บนทึกบัญชีการรับชาระเงินจากลูกหนี้ ในทันที แต่จะนาเงินที่ได้รับจาก ั ลูกหนี้ ไปใช้ส่วนตัวก่อนแล้วจึงบันทึกบัญชีการรับชาระเงินจากลูกหนี้ รายเก่าก็ต่อเมื่อมีลูกหนี้ รายใหม่ นาเงินมาชาระให้ เราเรี ยกวิธีการเช่ นนี้ ว่า “lapping” แต่ถึงอย่างไร ณ วันสิ้ นปี ผูทุจริ ตต้องนาเงินมาคืน ้ และลงบันทึกบัญชีให้ถูกต้อง นอกจากนี้ อาจมีการทุจริ ตจากการไม่บนทึกบัญชีรายการขายเชื่อ และเมื่อ ั ลูกหนี้ นาเงินมาชาระหนี้ ก็จะนาเงินไปใช้ส่วนตัว การไม่ลงบันทึกบัญชี รายการรับชาระหนี้ จากลูกหนี้ ที่ตดเป็ นหนี้สูญไปแล้ว หรื อการบันทึกบัญชีการรับชาระหนี้จากลูกหนี้ ต่ากว่าความเป็ นจริ ง เป็ นต้น ั ธุรกิจควรมีการควบคุมภายในเกี่ยวกับด้านการรับเงิน ดังนี้ 1. การแบ่งแยกหน้าที่ โดยไม่ควรให้บุคคลใดบุ คคลหนึ่ งทาทั้งหน้าที่รับเงิ นและลงบัญชี ควร แยกหน้าที่ระหว่างพนักงานรับเงินและพนักงานลงบัญชีออกจากกัน นอกจากนี้ ยงต้องแยกหน้าที่การรับ ั เงิน และการจ่ายเงินออกจากกันด้วย รวมถึงการจัดทาสมุดบัญชีเงินสดรับ และสมุ ดเงินสดจ่าย แยกจาก กัน 2. การรับเงินสด หรื อเช็คทุกรายการ ให้นาฝากธนาคารทุกวัน หรื อย่างช้าภายในช่วงเช้าของ วันเปิ ดท าการถัดไป เพื่ อไม่ให้มีเงิ นสดในกิจการมากเกินไป จนเป็ นสิ่ งล่อใจและทาให้เกิดการทุจริ ต ของพนักงาน 3. การรั บเงิ นทุกประเภทต้องออกใบเสร็ จรับเงิน และนาสาเนาใบเสร็ จส่ งฝ่ ายบัญชีภายในวัน นั้น เพื่อทาการบันทึกบัญชี ซึ่ งการยักยอกเงินส่ วนใหญ่มกจะเกิดขึ้นก่อนการบันทึกบัญชี ั 4. ใบเสร็ จรับเงิ นของกิจการต้องมีเลขที่ เล่มที่ และมีผูรับผิดชอบควบคุมใบเสร็ จรับเงิ นที่ ยง ้ ั ไม่ได้ใช้ โดยทาทะเบียนใบเสร็ จรั บเงิน ขึ้นมาเพื่อควบคุมการเบิกใช้ใบเสร็ จรับเงิน จากฝ่ ายหรื อแผนก ต่างๆ ที่มาขอเบิก ซึ่ งต้องมีใบเบิกเป็ นหลักฐานการเบิก และทาการตรวจนับจานวนใบเสร็ จรั บเงินที่
  • 4. 6 ่ คงเหลืออยูจริ ง ให้มีจานวนตรงกับในทะเบียนใบเสร็ จรับเงิน สาหรับการเขียนใบเสร็ จรับเงิน ต้องเขียน เรี ยงตามเลขที่ใบเสร็ จหากใบเสร็ จรับเงินใบใดเขียนผิด ให้เขียนคาว่า “ยกเลิก” แล้วเก็บไว้ในเล่มโดยไม่ ต้องฉี กทิ้ง เมื่อมีการตรวจสอบจะได้ทราบว่าใบเสร็ จรับเงินฉบับใดหายไป ั 5 จัดให้พนักงานมีการสับเปลี่ยนหน้าที่ กน เพื่อป้ องกันการทุจริ ตจากการที่อยูในตาแหน่ งใด ่ ตาแหน่ งหนึ่ งนานเกินไปจนเห็ นลู่ ทางการทุ จริ ตได้ นอกจากนี้ ยงช่ วยป้ องกันการผิดพลาด จากการ ั ทางานอยู่คนเดี ยวจนมองไม่ เห็ นหรื อถ้าเห็ นก็อาจปล่ อยไป เพราะคิดว่ าไม่มีใครมารับรู้ การท างาน ผิด พลาดของตนหากมี ก ารสั บ เปลี่ ย นหน้ า ที่ ห มุ น เวี ย นไป พนัก งานคนใหม่ อ าจพบข้อ ทุ จ ริ ต หรื อ ข้อผิดพลาดที่คนเดิมทาไว้ ดังนั้น การสั บเปลี่ยนหน้าที่ การปฏิบติงานจะทาให้พนักงานไม่กล้าทุจริ ต ั และเพิ่มความระมัดระวังในการทางาน เพราะรู ้ว่าจะมีคนอื่นหมุนเวียนมาทาหน้าที่แทนตน 6. ควรใช้เครื่ องบันทึกเงินสด สาหรับรับเงินจากการขายหน้าร้าน และมีพนักงานอีกคนหนึ่ งมา เก็บเงินจากพนักงานขายอีกทีหนึ่ ง โดยจะทาการตรวจสอบยอดเงิน กับม้วนเทปบันทึกภายในเครื่ องว่า จานวนเงินตรงกันหรื อไม่ ถ้าเป็ นการรับเงินค่าขายทางไปรษณี ย ์ ควรมีพนักงานเปิ ดจดหมายและบันทึก รายการเช็ คหรื อธนาณัติ ที่ ได้รั บ อย่า งน้ อย 2 คนร่ วมกัน และน าเช็ คหรื อ ธนาณัติที่ ได้รั บ ส่ ง ให้ฝ่ าย การเงิ นต่อไป และถ้าเป็ นการส่ งพนักงานไปเก็บเงินจากลูกค้า จะต้องมีการตรวจสอบเอกสารการเก็บ เงินก่อนมอบให้พนักงานไปเก็บเงินจากลูกค้า และต้องแจ้งให้ลูกค้าทราบด้วยว่ากิจการได้มอบหมายให้ ใครเป็ นผูเ้ ก็บเงินบ้าง เมื่อพนักงานได้เก็บเงิ นจากลูกค้ากลับมา ก็ตองตรวจเช็คเอกสารที่ บนทึกการรั บ ้ ั เงินกับจานวนเงินที่ได้รับมาว่าครบถ้วนถูกต้องหรื อไม่ การควบคุมด้ านการจ่ ายเงิน เงิ นสดจ่ายของธุ รกิจ จะมีการจ่ ายออกไปหลายทาง เช่ น จ่ ายชาระหนี้ ให้แก่เจ้าหนี้ สาหรั บค่า สิ นค้า ที่ ไ ด้ซ้ื อมา จ่ า ยช าระหนี้ เงิ นกู้ยืม จ่ า ยเงิ น ซื้ อ สิ นทรั พ ย์มาไว้ใช้ใ นกิ จ การ จ่ า ยค่ า ใช้จ่ า ยต่ า งๆ เป็ นต้น การทุจริ ตด้านการจ่ายเงินที่พบมักเป็ นการจ่ ายชาระหนี้ สูงกว่าหนี้ ที่ตองจ่ายจริ ง จ่ายเช็คเงินสด ้ โดยมีการปลอมลายมือชื่อผูมีอานาจในการลงนาม มีการลงนามล่วงหน้าไว้ในเช็คเปล่าหรื อมีการโอน ้ เช็คลอย (check kiting) ซึ่ งมักจะทา ณ วันสิ้ นเดื อน โดยสั่งจ่ ายเช็คธนาคารหนึ่ ง แล้วนาไปฝากอี ก ธนาคารหนึ่ งเป็ นจานวนเงินเท่ากันที่ได้ยกยอกไป ทาให้ยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดธนาคาร ั ของธนาคารแรกจะยังไม่ลดลงเนื่ องจากธนาคารยังเคลียร์ เช็คไม่ทน แต่ยอดเงินฝากธนาคารหลังจะเพิ่ม ั สู งขึ้น เท่ากับจานวนเงินของเช็คที่นาไปฝาก นอกจากนี้ อาจมีการทุจริ ตโดยวิธีนาใบสาคัญจ่ายมาขอเบิก ซ้ า หรื อทาการแก้ไขใบสาคัญจ่ายให้มียอดเงินสู งกว่าที่ได้จ่ายจริ ง เป็ นต้น
  • 5. 7 ธุรกิจควรมีการควบคุมภายในด้านการจ่ายเงิน ดังนี้ 1. การจ่ายเงินทุกรายการควรจ่ายเป็ นเช็คของธนาคาร โดยก่อนการจ่ายเงินควรมีการตรวจสอบ และอนุ มติจากผูมีอานาจ สาหรับรายจ่ายที่เป็ นจานวนเงินเล็กน้อย ไม่สามารถจ่ายเป็ นเช็คได้ ก็ให้ต้ ง ั ้ ั วงเงินสดย่อยไว้เพื่อใช้จ่าย ซึ่ งจะกาหนดให้มีพนักงานผูหนึ่ งเป็ นผูดูแลรับผิดชอบถือเงินสดย่อยไว้ และ ้ ้ ทาหน้าที่จ่ายเงินเมื่อมีผมาขอเบิก ู้ 2. การเขียนเช็คทุ กใบควรเขียนเรี ยงตามลาดับเลขที่ ในสมุดเช็ค ต้นขั้วเช็คให้เขียนวันที่ที่จ่าย รายการจ่ายและชื่อผูรับเงินไว้ เพื่อสะดวกในการตรวจสอบ เช็คฉบับใดเขียนผิดหรื อต้องการยกเลิกให้ ้ ั ขีดฆ่า แล้วเขียนคาว่า “ยกเลิก” และนามาติดไว้กบต้นขั้วทุกครั้ง เพื่อเป็ นหลักฐานว่าได้ยกเลิกเช็คฉบับ นั้นจริ ง 3. ไม่ลงนามล่วงหน้าในเช็คเปล่ าที่ ไม่ มีรายการและ ก่ อนจะลงนามสั่ง จ่ ายเงิ นตามเช็คต้อง ตรวจดูยอดเงินให้ถูกต้องตรงกับหลักฐานประกอบการจ่ายเงิน เช่น ใบสาคัญจ่ ายที่ได้รับอนุ มติให้จ่าย ั ใบเสร็ จรับ เงิ นหรื อใบกากับสิ นค้า ใบส่ งของ และควรใช้ตรายางประทับลงในเอกสารประกอบการ จ่ายเงินทุกใบว่า “จ่ายแล้ว” พร้อมลงวันที่ และเลขที่เช็คกากับ เพื่อป้ องกันการจ่ายเงินซ้ า 4. ให้มีการตรวจสอบเงินสดย่อย และยอดเงินฝากธนาคารตามสมุดบัญชีของกิจการกับใบแจ้ง ยอดเงินฝากจากธนาคารทุกเดือน เงินขาดและเงินเกิน ในการควบคุมภายในเกี่ยวกับเงินสด เมื่อต้องมีการตรวจนับเงินสดคงเหลือในมือผูรักษาเงินสด ้ กับยอดเงินสดคงเหลือในบัญชี หากพบว่ายอดเงินที่ตรวจนับไม่ตรงกับยอดตามบัญชีโดยมีเงิ นสดขาด หรื อเกิ นบัญชี เ กิดขึ้น อาจเนื่ องมาจากความผิดพลาดเผลอเรอ การทอนเงิ นผิด หรื อการรวมเงิ นใน ใบสาคัญมากหรื อน้อยกว่าความเป็ นจริ ง ผลต่างที่ เกิดขึ้นกิจการจะเป็ นผูรับผิดชอบ ซึ่ งจะบันทึกไว้ใน ้ “บัญชีเงินขาดและเงิ นเกินบัญชี” ถ้าเป็ นกรณี เงินขาดจะบันทึกบัญชีไว้ทางด้านเดบิตถือ เป็ นค่าใช้จ่าย อื่น แต่ถาเป็ นกรณี เงินเกิน จะบันทึกบัญชีไว้ทางด้านเครดิตถือว่าเป็ นรายได้อื่น และในวันสิ้ นปี จะโอน ้ ปิ ดบัญชีเงินขาดและเงินเกินไปเข้าบัญชีกาไรขาดทุน
  • 6. 8 ตัวอย่ างที่ 1 ในวัน ที่ 31 มกราคม 2547 จากการตรวจนับ เงิ นสดรั บ จากการขายสิ น ค้า ประจาวันของพนักงานขายหน้าร้าน พบว่ามียอดเงินรวมทั้งสิ้ น 34,998 บาท แต่ยอดรวมเงินสดตามที่ เครื่ องรั บเงิ นสดบันทึ กไว้ มียอดเงิ นรวมทั้งสิ้ น 35,050 บาท แสดงว่าเงิ นขาดอยู่จานวน 52 บาท จะ บันทึกบัญชีโดย ม.ค. 31 เงินสด 34,988 เงินขาดและเงินเกินบัญชี 52 ขายสิ นค้า 35,050 บันทึกการขายเงินสดประจาวัน และบันทึกเงินขาดบัญชี ในทางตรงกันข้าม ถ้าเงินสดในมือมียอดคงเหลือมากว่าเงินสดตามบัญชี โดยสมมติว่าตรวจนับ เงินสดได้ผลรวมทั้งสิ้ น 35,150 บาท ยอดรวมเงินสดตามเครื่ องรับเงินสดบันทึกไว้ 35,050 บาท แสดง ว่ามีเงินเกินอยู่ 100 บาท จะบันทึกบัญชีโดย ม.ค. 31 เงินสด 35,150 ขายสิ นค้า 35,050 เงินขาดหรื อเงินเกินบัญชี 100 บันทึกการขายเงินสดประจาวัน และเงินเกินบัญชี เงินฝากธนาคาร ในกรณี ที่กิจการมีเงินสดคงเหลือใช้จ่ายหมุนเวียนมากเกินความต้องการ และเพื่อให้สอดคล้อง กับหลักการควบคุมภายในเกี่ยวกับเงินสดที่ว่าเมื่อรับเงินควรนาฝากธนาคารทันที และเวลาจ่ายเงินควร จ่ายเป็ นเช็ค กิจการจึงมักจะนาเงินสดไปฝากธนาคาร ซึ่งเงินฝากธนาคาร มี 3 ประเภท คือ 1. เงินฝากธนาคารประเภทประจา เงินฝากประเภทนี้ ธนาคารจะออกสมุดคู่ฝาก (pass book) ให้ผูฝากเงิ น เพื่อนาไปใช้เมื่ อเวลามาติดต่อฝากหรื อถอนเงิ นสดกับธนาคาร ซึ่ งจะทาให้ยอดคงเหลือ ้ ปรากฏอยูในบัญชีเป็ นปั จจุบนอยูตลอดเวลา โดยปกติกิจการจะฝากเงินประเภทประจาในช่วงเวลาที่คาด ่ ั ่ ว่ายังไม่ ใช้เงิ นในระยะเวลานี้ และมักจะไม่ ถอนก่อนครบกาหนดเวลา เนื่ องจากต้องการรั บดอกเบี้ ย ตามที่สถาบันการเงินกาหนดไว้ ในอัตราดอกเบี้ยที่สูงกว่าเงินฝากธนาคารประเภทอื่น และหากว่าถ้าไถ่ ถอนก่อนครบกาหนดเวลาก็จะได้รับดอกเบี้ยในอัตราที่ต่ากว่ากาหนดไว้
  • 7. 9 2. เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์ เงิ นฝากประเภทนี้ ธนาคารจะออกใบรับฝากเงิน หรื อ สมุดคู่ฝาก ให้ผูฝากเงิ นเช่ นเดี ยวกับเงินฝากประจา เพื่อนาไปใช้เมื่อเวลามาติดต่อฝากหรื อถอนเงิ นสด ้ ่ กับธนาคาร ซึ่ งจะทาให้ยอดคงเหลือปรากฏอยูในบัญชีเป็ นปั จจุบนตลอดเวลา ผลประโยชน์ที่ได้รับ จาก ั อัตราดอกเบี้ ย ของเงิ นฝากประเภทนี้ จะต่ากว่าเงิ นฝากประเภทประจา นอกจากนี้ ธนาคารยังมีบริ การ เสริ มสาหรับเงินฝากประเภทออมทรัพย์ในรู ปบัตรเอทีเอ็ม ที่ผถือบัตรสามารถใช้บตรในการฝากหรื อ ู้ ั ถอนเงินจากเครื่ อง เอทีเอ็มได้ 3. เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน เงินฝากประเภทนี้ ธนาคารจะไม่ออกสมุดคู่ฝากให้ ผู ้ ฝากสามารถทราบรายละเอี ยดเกี่ ยวกับ การฝากเงิ น การถอนเงิ น และยอดคงเหลื อในบัญชี เ งิ นฝาก ธนาคาร ได้จากใบแจ้งยอดเงินฝากจากธนาคาร (bank Statement) ซึ่ งธนาคารจะส่ งมาให้ในวันสิ้ น เดือนของแต่ละเดือน เมื่อกิจการนาเงินสดหรื อเช็คฝากธนาคาร จะเขียนใบนาฝากเงิน (pay-in slip cash , cheque) ส่ วนการถอนเงินจะเขียนเช็คสั่งจ่าย เนื่ องจากกฎหมายกาหนดไว้ให้เฉพาะธนาคารพาณิ ชย์ เท่านั้น ที่ผูฝากเงินกระแสรายวันสามารถใช้เช็คได้โดยธนาคารจะไม่คิดดอกเบี้ยเงินฝากให้สาหรับเงิน ้ ฝากประเภทนี้ เพราะไม่ สามารถนาเงิ นฝากกระแสรายวันไปแสวงหาผลประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ ใน บางครั้งกิจการอาจมีรายจ่ายที่ตองจ่ายจากเช็คเป็ นจานวนเงินมาก และอาจหาเงินเข้าบัญชีไม่ทน จึงมักมี ้ ั การตกลงกับธนาคารเพื่อขอวงเงินเบิกเกินบัญชี (over draw) กับธนาคารไว้ ว่าหากมีการสั่งจ่ายจานวน ่ ั เงินในเช็คมากกว่าจานวนเงินคงเหลือที่มีอยูในบัญชี แต่ไม่เกินวงเงินที่ตกลงไว้กบธนาคารให้ธนาคาร ผ่านเช็คให้ ซึ่ งจานวนเงิ นจากการสั่งจ่ายเช็คที่สูงกว่าจานวนเงินคงเหลือในบัญชีน้ ี เรี ยกว่า เงินเบิกเกิน บัญชีธนาคาร (bank overdraft) และธนาคารจะมีการคิดดอกเบี้ยจากเจ้าของบัญชี สาหรับการตรวจสอบ ความถูกต้องของเงินฝากกระแสรายวัน สามารถทาได้ ณ วันสิ้ นเดื อน โดยการเปรี ยบเที ยบสาเนาใบนา ฝากเงิน และต้นขั้วเช็คซึ่ งผูฝากสั่งจ่ายเงิน กับใบแจ้งยอดจากธนาคาร ้ ทางด้านผูฝากเงิน ้ เมื่อนาเงินฝากธนาคาร จะบันทึกบัญชี เดบิต เงินฝากธนาคาร XX เครดิต เงินสด XX นาเงินสดฝากธนาคาร เมื่อนาเช็คที่ได้รับจากการรับชาระหนี้ จากลูกหนี้ หรื อขายสิ นค้าไปเข้าบัญชีธนาคาร จะบันทึก บัญชี
  • 8. 10 เดบิต เงินฝากธนาคาร XX เครดิต ลูกหนี้ XX ขายสิ นค้า XX บันทึกการรับชาระหนี้จากลูกหนี้ หรื อขายสิ นค้าแล้วนาฝากธนาคารทันที เมื่อมีการสั่งจ่ายเช็ค เพื่อจ่ายชาระหนี้ ซื้ อสิ นค้า ซื้ อสิ นทรัพย์ และจ่ายค่าใช้จ่ายต่าง ๆ จะ ทาให้ยอดเงินฝากธนาคารลดลง จะบันทึกบัญชี เดบิต เจ้าหนี้ /เงินกูยม้ื XX ซื้ อสิ นค้า XX สิ นทรัพย์ XX ค่าใช้จ่าย XX เครดิต เงินฝากธนาคาร XX บันทึกการจ่ายชาระหนี้ , ซื้ อสิ นค้า, ซื้ อสิ นทรัพย์และค่าใช้จ่ายต่าง ๆ แล้วแต่กรณี โดย เขียนเช็คสังจ่าย ่ ทางด้านธนาคาร ธนาคารจะถือว่าเงินฝากธนาคารทุกประเภท เป็ นบัญชีหนี้สิน เมื่อธนาคารรับฝากเงิน จะบันทึกบัญชี เดบิต เงินสด XX เครดิต เงินฝาก XX บันทึกการรับฝากเงินจากลูกค้า เมื่อธนาคารจ่ายเงินตามเช็ค จะบันทึกบัญชี เดบิต เงินฝาก XX เครดิต เงินสด XX บันทึกการจ่ายเงินตามเช็คสั่งจ่ายของลูกค้า
  • 9. 11 การทางบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร ั จากการที่ธนาคารได้มีการจัดส่ งใบแจ้งยอดเงินฝากธนาคารให้กบกิจการซึ่งยอดคงเหลือตาม ใบแจ้งยอดเงินฝากธนาคารดังกล่าว ควรเท่ากับยอดคงเหลือตามสมุดบัญชีของกิจการ แต่ส่วนใหญ่แล้ว มักพบว่ายอดคงเหลือจะไม่ตรงกัน จึงต้องจัดทางบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร หรื อ งบพิสูจน์ยอดเงิน ฝากธนาคาร เพื่อหาสาเหตุและอธิบายให้ทราบถึงความแตกต่างของยอดคงเหลือระหว่างธนาคารกับ กิจการที่อาจเกิดจากความแตกต่างของเวลาที่บนทึกบัญชีรายการฝากถอน (time lags) เนื่องจาก ั บางครั้งกิจการบันทึกบัญชีแล้วแต่ธนาคารยังไม่บนทึกบัญชี หรื อธนาคารบันทึกบัญชีแล้ว แต่กิจการยัง ั ไม่บนทึกบัญชีเพราะยังไม่ทราบว่ามีรายการเกิดขึ้น หรื อเกิดจากความผิดพลาด (errors)จากการที่กิจการ ั หรื อธนาคารอาจบันทึกรายการหรื อตัวเลขผิด ซึ่ งสาเหตุที่ทาให้เกิดความแตกต่างในยอดคงเหลือของ บัญชีเงินฝากธนาคารระหว่างกิจการกับธนาคาร จะประกอบด้วย สาเหตุดงนี้ ั 1. รายการที่กิจการบันทึกในสมุดบัญชีแล้ว แต่ธนาคารยังไม่ได้บนทึกบัญชี ได้แก่ ั 1.1 เงินฝากระหว่างทาง คือ รายการที่กิจการนาเงินไปฝากธนาคารในวันสิ้ นเดือน และได้ บันทึกเพิ่มยอดบัญชีเงินฝากธนาคารในสมุดบัญชีของตนแล้ว แต่ธนาคารยังไม่บนทึกเพิ่มยอดบัญชีเงิน ั ฝากธนาคารให้ เนื่ องจากกิจการนาเงินไปฝาก เมื่อเลยเวลาปฏิบติงานของธนาคารที่ปิดทาการแล้ว แต่ ั ธนาคารจะรับเงินที่นามาฝากไว้โดยไปเพิ่มยอดบัญชีเงินฝากธนาคารให้ในวันทาการถัดไป จึงมีผลทา ให้ยอดเงินฝากธนาคารในตามใบแจ้งยอดธนาคารในวันสิ้ นเดือนต่ากว่ายอดเงินฝากธนาคารตามสมุด บัญชีของกิจการ 1.2 เช็คค้างจ่าย คือ รายการเช็คที่กิจการสั่งจ่ายให้บุคคลภายนอกและได้บนทึกลดยอดเงิ น ั ฝากธนาคารในบัญชีแล้ว แต่ผรับเช็คยังไม่ได้นาเช็คไปขึ้นเงินกับธนาคาร ธนาคารจึงยังไม่บนทึกบัญชี ู้ ั ลดยอดเงินฝากธนาคาร จึ งมีผลทาให้ยอดเงิ นฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดจากธนาคารสู งกว่ายอดเงิ น ฝากธนาคารตามสมุดบัญชีของกิจการ 2. รายการที่ธนาคารบันทึกรายการแล้ว แต่กิจการยังไม่ได้บนทึกบัญชี ได้แก่ ั 2.1 ธนาคารเรี ยกเก็บเงินตามตัวเงินรั บให้กิจการ เนื่ องจากในบางครั้งกิจการอาจนาตัวเงิ น ๋ ๋ รับมาให้ธนาคารเรี ยกเก็บเงินให้ ซึ่ งกิจการจะยังไม่บนทึกบัญชีในวันที่นาตัวเงินมามอบให้ธนาคาร เมื่อ ั ๋ ธนาคารเรี ยกเก็บเงิ นตามตัว พร้ อมดอกเบี้ ยตัว (ถ้ามี) ได้แล้ว ก็จะนาเข้าบัญชีเพิ่มยอดเงินฝากธนาคาร ๋ ๋
  • 10. 12 ทันที แต่กิจการยังไม่ทราบจนกว่าจะได้รับแจ้งการเข้าบัญชี จึงมีผลทาให้ยอดเงินฝากธนาคารตามสมุด บัญชีของกิจการต่ากว่ายอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดจากธนาคาร 2.2 ธนาคารจ่ายเงินตามตัวเงินจ่ายให้กิจการ เนื่ องจากในบางครั้งกิจการอาจขอให้ธนาคาร ๋ จ่ายเงิ นตามตัวเงิ นจ่ายพร้อมดอกเบี้ยจ่ ายให้ เมื่อธนาคารจ่ายเงินตามตัว พร้อมดอกเบี้ยให้แล้ว ก็จะลด ๋ ๋ ยอดเงิ นฝากธนาคารทันที แต่ กิจ การยังไม่ ท ราบจนกว่ าจะได้รับ การแจ้ง ลดยอดบัญชี จึ ง มี ผลทาให้ ยอดเงินฝากตามสมุดบัญชีของกิจการสู งกว่ายอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดจากธนาคาร 2.3 เช็คคืนหรื อเช็คที่มีเงิ นในบัญชี ไม่เพียงพอ เมื่อกิจการได้รับเช็คจากค่าขายสิ นค้า หรื อ รั บ ชาระหนี้ จากลูกหนี้ กิ จการจะนาฝากธนาคารเพื่ อให้ ธนาคารเรี ยกเก็บเงิ นแทนซึ่ งทั้ง กิจการและ ธนาคารจะบันทึกเพิ่มยอดบัญชีเงินฝากธนาคารทั้งสองฝ่ ายก่อน ต่อมาถ้าปรากฏว่าธนาคารไม่สามารถ เรี ยกเก็บ เงิ นได้ เพราะเจ้าของเช็คมีเ งิ นในบัญชี ไม่ พอ ธนาคารจะลดยอดบัญชีเ งินฝากธนาคารของ กิ จการ พร้ อมคืนเช็คแต่กิจการยัง ไม่ทราบจนกว่าจะได้รับแจ้งการคืนเช็ค จึ ง มีผลทาให้ยอดเงิ นฝาก ธนาคารตามสมุดบัญชีของกิจการสู งกว่ายอดเงินฝากตามใบแจ้งยอดจากธนาคาร 2.4 ค่าสาธารณูปโภค เมื่อกิจการใช้บริ การหักบัญชีเงินฝากธนาคารในการจ่ายค่าน้ าประปา ค่าไฟฟ้ า และค่าโทรศัพท์ เป็ นต้น ซึ่ งธนาคารจะจ่ายชาระค่าสาธารณู ปโภคแทน โดยหักจากยอดเงิน ฝากธนาคาร แต่กิจการยังไม่ทราบจนกว่าจะได้รับแจ้งลดยอดบัญชี จึ งมีผลทาให้ยอดเงิ นฝากตามสมุด บัญชีของกิจการสู งกว่ายอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดจากธนาคาร 2.5 ค่าธรรมเนียมธนาคาร เมื่อธนาคารได้ให้บริ การต่างๆ แก่ลูกค้า เช่น เรี ยกเก็บเงินตาม ตัวหรื อเช็ค ในการส่ งดราฟท์ไปต่างประเทศ เป็ นต้น ธนาคารจะคิดค่าธรรมเนี ยม โดยหักจากยอดเงิน ๋ ฝากธนาคารทันที แต่ กิจการยัง ไม่ ท ราบจนกว่า จะได้รับแจ้งลดยอดบัญชี จึงมีผลทาให้ยอดเงิ นฝาก ธนาคารตามสมุดบัญชีของกิจการ สู งกว่ายอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดจากธนาคาร 3. รายการที่บนทึกบัญชีผดพลาดทั้งสองฝ่ าย ซึ่ งทั้งกิจการและธนาคาร อาจมีการบันทึกบัญชี ั ิ ผิดพลาดได้ รายการที่พบ ได้แก่ 3.1 รายการที่กิจการลงบัญชีผด การลงบัญชีผิดส่ วนใหญ่เกิดจากบันทึกตัวเลขในสมุดบัญชี ิ ผิดพลาดทั้งด้านรายการนาเงิ นฝากหรื อรายการสั่งจ่ ายเช็ค เช่น เขียนจานวนเงิ นในเช็ค 895 บาท ซึ่ ง ธนาคารจ่ ายตามนี้ แต่กิจการลงบัญชี 859 บาท ทาให้ยอดของธนาคารและกิจการไม่เท่ากัน ดังนั้น จึง ต้องตรวจสอบว่า บันทึกยอดเงินผิดพลาดไปเท่าใด และมีผลทาให้ยอดเงินฝากธนาคารในสมุดบัญชีสูง
  • 11. 13 หรื อต่ากว่ายอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดจากธนาคาร 3.2 รายการที่ธนาคารบันทึกรายการผิด บางครั้ งธนาคารอาจบันทึกรายการผิดพลาดได้ โดย นาเช็คของกิจการมาเพิ่มยอด หรื อหักออกจากบัญชีของกิจการ ซึ่ งมีผลทาให้ยอดเงินฝากธนาคารตามใบ แจ้งยอดธนาคาร สู งหรื อต่ากว่ายอดเงินฝากธนาคารในสมุดบัญชีของกิจการ วิธีการทางบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร การทางบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร สามารถกระทาได้ 2 วิธี ดังนี้ 1. วิธีหายอดที่ ถูกต้อง วิธีน้ ี จะแสดงให้ผูอ่านงบทราบยอดเงิ นฝากคงเหลือที่ถูกต้อง โดยทา ้ การปรั บยอดเงิ นคงเหลือที่ ไม่ เท่ ากันระหว่างกิ จการกับธนาคาร อันเนื่ องมาจากสาเหตุ ท่ี กิจการหรื อ ธนาคารยังไม่บนทึ กบัญชี หรื อบันทึ กบัญชีแล้วยังไม่ถูกต้อง เมื่อมีการปรั บแล้วจะทาให้ยอดเงิ นฝาก ั ั ่ ธนาคารของทั้งสองฝ่ ายเท่ากันด้วยยอดที่ถูกต้อง วิธีน้ ีจ้ ึงเป็ นที่นิยมใช้กนทัวไป 2. วิธีกระทบยอดจากยอดของฝ่ ายหนึ่ งไปหายอดอีกฝ่ ายหนึ่ ง ทาให้ผอ่านงบไม่สามารถทราบ ู้ ยอดเงินฝากคงเหลือที่ถกต้อง วิธีน้ ีจึงไม่เป็ นที่นิยมใช้กน ู ั ขั้นตอนการทางบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร 1. ตรวจสอบยอดเงิ นคงเหลือยกมาจากสิ้ นเดือนก่อนว่าได้บนทึกบัญชีให้ตรงกันแล้วหรื อไม่ ั หากยังไม่ได้บนทึ กบัญชีตองนามาใช้ทางบกระทบยอดเงิ นฝากของเดือนปั จจุ บนด้วย ซึ่ งรายการส่ วน ั ้ ั ใหญ่มกจะ ได้แก่ เงินฝากระหว่างทาง และเช็คค้างจ่าย ั 2. ตรวจสอบรายการนาเงิ นฝากของเดื อนปั จจุ บันที่ กิจการบันทึ กบัญชี ไว้ เปรี ยบเที ยบกับ รายการเงิ นฝากตามที่ปรากฏในใบแจ้งยอดจากธนาคารว่ามียอดตรงกันหรื อไม่ รายการใดที่มียอดเงิ น ฝากตรงกัน ให้ทาเครื่ องหมาย  ทั้งในสมุดบัญชีและในใบแจ้งยอดจากธนาคาร ถ้ามีรายการเงินฝาก ธนาคารที่ ป รากฏในบัญชี ของกิจการแต่ ไม่ ปรากฏในใบแจ้ง ยอดจากธนาคารรายการนี้ คือ เงิ นฝาก ระหว่างทาง ถ้ามีรายการเงินฝากที่ปรากฏในใบแจ้งยอดจากธนาคารแต่ไม่ปรากฏในบัญชีของกิจการ อาจจะเป็ นรายการตัวเงินรับและดอกเบี้ย (ถ้ามี) ที่ธนาคารเรี ยกเก็บให้หรื อธนาคารนาเช็คของกิจการอื่น ๋ มาเครดิตเพิมยอดบัญชีเงินฝากให้ ่ 3. ตรวจสอบรายการถอนเงิน จากการที่กิจการได้สั่งจ่ายเช็คของเดื อนปั จจุ บนที่ กิจการบันทึ ก ั บัญชีไว้ เปรี ยบเทียบกับรายการถอนเงินตามที่ปรากฏในใบแจ้งยอดจากธนาคารว่ามียอดตรงกันหรื อไม่ รายการใดที่ มีย อดถอนเงิ น ตรงกัน ให้ ท าเครื่ องหมาย  ทั้ง ในสมุ ด บัญ ชี และในใบแจ้ง ยอดจาก
  • 12. 14 ธนาคาร ถ้ามีรายการถอนเงินฝากธนาคารที่ ปรากฏในบัญชีของกิจการแต่ไม่ปรากฏในใบแจ้งยอดจาก ธนาคาร รายการนี้ คือ เช็คค้างจ่าย ถ้ามีรายการถอนเงินฝากธนาคารที่ปรากฏในใบแจ้งยอดจากธนาคาร แต่ไม่ปรากฏในบัญชีของกิจการ อาจจะเป็ นรายการตัวเงินจ่ายและดอกเบี้ย (ถ้ามี) ที่ธนาคารจ่ายเงินให้ ๋ เช็คคืน ค่าสาธารณูปโภค ค่าธรรมเนียมธนาคาร หรื อธนาคารอาจนาเช็คของกิจการอื่นมาเดบิตลดยอด บัญชีเงินฝากของกิจการ 4. ตรวจสอบรายการที่อาจบันทึกตัวเลขจานวนเงินผิดพลาด ซึ่ งอาจจะเป็ นได้ท้ งรายการนาเงิน ั ฝากและรายการถอนเงิน ที่บนทึกตัวเลขจานวนเงินไม่ถูกต้อง และให้นาจานวนเงินที่บนทึกผิดพลาดไป ั ั พิจารณาในการทางบกระทบยอดเงินฝากด้วย 5. เมื่อหาสาเหตุครบถ้วนถูกต้องแล้ว ก็จดทางบกระทบยอดเงินฝากธนาคารได้ โดยอาจใช้วิธี ั หายอดที่ถูกต้อง หรื อวิธีกระทบยอดของฝ่ ายหนึ่ งไปหายอดของอีกฝ่ ายหนึ่ ง ซึ่ งจะทาให้ได้ยอดเงินฝาก ธนาคารที่ถกต้องตรงกันทั้งสองฝ่ าย ู 6. การบันทึ กรายการที่ กิจการยัง ไม่ บันทึ ก บัญชี หรื อปรั บ ปรุ ง แก้ไ ขข้อผิดพลาดจากการที่ กิจการบันทึกบัญชีไม่ถูกต้อง จะบันทึกบัญชีเฉพาะรายการเพิ่ม หรื อลดยอดเงินฝากธนาคารตามบัญชี ของกิจการเท่านั้น ในสมุดรายวันทัวไป่ ตัวอย่ างที่ 2 นายเชิดชัย เจ้าของร้าน “เชิดชัยการช่าง” ต้องการที่จะทางบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร เนื่ องจากยอดประจาเดือนมีนาคม มียอดคงเหลือไม่ตรงกับยอดเงินฝากตาม Bank Statement ดังนั้น นายเชิดชัยจึงได้รวบรวมรายการรับ – จ่าย เงินที่ผ่านธนาคาร ประจาเดือนมีนาคม 2547 จากสมุดเงินสด ดังนี้
  • 13. 15 รายการฝากเงิน รายการสังจ่าย ่ 2547 2547 มี.ค. 1 18,000 มี.ค. 2 เช็คเลขที่ 31001 12,880 3 80,000 3 31002 18,240 5 20,000 4 31003 34,760 10 56,000 5 31004 9,280 12 70,000 10 31005 32,280 15 92,000 15 31006 76,000 20 24,000 21 31007 54,000 21 28,000 23 31008 11,000 28 2,000 26 31009 9,600 29 7,200 27 31010 19,000 30 8,000 28 31011 48,000 ในวันที่ 1 มีนาคม 2547 มีเช็คค้างจ่ายที่กิจการได้ทาการสั่งจ่ายไปแล้วในเดือนกุมภาพันธ์ แต่ผู ้ ทรงเช็คยังไม่นามาขึ้นเงิน เลขที่ 30089 จำนวน 500 บำท เลขที่ 30092 จำนวน 9,256 บาท เลขที่ 30097 จำนวน 3,600 บาท
  • 14. 16 ใบแจ้ งยอดเงินฝากธนาคาร(Bank Statement) ประจาเดือน มีนาคม 2547 วันที่ รายการ เช็คเลขที่ ถอน ฝาก ยอดคงเหลือ 2547 มี.ค. 1 ยอดยกมา 185,755 2 PC 18,000 203,755 3 TRD 80,000 283,755 3 CS 31001 12,880 270,875 3 CS 31002 18,240 252,635 5 CL 20,000 272,635 6 CS 30089 500 272,135 7 CS 31004 9,280 262,855 10 CC 56,000 318,855 11 CS 30092 9,256 309,599 12 PC 70,000 379,599 13 CS 31108 16,000 363,599 13 CS 31005 32,280 331,319 15 PC 92,000 423,319 16 CS 31006 76,000 347,319 21 PC 52,000 399,319 22 CS 31007 54,000 345,319 25 CS 31008 11,000 334,319 26 CS 31009 16,800 317,519 27 CR 20,000 297,519 28 CM 80 297,439 28 PC 2,000 299,439 30 CS 31011 48,000 251,439 30 IN 300 251,739 31 ยอดยกไป 251,739 PC ฝากด้วยเงินสด TRD ฝากโดยการโอน CR เช็คคืน CC ฝากด้วยเช็คเรี ยกเก็บ DD ฝากด้วยดร๊ าฟท์ IN ดอกเบี้ยเงินฝาก CL ฝากด้วยเช็คของธนาคาร CS ถอนเงินสด CM ค่าธรรมเนียม
  • 15. 17 ข้ อมูลเพิมเติม ่ 1. ยอดเงินฝากธนาคารคงเหลือตามบัญชีของกิจการ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2547 เท่ากับ 252,559 บาท 2. เช็คทุกฉบับเป็ นการจ่ายชาระหนี้ ให้แก่เจ้าหนี้ 3. ตัวเลขจานวนเงินตามใบแจ้งยอดของธนาคารถือว่าเป็ นตัวเลขที่ถกต้อง ู 4. เช็คเลขที่ 31108 ไม่ใช่เช็คของกิจการ งบกระทบยอดเงินฝากธนาคารสามารถจัดทาตามลาดับขั้นที่ได้อธิบายไปแล้ว ได้ดงนี้ ั วิธีที่ 1 งบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร โดยวิธีหายอดที่ถกต้อง ู ร้ านเชิดชัยการช่ าง งบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร 31 มีนาคม 2547 ยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดจากธนาคาร ณ 31 มีนาคม 2547 251,739 บวก เงินฝากระหว่างทาง 67,200 เช็คหักผิดบัญชีหมายเลข 31108 16,000 83,200 334,939 หัก เช็คค้างจ่าย No. 30097 3,600 No. 31003 34,760 No. 31010 19,000 (57,360) ยอดเงินฝากธนาคารที่ถูกต้อง 277,579 ยอดเงินฝากธนาคารตามบัญชีของกิจการ ณ 31 มีนาคม 2547 252,559 บวก ตัวเงินรับที่ธนาคารเรี ยกเก็บเงินให้ ๋ 52,000 ดอกเบี้ยรับ 300 52,300 304,859 หัก เช็คคืน 20,000 ค่าธรรมเนียมธนาคาร 80 เช็คหมายเลข 31009 ซึ่งกิจการบันทึกบัญชีทวไป ั่ 7,200 (27,280) ยอดเงินฝากธนาคารที่ถูกต้อง 277,579
  • 16. 18 การทางบกระทบยอดเงิ นฝากธนาคาร โดยวิธีหายอดที่ถูกต้องนั้น จะนายอดเงิ นฝากธนาคาร คงเหลือในสมุดบัญชี และยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดธนาคารมาตั้งเป็ นยอดไว้ ขั้นต่อไปจึงนา รายการที่กิจการหรื อธนาคารยังไม่ลงบัญชี หรื อลงบัญชีแล้วผิดพลาด มาปรับบวก หรื อหัก ยอดคงเหลือ ของแต่ ละฝ่ ายก็จ ะท าให้ ได้ย อดที่ ถูก ต้อ งตรงกันทั้ง ยอดในสมุ ดบัญชี และยอดตามใบแจ้ง ยอดจาก ธนาคาร แล้วจึ งท าการบันทึ กรายการที่ กิจการยัง ไม่ บันทึ กบัญชี หรื อปรั บ ปรุ ง แก้ไขข้อผิดพลาดที่ กิ จกรรมลงบัญชี ไม่ ถูกต้อง ในสมุ ดรายวันทั่วไป เนื่ องจากยอดเงิ นฝากคงเหลื อในสมุ ดบัญชี ยง ไม่ ั ถูกต้อง และถ้ากิจการตรวจพบว่าธนาคารมีรายการทาผิดพลาด เช่ น นาเช็คของกิจการอื่นมาหักบัญชี ของกิ จการ ก็ไม่ตองทาการปรั บปรุ ง เพียงแต่ ตองแจ้งให้ธนาคารทราบเพื่อทาการแก้ไขยอดเงิ นฝาก ้ ้ ธนาคารของกิจการที่ธนาคารบันทึกไว้ให้ถกต้อง ู จากตัวอย่าง รายการปรับปรุ งในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้ ่ 2547 มี.ค. 31 ธนาคาร 52,300 - ตัวเงินรับ ๋ 52,000 - ดอกเบี้ยรับ 300 - บันทึกรายการตัวเงิ นรั บที่ธนาคารเรี ยกเก็บให้และ ๋ ดอกเบี้ยรับจากตัวเงินรับ ๋ ลูกหนี้ 20,000 - ค่าธรรมเนียมธนาคาร 80 - เงินสด 7,200 - ธนาคาร 27,280 - บันทึ กเช็คคืน ค่าธรรมเนี ยมธนาคาร และถอนเงิ น สดที่บนทึกบัญชีผด ั ิ ถ้ายอดเงิ นฝากธนาคารเป็ นยอดเงิ นเบิ กเกิ นบัญชี จะมีวิธีการจัดท าเช่ นเดี ยวกันทุ กประการ เพียงแต่ให้ใส่ วงเล็บในกรณี ที่เป็ นเงินเบิกเกินบัญชี
  • 17. 19 วิธีที่ 2 งบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร โดยวิธีกระทบยอดของฝ่ ายหนึ่งไปหายอดของอีกฝ่ ายหนึ่ง 2.1 งบกระทบยอดโดยการกระทบจากยอดของกิจการไปหายอดของธนาคาร ร้ านเชิดชัยการช่ าง งบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร 31 มีนาคม 2547 ยอดเงินฝากธนาคารตามบัญชีของกิจการ ณ 31 มีนาคม 2547 252,559 บวก ตัวเงินรับที่ธนาคารเรี ยกเก็บให้ ๋ 52,000 ดอกเบี้ยรับ 300 52,300 เช็คค้างจ่าย No.30097 3,600 No.31003 34,760 No.31010 19,000 57,360 109,660 362,219 หัก เงินฝากระหว่างทาง 67,200 เช็คหักผิดบัญชี หมายเลข 31108 16,000 เช็คคืน 20,000 ค่าธรรมเนียมธนาคาร 80 เช็คหมายเลข 31009 ซึ่งกิจการบันทึกบัญชีต่าไป 7,200 (110,480) ยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดของธนาคาร 251,739 รายการปรับปรุ งในสมุดรายวันทัวไป ทาเช่นเดียวกับวิธีหายอดที่ถูกต้อง ่
  • 18. 20 2.2 งบกระทบยอดโดยการกระทบยอดของธนาคารไปหายอดของกิจการ ร้ านเชิดชัยการช่ าง งบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร 31 มีนาคม 2547 ยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดจากธนาคาร ณ 31 มีนาคม 2547 251,739 บวก เงินฝากระหว่างทาง 67,200 เช็คหักผิดบัญชีหมายเลข 31108 16,000 เช็คคืน 20,000 ค่าธรรมเนียมธนาคาร 80 เช็คหมายเลข 31009 ซึ่งกิจการบันทึกบัญชีต่าไป 7,200 110,480 362,219 หัก ตัวเงินที่ธนาคารเรี ยกเก็บเงินให้ ๋ 52,000 ดอกเบี้ยรับ 300 52,300 เช็คค้างจ่าย No. 30097 3,600 No. 31003 34,760 No. 31010 19,000 57,360 (109,660) ยอดเงินฝากธนาคารตามบัญชีของกิจการ 252,559 รายการปรับปรุ งในสมุดรายวันทัวไป ทาเช่นเดียวกับวิธีหายอดที่ถูกต้อง ่ การทางบกระทบยอดเงินฝาก โดยวิธีการกระทบยอดจากยอดของฝ่ ายหนึ่ ง ไปหายอดของอีก ฝ่ ายหนึ่ ง นั้น สามารถท าการกระทบยอดของกิ จ การไปหายอดของธนาคาร หรื อ กระทบยอดของ ธนาคารไปหายอดของกิ จการก็ได้ ซึ่ งการกระทบยอดวิธีน้ ี ไม่ นิยมใช้ เนื่ องจากผูอ่า นงบจะไม่ ทราบ ้ ยอดเงิ นฝากธนาคารคงเหลือที่ถูกต้อง ส่ วนรายการปรั บปรุ งในสมุดรายวันทัวไป จะเหมือนกับวิธีหา ่ ยอดที่ถูกต้อง เพื่อให้ยอดเงินฝากธนาคารคงเหลือในสมุดบัญชีของกิจการถูกต้อง
  • 19. 21 เงินสดย่อย ตามหลักการควบคุมภายในเกี่ยวกับเงินสดที่ว่า เมื่อรั บเงินควรนาฝากธนาคารทันที และเวลา จ่ า ยเงิ นควรจ่ า ยเป็ นเช็ ค ในการนาไปปฏิ บัติจริ ง การจ่ า ยเงิ นบางรายการไม่ สามารถจ่ า ยเป็ นเช็คได้ เนื่ องจากเป็ นจานวนเงินน้อย เช่น ค่าไปรษณี ยากร ค่าพาหนะ ค่ารับรอง ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด เป็ นต้น เพื่อ เป็ นการแก้ปัญหาดังกล่าว กิจการจะตั้งวงเงินสดย่อย ขึ้นจานวนหนึ่ ง โดยมอบหมายให้พนักงานผูหนึ่ ง ้ เป็ นผูรับผิดชอบ เรี ยกว่า ผูรักษาเงิ นสดย่อย ซึ่ งจะรับเช็คจากกิจการนาไปเบิ กเป็ นเงิ นสดไว้ เมื่อมีผูมา ้ ้ ้ ขอเบิกค่าใช้จ่า ย และได้รับอนุ มติอย่างถูกต้อง ผูรักษาเงิ นสดย่อย จะทาการจ่ ายเงิ นและเก็บใบสาคัญ ั ้ จ่ายเงินสดย่อยไว้ เพื่อทาการรวบรวมใบสาคัญจ่ายเงินสดสดย่อยมาขออนุ มติเบิกเงินชดเชยเงินสดย่อย ั ตามเวลาที่ กาหนด ซึ่ ง จ านวนเงิ นสดย่อยในมื อ เมื่ อรวมกับ ใบส าคัญจ่ า ยเงิ นสดย่อยที่ ยง ไม่ ได้เ บิ ก ั จะต้องมียอดเท่ ากับ วงเงิ นสดย่อยเสมอ และวงเงิ นสดย่อยนี้ อาจเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น หรื อลดลงก็ได้ เพื่อให้เพียงพอกับความต้องการใช้ เราจะเรี ยก ระบบเงิ นสดย่อยที่ได้กล่าวมานี้ เรี ยกว่า ระบบกาหนด วงเงินสดย่อย (imprest system) ซึ่ งเป็ นวิธีที่นิยมใช้ปฏิบติในปั จจุบนเนื่ องจากช่วยประหยัดเวลาในการ ั ั ลงบันทึกบัญชี และสะดวกในการตรวจสอบเงินสดย่อยคงเหลือในมือผูรักษาเงินสดย่อย้ ขั้นตอนการบันทึกบัญชีเงินสดย่อย 1. การตั้งวงเงินสดย่อย กิจการจะทาการประมาณรายจ่ายเล็กๆ น้อยๆ ที่ ไม่สะดวกในการจ่าย ด้วยเช็คว่าควรเป็ นจานวนเงิ นเท่าใด ในแต่ ละเดือนแล้วจะกาหนดเป็ นวงเงิ นสดย่อยขึ้น และทาการ เซ็นเช็คจ่ายให้ ผูรักษาเงินสดย่อยเพื่อนาไปขอเบิกจากธนาคารมาเป็ นเงินสดถือไว้ในมือ เพื่อจ่ายให้กบ ้ ั ผูที่มาขอเบิก เช่น เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2547 บริ ษทดวงใจ ได้เริ่ มใช้ระบบเงินสดย่อย โดยมีการกาหนด ้ ั วงเงินสดย่อยจานวน 5,000 บาท การบันทึกบัญชีจะเป็ นดังนี้ 2547 ม.ค. 1 เงินสดย่อย 5,000 - เงินฝากธนาคาร 5,000 - บันทึกการตั้งวงเงินสดย่อย 2. การจ่ายเงินจากเงินสดย่อย เมื่อมีผมาขอเบิกค่าใช้จ่ายจากเงินสดย่อย ผูรักษาเงินสดย่อยจะทา ู้ ้ ใบสาคัญจ่ายเงินสดย่อยขึ้น เสนอให้ผมีอานาจอนุ มติแล้วจึงจ่ายเงินให้ผเู ้ บิกพร้อมกับให้ผเู้ บิกทาการลง ู้ ั
  • 20. 22 นามรับเงินในใบสาคัญด้วย ซึ่ งผูรักษาเงิ นสดย่อยจะเก็บใบสาคัญจ่ายเงินสดย่อยไว้ใช้เป็ นหลักฐานใน ้ การจ่ ายเงิ น จากนั้น เพื่อความสะดวกในการรวบรวมใบสาคัญจ่ ายไปขอเบิ กชดเชย และจะได้ทราบ ข้อมูลว่าได้มีการจ่ายเงินออกไปสาหรับรายการอะไรบ้าง ผูรักษาเงินสดย่อยอาจบันทึกความทรงจาการ ้ จ่ า ยเงิ น สดย่อยไว้ในสมุ ด ส่ วนตัว ของตนด้วย ซึ่ งการบัน ทึ ก ดัง กล่ า วเป็ นเพี ยงบัน ทึ ก ความทรงจ า (Memo) ของผูรักษาเงินสดย่อย โดยไม่ใช่เป็ นการบันทึกบัญชีของกิจการ จึงไม่ตองทาการผ่านรายการ ้ ้ ไปบัญชีแยกประเภทของกิจการ ใบสาคัญจ่ายเงินสดย่ อย เลขที่ 01 PETTY CASH VOUCHER จ่ายให้ นายทนง ใจกล้าหาญ วันที่ 2 มกราคม 2547 ลาดับที่ รายการ จานวนเงิน 1 ค่าพาหนะ 220 - 2 ค่าเครื่ องดื่ม 50 - 3 ค่าไปรษณี ย ์ 80 - 4 ปากกา 6 แท่ง ๆ ละ 5 บาท 30 - (สามร้อยแปดสิ บบาทถ้วน) รวม 380 - ---------------------- ---------------------- ------------------- ผูจดทา ้ั ผูอนุมติ ้ ั ผูรับเงิน ้ ภาพที่ 1. จัดทาใบสาคัญจ่ ายเงินสดย่ อย เมื่อมีผมาขอเบิกเงินสาหรับค่าใช้จ่ายและผูรักษาเงินสดย่อยได้จ่ายเงินตามใบสาคัญจ่ายเงินสด ู้ ้ ย่อยแล้ว ก็อาจจะบันทึกความทรงจาการจ่ ายเงิ นสดย่อยออกไป ลงในสมุดเงิ นสดย่อย และเก็บรั กษา