SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  25
Télécharger pour lire hors ligne
ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์เสนอรศ.อารี  ตัณฑ์เจริญรัตน์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มเกสตัลท์ กลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt Psychology) เป็นแนวคิดของนักจิตวิทยากลุ่มเกสตัลท์    เกิดขึ้นในระยะใกล้เคียงกับกลุ่มพฤติกรรมนิยม ผู้นำกลุ่มได้แก่ แมกซ์เวอร์ไธเมอร์ (Max Wertheimer) และผู้ร่วมกลุ่มอีก 2 คน คือ เคอร์ทคอฟพ์กา (Kurt Koffka) และวอล์ฟแกง โคเลอร์ (Wolfgang Kohler) ซึ่งเป็นชาวเยอรมัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มเกสตัลท์             กลุ่มนี้มีแนวคิดว่า  “การเรียนรู้เกิดได้จากการจัด  สิ่งเร้าต่าง ๆ มารวมกัน เริ่มต้นด้วยการรับรู้โดยส่วนรวมก่อน  แล้วจึงจะสามารถวิเคราะห์เรื่องการเรียนรู้ส่วนย่อยทีละส่วนต่อไป”
หลักการเรียนรู้ของกลุ่มเกสตัลท์          กลุ่มเกสตัลท์กล่าวว่า   การเรียนรู้ที่เห็นส่วนรวมมากกว่าส่วนย่อยนั้นจะต้องเกิด จากประสบการณ์เดิม และการเรียนรู้ย่อมเกิดขึ้น 2 ลักษณะคือ    1. การรับรู้    2. การหยั่งเห็น
หลักการเรียนรู้ของกลุ่มเกสตัลท์ 1. การรับรู้ (Perception)  หมายถึงการแปลความหมายหรือการตีความต่อสิ่งเร้าของอวัยวะรับสัมผัสส่วนใดส่วนหนึ่งหรือทั่งห้าส่วน  ได้แก่หู ตา จมูก ลิ้น และผิวหนัง และการตีความนี้ มักอาศัย ประสบการณ์เดิม ดังนั้นแต่ละคนอาจรับรู้ในสิ่งเร้าเดียวกันแตกต่างกันได้  แล้วแต่ประสบการณ์
หลักการเรียนรู้ของกลุ่มเกสตัลท์ 2. การหยั่งเห็น(Insight) หมายถึง การเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยจะเกิดแนวความคิดในการ   เรียนรู้หรือการแก้ปัญหา ขึ้นอย่างฉับพลันทันทีทันใด   (เกิดความคิดแวบขึ้นมา                    ในสมองทันที)     มองเห็นแนวทางการแก้ปัญหาตั้งแต่จุดเริ่มต้นเป็นขั้นตอนจนถึงจุดสุดท้ายที่สามารถจะแก้ปัญหาได้
             Wertheimer และKoffkaศึกษาธรรมชาติของ มนุษย์ว่ามีแนวโน้มเอียงจะนำสิ่งต่างๆมาผสมผสาน กันในรูปแบบใดบ้าง จึงสรุปเป็นกฎ 4 ประการ ดังนี้       1.  กฎแห่งความคล้ายคลึง       2.  กฎแห่งความใกล้ชิด       3.  กฎแห่งความสมบูรณ์       4.  กฎแห่งความต่อเนื่อง
กฎแห่งความคล้ายคลึง (The Law of Similarity) “ สิ่งเร้าใด ๆ ก็ตาม ที่มีรูปร่าง ขนาด หรือสี ที่คล้ายกัน คนเราจะรับรู้ว่า เป็นสิ่งเดียวกัน หรือพวกเดียวกัน ”
กฎแห่งความใกล้ชิด (The Law of Proximity) “ สิ่งเร้าใดๆ ที่อยู่ใกล้ชิดกัน มนุษย์มีแนวโน้มที่จะรับรู้ สิ่งต่างๆ ที่อยู่ใกล้ชิดกันเป็นพวกเดียวกัน หมวดหมู่เดียวกัน ”
กฎแห่งความสมบูรณ์ (The Law of Closure) “ สิ่งเร้าที่ขาดหายไปผู้เรียนสามารถรับรู้ให้เป็นภาพสมบูรณ์ได้โดยอาศัยประสบการณ์เดิม”
กฎแห่งความต่อเนื่อง (Law of Continuity) “สิ่งเร้าที่มีทิศทางในแนวเดียวกัน ซึ่งผู้เรียนจะรับรู้ว่าเป็นพวกเดียวกัน”
การทดลองที่แสดงการหยั่งเห็นในการเรียนรู้              โคลเลอร์ได้ทดลองโดยการขังลิงชิมแพนซี ตัวหนึ่งไว้ในกรงที่ใหญ่พอที่ลิงจะอยู่ได้ภายในกรงมีไม้หลายท่อน มีลักษณะสั้นยาวต่างกันวางอยู่     นอกกรงเขาได้แขวนกล้วยไว้หวีหนึ่ง   เกินกว่าที่ลิงจะเอื้อมหยิบได้  การใช้ท่อนไม้เหล่านั้น บางท่อน                ก็สั้นเกินไปสอยกล้วยไม่ถึงเหมือนกัน มีบางท่อนยาวพอที่จะสอยกินกล้วยได้
การทดลองที่แสดงการหยั่งเห็นในการเรียนรู้            ในขั้นแรก   ลิงซิมแพนซีพยายามใช้มือเอื้อมหยิบกล้วย                     แต่ไม่สำเร็จ    แม้ว่าจะได้ลองทำหลายครั้งเป็นเวลานาน                            มันก็หันไปมองรอบๆกรง  เขย่ากรง  ส่งเสียงร้อง และปีนป่าย               แต่เมื่อไม่ได้ผล   มันจึงหันมาลองจับไม้เล่น ใช้ไม้นั้นสอย                  กล้วยแต่ก็ไม่ได้ผล  มันจึงหันมาลองจับไม้อันอื่นเล่นและใช้ไม้นั้นสอยกล้วย   การกระทำเกิดขึ้นเร็วและสมบูรณ์ไม่ได้ค่อยเป็นค่อยไปอย่างช้าๆ  ในที่สุดมันก็สามารถใช้ไม้สอยกล้วยมากินได้
            วิธีการที่ลิงใช้แก้ปัญหานี้    โคล์เลอร์เรียกพฤติกรรมนี้ว่าเป็น การหยั่งเห็น เป็นการมองเห็นช่องทางในการแก้ปัญหาโดยลิงชิมแพนซีได้มีการรับรู้ในความสัมพันธ์ระหว่างไม้สอย กล้วยที่แขวนอยู่ข้างนอกกรงและสามารถใช้ไม้นั้นสอยกล้วยได้เป็นการนำไปสู่เป้าหมาย
กระบวนการแก้ปัญหาของลิงชิมแพนซี          1. วิธีการแก้ปัญหาโดยการหยั่งเห็นจะเกิดขึ้นทันทีทันใด                    เหมือนความกระจ่างแจ้งในใจ           2. การเรียนรู้การหยั่งเห็นเป็นการที่ผู้เรียนมองเห็นรับรู้ความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ ไม่ใช่เป็นการตอบสนองของ                       สิ่งเร้าเพียงอย่างเดียว
กระบวนการแก้ปัญหาของลิงชิมแพนซี 3. ความรู้เดิมของผู้เรียน ประสบการณ์ของผู้เรียนมีส่วน        ที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการหยั่งเห็นในเหตุการณ์ที่ประกอบขึ้นเป็นปัญหาและช่วยให้ การหยั่งเห็นเกิดขึ้นเร็ว
การนำทฤษฎีมาใช้ในการเรียนการสอน     ในการสอนครูควรจะให้ผู้เรียนมองเห็นโครงสร้าง                   ทั้งหมดของเรื่องที่จะสอนก่อน เพื่อให้เด็กเกิดการรับรู้                           เป็นส่วนรวม  แล้วจึงแยกส่วนออกมาสอนเป็นตอนๆ
การนำทฤษฎีมาใช้ในการเรียนการสอน  เน้นให้ผู้เรียนเรียนด้วยความเข้าใจมากกว่าเน้นการเรียน     แบบท่องจำ   การเรียนด้วยความเข้าใจต้องอาศัยสื่อที่ชัดเจนประกอบการเรียนและต้องเรียนด้วยการปฏิบัติจริง หรือผู้เรียนลงมือกระทำเอง ( Learning by Doing )
การนำทฤษฎีมาใช้ในการเรียนการสอน  ฝึกให้ผู้เรียนสามารถโยงความสัมพันธ์ระหว่างความรู้                   ที่เรียนไปแล้วกับความรู้ใหม่ว่ามีความแตกต่าง และคล้ายคลึงกันอย่างไรเพื่อช่วยให้จำได้นาน
การนำทฤษฎีมาใช้ในการเรียนการสอน          นอกจากนี้อาจนำแนวคิดของทฤษฏีนี้ไปใช้ในการแก้ปัญหาต่างๆ ว่าควรทำความเข้าใจโดยมองปัญหาทุกแง่ทุกมุม ไม่ควรมองปัญหาโดยมีอคติ และใช้ความคิดอย่างมีเหตุมีผลในการแก้ปัญหา
การนำทฤษฎีมาใช้ในการเรียนการสอน            นำไปใช้ในการทำความเข้าใจบุคคลว่า ควรมองเขาในภาพรวม ( The Whole Person ) คือ การศึกษาคุณลักษณะต่างๆ ของบุคคลกับความมีเหตุผล ไม่ตัดสินความดีความชั่ว    ของบุคคล โดยมองด้านใดด้านหนึ่งของเขาเท่านั้น
การนำทฤษฎีมาใช้ในการเรียนการสอน            นำไปใช้ในการทำความเข้าใจบุคคลว่า ควรมองเขาในภาพรวม ( The Whole Person ) คือ การศึกษาคุณลักษณะต่างๆ ของบุคคลกับความมีเหตุผล ไม่ตัดสินความดีความชั่ว    ของบุคคล โดยมองด้านใดด้านหนึ่งของเขาเท่านั้น

Contenu connexe

Tendances

ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้April1904
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Mod DW
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Pimpika Jinak
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้pajyeeb
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้Mod DW
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Bay Phitsacha Kanjanawiwin
 
กลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมกลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมNut Kung
 
การเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningการเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningunyaparn
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Pattarawadee Dangkrajang
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
ทฤษฎีกลุมเกสตัลท์
ทฤษฎีกลุมเกสตัลท์ทฤษฎีกลุมเกสตัลท์
ทฤษฎีกลุมเกสตัลท์7roommate
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนTupPee Zhouyongfang
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้eubeve
 
Com expert
Com expertCom expert
Com expertPtato Ok
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)Kanchana Changkor
 

Tendances (20)

ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
กลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมกลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยม
 
การเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningการเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learning
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
instructional design
instructional design instructional design
instructional design
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยมทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
 
Behaviorism cm
Behaviorism cmBehaviorism cm
Behaviorism cm
 
ทฤษฎีกลุมเกสตัลท์
ทฤษฎีกลุมเกสตัลท์ทฤษฎีกลุมเกสตัลท์
ทฤษฎีกลุมเกสตัลท์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
 
พุทธิปัญญา
พุทธิปัญญาพุทธิปัญญา
พุทธิปัญญา
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
Com expert
Com expertCom expert
Com expert
 
Wolfgang kohler
Wolfgang kohlerWolfgang kohler
Wolfgang kohler
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)
 

Similaire à ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์

1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะWeerachat Martluplao
 
เพาเวอร์พอย
เพาเวอร์พอยเพาเวอร์พอย
เพาเวอร์พอยNaree50
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Natida Boonyadetwong
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Phornpen Fuangfoo
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้jaacllassic
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้team00428
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้team00428
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้team00428
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้team00428
 

Similaire à ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์ (20)

1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะ
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
เพาเวอร์พอย
เพาเวอร์พอยเพาเวอร์พอย
เพาเวอร์พอย
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 

Plus de PomPam Comsci

พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 (ฉบับการ์ตูน) 2
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 (ฉบับการ์ตูน) 2พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 (ฉบับการ์ตูน) 2
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 (ฉบับการ์ตูน) 2PomPam Comsci
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 (ฉบับการ์ตูน)1
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 (ฉบับการ์ตูน)1พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 (ฉบับการ์ตูน)1
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 (ฉบับการ์ตูน)1PomPam Comsci
 
เปลี่ยนฟ้อนต์ ขนาดตัวอักษร
เปลี่ยนฟ้อนต์ ขนาดตัวอักษรเปลี่ยนฟ้อนต์ ขนาดตัวอักษร
เปลี่ยนฟ้อนต์ ขนาดตัวอักษรPomPam Comsci
 
Microsoft Excel 2003
Microsoft Excel 2003Microsoft Excel 2003
Microsoft Excel 2003PomPam Comsci
 
การสร้างลำดับผังงาน
การสร้างลำดับผังงาน การสร้างลำดับผังงาน
การสร้างลำดับผังงาน PomPam Comsci
 
การสร้าง Diagram Gallery
การสร้าง Diagram Galleryการสร้าง Diagram Gallery
การสร้าง Diagram GalleryPomPam Comsci
 
การเชื่อมโยงหลายมิติและ URL
การเชื่อมโยงหลายมิติและ URLการเชื่อมโยงหลายมิติและ URL
การเชื่อมโยงหลายมิติและ URLPomPam Comsci
 
การสร้างกราฟ
การสร้างกราฟ การสร้างกราฟ
การสร้างกราฟ PomPam Comsci
 
การสร้าง Organization Chart
การสร้าง Organization Chart การสร้าง Organization Chart
การสร้าง Organization Chart PomPam Comsci
 
การใช้ Text , Object
การใช้ Text , Object การใช้ Text , Object
การใช้ Text , Object PomPam Comsci
 
การใช้เทคนิคกับแผ่นสไลด์
การใช้เทคนิคกับแผ่นสไลด์การใช้เทคนิคกับแผ่นสไลด์
การใช้เทคนิคกับแผ่นสไลด์PomPam Comsci
 
การจัดทำสไลด์ต้นแบบ ( Master)
การจัดทำสไลด์ต้นแบบ ( Master) การจัดทำสไลด์ต้นแบบ ( Master)
การจัดทำสไลด์ต้นแบบ ( Master) PomPam Comsci
 
การสั่งพิมพ์และตั้งค่าแผ่นสไลด์
การสั่งพิมพ์และตั้งค่าแผ่นสไลด์ การสั่งพิมพ์และตั้งค่าแผ่นสไลด์
การสั่งพิมพ์และตั้งค่าแผ่นสไลด์ PomPam Comsci
 
การจัดการฉากหลังของสไลด์
การจัดการฉากหลังของสไลด์การจัดการฉากหลังของสไลด์
การจัดการฉากหลังของสไลด์PomPam Comsci
 
การกำหนด Header / Footer
การกำหนด Header / Footerการกำหนด Header / Footer
การกำหนด Header / FooterPomPam Comsci
 
การจัดทำบทบรรยายสำหรับผู้พูด
การจัดทำบทบรรยายสำหรับผู้พูดการจัดทำบทบรรยายสำหรับผู้พูด
การจัดทำบทบรรยายสำหรับผู้พูดPomPam Comsci
 

Plus de PomPam Comsci (20)

พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 (ฉบับการ์ตูน) 2
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 (ฉบับการ์ตูน) 2พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 (ฉบับการ์ตูน) 2
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 (ฉบับการ์ตูน) 2
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 (ฉบับการ์ตูน)1
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 (ฉบับการ์ตูน)1พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 (ฉบับการ์ตูน)1
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 (ฉบับการ์ตูน)1
 
Lecture excel2007
Lecture excel2007Lecture excel2007
Lecture excel2007
 
Excel2010
Excel2010Excel2010
Excel2010
 
Microsoft Word2003
Microsoft Word2003Microsoft Word2003
Microsoft Word2003
 
เปลี่ยนฟ้อนต์ ขนาดตัวอักษร
เปลี่ยนฟ้อนต์ ขนาดตัวอักษรเปลี่ยนฟ้อนต์ ขนาดตัวอักษร
เปลี่ยนฟ้อนต์ ขนาดตัวอักษร
 
Microsoft Excel 2003
Microsoft Excel 2003Microsoft Excel 2003
Microsoft Excel 2003
 
Thai onet[1]
Thai onet[1]Thai onet[1]
Thai onet[1]
 
การสร้างลำดับผังงาน
การสร้างลำดับผังงาน การสร้างลำดับผังงาน
การสร้างลำดับผังงาน
 
การสร้าง Diagram Gallery
การสร้าง Diagram Galleryการสร้าง Diagram Gallery
การสร้าง Diagram Gallery
 
การเชื่อมโยงหลายมิติและ URL
การเชื่อมโยงหลายมิติและ URLการเชื่อมโยงหลายมิติและ URL
การเชื่อมโยงหลายมิติและ URL
 
การสร้างกราฟ
การสร้างกราฟ การสร้างกราฟ
การสร้างกราฟ
 
การสร้าง Organization Chart
การสร้าง Organization Chart การสร้าง Organization Chart
การสร้าง Organization Chart
 
การใช้ Text , Object
การใช้ Text , Object การใช้ Text , Object
การใช้ Text , Object
 
การใช้เทคนิคกับแผ่นสไลด์
การใช้เทคนิคกับแผ่นสไลด์การใช้เทคนิคกับแผ่นสไลด์
การใช้เทคนิคกับแผ่นสไลด์
 
การจัดทำสไลด์ต้นแบบ ( Master)
การจัดทำสไลด์ต้นแบบ ( Master) การจัดทำสไลด์ต้นแบบ ( Master)
การจัดทำสไลด์ต้นแบบ ( Master)
 
การสั่งพิมพ์และตั้งค่าแผ่นสไลด์
การสั่งพิมพ์และตั้งค่าแผ่นสไลด์ การสั่งพิมพ์และตั้งค่าแผ่นสไลด์
การสั่งพิมพ์และตั้งค่าแผ่นสไลด์
 
การจัดการฉากหลังของสไลด์
การจัดการฉากหลังของสไลด์การจัดการฉากหลังของสไลด์
การจัดการฉากหลังของสไลด์
 
การกำหนด Header / Footer
การกำหนด Header / Footerการกำหนด Header / Footer
การกำหนด Header / Footer
 
การจัดทำบทบรรยายสำหรับผู้พูด
การจัดทำบทบรรยายสำหรับผู้พูดการจัดทำบทบรรยายสำหรับผู้พูด
การจัดทำบทบรรยายสำหรับผู้พูด
 

ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์

  • 2. ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มเกสตัลท์ กลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt Psychology) เป็นแนวคิดของนักจิตวิทยากลุ่มเกสตัลท์ เกิดขึ้นในระยะใกล้เคียงกับกลุ่มพฤติกรรมนิยม ผู้นำกลุ่มได้แก่ แมกซ์เวอร์ไธเมอร์ (Max Wertheimer) และผู้ร่วมกลุ่มอีก 2 คน คือ เคอร์ทคอฟพ์กา (Kurt Koffka) และวอล์ฟแกง โคเลอร์ (Wolfgang Kohler) ซึ่งเป็นชาวเยอรมัน
  • 3. ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มเกสตัลท์ กลุ่มนี้มีแนวคิดว่า “การเรียนรู้เกิดได้จากการจัด สิ่งเร้าต่าง ๆ มารวมกัน เริ่มต้นด้วยการรับรู้โดยส่วนรวมก่อน แล้วจึงจะสามารถวิเคราะห์เรื่องการเรียนรู้ส่วนย่อยทีละส่วนต่อไป”
  • 4. หลักการเรียนรู้ของกลุ่มเกสตัลท์ กลุ่มเกสตัลท์กล่าวว่า การเรียนรู้ที่เห็นส่วนรวมมากกว่าส่วนย่อยนั้นจะต้องเกิด จากประสบการณ์เดิม และการเรียนรู้ย่อมเกิดขึ้น 2 ลักษณะคือ 1. การรับรู้ 2. การหยั่งเห็น
  • 5. หลักการเรียนรู้ของกลุ่มเกสตัลท์ 1. การรับรู้ (Perception) หมายถึงการแปลความหมายหรือการตีความต่อสิ่งเร้าของอวัยวะรับสัมผัสส่วนใดส่วนหนึ่งหรือทั่งห้าส่วน ได้แก่หู ตา จมูก ลิ้น และผิวหนัง และการตีความนี้ มักอาศัย ประสบการณ์เดิม ดังนั้นแต่ละคนอาจรับรู้ในสิ่งเร้าเดียวกันแตกต่างกันได้ แล้วแต่ประสบการณ์
  • 6. หลักการเรียนรู้ของกลุ่มเกสตัลท์ 2. การหยั่งเห็น(Insight) หมายถึง การเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยจะเกิดแนวความคิดในการ เรียนรู้หรือการแก้ปัญหา ขึ้นอย่างฉับพลันทันทีทันใด (เกิดความคิดแวบขึ้นมา ในสมองทันที) มองเห็นแนวทางการแก้ปัญหาตั้งแต่จุดเริ่มต้นเป็นขั้นตอนจนถึงจุดสุดท้ายที่สามารถจะแก้ปัญหาได้
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10. Wertheimer และKoffkaศึกษาธรรมชาติของ มนุษย์ว่ามีแนวโน้มเอียงจะนำสิ่งต่างๆมาผสมผสาน กันในรูปแบบใดบ้าง จึงสรุปเป็นกฎ 4 ประการ ดังนี้ 1. กฎแห่งความคล้ายคลึง 2. กฎแห่งความใกล้ชิด 3. กฎแห่งความสมบูรณ์ 4. กฎแห่งความต่อเนื่อง
  • 11. กฎแห่งความคล้ายคลึง (The Law of Similarity) “ สิ่งเร้าใด ๆ ก็ตาม ที่มีรูปร่าง ขนาด หรือสี ที่คล้ายกัน คนเราจะรับรู้ว่า เป็นสิ่งเดียวกัน หรือพวกเดียวกัน ”
  • 12. กฎแห่งความใกล้ชิด (The Law of Proximity) “ สิ่งเร้าใดๆ ที่อยู่ใกล้ชิดกัน มนุษย์มีแนวโน้มที่จะรับรู้ สิ่งต่างๆ ที่อยู่ใกล้ชิดกันเป็นพวกเดียวกัน หมวดหมู่เดียวกัน ”
  • 13. กฎแห่งความสมบูรณ์ (The Law of Closure) “ สิ่งเร้าที่ขาดหายไปผู้เรียนสามารถรับรู้ให้เป็นภาพสมบูรณ์ได้โดยอาศัยประสบการณ์เดิม”
  • 14. กฎแห่งความต่อเนื่อง (Law of Continuity) “สิ่งเร้าที่มีทิศทางในแนวเดียวกัน ซึ่งผู้เรียนจะรับรู้ว่าเป็นพวกเดียวกัน”
  • 15. การทดลองที่แสดงการหยั่งเห็นในการเรียนรู้ โคลเลอร์ได้ทดลองโดยการขังลิงชิมแพนซี ตัวหนึ่งไว้ในกรงที่ใหญ่พอที่ลิงจะอยู่ได้ภายในกรงมีไม้หลายท่อน มีลักษณะสั้นยาวต่างกันวางอยู่ นอกกรงเขาได้แขวนกล้วยไว้หวีหนึ่ง เกินกว่าที่ลิงจะเอื้อมหยิบได้ การใช้ท่อนไม้เหล่านั้น บางท่อน ก็สั้นเกินไปสอยกล้วยไม่ถึงเหมือนกัน มีบางท่อนยาวพอที่จะสอยกินกล้วยได้
  • 16. การทดลองที่แสดงการหยั่งเห็นในการเรียนรู้ ในขั้นแรก ลิงซิมแพนซีพยายามใช้มือเอื้อมหยิบกล้วย แต่ไม่สำเร็จ แม้ว่าจะได้ลองทำหลายครั้งเป็นเวลานาน มันก็หันไปมองรอบๆกรง เขย่ากรง ส่งเสียงร้อง และปีนป่าย แต่เมื่อไม่ได้ผล มันจึงหันมาลองจับไม้เล่น ใช้ไม้นั้นสอย กล้วยแต่ก็ไม่ได้ผล มันจึงหันมาลองจับไม้อันอื่นเล่นและใช้ไม้นั้นสอยกล้วย การกระทำเกิดขึ้นเร็วและสมบูรณ์ไม่ได้ค่อยเป็นค่อยไปอย่างช้าๆ ในที่สุดมันก็สามารถใช้ไม้สอยกล้วยมากินได้
  • 17. วิธีการที่ลิงใช้แก้ปัญหานี้ โคล์เลอร์เรียกพฤติกรรมนี้ว่าเป็น การหยั่งเห็น เป็นการมองเห็นช่องทางในการแก้ปัญหาโดยลิงชิมแพนซีได้มีการรับรู้ในความสัมพันธ์ระหว่างไม้สอย กล้วยที่แขวนอยู่ข้างนอกกรงและสามารถใช้ไม้นั้นสอยกล้วยได้เป็นการนำไปสู่เป้าหมาย
  • 18. กระบวนการแก้ปัญหาของลิงชิมแพนซี 1. วิธีการแก้ปัญหาโดยการหยั่งเห็นจะเกิดขึ้นทันทีทันใด เหมือนความกระจ่างแจ้งในใจ 2. การเรียนรู้การหยั่งเห็นเป็นการที่ผู้เรียนมองเห็นรับรู้ความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ ไม่ใช่เป็นการตอบสนองของ สิ่งเร้าเพียงอย่างเดียว
  • 19. กระบวนการแก้ปัญหาของลิงชิมแพนซี 3. ความรู้เดิมของผู้เรียน ประสบการณ์ของผู้เรียนมีส่วน ที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการหยั่งเห็นในเหตุการณ์ที่ประกอบขึ้นเป็นปัญหาและช่วยให้ การหยั่งเห็นเกิดขึ้นเร็ว
  • 20. การนำทฤษฎีมาใช้ในการเรียนการสอน  ในการสอนครูควรจะให้ผู้เรียนมองเห็นโครงสร้าง ทั้งหมดของเรื่องที่จะสอนก่อน เพื่อให้เด็กเกิดการรับรู้ เป็นส่วนรวม แล้วจึงแยกส่วนออกมาสอนเป็นตอนๆ
  • 21. การนำทฤษฎีมาใช้ในการเรียนการสอน  เน้นให้ผู้เรียนเรียนด้วยความเข้าใจมากกว่าเน้นการเรียน แบบท่องจำ การเรียนด้วยความเข้าใจต้องอาศัยสื่อที่ชัดเจนประกอบการเรียนและต้องเรียนด้วยการปฏิบัติจริง หรือผู้เรียนลงมือกระทำเอง ( Learning by Doing )
  • 22. การนำทฤษฎีมาใช้ในการเรียนการสอน  ฝึกให้ผู้เรียนสามารถโยงความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ที่เรียนไปแล้วกับความรู้ใหม่ว่ามีความแตกต่าง และคล้ายคลึงกันอย่างไรเพื่อช่วยให้จำได้นาน
  • 23. การนำทฤษฎีมาใช้ในการเรียนการสอน นอกจากนี้อาจนำแนวคิดของทฤษฏีนี้ไปใช้ในการแก้ปัญหาต่างๆ ว่าควรทำความเข้าใจโดยมองปัญหาทุกแง่ทุกมุม ไม่ควรมองปัญหาโดยมีอคติ และใช้ความคิดอย่างมีเหตุมีผลในการแก้ปัญหา
  • 24. การนำทฤษฎีมาใช้ในการเรียนการสอน นำไปใช้ในการทำความเข้าใจบุคคลว่า ควรมองเขาในภาพรวม ( The Whole Person ) คือ การศึกษาคุณลักษณะต่างๆ ของบุคคลกับความมีเหตุผล ไม่ตัดสินความดีความชั่ว ของบุคคล โดยมองด้านใดด้านหนึ่งของเขาเท่านั้น
  • 25. การนำทฤษฎีมาใช้ในการเรียนการสอน นำไปใช้ในการทำความเข้าใจบุคคลว่า ควรมองเขาในภาพรวม ( The Whole Person ) คือ การศึกษาคุณลักษณะต่างๆ ของบุคคลกับความมีเหตุผล ไม่ตัดสินความดีความชั่ว ของบุคคล โดยมองด้านใดด้านหนึ่งของเขาเท่านั้น