SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  12
Télécharger pour lire hors ligne
เกณฑ์ประเมินครู พ้ืนฐาน

1

มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา (๖ มาตรฐาน ๓๓ ตัวบ่งชี้)
มาตรฐานที่ ๗ ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
น้้าหนักคะแนนของมาตรฐาน ๑๐ คะแนน
ค้าอธิบาย
ครูปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรฐานตาแหน่งและมาตรฐานวิทยฐานะตาแหน่ง ด้วยความมุ่งมั่น ทุ่มเทการสอน
อย่างเต็มเวลา และเต็มความสามารถเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพบรรลุเป้าหมายของหลักสูตร โดยการวิเคราะห์
หลักสูตรอย่างรอบด้าน กาหนดเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่ชัดเจน ศึกษาและวิเคราะห์ผู้เรียนเป็น
รายบุคคล นาข้อมูลสารสนเทศจากผลการวิเคราะห์มาออกแบบ วางแผน และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความ
แตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญา ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม และนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมา
บูรณาการในการจัดการเรียนรู้และประเมินผลที่มุ่งเน้นพัฒนาการของผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ให้คาแนะนา
คาปรึกษาและแก้ไขปัญหาผู้เรียนอย่างทั่วถึง ตลอดจนพัฒนาการจัดการเรียนรู้และพัฒนาผู้เรียนโดยใช้
กระบวนการวิจัยอย่างต่อเนื่อง
ตัวบ่งชี้ที่ ๗.๑ ครูมีการก้าหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ สมรรถนะ และ
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ (๑ คะแนน)
ค้าอธิบาย
ครูสามารถกาหนดเป้าหมาย
ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ครอบคลุมทั้งด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ
สมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สอดคล้องกับความมุ่งหมายของหลักสูตรสถานศึกษา
ประเด็นการพิจารณา
๑. ความรู้ความเข้าใจในเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตร
๒. การเชื่อมโยงเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนและมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรและหลักสูตรของ
สถานศึกษากับแผนการจัดการเรียนรู้
๓. การวางแผนการจัดการเรียนรู้ มีการกาหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียน ครอบคลุมทั้งด้านความรู้ ทักษะ
กระบวนการ สมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ระดับคุณภาพ (ช่วงชั้นที่ ๑ – ๔)
ระดับ
ค้าอธิบายระดับคุณภาพ
๕

 ครูมีความรู้ ความเข้าใจในเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
 สามารถแสดงการเชื่อมโยงเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนและมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรสถานศึกษากับ
แผนการจัดการเรียนรู้ได้อย่างชัดเจน
 วางแผนการจัดการเรียนรู้โดยกาหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนครอบคลุมทั้งด้านความรู้ ทักษะ
กระบวนการ สมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ได้อย่างเหมาะสม
 จัดกิจกรรมการเรียนรู้แสดงถึงการพัฒนาการคุณภาพผู้เรียน ครอบคลุมทั้งด้านความรู้ ทักษะ
กระบวนการ สมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์อย่างชัดเจน

๔

 ครูมีความรู้ ความเข้าใจในเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
 สามารถแสดงการเชื่อมโยงเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนและมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรสถานศึกษากับ
แผนการจัดการเรียนรู้ได้อย่างชัดเจน
 วางแผนการจัดการเรียนรู้โดยกาหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนครอบคลุมทั้งด้านความรู้ ทักษะ
กระบวนการ สมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เกณฑ์ประเมินครู พ้ืนฐาน
ระดับ

2

ค้าอธิบายระดับคุณภาพ
 จัดกิจกรรมการเรียนรู้แสดงถึงการพัฒนาการคุณภาพผู้เรียน ครอบคลุมทั้งด้านความรู้ ทักษะ
กระบวนการ สมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

๓

 ครูมีความรู้ ความเข้าใจในเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
 สามารถแสดงการเชื่อมโยงเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนและมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรสถานศึกษากับ
แผนการจัดการเรียนรู้ได้
 วางแผนการจัดการเรียนรู้โดยกาหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนครอบคลุมทั้งด้านความรู้ ทักษะ
กระบวนการ สมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
 จัดกิจกรรมการเรียนรู้แสดงถึงการพัฒนาการคุณภาพผู้เรียน ครอบคลุมทั้งด้านความรู้ ทักษะ
กระบวนการ สมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

๒

 ครูมีความรู้ ความเข้าใจในเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
 สามารถแสดงการเชื่อมโยงเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนและมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรสถานศึกษากับ
แผนการจัดการเรียนรู้ได้เป็นส่วนใหญ่
 วางแผนการจัดการเรียนรู้โดยกาหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนได้แต่ไม่ครอบคลุมทั้งด้านความรู้ ทักษะ
กระบวนการ สมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่แสดงถึงการพัฒนาการคุณภาพผู้เรียนได้ครอบคลุมหรือชัดเจนเพียงด้านใดด้าน

หนึ่ง
๑
 ครูไม่มีความเข้าใจในเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา หรือ
 ไม่แสดงการเชื่อมโยงเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนและมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรสถานศึกษากับ
แผนการจัดการเรียนรู้ หรือ
 วางแผนการจัดการเรียนรู้ และกาหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนไม่ครอบคลุม
ทุกด้าน
 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ไม่แสดงถึงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลและแหล่งข้อมูล
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
แหล่งข้อมูล
๑. การสอบถาม การสัมภาษณ์
ครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้ที่เกี่ยวข้อง
๒. การตรวจเอกสาร หลักฐาน ร่องรอยการ
- หลักสูตรสถานศึกษา/หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้
ปฏิบัติงาน หรือข้อมูลเชิงประจักษ์
- แผนการจัดการเรียนรู้
- ฯลฯ
เกณฑ์ประเมินครู พ้ืนฐาน
ตัวบ่งชี้ที่ ๗.๒ ครูมีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล และใช้ข้อมูลในการวางแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อ
พัฒนาศักยภาพของผู้เรียน (๑ คะแนน)
ค้าอธิบาย
ครูศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล จัดทาสารสนเทศอย่างเป็นระบบ ใช้ข้อมูลสารสนเทศจากผลการวิเคราะห์
ผู้เรียนมาใช้ในการวางแผนจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคล
ประเด็นการพิจารณา
การวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล การใช้ข้อมูลผู้เรียนวางแผนการจัดการเรียนรู้ การส่งต่อข้อมูลสารสนเทศ
ผู้เรียน
ระดับคุณภาพ (ช่วงชั้นที่ ๑ – ๔)
ระดับ
ค้าอธิบายระดับคุณภาพ
๕  ครูวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล และจัดทาสารสนเทศอย่างเป็นระบบ
 นาข้อมูลสารสนเทศมาใช้ในการวางแผนจัดการเรียนรู้โดยมีกิจกรรมที่หลากหลายเหมาะสมกับผู้เรียนที่
แตกต่างกัน จัดกิจกรรมที่เป็นแบบอย่างที่ดีแสดงถึงการแก้ปัญหาหรือพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพเต็ม
ตามศักยภาพ และสามารถชี้แนะ ให้คาแนะนาแก่ผู้อื่นได้
 มีการส่งต่อข้อมูลสารสนเทศให้ระดับชั้นที่สูงขึ้น
๔  ครูวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล และจัดทาสารสนเทศอย่างเป็นระบบ
 นาข้อมูลสารสนเทศมาใช้ในการวางแผนจัดการเรียนรู้โดยมีกิจกรรมที่หลากหลายเหมาะสมกับผู้เรียนที่
แตกต่างกัน และจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการแก้ปัญหาหรือพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพเต็มตามศักยภาพ
และสามารถชี้แนะ ให้คาแนะนาแก่ผู้อื่นได้
 มีการส่งต่อข้อมูลสารสนเทศให้ระดับชั้นที่สูงขึ้น
๓  ครูวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล และจัดทาสารสนเทศเพื่อการจัดการเรียนรู้
 นาข้อมูลสารสนเทศมาใช้ในการวางแผนจัดการเรียนรู้โดยมีกิจกรรมที่หลากหลายเหมาะสมกับผู้เรียนที่
แตกต่างกัน และจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการแก้ปัญหาหรือพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพเต็มตามศักยภาพ
 มีการส่งต่อข้อมูลสารสนเทศให้ระดับชั้นที่สูงขึ้น
๒  ครูวิเคราะห์ผู้เรียน และจัดทาสารสนเทศเพื่อการจัดการเรียนรู้
 นาข้อมูลสารสนเทศมาใช้ในการวางแผนจัดการเรียนรู้โดยมีกิจกรรมที่เหมาะสมกับผู้เรียน และจัด
กิจกรรมที่แสดงถึงการแก้ปัญหาหรือพัฒนาผู้เรียน
 มีการส่งต่อข้อมูลสารสนเทศให้ระดับชั้นที่สูงขึ้น
๑  ครูไม่มีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ไม่มีการจัดทาสารสนเทศเพื่อการจัดการเรียนรู้ หรือ
 ไม่นาข้อมูลสารสนเทศมาใช้ในการวางแผนจัดการเรียนรู้ หรือ
 ไม่มีการส่งต่อข้อมูลสารสนเทศให้ระดับชั้นที่สูงขึ้น
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล/แหล่งข้อมูล
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล

แหล่งข้อมูล

๑. การสอบถาม การสัมภาษณ์

ครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้ที่เกี่ยวข้อง

๒. การตรวจเอกสาร หลักฐาน ร่องรอยการ
ปฏิบัติงาน หรือข้อมูลเชิงประจักษ์

- แฟ้มข้อมูลผู้เรียนเป็นรายบุคคล
- เอกสาร/หลักฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
- ฯลฯ

3
เกณฑ์ประเมินครู พ้ืนฐาน

4

ตัวบ่งชี้ที่ ๗.๓ ครูออกแบบและจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล และพัฒนาการทาง
สติปัญญา (๒ คะแนน)
ค้าอธิบาย
ครูศึกษาหลักสูตรสถานศึกษา มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ นามา
ออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยเลือกใช้วิธีสอน เทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เพื่อให้ผู้เรียนได้
พัฒนาเต็มตามศักยภาพ โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางด้านสติปัญญา จัดการเรียนรู้ที่
เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายและเชื่อว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้
ประเด็นการพิจารณา
การออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
ระดับคุณภาพ
ระดับ
ค้าอธิบายระดับคุณภาพ
๕  ครูออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญ และ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยเลือกใช้วิธีสอน เทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคล
 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่กาหนดไว้
 จัดกิจกรรมการส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสติปัญญาของผู้เรียนตามระดับความสามารถ
และ
ปรับปรุงพัฒนาการออกแบบการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
๔  ครูออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญ และ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยเลือกใช้วิธีสอน เทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่กาหนดไว้
 จัดกิจกรรมการส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสติปัญญาของผู้เรียนตามระดับความสามารถ
๓  ครูออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญ และ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยเลือกใช้วิธีสอน เทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่กาหนดไว้
 จัดกิจกรรมการส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสติปัญญาของผู้เรียน
๒  ครูออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญ และ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยใช้วิธีสอน เทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ที่ไม่หลากหลาย
 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ไม่ครบตามที่กาหนดไว้
๑  ครูออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ไม่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญ และ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หรือ
 ใช้วิธีสอน เทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ที่ไม่หลากหลาย อ
หรื
 ไม่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่กาหนดไว้
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล/แหล่งข้อมูล
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
แหล่งข้อมูล
๑. การสอบถาม สัมภาษณ์
ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้เรียน และผู้ที่เกี่ยวข้อง
๒. การตรวจเอกสาร หลักฐาน ร่องรอยการ - แฟ้มข้อมูลผู้เรียนเป็นรายบุคคล - แผนการจัดการเรียนรู้
ปฏิบัติงาน หรือข้อมูลเชิงประจักษ์
- หลักฐานการสอนเสริม/สอนซ่อม – ทะเบียนแหล่งเรียนรู้ - ฯลฯ
เกณฑ์ประเมินครู พ้ืนฐาน

5

ตัวบ่งชี้ที่ ๗.๔ ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม ผนวกกับการน้าบริบทและภูมิปัญญาของ
ท้องถิ่นมาบูรณาการในการ จัดการเรียนรู้ (๑ คะแนน)
ค้าอธิบาย
ครูศึกษาหลักการใช้สื่อ เลือกใช้สื่อที่มีคุณภาพ มีความเหมาะสม หลากหลาย สอดคล้องกับ
วิธีการเรียนรู้ ธรรมชาติของสาระการเรียนรู้และความแตกต่างของผู้เรียน โดยจัดหา จัดทา พัฒนา
หรือปรับปรุงสื่อด้วยการศึกษาค้นคว้า วิจัยเพื่อพัฒนาสื่อการเรียนรู้ ทั้งนี้ มีการนาภูมิปัญญาท้องถิ่น
เทคโนโลยีต่าง ๆ มาประยุกต์ในการจัดการเรียนการสอน รวมทั้งมีการประเมินคุณภาพและ
ประสิทธิภาพของสื่ออย่างต่อเนื่อง
ประเด็นการพิจารณา
๑. การใช้สื่อและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้
๒. การนาบริบทและภูมิปัญญาของท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้
ระดับคุณภาพ
ระดับ
ค้าอธิบายระดับคุณภาพ
๕  ครูสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และ
บริบทของท้องถิ่นที่เป็นปัจจุบัน เพื่อวางแผนจัดทา จัดหา พัฒนาสื่อ นวัตกรรมและ
เทคโนโลยีที่สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ และนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการ
จัดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ
 นาบริบทและภูมิปัญญาท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้อย่างเหมาะสมสอดคล้อง
กับเนื้อหาและรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
 มีการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของสื่อโดยผ่านกระบวนการศึกษาวิจัย
๔  ครูสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และ
บริบทของท้องถิ่นที่เป็นปัจจุบัน เพื่อวางแผนจัดทา จัดหา พัฒนาสื่อ นวัตกรรมและ
เทคโนโลยีที่สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ และนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการ
จัดการเรียนรู้
 นาบริบทและภูมิปัญญาท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้สอดคล้องกับเนื้อหาและ
รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
 มีการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของสื่อ
๓  ครูสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และ
บริบทของท้องถิ่นที่เป็นปัจจุบัน เพื่อวางแผนจัดทา จัดหา พัฒนาสื่อ นวัตกรรมและ
เทคโนโลยีที่สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ และนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการ
จัดการเรียนรู้
 นาบริบทและภูมิปัญญาท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้
 มีการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของสื่อ
เกณฑ์ประเมินครู พ้ืนฐาน

ระดับ
ค้าอธิบายระดับคุณภาพ
๒  ครูสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และ
บริบทของท้องถิ่นแต่ไม่เป็นปัจจุบัน เพื่อวางแผนจัดทา จัดหา พัฒนาสื่อ นวัตกรรมและ
เทคโนโลยี และนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการเรียนรู้
 นาบริบทและภูมิปัญญาท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ แต่ขาดความสอดคล้อง
กับเนื้อหาและรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
๑  ครูไม่สารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และ
บริบทของท้องถิ่น เพื่อวางแผนจัดทา จัดหา พัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี หรือ
 ไม่นาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ อ
หรื
 ไม่นาบริบทและภูมิปัญญาท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล/แหล่งข้อมูล
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
แหล่งข้อมูล
๑. การสอบถาม สัมภาษณ์
ครู ผู้บริหาร ผู้เรียน และผู้ที่เกี่ยวข้อง
๒. การตรวจเอกสาร หลักฐาน ร่องรอย - แบบสารวจข้อมูล สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยี
การปฏิบัติงาน หรือข้อมูลเชิง
ทางการศึกษา แหล่งเรียนรู้ บริบทและภูมิปัญญา
ประจักษ์
ท้องถิ่น
- แผนการจัดการเรียนรู้
- รายงานวิจัยชั้นเรียน
- ฯลฯ

6
เกณฑ์ประเมินครู พ้ืนฐาน
ตัวบ่งชี้ที่ ๗.๕ ครูมีการวัดและประเมินผลที่มุ่งเน้นการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ด้วยวิธีการที่หลากหลาย
(๑ คะแนน)
ค้าอธิบาย
ครูศึกษาหลักการวัดและประเมินผล จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ซึ่งอยู่บนหลัก
พื้นฐาน ๒ ประการ คือ การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน และเพื่อตัดสินผลการเรียน โดยผู้เรียนจะต้องได้รับการ
พัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัด เพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอัน
พึงประสงค์ของผู้เรียน ด้วยวิธีการวัดและประเมินที่หลากหลาย เพื่อให้ได้ข้อมูลสารสนเทศที่แสดงถึงพัฒนาการ
ความก้าวหน้า และความสาเร็จทางการเรียนของผู้เรียน
ประเด็นการพิจารณา
การวัดและประเมินผลที่มุ่งเน้นการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน
ระดับคุณภาพ
ระดับ
ค้าอธิบายระดับคุณภาพ
๕
 ครูพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนที่มีคุณภาพตามหลักการวัดและประเมินผล
สอดคล้องกับทุกมาตรฐานและตัวชี้วัด ตามกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ พร้อมทั้งจัดเก็บเครื่องมือ
อย่างเป็นระบบ
 วัดและประเมินผลพัฒนาการของผู้เรียนด้วยวิธีการและเครื่องมือที่หลากหลาย และตัดสินผลการ
เรียนรู้โดยพิจารณาคะแนนพัฒนาการ
๔
 ครูพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนที่มีคุณภาพตามหลักการวัดและประเมินผล
สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัดตามกิจกรรมการจัดการเรียนรู้เป็นส่วนใหญ่
 วัดและประเมินผลพัฒนาการของผู้เรียนด้วยวิธีการและเครื่องมือที่หลากหลาย และตัดสินผลการ
เรียนรู้โดยพิจารณาคะแนนพัฒนาการ
๓
 ครูพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนที่มีคุณภาพตามหลักการวัดและประเมินผล
สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัดตามกิจกรรมการจัดการเรียนรู้เป็นส่วนใหญ่
 วัดและประเมินผลพัฒนาการของผู้เรียน และตัดสินผลการเรียนรู้โดยพิจารณาคะแนนพัฒนาการ
๒
 ครูพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนตามหลักการวัดและประเมินผล แต่เครื่องมือส่วน
ใหญ่ขาดความสอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัดตามกิจกรรมการจัดการเรียนรู้
 วัดและประเมินผลพัฒนาการของผู้เรียน และตัดสินผลการเรียนรู้โดยพิจารณาคะแนนพัฒนาการ
๑
 ครูพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนตามหลักการวัดและประเมินผล แต่เครื่องมือส่วน
ใหญ่ขาดความสอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัดตามกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ หรือ
 ไม่วัดและประเมินผลพัฒนาการของผู้เรียน หรือตัดสินผลการเรียนรู้โดยไม่พิจารณาจากคะแนน
พัฒนาการ
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล/แหล่งข้อมูล
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
แหล่งข้อมูล
๑. การสอบถาม การสัมภาษณ์
ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้เรียน และผู้ที่เกี่ยวข้อง
๒. การตรวจเอกสาร หลักฐาน ร่องรอยการ - เครื่องมือการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ปฏิบัติงาน หรือข้อมูลเชิงประจักษ์
- แผนการจัดการเรียนรู้/บันทึกผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
และพัฒนาการของผู้เรียน
- ชิ้นงาน / ภาระงานของนักเรียน
- ฯลฯ

7
เกณฑ์ประเมินครู พ้ืนฐาน

ตัวบ่งชี้ที่ ๗.๖ ครูให้ค้าแนะน้า ค้าปรึกษา และแก้ไขปัญหาให้แก่ผู้เรียนทั้งด้านการเรียนและ
คุณภาพชีวิตด้วยความเสมอภาค (๑ คะแนน)
ค้าอธิบาย
ครูมีความรัก เมตตา เอาใจใส่ เอื้ออาทรชีวิตความเป็นอยู่ของผู้เรียนทุกคนอย่างใกล้ชิด มี
การศึกษาผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพื่อนาข้อมูลมาวางแผนในการให้ความดูแล ช่วยเหลือ ให้คาแนะนา
คาปรึกษา และแก้ไขปัญหาของผู้เรียนทั้งด้านการเรียนและคุณภาพชีวิตด้วยความเท่าเทียมกัน
ประเด็นการพิจารณา
๑. การให้คาแนะนา คาปรึกษาแก่ผู้เรียน
๒. การแก้ไขปัญหาผู้เรียน
ระดับคุณภาพ
ระดับ
ค้าอธิบายระดับคุณภาพ
๕  ครูศึกษาผู้เรียนเป็นรายบุคคล มีการช่วยเหลือผู้เรียนรายบุคคล โดยให้คาแนะนา
คาปรึกษา และแก้ไขปัญหาของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ เป็นแบบอย่างที่ดี รวมทั้งให้
คาแนะนาชี้แนะแก่ผู้อื่นได้
 ประสานความร่วมมือกับผู้เกี่ยวข้องในการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนทั้งด้านการเรียนและ
คุณภาพชีวิตด้วยความเท่าเทียมกัน
 รายงานผลผู้เรียนเป็นรายบุคคลให้ผู้ปกครองทราบ
๔  ครูศึกษาผู้เรียนเป็นรายบุคคล มีการช่วยเหลือผู้เรียนรายบุคคล โดยให้คาแนะนา
คาปรึกษา และแก้ไขปัญหาของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ
 ประสานความร่วมมือกับผู้เกี่ยวข้องในการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนทั้งด้านการเรียนและ
คุณภาพชีวิตด้วยความเท่าเทียมกัน
 รายงานผลผู้เรียนเป็นรายบุคคลให้ผู้ปกครองทราบ
๓  ครูศึกษาผู้เรียนเป็นรายบุคคล มีการช่วยเหลือผู้เรียนรายบุคคล โดยให้คาแนะนา
คาปรึกษา และแก้ไขปัญหาของผู้เรียน
 ประสานความร่วมมือกับผู้เกี่ยวข้องในการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนทั้งด้านการเรียนและ
คุณภาพชีวิตด้วยความเท่าเทียมกัน
 รายงานผลผู้เรียนเป็นรายบุคคลให้ผู้ปกครองทราบ
๒  ครูศึกษาและช่วยเหลือผู้เรียน โดยให้คาแนะนา คาปรึกษา และแก้ไขปัญหาของผู้เรียน
แต่ไม่เน้นเป็นรายบุคคล
 ประสานความร่วมมือกับผู้เกี่ยวข้องในการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนทั้งด้านการเรียนและ
คุณภาพชีวิต
 รายงานผลผู้เรียนให้ผู้ปกครองทราบ

8
เกณฑ์ประเมินครู พ้ืนฐาน

ระดับ
ค้าอธิบายระดับคุณภาพ
๑  ครูศึกษาผู้เรียน แต่ให้คาแนะนา คาปรึกษา และแก้ไขปัญหาของผู้เรียน
ไม่ครอบคลุมและทั่วถึง หรือ
 ไม่มีการประสานความร่วมมือกับผู้เกี่ยวข้องในการดูแลช่วยเหลือผู้เรียน หรือ
 ไม่มีการรายงานผลผู้เรียนให้ผู้ปกครองทราบ
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล/แหล่งข้อมูล
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
๑. การสอบถาม การสัมภาษณ์
๒. การตรวจเอกสาร หลักฐาน
ร่องรอยการปฏิบัติงาน หรือ
ข้อมูลเชิงประจักษ์

แหล่งข้อมูล
ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้เรียน และผู้ที่เกี่ยวข้อง
- แบบบันทึกข้อมูลนักเรียนรายบุคคล
- แผนงาน / โครงการ ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
- เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานตามระบบการดูแล
ช่วยเหลือนักเรียน เช่น แบบคัดกรองนักเรียน แบบบันทึก
การให้คาปรึกษา บันทึกการเยี่ยมบ้าน
- ฯลฯ

9
เกณฑ์ประเมินครู พ้ืนฐาน
ตัวบ่งชี้ที่ ๗.๗ ครูมีการศึกษาวิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในวิชาที่ตนรับผิดชอบ และใช้ผลในการปรับ
การสอน (๑ คะแนน)
ค้าอธิบาย
ครูมีการศึกษา ค้นคว้า แสวงหาความรู้เกี่ยวกับการวิจัยทางการศึกษา มีความรู้ในการวิจัย มีการวิจัยในชั้น
เรียนเพื่อแก้ปัญหา และหรือพัฒนาผู้เรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบ อย่างน้อยปีละ ๑ เรื่อง ผลจาก
การวิจัยในชั้นเรียนแสดงถึงการแก้ปัญหา และหรือพัฒนาผู้เรียนได้ และได้รับการยอมรับ มีการเผยแพร่ผลงานวิจัย
มีการนาผลการวิจัยไปใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครู รวมทั้งพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง
ประเด็นการพิจารณา
๑. การศึกษาวิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้
๒. การใช้ผลวิจัยในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
ระดับคุณภาพ
ระดับ
ค้าอธิบายระดับคุณภาพ
๕
 ครูมีการศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้ และมีความรู้เกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน
 ทาวิจัยในชั้นเรียน อย่างน้อยปีละ ๑ เรื่อง ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบ ผลงานเป็น
แบบอย่างที่ดีและสามารถให้คาแนะนา ชี้แนะแก่ผู้อื่นได้
 นาผลจากการวิจัยในชั้นเรียนไปแก้ปัญหา และหรือพัฒนาผู้เรียน มีการเผยแพร่ผลงานวิจัยและมี
การแก้ปัญหา และหรือพัฒนาผู้เรียนโดยการวิจัยอย่างต่อเนื่อง
๔
 ครูมีการศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้ และมีความรู้เกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน
 ทาวิจัยในชั้นเรียน อย่างน้อยปีละ ๑ เรื่อง ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบ และสามารถให้
คาแนะนา ชี้แนะแก่ผู้อื่นได้
 นาผลจากการวิจัยในชั้นเรียนไปแก้ปัญหา และหรือพัฒนาผู้เรียน มีการเผยแพร่ผลงานวิจัย
๓
 ครูมีการศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้ และมีความรู้เกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน
 ทาวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อยปีละ ๑ เรื่องในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบ
 นาผลจากการวิจัยในชั้นเรียนไปแก้ปัญหา และหรือพัฒนาผู้เรียน มีการเผยแพร่ผลงานวิจัย
๒
 ครูมีการศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้ และมีความรู้เกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน
 ทาวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อยปีละ ๑ เรื่องในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบแต่ไม่นาผลจากการ
วิจัยในชั้นเรียนไปแก้ปัญหา และหรือพัฒนาผู้เรียน
๑
 ครูไม่มีการศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้เกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน หรือ
 ไม่ทาวิจัยในชั้นเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบ
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล/แหล่งข้อมูล
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
แหล่งข้อมูล
๑. การสอบถาม/การสัมภาษณ์
ครู ผู้บริหาร ผู้เรียน และผู้ที่เกี่ยวข้อง
๒. การสังเกต
พฤติกรรมของครู
๓. การตรวจเอกสาร หลักฐาน
- รายงานการวิจัยในชั้นเรียนของครูแต่ละคน
ร่องรอยการปฏิบัติงาน หรือ - เอกสาร / หลักฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัย
ข้อมูลเชิงประจักษ์
- สือ/นวัตกรรม/เทคนิคการสอนที่ใช้พัฒนา/แก้ปัญหาผู้เรียน
่
- ฯลฯ

10
เกณฑ์ประเมินครู พ้ืนฐาน

11

ตัวบ่งชี้ที่ ๗.๘ ครูประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี และเป็นสมาชิกที่ดีของสถานศึกษา (๑ คะแนน)
ค้าอธิบาย
ครูยึดมั่นและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ และมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ มีความ
ยุติธรรมและเมตตาธรรม มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และงานที่ได้รับมอบหมาย พัฒนาตนเองให้มีความก้าวหน้าใน
วิชาชีพ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีในการดาเนินชีวิต ทั้งต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม ให้ความร่วมมือในการ
แก้ไขปัญหาและพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีความรักสามัคคีในหมู่คณะ รวมทั้งร่วมปกป้องและรักษาชื่อเสียงของ
สถานศึกษา
ประเด็นการพิจารณา
การประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีและการเป็นสมาชิกที่ดีของสถานศึกษา มีพฤติกรรมดังนี้
๑. การยึดมั่นและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ
๒. การยึดมั่นและปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู
๓. การปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีในการดาเนินชีวิต ทั้งต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม
๔. การพัฒนาตนเองให้มีความก้าวหน้าในวิชาชีพ
๕. การมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
๖. การให้ความร่วมมือในกิจกรรมของสถานศึกษา
๗. การมีความรักสามัคคีในหมู่คณะ
๘. การร่วมปกป้องและรักษาชื่อเสียงของสถานศึกษา
ระดับคุณภาพ
ระดับ

ค้าอธิบายระดับคุณภาพ

๕

ครูมีคุณลักษณะและดาเนินการครบ ๘ ข้อ และมีร่องรอยหลักฐานชัดเจน สามารถตรวจสอบได้

๔

ครูมีคุณลักษณะและดาเนินการ ๗ ข้อ และมีร่องรอยหลักฐานชัดเจน สามารถตรวจสอบได้

๓

ครูมีคุณลักษณะและดาเนินการ ๖ ข้อ และมีร่องรอยหลักฐานชัดเจน สามารถตรวจสอบได้

๒

ครูมีคุณลักษณะและดาเนินการ ๔-๕ ข้อ และมีร่องรอยหลักฐานชัดเจน สามารถตรวจสอบได้

๑

ครูมีคุณลักษณะและดาเนินการ ๑-๓ ข้อ และมีร่องรอยหลักฐานชัดเจน สามารถตรวจสอบได้

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล/แหล่งข้อมูล
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
แหล่งข้อมูล
๑. การสอบถาม/การสัมภาษณ์
ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้เรียน และผู้ที่เกี่ยวข้อง
๒. การสังเกต
พฤติกรรมของครู
๓. การตรวจเอกสาร หลักฐาน ร่องรอยการ - รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่
ปฏิบัติงาน หรือข้อมูลเชิงประจักษ์
- ผลการประเมินการปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรฐานตาแหน่งและมาตรฐาน
วิทยฐานะตาแหน่ง
- ทะเบียนประวัติ
- ฯลฯ
เกณฑ์ประเมินครู พ้ืนฐาน

12

ตัวบ่งชี้ที่ ๗.๙ ครูจัดการเรียนการสอนตามวิชาที่ได้รับมอบหมายเต็มเวลาเต็มความสามารถ คะแนน)
(๑
ค้าอธิบาย
ครูอุทิศตน ทุ่มเทแรงกาย แรงใจในการปฏิบัติงานสอนตามกลุ่มสาระที่ได้รับมอบหมายอย่างครบถ้วน และ
มุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามที่หลักสูตรกาหนด
ประเด็นการพิจารณา
๑. การจัดการเรียนการสอนตามวิชาที่ได้รับมอบหมายเต็มเวลา
๒. การจัดการเรียนการสอนตามวิชาที่ได้รับมอบหมายเต็มความสามารถ
ระดับคุณภาพ
ระดับ

ค้าอธิบายระดับคุณภาพ

๕

 ครูปฏิบัติงานสอนตามกลุ่มสาระที่ได้รับมอบหมายครบตามเวลาที่กาหนดร้อยละ ๑๐๐
 มีการเตรียมการสอน จัดกิจกรรมการเรียนการสอนและพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามที่หลักสูตรกาหนด
ปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง เป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี สามารถให้คาชี้แนะ
แนะนาแก่ผู้อื่นได้
 ส่งเสริมผู้เรียนจนได้รับรางวัลระดับสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาขึ้นไป

๔

 ครูปฏิบัติงานสอนตามกลุ่มสาระที่ได้รับมอบหมายครบตามเวลาที่กาหนดร้อยละ ๑๐๐
 มีการเตรียมการสอน จัดกิจกรรมการเรียนการสอนและพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามที่หลักสูตรกาหนด
ปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง สามารถให้คาชี้แนะ แนะนาแก่ผู้อื่นได้

๓

 ครูปฏิบัติงานสอนตามกลุ่มสาระที่ได้รับมอบหมายครบตามเวลาที่กาหนดร้อยละ ๑๐๐
 มีการเตรียมการสอน จัดกิจกรรมการเรียนการสอนและพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามหลักสูตรกาหนด
ปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง

๒

 ครูปฏิบัติงานสอนตามกลุ่มสาระที่ได้รับมอบหมายไม่ครบตามเวลาที่กาหนดหรือ
 มีการเตรียมการสอน จัดกิจกรรมการเรียนการสอนและพัฒนาผู้เรียนตามที่หลักสูตรกาหนด ปรับปรุงและ
พัฒนาการจัดการเรียนการสอนเป็นบางครั้ง

 ครูปฏิบัติงานสอนตามกลุ่มสาระที่ได้รับมอบหมายไม่ครบตามเวลาที่กาหนด หรือ
 มีการเตรียมการสอน จัดกิจกรรมการเรียนการสอนและพัฒนาผู้เรียนตามที่หลักสูตรกาหนด แต่ไม่ปรับปรุง
และพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล/แหล่งข้อมูล
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
แหล่งข้อมูล
๑. การสอบถาม การสัมภาษณ์
ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้เรียน และผู้ที่เกี่ยวข้อง
๒. การสังเกต
พฤติกรรมของครู
๑

๓. การตรวจเอกสาร หลักฐาน ร่องรอย - บันทึกเวลาปฏิบัติงานของข้าราชการ
การปฏิบัติงาน หรือข้อมูลเชิง
- คาสั่งปฏิบัติการสอน
ประจักษ์
- บันทึกการสอนแทน
- ผลการแข่งขันความเป็นเลิศตั้งแต่ระดับเขตพื้นที่ขึ้นไป
- ฯลฯ

Contenu connexe

Tendances

Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯIct Krutao
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)pairat13
 
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อ
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อมาตรฐานสพฐ 15 ข้อ
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อanuban bandek
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3arsad20
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการkanidta vatanyoo
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐานPochchara Tiamwong
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลwasan
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51Suwanan Nonsrikham
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรthana1989
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรJiraprapa Suwannajak
 
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริงเอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริงtalktomongkol
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรmaturos1984
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑Rissa Byk
 
บทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันบทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันNirut Uthatip
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงmickyindbsk
 
การบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยา
การบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยาการบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยา
การบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยานภดล รุ่งจรูญ
 

Tendances (19)

Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
 
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อ
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อมาตรฐานสพฐ 15 ข้อ
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อ
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตร
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริงเอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
 
บทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันบทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกัน
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
การบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยา
การบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยาการบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยา
การบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยา
 

Similaire à 42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)

การสอน
การสอนการสอน
การสอนguest283582b
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนPrachyanun Nilsook
 
บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdf
บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdfบรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdf
บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdfwidsanusak srisuk
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464SophinyaDara
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนPitima Boonprasit
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนguestabb00
 
บทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันบทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันNirut Uthatip
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลdtschool
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้Sasipron Tosuk
 
Problem 8 11
Problem 8 11Problem 8 11
Problem 8 11nilobon66
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 

Similaire à 42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน) (20)

Standard7
Standard7Standard7
Standard7
 
Pca
PcaPca
Pca
 
งานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sarงานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sar
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอน
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
 
บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdf
บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdfบรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdf
บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdf
 
17
1717
17
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
บทที่2 ระบบการเรียนการสอน
บทที่2  ระบบการเรียนการสอนบทที่2  ระบบการเรียนการสอน
บทที่2 ระบบการเรียนการสอน
 
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
 
บทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันบทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกัน
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกล
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
Problem 8 11
Problem 8 11Problem 8 11
Problem 8 11
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 

Plus de Pochchara Tiamwong

คำสั่งการแข่งขันกีฬา – กรีฑานักเรียน สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557
คำสั่งการแข่งขันกีฬา – กรีฑานักเรียน สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557คำสั่งการแข่งขันกีฬา – กรีฑานักเรียน สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557
คำสั่งการแข่งขันกีฬา – กรีฑานักเรียน สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557Pochchara Tiamwong
 
กำหนดวันและสนามแข่งขันกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557
กำหนดวันและสนามแข่งขันกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557กำหนดวันและสนามแข่งขันกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557
กำหนดวันและสนามแข่งขันกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557Pochchara Tiamwong
 
สูจิบัตรแข่งขันกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557 (แก้ไข 17 ก.ค. 57)
สูจิบัตรแข่งขันกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557 (แก้ไข 17 ก.ค. 57)สูจิบัตรแข่งขันกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557 (แก้ไข 17 ก.ค. 57)
สูจิบัตรแข่งขันกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557 (แก้ไข 17 ก.ค. 57)Pochchara Tiamwong
 
สูจิบัตรแข่งขันกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557 (แก้ไข 17 ก.ค. 57)
สูจิบัตรแข่งขันกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557 (แก้ไข 17 ก.ค. 57)สูจิบัตรแข่งขันกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557 (แก้ไข 17 ก.ค. 57)
สูจิบัตรแข่งขันกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557 (แก้ไข 17 ก.ค. 57)Pochchara Tiamwong
 
คำสั่งกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557 (แก้ไข 17 ก.ค. 57)
คำสั่งกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557 (แก้ไข 17 ก.ค. 57)คำสั่งกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557 (แก้ไข 17 ก.ค. 57)
คำสั่งกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557 (แก้ไข 17 ก.ค. 57)Pochchara Tiamwong
 
รายชื่อสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมสังสรรค์ วันอำลางานเกษียณอายุราชการ
รายชื่อสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมสังสรรค์ วันอำลางานเกษียณอายุราชการรายชื่อสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมสังสรรค์ วันอำลางานเกษียณอายุราชการ
รายชื่อสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมสังสรรค์ วันอำลางานเกษียณอายุราชการPochchara Tiamwong
 
คำสั่งกีฬาเขต2557
คำสั่งกีฬาเขต2557คำสั่งกีฬาเขต2557
คำสั่งกีฬาเขต2557Pochchara Tiamwong
 
ทะเบียนรูป
ทะเบียนรูปทะเบียนรูป
ทะเบียนรูปPochchara Tiamwong
 
ทะเบียนรูป
ทะเบียนรูปทะเบียนรูป
ทะเบียนรูปPochchara Tiamwong
 
โปรแกรมการแข่งขันกีฬา กรีฑา เขต 57
โปรแกรมการแข่งขันกีฬา กรีฑา  เขต 57โปรแกรมการแข่งขันกีฬา กรีฑา  เขต 57
โปรแกรมการแข่งขันกีฬา กรีฑา เขต 57Pochchara Tiamwong
 
ระเบียบการแข่งขันกีฬา
ระเบียบการแข่งขันกีฬา ระเบียบการแข่งขันกีฬา
ระเบียบการแข่งขันกีฬา Pochchara Tiamwong
 
52แบบตรวจสอบแผนใส่ท้ายเล่มแผน
52แบบตรวจสอบแผนใส่ท้ายเล่มแผน52แบบตรวจสอบแผนใส่ท้ายเล่มแผน
52แบบตรวจสอบแผนใส่ท้ายเล่มแผนPochchara Tiamwong
 
51รายชื่อผู้ทรงติดตามตรวจสอบ
51รายชื่อผู้ทรงติดตามตรวจสอบ51รายชื่อผู้ทรงติดตามตรวจสอบ
51รายชื่อผู้ทรงติดตามตรวจสอบPochchara Tiamwong
 
48ระเบียบวัดผล
48ระเบียบวัดผล48ระเบียบวัดผล
48ระเบียบวัดผลPochchara Tiamwong
 
50ผู้ทรงคุณวุฒิภายใน
50ผู้ทรงคุณวุฒิภายใน50ผู้ทรงคุณวุฒิภายใน
50ผู้ทรงคุณวุฒิภายในPochchara Tiamwong
 
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้านPochchara Tiamwong
 
37แบบตรวจสอบมโนทัศน์เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา
37แบบตรวจสอบมโนทัศน์เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา37แบบตรวจสอบมโนทัศน์เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา
37แบบตรวจสอบมโนทัศน์เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาPochchara Tiamwong
 
36ตัวอย่างการประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา(วิ)
36ตัวอย่างการประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา(วิ)36ตัวอย่างการประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา(วิ)
36ตัวอย่างการประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา(วิ)Pochchara Tiamwong
 

Plus de Pochchara Tiamwong (20)

คำสั่งการแข่งขันกีฬา – กรีฑานักเรียน สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557
คำสั่งการแข่งขันกีฬา – กรีฑานักเรียน สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557คำสั่งการแข่งขันกีฬา – กรีฑานักเรียน สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557
คำสั่งการแข่งขันกีฬา – กรีฑานักเรียน สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557
 
กำหนดวันและสนามแข่งขันกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557
กำหนดวันและสนามแข่งขันกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557กำหนดวันและสนามแข่งขันกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557
กำหนดวันและสนามแข่งขันกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557
 
สูจิบัตรแข่งขันกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557 (แก้ไข 17 ก.ค. 57)
สูจิบัตรแข่งขันกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557 (แก้ไข 17 ก.ค. 57)สูจิบัตรแข่งขันกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557 (แก้ไข 17 ก.ค. 57)
สูจิบัตรแข่งขันกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557 (แก้ไข 17 ก.ค. 57)
 
สูจิบัตรแข่งขันกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557 (แก้ไข 17 ก.ค. 57)
สูจิบัตรแข่งขันกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557 (แก้ไข 17 ก.ค. 57)สูจิบัตรแข่งขันกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557 (แก้ไข 17 ก.ค. 57)
สูจิบัตรแข่งขันกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557 (แก้ไข 17 ก.ค. 57)
 
คำสั่งกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557 (แก้ไข 17 ก.ค. 57)
คำสั่งกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557 (แก้ไข 17 ก.ค. 57)คำสั่งกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557 (แก้ไข 17 ก.ค. 57)
คำสั่งกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557 (แก้ไข 17 ก.ค. 57)
 
รายชื่อสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมสังสรรค์ วันอำลางานเกษียณอายุราชการ
รายชื่อสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมสังสรรค์ วันอำลางานเกษียณอายุราชการรายชื่อสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมสังสรรค์ วันอำลางานเกษียณอายุราชการ
รายชื่อสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมสังสรรค์ วันอำลางานเกษียณอายุราชการ
 
คำสั่งกีฬาเขต2557
คำสั่งกีฬาเขต2557คำสั่งกีฬาเขต2557
คำสั่งกีฬาเขต2557
 
ทะเบียนรูป
ทะเบียนรูปทะเบียนรูป
ทะเบียนรูป
 
ทะเบียนรูป
ทะเบียนรูปทะเบียนรูป
ทะเบียนรูป
 
ใบสมัคร
ใบสมัครใบสมัคร
ใบสมัคร
 
โปรแกรมการแข่งขันกีฬา กรีฑา เขต 57
โปรแกรมการแข่งขันกีฬา กรีฑา  เขต 57โปรแกรมการแข่งขันกีฬา กรีฑา  เขต 57
โปรแกรมการแข่งขันกีฬา กรีฑา เขต 57
 
ระเบียบการแข่งขันกีฬา
ระเบียบการแข่งขันกีฬา ระเบียบการแข่งขันกีฬา
ระเบียบการแข่งขันกีฬา
 
52แบบตรวจสอบแผนใส่ท้ายเล่มแผน
52แบบตรวจสอบแผนใส่ท้ายเล่มแผน52แบบตรวจสอบแผนใส่ท้ายเล่มแผน
52แบบตรวจสอบแผนใส่ท้ายเล่มแผน
 
51รายชื่อผู้ทรงติดตามตรวจสอบ
51รายชื่อผู้ทรงติดตามตรวจสอบ51รายชื่อผู้ทรงติดตามตรวจสอบ
51รายชื่อผู้ทรงติดตามตรวจสอบ
 
48ระเบียบวัดผล
48ระเบียบวัดผล48ระเบียบวัดผล
48ระเบียบวัดผล
 
50ผู้ทรงคุณวุฒิภายใน
50ผู้ทรงคุณวุฒิภายใน50ผู้ทรงคุณวุฒิภายใน
50ผู้ทรงคุณวุฒิภายใน
 
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
 
44roadmap
44roadmap44roadmap
44roadmap
 
37แบบตรวจสอบมโนทัศน์เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา
37แบบตรวจสอบมโนทัศน์เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา37แบบตรวจสอบมโนทัศน์เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา
37แบบตรวจสอบมโนทัศน์เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา
 
36ตัวอย่างการประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา(วิ)
36ตัวอย่างการประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา(วิ)36ตัวอย่างการประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา(วิ)
36ตัวอย่างการประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา(วิ)
 

42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)

  • 1. เกณฑ์ประเมินครู พ้ืนฐาน 1 มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา (๖ มาตรฐาน ๓๓ ตัวบ่งชี้) มาตรฐานที่ ๗ ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล น้้าหนักคะแนนของมาตรฐาน ๑๐ คะแนน ค้าอธิบาย ครูปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรฐานตาแหน่งและมาตรฐานวิทยฐานะตาแหน่ง ด้วยความมุ่งมั่น ทุ่มเทการสอน อย่างเต็มเวลา และเต็มความสามารถเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพบรรลุเป้าหมายของหลักสูตร โดยการวิเคราะห์ หลักสูตรอย่างรอบด้าน กาหนดเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่ชัดเจน ศึกษาและวิเคราะห์ผู้เรียนเป็น รายบุคคล นาข้อมูลสารสนเทศจากผลการวิเคราะห์มาออกแบบ วางแผน และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความ แตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญา ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม และนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมา บูรณาการในการจัดการเรียนรู้และประเมินผลที่มุ่งเน้นพัฒนาการของผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ให้คาแนะนา คาปรึกษาและแก้ไขปัญหาผู้เรียนอย่างทั่วถึง ตลอดจนพัฒนาการจัดการเรียนรู้และพัฒนาผู้เรียนโดยใช้ กระบวนการวิจัยอย่างต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ ๗.๑ ครูมีการก้าหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ สมรรถนะ และ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ (๑ คะแนน) ค้าอธิบาย ครูสามารถกาหนดเป้าหมาย ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ครอบคลุมทั้งด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ สมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สอดคล้องกับความมุ่งหมายของหลักสูตรสถานศึกษา ประเด็นการพิจารณา ๑. ความรู้ความเข้าใจในเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตร ๒. การเชื่อมโยงเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนและมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรและหลักสูตรของ สถานศึกษากับแผนการจัดการเรียนรู้ ๓. การวางแผนการจัดการเรียนรู้ มีการกาหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียน ครอบคลุมทั้งด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ สมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ (ช่วงชั้นที่ ๑ – ๔) ระดับ ค้าอธิบายระดับคุณภาพ ๕  ครูมีความรู้ ความเข้าใจในเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา  สามารถแสดงการเชื่อมโยงเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนและมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรสถานศึกษากับ แผนการจัดการเรียนรู้ได้อย่างชัดเจน  วางแผนการจัดการเรียนรู้โดยกาหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนครอบคลุมทั้งด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ สมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ได้อย่างเหมาะสม  จัดกิจกรรมการเรียนรู้แสดงถึงการพัฒนาการคุณภาพผู้เรียน ครอบคลุมทั้งด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ สมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์อย่างชัดเจน ๔  ครูมีความรู้ ความเข้าใจในเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา  สามารถแสดงการเชื่อมโยงเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนและมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรสถานศึกษากับ แผนการจัดการเรียนรู้ได้อย่างชัดเจน  วางแผนการจัดการเรียนรู้โดยกาหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนครอบคลุมทั้งด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ สมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
  • 2. เกณฑ์ประเมินครู พ้ืนฐาน ระดับ 2 ค้าอธิบายระดับคุณภาพ  จัดกิจกรรมการเรียนรู้แสดงถึงการพัฒนาการคุณภาพผู้เรียน ครอบคลุมทั้งด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ สมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๓  ครูมีความรู้ ความเข้าใจในเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา  สามารถแสดงการเชื่อมโยงเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนและมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรสถานศึกษากับ แผนการจัดการเรียนรู้ได้  วางแผนการจัดการเรียนรู้โดยกาหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนครอบคลุมทั้งด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ สมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์  จัดกิจกรรมการเรียนรู้แสดงถึงการพัฒนาการคุณภาพผู้เรียน ครอบคลุมทั้งด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ สมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๒  ครูมีความรู้ ความเข้าใจในเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา  สามารถแสดงการเชื่อมโยงเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนและมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรสถานศึกษากับ แผนการจัดการเรียนรู้ได้เป็นส่วนใหญ่  วางแผนการจัดการเรียนรู้โดยกาหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนได้แต่ไม่ครอบคลุมทั้งด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ สมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์  จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่แสดงถึงการพัฒนาการคุณภาพผู้เรียนได้ครอบคลุมหรือชัดเจนเพียงด้านใดด้าน หนึ่ง ๑  ครูไม่มีความเข้าใจในเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา หรือ  ไม่แสดงการเชื่อมโยงเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนและมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรสถานศึกษากับ แผนการจัดการเรียนรู้ หรือ  วางแผนการจัดการเรียนรู้ และกาหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนไม่ครอบคลุม ทุกด้าน  จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ไม่แสดงถึงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลและแหล่งข้อมูล วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล แหล่งข้อมูล ๑. การสอบถาม การสัมภาษณ์ ครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้ที่เกี่ยวข้อง ๒. การตรวจเอกสาร หลักฐาน ร่องรอยการ - หลักสูตรสถานศึกษา/หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ ปฏิบัติงาน หรือข้อมูลเชิงประจักษ์ - แผนการจัดการเรียนรู้ - ฯลฯ
  • 3. เกณฑ์ประเมินครู พ้ืนฐาน ตัวบ่งชี้ที่ ๗.๒ ครูมีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล และใช้ข้อมูลในการวางแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อ พัฒนาศักยภาพของผู้เรียน (๑ คะแนน) ค้าอธิบาย ครูศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล จัดทาสารสนเทศอย่างเป็นระบบ ใช้ข้อมูลสารสนเทศจากผลการวิเคราะห์ ผู้เรียนมาใช้ในการวางแผนจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคล ประเด็นการพิจารณา การวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล การใช้ข้อมูลผู้เรียนวางแผนการจัดการเรียนรู้ การส่งต่อข้อมูลสารสนเทศ ผู้เรียน ระดับคุณภาพ (ช่วงชั้นที่ ๑ – ๔) ระดับ ค้าอธิบายระดับคุณภาพ ๕  ครูวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล และจัดทาสารสนเทศอย่างเป็นระบบ  นาข้อมูลสารสนเทศมาใช้ในการวางแผนจัดการเรียนรู้โดยมีกิจกรรมที่หลากหลายเหมาะสมกับผู้เรียนที่ แตกต่างกัน จัดกิจกรรมที่เป็นแบบอย่างที่ดีแสดงถึงการแก้ปัญหาหรือพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพเต็ม ตามศักยภาพ และสามารถชี้แนะ ให้คาแนะนาแก่ผู้อื่นได้  มีการส่งต่อข้อมูลสารสนเทศให้ระดับชั้นที่สูงขึ้น ๔  ครูวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล และจัดทาสารสนเทศอย่างเป็นระบบ  นาข้อมูลสารสนเทศมาใช้ในการวางแผนจัดการเรียนรู้โดยมีกิจกรรมที่หลากหลายเหมาะสมกับผู้เรียนที่ แตกต่างกัน และจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการแก้ปัญหาหรือพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพเต็มตามศักยภาพ และสามารถชี้แนะ ให้คาแนะนาแก่ผู้อื่นได้  มีการส่งต่อข้อมูลสารสนเทศให้ระดับชั้นที่สูงขึ้น ๓  ครูวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล และจัดทาสารสนเทศเพื่อการจัดการเรียนรู้  นาข้อมูลสารสนเทศมาใช้ในการวางแผนจัดการเรียนรู้โดยมีกิจกรรมที่หลากหลายเหมาะสมกับผู้เรียนที่ แตกต่างกัน และจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการแก้ปัญหาหรือพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพเต็มตามศักยภาพ  มีการส่งต่อข้อมูลสารสนเทศให้ระดับชั้นที่สูงขึ้น ๒  ครูวิเคราะห์ผู้เรียน และจัดทาสารสนเทศเพื่อการจัดการเรียนรู้  นาข้อมูลสารสนเทศมาใช้ในการวางแผนจัดการเรียนรู้โดยมีกิจกรรมที่เหมาะสมกับผู้เรียน และจัด กิจกรรมที่แสดงถึงการแก้ปัญหาหรือพัฒนาผู้เรียน  มีการส่งต่อข้อมูลสารสนเทศให้ระดับชั้นที่สูงขึ้น ๑  ครูไม่มีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ไม่มีการจัดทาสารสนเทศเพื่อการจัดการเรียนรู้ หรือ  ไม่นาข้อมูลสารสนเทศมาใช้ในการวางแผนจัดการเรียนรู้ หรือ  ไม่มีการส่งต่อข้อมูลสารสนเทศให้ระดับชั้นที่สูงขึ้น วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล/แหล่งข้อมูล วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล แหล่งข้อมูล ๑. การสอบถาม การสัมภาษณ์ ครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้ที่เกี่ยวข้อง ๒. การตรวจเอกสาร หลักฐาน ร่องรอยการ ปฏิบัติงาน หรือข้อมูลเชิงประจักษ์ - แฟ้มข้อมูลผู้เรียนเป็นรายบุคคล - เอกสาร/หลักฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง - ฯลฯ 3
  • 4. เกณฑ์ประเมินครู พ้ืนฐาน 4 ตัวบ่งชี้ที่ ๗.๓ ครูออกแบบและจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล และพัฒนาการทาง สติปัญญา (๒ คะแนน) ค้าอธิบาย ครูศึกษาหลักสูตรสถานศึกษา มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ นามา ออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยเลือกใช้วิธีสอน เทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เพื่อให้ผู้เรียนได้ พัฒนาเต็มตามศักยภาพ โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางด้านสติปัญญา จัดการเรียนรู้ที่ เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายและเชื่อว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ประเด็นการพิจารณา การออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับคุณภาพ ระดับ ค้าอธิบายระดับคุณภาพ ๕  ครูออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญ และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยเลือกใช้วิธีสอน เทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคล  จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่กาหนดไว้  จัดกิจกรรมการส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสติปัญญาของผู้เรียนตามระดับความสามารถ และ ปรับปรุงพัฒนาการออกแบบการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ๔  ครูออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญ และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยเลือกใช้วิธีสอน เทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย  จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่กาหนดไว้  จัดกิจกรรมการส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสติปัญญาของผู้เรียนตามระดับความสามารถ ๓  ครูออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญ และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยเลือกใช้วิธีสอน เทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย  จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่กาหนดไว้  จัดกิจกรรมการส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสติปัญญาของผู้เรียน ๒  ครูออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญ และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยใช้วิธีสอน เทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ที่ไม่หลากหลาย  จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ไม่ครบตามที่กาหนดไว้ ๑  ครูออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ไม่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญ และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หรือ  ใช้วิธีสอน เทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ที่ไม่หลากหลาย อ หรื  ไม่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล/แหล่งข้อมูล วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล แหล่งข้อมูล ๑. การสอบถาม สัมภาษณ์ ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้เรียน และผู้ที่เกี่ยวข้อง ๒. การตรวจเอกสาร หลักฐาน ร่องรอยการ - แฟ้มข้อมูลผู้เรียนเป็นรายบุคคล - แผนการจัดการเรียนรู้ ปฏิบัติงาน หรือข้อมูลเชิงประจักษ์ - หลักฐานการสอนเสริม/สอนซ่อม – ทะเบียนแหล่งเรียนรู้ - ฯลฯ
  • 5. เกณฑ์ประเมินครู พ้ืนฐาน 5 ตัวบ่งชี้ที่ ๗.๔ ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม ผนวกกับการน้าบริบทและภูมิปัญญาของ ท้องถิ่นมาบูรณาการในการ จัดการเรียนรู้ (๑ คะแนน) ค้าอธิบาย ครูศึกษาหลักการใช้สื่อ เลือกใช้สื่อที่มีคุณภาพ มีความเหมาะสม หลากหลาย สอดคล้องกับ วิธีการเรียนรู้ ธรรมชาติของสาระการเรียนรู้และความแตกต่างของผู้เรียน โดยจัดหา จัดทา พัฒนา หรือปรับปรุงสื่อด้วยการศึกษาค้นคว้า วิจัยเพื่อพัฒนาสื่อการเรียนรู้ ทั้งนี้ มีการนาภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยีต่าง ๆ มาประยุกต์ในการจัดการเรียนการสอน รวมทั้งมีการประเมินคุณภาพและ ประสิทธิภาพของสื่ออย่างต่อเนื่อง ประเด็นการพิจารณา ๑. การใช้สื่อและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ ๒. การนาบริบทและภูมิปัญญาของท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ ระดับคุณภาพ ระดับ ค้าอธิบายระดับคุณภาพ ๕  ครูสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และ บริบทของท้องถิ่นที่เป็นปัจจุบัน เพื่อวางแผนจัดทา จัดหา พัฒนาสื่อ นวัตกรรมและ เทคโนโลยีที่สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ และนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการ จัดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ  นาบริบทและภูมิปัญญาท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้อย่างเหมาะสมสอดคล้อง กับเนื้อหาและรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้  มีการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของสื่อโดยผ่านกระบวนการศึกษาวิจัย ๔  ครูสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และ บริบทของท้องถิ่นที่เป็นปัจจุบัน เพื่อวางแผนจัดทา จัดหา พัฒนาสื่อ นวัตกรรมและ เทคโนโลยีที่สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ และนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการ จัดการเรียนรู้  นาบริบทและภูมิปัญญาท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้สอดคล้องกับเนื้อหาและ รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้  มีการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของสื่อ ๓  ครูสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และ บริบทของท้องถิ่นที่เป็นปัจจุบัน เพื่อวางแผนจัดทา จัดหา พัฒนาสื่อ นวัตกรรมและ เทคโนโลยีที่สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ และนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการ จัดการเรียนรู้  นาบริบทและภูมิปัญญาท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้  มีการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของสื่อ
  • 6. เกณฑ์ประเมินครู พ้ืนฐาน ระดับ ค้าอธิบายระดับคุณภาพ ๒  ครูสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และ บริบทของท้องถิ่นแต่ไม่เป็นปัจจุบัน เพื่อวางแผนจัดทา จัดหา พัฒนาสื่อ นวัตกรรมและ เทคโนโลยี และนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการเรียนรู้  นาบริบทและภูมิปัญญาท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ แต่ขาดความสอดคล้อง กับเนื้อหาและรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๑  ครูไม่สารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และ บริบทของท้องถิ่น เพื่อวางแผนจัดทา จัดหา พัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี หรือ  ไม่นาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ อ หรื  ไม่นาบริบทและภูมิปัญญาท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล/แหล่งข้อมูล วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล แหล่งข้อมูล ๑. การสอบถาม สัมภาษณ์ ครู ผู้บริหาร ผู้เรียน และผู้ที่เกี่ยวข้อง ๒. การตรวจเอกสาร หลักฐาน ร่องรอย - แบบสารวจข้อมูล สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยี การปฏิบัติงาน หรือข้อมูลเชิง ทางการศึกษา แหล่งเรียนรู้ บริบทและภูมิปัญญา ประจักษ์ ท้องถิ่น - แผนการจัดการเรียนรู้ - รายงานวิจัยชั้นเรียน - ฯลฯ 6
  • 7. เกณฑ์ประเมินครู พ้ืนฐาน ตัวบ่งชี้ที่ ๗.๕ ครูมีการวัดและประเมินผลที่มุ่งเน้นการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ด้วยวิธีการที่หลากหลาย (๑ คะแนน) ค้าอธิบาย ครูศึกษาหลักการวัดและประเมินผล จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ซึ่งอยู่บนหลัก พื้นฐาน ๒ ประการ คือ การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน และเพื่อตัดสินผลการเรียน โดยผู้เรียนจะต้องได้รับการ พัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัด เพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ของผู้เรียน ด้วยวิธีการวัดและประเมินที่หลากหลาย เพื่อให้ได้ข้อมูลสารสนเทศที่แสดงถึงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสาเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ประเด็นการพิจารณา การวัดและประเมินผลที่มุ่งเน้นการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ระดับคุณภาพ ระดับ ค้าอธิบายระดับคุณภาพ ๕  ครูพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนที่มีคุณภาพตามหลักการวัดและประเมินผล สอดคล้องกับทุกมาตรฐานและตัวชี้วัด ตามกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ พร้อมทั้งจัดเก็บเครื่องมือ อย่างเป็นระบบ  วัดและประเมินผลพัฒนาการของผู้เรียนด้วยวิธีการและเครื่องมือที่หลากหลาย และตัดสินผลการ เรียนรู้โดยพิจารณาคะแนนพัฒนาการ ๔  ครูพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนที่มีคุณภาพตามหลักการวัดและประเมินผล สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัดตามกิจกรรมการจัดการเรียนรู้เป็นส่วนใหญ่  วัดและประเมินผลพัฒนาการของผู้เรียนด้วยวิธีการและเครื่องมือที่หลากหลาย และตัดสินผลการ เรียนรู้โดยพิจารณาคะแนนพัฒนาการ ๓  ครูพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนที่มีคุณภาพตามหลักการวัดและประเมินผล สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัดตามกิจกรรมการจัดการเรียนรู้เป็นส่วนใหญ่  วัดและประเมินผลพัฒนาการของผู้เรียน และตัดสินผลการเรียนรู้โดยพิจารณาคะแนนพัฒนาการ ๒  ครูพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนตามหลักการวัดและประเมินผล แต่เครื่องมือส่วน ใหญ่ขาดความสอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัดตามกิจกรรมการจัดการเรียนรู้  วัดและประเมินผลพัฒนาการของผู้เรียน และตัดสินผลการเรียนรู้โดยพิจารณาคะแนนพัฒนาการ ๑  ครูพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนตามหลักการวัดและประเมินผล แต่เครื่องมือส่วน ใหญ่ขาดความสอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัดตามกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ หรือ  ไม่วัดและประเมินผลพัฒนาการของผู้เรียน หรือตัดสินผลการเรียนรู้โดยไม่พิจารณาจากคะแนน พัฒนาการ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล/แหล่งข้อมูล วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล แหล่งข้อมูล ๑. การสอบถาม การสัมภาษณ์ ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้เรียน และผู้ที่เกี่ยวข้อง ๒. การตรวจเอกสาร หลักฐาน ร่องรอยการ - เครื่องมือการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ปฏิบัติงาน หรือข้อมูลเชิงประจักษ์ - แผนการจัดการเรียนรู้/บันทึกผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และพัฒนาการของผู้เรียน - ชิ้นงาน / ภาระงานของนักเรียน - ฯลฯ 7
  • 8. เกณฑ์ประเมินครู พ้ืนฐาน ตัวบ่งชี้ที่ ๗.๖ ครูให้ค้าแนะน้า ค้าปรึกษา และแก้ไขปัญหาให้แก่ผู้เรียนทั้งด้านการเรียนและ คุณภาพชีวิตด้วยความเสมอภาค (๑ คะแนน) ค้าอธิบาย ครูมีความรัก เมตตา เอาใจใส่ เอื้ออาทรชีวิตความเป็นอยู่ของผู้เรียนทุกคนอย่างใกล้ชิด มี การศึกษาผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพื่อนาข้อมูลมาวางแผนในการให้ความดูแล ช่วยเหลือ ให้คาแนะนา คาปรึกษา และแก้ไขปัญหาของผู้เรียนทั้งด้านการเรียนและคุณภาพชีวิตด้วยความเท่าเทียมกัน ประเด็นการพิจารณา ๑. การให้คาแนะนา คาปรึกษาแก่ผู้เรียน ๒. การแก้ไขปัญหาผู้เรียน ระดับคุณภาพ ระดับ ค้าอธิบายระดับคุณภาพ ๕  ครูศึกษาผู้เรียนเป็นรายบุคคล มีการช่วยเหลือผู้เรียนรายบุคคล โดยให้คาแนะนา คาปรึกษา และแก้ไขปัญหาของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ เป็นแบบอย่างที่ดี รวมทั้งให้ คาแนะนาชี้แนะแก่ผู้อื่นได้  ประสานความร่วมมือกับผู้เกี่ยวข้องในการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนทั้งด้านการเรียนและ คุณภาพชีวิตด้วยความเท่าเทียมกัน  รายงานผลผู้เรียนเป็นรายบุคคลให้ผู้ปกครองทราบ ๔  ครูศึกษาผู้เรียนเป็นรายบุคคล มีการช่วยเหลือผู้เรียนรายบุคคล โดยให้คาแนะนา คาปรึกษา และแก้ไขปัญหาของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ  ประสานความร่วมมือกับผู้เกี่ยวข้องในการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนทั้งด้านการเรียนและ คุณภาพชีวิตด้วยความเท่าเทียมกัน  รายงานผลผู้เรียนเป็นรายบุคคลให้ผู้ปกครองทราบ ๓  ครูศึกษาผู้เรียนเป็นรายบุคคล มีการช่วยเหลือผู้เรียนรายบุคคล โดยให้คาแนะนา คาปรึกษา และแก้ไขปัญหาของผู้เรียน  ประสานความร่วมมือกับผู้เกี่ยวข้องในการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนทั้งด้านการเรียนและ คุณภาพชีวิตด้วยความเท่าเทียมกัน  รายงานผลผู้เรียนเป็นรายบุคคลให้ผู้ปกครองทราบ ๒  ครูศึกษาและช่วยเหลือผู้เรียน โดยให้คาแนะนา คาปรึกษา และแก้ไขปัญหาของผู้เรียน แต่ไม่เน้นเป็นรายบุคคล  ประสานความร่วมมือกับผู้เกี่ยวข้องในการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนทั้งด้านการเรียนและ คุณภาพชีวิต  รายงานผลผู้เรียนให้ผู้ปกครองทราบ 8
  • 9. เกณฑ์ประเมินครู พ้ืนฐาน ระดับ ค้าอธิบายระดับคุณภาพ ๑  ครูศึกษาผู้เรียน แต่ให้คาแนะนา คาปรึกษา และแก้ไขปัญหาของผู้เรียน ไม่ครอบคลุมและทั่วถึง หรือ  ไม่มีการประสานความร่วมมือกับผู้เกี่ยวข้องในการดูแลช่วยเหลือผู้เรียน หรือ  ไม่มีการรายงานผลผู้เรียนให้ผู้ปกครองทราบ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล/แหล่งข้อมูล วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ๑. การสอบถาม การสัมภาษณ์ ๒. การตรวจเอกสาร หลักฐาน ร่องรอยการปฏิบัติงาน หรือ ข้อมูลเชิงประจักษ์ แหล่งข้อมูล ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้เรียน และผู้ที่เกี่ยวข้อง - แบบบันทึกข้อมูลนักเรียนรายบุคคล - แผนงาน / โครงการ ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน - เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานตามระบบการดูแล ช่วยเหลือนักเรียน เช่น แบบคัดกรองนักเรียน แบบบันทึก การให้คาปรึกษา บันทึกการเยี่ยมบ้าน - ฯลฯ 9
  • 10. เกณฑ์ประเมินครู พ้ืนฐาน ตัวบ่งชี้ที่ ๗.๗ ครูมีการศึกษาวิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในวิชาที่ตนรับผิดชอบ และใช้ผลในการปรับ การสอน (๑ คะแนน) ค้าอธิบาย ครูมีการศึกษา ค้นคว้า แสวงหาความรู้เกี่ยวกับการวิจัยทางการศึกษา มีความรู้ในการวิจัย มีการวิจัยในชั้น เรียนเพื่อแก้ปัญหา และหรือพัฒนาผู้เรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบ อย่างน้อยปีละ ๑ เรื่อง ผลจาก การวิจัยในชั้นเรียนแสดงถึงการแก้ปัญหา และหรือพัฒนาผู้เรียนได้ และได้รับการยอมรับ มีการเผยแพร่ผลงานวิจัย มีการนาผลการวิจัยไปใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครู รวมทั้งพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง ประเด็นการพิจารณา ๑. การศึกษาวิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ๒. การใช้ผลวิจัยในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ระดับคุณภาพ ระดับ ค้าอธิบายระดับคุณภาพ ๕  ครูมีการศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้ และมีความรู้เกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน  ทาวิจัยในชั้นเรียน อย่างน้อยปีละ ๑ เรื่อง ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบ ผลงานเป็น แบบอย่างที่ดีและสามารถให้คาแนะนา ชี้แนะแก่ผู้อื่นได้  นาผลจากการวิจัยในชั้นเรียนไปแก้ปัญหา และหรือพัฒนาผู้เรียน มีการเผยแพร่ผลงานวิจัยและมี การแก้ปัญหา และหรือพัฒนาผู้เรียนโดยการวิจัยอย่างต่อเนื่อง ๔  ครูมีการศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้ และมีความรู้เกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน  ทาวิจัยในชั้นเรียน อย่างน้อยปีละ ๑ เรื่อง ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบ และสามารถให้ คาแนะนา ชี้แนะแก่ผู้อื่นได้  นาผลจากการวิจัยในชั้นเรียนไปแก้ปัญหา และหรือพัฒนาผู้เรียน มีการเผยแพร่ผลงานวิจัย ๓  ครูมีการศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้ และมีความรู้เกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน  ทาวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อยปีละ ๑ เรื่องในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบ  นาผลจากการวิจัยในชั้นเรียนไปแก้ปัญหา และหรือพัฒนาผู้เรียน มีการเผยแพร่ผลงานวิจัย ๒  ครูมีการศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้ และมีความรู้เกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน  ทาวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อยปีละ ๑ เรื่องในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบแต่ไม่นาผลจากการ วิจัยในชั้นเรียนไปแก้ปัญหา และหรือพัฒนาผู้เรียน ๑  ครูไม่มีการศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้เกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน หรือ  ไม่ทาวิจัยในชั้นเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล/แหล่งข้อมูล วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล แหล่งข้อมูล ๑. การสอบถาม/การสัมภาษณ์ ครู ผู้บริหาร ผู้เรียน และผู้ที่เกี่ยวข้อง ๒. การสังเกต พฤติกรรมของครู ๓. การตรวจเอกสาร หลักฐาน - รายงานการวิจัยในชั้นเรียนของครูแต่ละคน ร่องรอยการปฏิบัติงาน หรือ - เอกสาร / หลักฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัย ข้อมูลเชิงประจักษ์ - สือ/นวัตกรรม/เทคนิคการสอนที่ใช้พัฒนา/แก้ปัญหาผู้เรียน ่ - ฯลฯ 10
  • 11. เกณฑ์ประเมินครู พ้ืนฐาน 11 ตัวบ่งชี้ที่ ๗.๘ ครูประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี และเป็นสมาชิกที่ดีของสถานศึกษา (๑ คะแนน) ค้าอธิบาย ครูยึดมั่นและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ และมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ มีความ ยุติธรรมและเมตตาธรรม มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และงานที่ได้รับมอบหมาย พัฒนาตนเองให้มีความก้าวหน้าใน วิชาชีพ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีในการดาเนินชีวิต ทั้งต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม ให้ความร่วมมือในการ แก้ไขปัญหาและพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีความรักสามัคคีในหมู่คณะ รวมทั้งร่วมปกป้องและรักษาชื่อเสียงของ สถานศึกษา ประเด็นการพิจารณา การประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีและการเป็นสมาชิกที่ดีของสถานศึกษา มีพฤติกรรมดังนี้ ๑. การยึดมั่นและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ ๒. การยึดมั่นและปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู ๓. การปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีในการดาเนินชีวิต ทั้งต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม ๔. การพัฒนาตนเองให้มีความก้าวหน้าในวิชาชีพ ๕. การมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ๖. การให้ความร่วมมือในกิจกรรมของสถานศึกษา ๗. การมีความรักสามัคคีในหมู่คณะ ๘. การร่วมปกป้องและรักษาชื่อเสียงของสถานศึกษา ระดับคุณภาพ ระดับ ค้าอธิบายระดับคุณภาพ ๕ ครูมีคุณลักษณะและดาเนินการครบ ๘ ข้อ และมีร่องรอยหลักฐานชัดเจน สามารถตรวจสอบได้ ๔ ครูมีคุณลักษณะและดาเนินการ ๗ ข้อ และมีร่องรอยหลักฐานชัดเจน สามารถตรวจสอบได้ ๓ ครูมีคุณลักษณะและดาเนินการ ๖ ข้อ และมีร่องรอยหลักฐานชัดเจน สามารถตรวจสอบได้ ๒ ครูมีคุณลักษณะและดาเนินการ ๔-๕ ข้อ และมีร่องรอยหลักฐานชัดเจน สามารถตรวจสอบได้ ๑ ครูมีคุณลักษณะและดาเนินการ ๑-๓ ข้อ และมีร่องรอยหลักฐานชัดเจน สามารถตรวจสอบได้ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล/แหล่งข้อมูล วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล แหล่งข้อมูล ๑. การสอบถาม/การสัมภาษณ์ ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้เรียน และผู้ที่เกี่ยวข้อง ๒. การสังเกต พฤติกรรมของครู ๓. การตรวจเอกสาร หลักฐาน ร่องรอยการ - รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ ปฏิบัติงาน หรือข้อมูลเชิงประจักษ์ - ผลการประเมินการปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรฐานตาแหน่งและมาตรฐาน วิทยฐานะตาแหน่ง - ทะเบียนประวัติ - ฯลฯ
  • 12. เกณฑ์ประเมินครู พ้ืนฐาน 12 ตัวบ่งชี้ที่ ๗.๙ ครูจัดการเรียนการสอนตามวิชาที่ได้รับมอบหมายเต็มเวลาเต็มความสามารถ คะแนน) (๑ ค้าอธิบาย ครูอุทิศตน ทุ่มเทแรงกาย แรงใจในการปฏิบัติงานสอนตามกลุ่มสาระที่ได้รับมอบหมายอย่างครบถ้วน และ มุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามที่หลักสูตรกาหนด ประเด็นการพิจารณา ๑. การจัดการเรียนการสอนตามวิชาที่ได้รับมอบหมายเต็มเวลา ๒. การจัดการเรียนการสอนตามวิชาที่ได้รับมอบหมายเต็มความสามารถ ระดับคุณภาพ ระดับ ค้าอธิบายระดับคุณภาพ ๕  ครูปฏิบัติงานสอนตามกลุ่มสาระที่ได้รับมอบหมายครบตามเวลาที่กาหนดร้อยละ ๑๐๐  มีการเตรียมการสอน จัดกิจกรรมการเรียนการสอนและพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามที่หลักสูตรกาหนด ปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง เป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี สามารถให้คาชี้แนะ แนะนาแก่ผู้อื่นได้  ส่งเสริมผู้เรียนจนได้รับรางวัลระดับสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาขึ้นไป ๔  ครูปฏิบัติงานสอนตามกลุ่มสาระที่ได้รับมอบหมายครบตามเวลาที่กาหนดร้อยละ ๑๐๐  มีการเตรียมการสอน จัดกิจกรรมการเรียนการสอนและพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามที่หลักสูตรกาหนด ปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง สามารถให้คาชี้แนะ แนะนาแก่ผู้อื่นได้ ๓  ครูปฏิบัติงานสอนตามกลุ่มสาระที่ได้รับมอบหมายครบตามเวลาที่กาหนดร้อยละ ๑๐๐  มีการเตรียมการสอน จัดกิจกรรมการเรียนการสอนและพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามหลักสูตรกาหนด ปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง ๒  ครูปฏิบัติงานสอนตามกลุ่มสาระที่ได้รับมอบหมายไม่ครบตามเวลาที่กาหนดหรือ  มีการเตรียมการสอน จัดกิจกรรมการเรียนการสอนและพัฒนาผู้เรียนตามที่หลักสูตรกาหนด ปรับปรุงและ พัฒนาการจัดการเรียนการสอนเป็นบางครั้ง  ครูปฏิบัติงานสอนตามกลุ่มสาระที่ได้รับมอบหมายไม่ครบตามเวลาที่กาหนด หรือ  มีการเตรียมการสอน จัดกิจกรรมการเรียนการสอนและพัฒนาผู้เรียนตามที่หลักสูตรกาหนด แต่ไม่ปรับปรุง และพัฒนาการจัดการเรียนการสอน วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล/แหล่งข้อมูล วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล แหล่งข้อมูล ๑. การสอบถาม การสัมภาษณ์ ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้เรียน และผู้ที่เกี่ยวข้อง ๒. การสังเกต พฤติกรรมของครู ๑ ๓. การตรวจเอกสาร หลักฐาน ร่องรอย - บันทึกเวลาปฏิบัติงานของข้าราชการ การปฏิบัติงาน หรือข้อมูลเชิง - คาสั่งปฏิบัติการสอน ประจักษ์ - บันทึกการสอนแทน - ผลการแข่งขันความเป็นเลิศตั้งแต่ระดับเขตพื้นที่ขึ้นไป - ฯลฯ