SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  116
Télécharger pour lire hors ligne
1

ความหมายของการดูแลบํารุงรักษา

การดูแลบํารุงรักษาแบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ
       1. บํารุงรักษาสวนที่เสียโดยการซอมแซม (REPAIR, REMOVE, REPLACE
          AND REBUILD)
       2. บํารุงรักษาสวนที่ดี คือ การบํารุงรักษาอยางมีแบบแผน และตามระยะเวลา
          มีแผนการจัดอะไหล, กําลังคน, เครื่องมือ

ประเภทของการดูแลบํารุงรักษา
       โดยหลักการแลว งานดูแลบํารุงรักษาสามารถแบงออกเปน 4 ประเภท
       1. BREAKDOWN MAINTENANCE
       2. PLANNED / PREVENTIVE MAINTENANCE
       3. PREDICTIVE MAINTENANCE
       4. PROACTIVE MAINTENANCE

1. การดูแลบํารุงรักษาสวนที่เสียโดยการซอมแซม (BREAKDOWN MAINTENANCE)
         วิธีการดูแลบํารุงรักษาวิธีนี้ถือไดวาเปนแนวความคิดในงานการดูแลบํารุงรักษา
ที่เกาแกที่สุ ด ในตําราบางเลมใหนิยามวิ ธี การดูแลบํ ารุงรักษาแบบนี้วา “ดําเนิ นการ
โดยไรการดูแลบํารุงรักษา” (no maintenance at all ! ? !) ทั้งนี้อาจจะเปนเพราะโดยขอเท็จจริง
แลวก็คือวา บุคลากรในฝายดูแลบํารุงรักษาจะไมไปปฏิบัติงานใดๆ เลยจนกวาจะมีรายงาน
วาเครื่องจักรชํารุดใชงานตอไปไมได อยางไรก็ตามการดูแลบํารุงรักษาแบบนี้ยังคงมีใช
อยูกับสถานการณบางลักษณะ เชน ในอาคารที่ไมสลับซับซอนและเมื่อมีอุปกรณครุภัณฑ
พรอมอยูเสมอ หรือสามารถสั่งซื้อไดอยางทันทีทันใด โดยที่คาใชจายที่เกิดขึ้นจากการดูแล
บํารุงรักษาแบบนี้ ควรจะมีคาใชจายนอยกวาการประยุกตใชวิธีการดูแลบํารุงรักษาวิธีอื่นๆ
ตัวอยางในการดูแลบํารุงรักษาแบบนี้ ไดแก หลอดไฟฟาตางๆ ซึ่งจะถูกปลอยไวจนกระทั่ง
หลอดขาด หรือในกรณีของกอกน้ําประปาชํารุด ฯลฯ ขอเสียในการซอมบํารุงชนิดนี้ไดแก
2

         - ไมมีสัญญาณใดๆ บอกเปนการเตือนลวงหนาเมื่อเครื่องจักรเริ่มชํารุด
         - ไมสามารถยอมรับได ในระบบที่ตองการความเชื่อมั่นสูง เชน ระบบลิฟท
           เปนตน
         - ตองเก็บชิ้นสวนอะไหลไวเปนจํานวนมาก ซึ่งหมายความวาคาใชจายในการ
           เก็บของคงคลังสูง
         - ไมสามารถบรรลุเปาหมายในการปฏิบัติตามแผนการผลิตไดตามประสงค
         - ไมสามารถวางแผนงานในการดูแลบํารุงรักษาได

2. การดูแลบํารุงรักษาตามแผน (PLANNED / PREVENTIVE MAINTENANCE)
             เพื่ อ เป น การลบล า งข อ บกพร อ งในการดู แ ลบํ า รุ ง รั ก ษาเมื่ อ ชํ า รุ ด จึ ง ได มี
การพั ฒ นางานทางด า นการดู แ ลบํ า รุ ง รั ก ษาตามแผนขึ้ น มา กล า วโดยย อ ก็ คื อ การ
บํ า รุ ง รั ก ษาอาคารและอุ ป กรณ ต ามระยะเวลาที่ กํ า หนดขึ้ น โดยอาจจะได ม าจาก
ประสบการณหรือจากคูมือการใชงานของระบบและอุปกรณนั้นๆ อยางไรก็ตามการ
ชํารุดของอาคารและอุปกรณโดยไมคาดคิดก็ไมสามารถขจัดออกไปได ทั้งนี้เนื่องมาจาก
วารูปแบบ การชํารุดของอาคารและอุปกรณ (ในแงของการกระจายทางสถิติ) ไมได
อยูในลักษณะของการกระจายแบบสม่ําเสมอ (uniform distribution) ดังนั้นจึงเปนการ
ยากที่จะ เลือกชวงการดูแลบํารุงรักษาตามแผนที่เหมาะสม และในบางกรณีถึงแมวา
ไดปฏิบัติการดูแลบํารุงรักษาตามแผนแลวก็ตาม ก็ยังคงมีโอกาสที่จะเกิดการชํารุดของ
เครื่องจัก ร และอุ ป กรณโ ดยไมคาดคิด อี กอยางหลีกเลี่ ยงไม ได สรุ ปไดวาการดู แล
บํารุงรักษาแบบนี้จะทําใหเปนการเพิ่มคาใชจายในการผลิตทั้งทางตรงและทางออม
ตัวอยางของการดูแลบํารุงรักษาแบบนี้ไดแก การตรวจเช็คระดับน้ํามันลิฟทโดยสารที่
บริ เ วณช อ งตรวจระดั บ น้ํ า มั น การเปลี่ ย นถ า ยน้ํ า มั น ตามระยะเวลาการถอดเปลี่ ย น
ชิ้นสวนที่สําคัญบางชิ้นตามระยะเวลา ฯลฯ ปญหาหนึ่งที่พบเสมอทําการดูแลบํารุงรักษา
ตามระยะเวลา คือ ทําการเปลี่ยนชิ้นสวนบางชิ้นโดยไมจําเปนและในบางกรณีอาจจะ
เปนการรบกวนชิ้นสวน ในระบบอื่นโดยไมจําเปนรวมไปถึงในกรณีที่มีการประกอบ
กลับของชิ้นสวนเขาที่ ไมถูกตอง ซึ่งนับวาไดรับผลเสียมากกวาผลดีเสียอีก ในชวง
3

ศตวรรษที่ผานมาจึงมีวิธีการดูแลบํารุงรักษาแบบใหมที่เรียกวา REILABILITY         –
CENTRED – MAINTENANCE (RCM) โดยมีการยอๆ ดังนี้ คือ
     - ตรวจวิเคราะหหาอุปกรณวิกฤต
     - ตรวจสอบอุปกรณวิกฤตตามระยะเวลาที่กําหนด
     - ถอดอุปกรณออกเพื่อปรับสภาพ
     - ถอดเปลี่ยนอุปกรณวิกฤต
     - ในกรณีของอุปกรณที่ไมวิกฤต ก็ใหใชตอไปจนชํารุด
     - ในบางกรณีที่จําเปนใหทําการออกแบบอุปกรณบางชิ้นใหม

3. การดูแลบํารุงรักษาโดยการคาดคะเน (PREDICTIVE MAINTENANCE)
         โดยทั่วไปในปจจุบันเปนที่ทราบกันแลววาเครื่องจักรกลจะมีกลไก และวิธีการ
ทํางานที่สลับซับซอนมากกวาเครื่องจักรในสมัยกอนๆ รวมทั้งเปนการยากที่จะทําการ
ถอดเปลี่ยน หรือทําการตรวจเช็คตามจุดที่สําคัญของงานการดูแลบํารุงรักษาตามแผน
(PM) วิธีการในงานการดูแลบํารุงรักษาโดยการคาดคะเนนับไดวาเปนปรัชญาใหมใน
ศาสตรของการดูแลบํารุงรักษาเครื่องจักร แนวความคิดโดยสรุปก็คือการใชวิธีการ หรือ
เทคนิคใหมๆ ของเครื่องมือวัดชนิดตางๆ เชน อุปกรณในการวัดความสั่นสะเทือนกลอง
อินฟาเรด เทอรโมกราฟฟ ฯลฯ โดยพื้นฐานแลวพอที่จะจัดแบงการดูแลบํารุงรักษาแบบ
นี้ออกเปนวิธียอยๆ คือ VIBRATION ANALYSIS, OIL / WEAR PARTICLE
ANALYSIS, PERFORMANCE MONITORING, TEMPERATURE MONITORING
         การศึกษาติดตามสภาพเครื่องจักร (CONDITION MONITORING) หรือเรียกอีก
ชื่อหนึ่งวาการติดตามสุขภาพเครื่องจักร (MACHINE HEALTH MONITORING) ก็จัด
ไดวาเปนสวนหนึ่งของการดูแลบํารุงรักษาแบบคาดคะเนความจริงแลวการทํา CM :
condition monitoring หรือ MHM : machineralth monitoring ไมใชของใหมเพราะ
โดยทั่วไปแลว วิศวกร หรือผูควบคุมเครื่อง ก็ใชสามัญสํานึกในการดูแลรักษาเครื่องจักร
อยูแลว เชน การใชสายตาตรวจดูลักษณะโดยทั่วไป การใชจมูกดมกลิ่นไหม การใชหูฟง
เสียงที่ดังผิดปกติ และการใชนิ้วมือสัมผัส (ความรอน) เปนตน อยางไรก็ตามวิธีการ
ตรวจสอบดังกลาวจะเปนลักษณะการประเมินสภาพเครื่องจักรที่ไมมีขอยุติที่แนนอน
4

ทั้งนี้เนื่องจากความไมเที่ยงตรงของประสาทสัมผัสของตนแตละคนไมเหมือนกัน ดังนั้น
การใชเครื่องมือตรวจวัดเชิงปริมาณสําหรับการดูแลบํารุงรักษาแบบคาดคะเนจึงเปนสิ่ง
สํ า คั ญ ทั้ งนี้ เพราะทํ าให ได ข อ สรุ ป ที่ ไ ม มี ก ารบิ ด พริ้ ว ได ใ นการประเมิ น สภาพของ
เครื่องจักร ดังนั้นความหมายของ PREDICTIVE MAINTENANCE ก็พอที่จะสรุปไดวา
เมื่อสามารถทราบถึงลักษณะของตนทุนของการชํารุด จึงพอที่จะสามารถจัดเตรียมการ
ลวงหนาสําหรับแรงงาน ชิ้นสวนอะไหลและกําหนดชวงเวลาการทํางานที่ไมขัดกับ
แผนการผลิตหลักได ในกรณีที่มีการประยุกตใช “predictive maintenance” ที่เหมาะสม
แลวผลประโยชนที่คาดวาจะไดรับคือ
           - ลดคาใชจายในการดูแลบํารุงรักษา
           - ลดสถิติการชํารุดของเครื่องจักรและอุปกรณ
           - ลดเวลาการชํารุดของเครื่องจักรและอุปกรณ
           - ลดปริมาณอะไหลคงคลังในการดูแลบํารุงรักษา
           - เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
           - วางแผนการดูแลบํารุงรักษาไดประสิทธิภาพสูงขึ้น
           - ทําใหการหยุดชะงักในการผลิตนอยลง

4. การดูแลบํารุงรักษาแบบการปองกันลวงหนา (PROACTIVE MAINTENANCE)
        นับไดวาการใชเทคนิคการดูแลบํารุงรักษาโดยวิธีนี้เปนการบํารุงรักษาเครื่องจักร
ที่คอนขางใหมตอวงการ ทั้งนี้เพราะแนวความคิดดังกลาวนี้เพิ่งถูกตีพิมพเมื่อประมาณ
ค.ศ. 1985 โดยยอแลวงานการดูแลบํารุงรักษาแบบนี้จะมุงพิจารณารากของปญหา (root
cause of failure) โดยที่ root cause สามารถแบงยอยออกเปนหกอยาง คือ CHEMICAL
STABILITY, PHYSICAL STABILITY, TEMPERATURE STABILITY, WEAR
STABILITY, LEAKAGE STABILITY AND MECHNICAL STABILITY เมื่อใดที่มี
การไมสมดุลยในระบบของเครื่อง (อาจจะเกิดความไมมี stability ในหนึ่งใน root cause
ที่กลาวมา หรืออาจจะมีความไมสมดุลยในระบบมากกวาหนึ่งสาเหตุก็เปนได) ตัวอยางที่
เห็นไดงายๆ ในระบบไฮดรอลิกก็คือ การที่มีสิ่งสกปรก (contaminants) หลุดรอดเขาไป
5

ในระบบ ซึ่งอาจจะเกิดการเติมน้ํามันที่สกปรกเขาไปในระบบการเสื่อมสภาพของไว
กรองอากาศ การชํารุดฉีกขาดของซิล ฯลฯ และสิ่งสกปรกดังกลาวก็จะเปน
         สาเหตุหลักที่ทําใหระบบขาดสมดุลยไป เมื่อวิศวกร หรือผูชํานาญการทราบถึง
root cause ก็จะทําการแกไขใหระบบกลับคืนสูสมดุล เชน ใชไสกรองที่มประสิทธิภาพ   ี
สูงขึ้น เปลี่ยนซิลที่ขาด หรือทําการกรองน้ํามันที่สงสัยวามีสิ่งสกปรกผสมอยู เปนตน
อยางไรก็ตามเนื่องจากจําเปนตองใชทั้งเครื่องมือ บุคลากรที่มีความชํานาญสูงในการ
คนหา root cause แนวความคิดในการซอมบํารุงแบบนี้จึงยังไมแพรหลายมากนัก
         หลั ก ของการบํ า รุ ง รั ก ษาผู ที่ จ ะบํ า รุ ง รั ก ษาระบบงานต า งๆ ภายในอาคาร
จําเปนตองมีความรู และทักษะที่เพียงพอจึงจะสามารถบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไวใน
ขั้นตนจําเปนตองรูจักวงจรชีวิตของเครื่องจักรกลตางๆ วาการขัดของของเครื่องจักรอยู
ในชวงใด เพื่อเปนการวิเคราะหหาสาเหตุไดอยางถูกจุดและสามารถแกไขปญหาไดอยาง
ถูกตองแมนยําใชเวลาไมมากนัก
6

วงจรชีวิตของเครื่องจักรและการขัดของ
เสนโคงรูปอางน้ํา
(Bath – Tub Curve)
อัตราการเกิดเหตุขัดของ
วงจรชีวิตของเครื่องจักรและการขัดของ
เสนโคงรูปอางน้ํา
(Bath – Tub Curve)
อัตราการเกิดเหตุขัดของ
7

ชวงการขัดของเริ่มแรก (Decreasing Failure Rate Distribution : DFR)

สาเหตุ :             เกิดจากการออกแบบผิดพลาด หรือการสรางผิดพลาด
การแกไข :           ทดลองเดินเครื่องอยางเขมงวดกอนรับเครื่อง และรีบขจัดสาเหตุ
                     การขัดของ เพื่อลดอัตราการเกิดเหตุขัดของใหนอยลง

ชวงการขัดของเปนครั้งคราว (Constant Failure Rate Distribution : CFR)

     สาเหตุ    : เกิ ด จากการเปลี่ ย นแปลงสภาพแวดล อ มอย า งป จ จุ บั น ทั น ด ว น
                 ความผิดพลาดของพนักงานระหวางใชงาน, เกิดขอบกพรองใน
                 กระบวนการผลิต
      การแกไข : การขัดของเกิดเนื่องจากการควบคุมไดไมทั่วถึง ถึงแมจะใชการ
                 บํารุงรักษาเชิงปองกันก็ยังคงเกิดการขัดของอยูอีก ดังนั้นระยะนี้
                 เปนชวงเวลาที่คอยสังเกตุการเปลี่ยนแปลงที่ผิดปกติเพื่อแกไขได
                 ทันเหตุการณ

ชวงขัดของเนื่องจากการสึกหรอ (Increasing Fail – Rate Distribution : IFR)

     สาเหตุ    : การขัดของเกิดขึ้นอยางรวดเร็ว เนื่องจากชิ้นสวนหมดอายุการใช
                 งาน
      การแกไข : ถาสามารถคาดคะเนชวงเวลาที่เกิดการสึกหรอไดลวงหนา แลวทํา
                 การเปลี่ย นชิ้ น สวนนั้ น กอนจะเกิดการเสี ยหายก็ จะสามารถลด
                 อั ต ราการขั ด ข อ งลงได นอกจากนั้ น การบํ า รุ ง รั ก ษาเชิ ง แก ไ ข
                 ปรับปรุงจะทําใหการเริ่มตนของชวงเวลาขัดของเนื่องจากการสึก
                 หรอเกิดชาได
8

การบํารุงรักษาเชิงปองกัน
(PREVENTIVE MAINTENANCE)
พื้นฐานการดูแลบํารุงรักษาอาคาร

       เนื่ อ งจากอาคารที่ ก อ สร า งขึ้ น มาเพื่ อ วั ต ถุ ป ระสงค ใ นการใช เ ป น ที่ พั ก อาศั ย ,
สํานักงานและสถานบริการสุขภาพ เพื่อใหอาคารและอุปกรณในระบบตางๆ ภายใน
อาคารมีอายุการใชงานยาวนาน, ลดปญหาในการใหบริการแกผูใช, และผูรับบริการของ
อาคาร และประหยัดคาใชจาย จึงจําเปนตองมีทีมงานดูแลบํารุงรักษาอาคาร เพื่อการ
ตรวจสอบบํารุงรักษา และเปลี่ยนอุปกรณหรืออะไหลที่ชํารุดเสียหาย

วัตถุประสงคของการบํารุงรักษาเชิงปองกันงานระบบในอาคารสถานบริการสุขภาพ
เพื่อประโยชนดังนี้
       1. เพื่อลดคาใชจายของอาคาร คือ สิ่งสูงสุดและเปาหมายหลักขององคกร
       2. เพื่อลดปญหาดานบริการ คือ คุณภาพของอุปกรณในอาคารจะตองพรอมใน
          การใชงาน มีคุณภาพกอใหเกิดความสบายใจแกผูใช
       3. เพื่อลดสถิติเรื่องอุปกรณเสียหายและการซอมแซมในตัวอาคาร
       4. เพื่อปรับปรุงคุณภาพการใหบริการอยูเสมอ
       5. การอนุรักษพลังงาน และการรักษาสิ่งแวดลอม

       ท า นที่ รั บ ผิ ด ชอบในฝ า ยดู แ ลบํ า รุ ง รั ก ษาอาคารไม ว า จะเล็ ก หรื อ ใหญ คงจะ
ประสบปญหาอยางเดียวกันวา หากไมมีการจัดระบบการดูแลบํารุงรักษาที่ดีพอ จะเกิด
ปญหาเรื่องอุปกรณในระบบตางๆ เสียอยูบอยๆ บางครั้งสลับกันเสียจนชางซอมกันไม
หวาดไมไหว อีกทั้งยังทําใหการบริการเปนไปแบบไมมีประสิทธิภาพ เกิดผลเสียหายแก
อาคาร ทางแก ไ ขป ญ หานี้ ใ ห ล ดลงได โ ดยการจั ด ระบบดู แ ลบํ า รุ ง รั ก ษาเชิ ง ป อ งกั น
Preventive Maintenance (PM)
9

อะไรคือการดูแลบํารุงรักษาเชิงปองกัน
        การดูแลบํารุงรักษาเชิงปองกัน หมายถึง การวางแผนดูแลบํารุงรักษาอุปกรณใน
ระบบตางๆ โดยกําหนดเวลาในการดําเนินการอยางสอดคลองเปนชวงๆ ซึ่งจะมีการ
ซอมแซม และเปลี่ยนอะไหลที่คาดคะเนวาจะหมดอายุการใชงาน แมวาขณะที่ทําการ
เปลี่ยนนั้นยังสามารถใชงานตอไปไดอีกเล็กนอย ดวยหลักการนี้จะทําใหเราไมตองหยุด
เครื่องเพื่อซอมบอยๆ ทําใหมีความมั่นใจในการเดินเครื่องวาจะไมมีปญหาจุกจิกเกิดขึ้น

ทําไมตองทําการดูแลบํารุงรักษาเชิงปองกัน
       เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพ ในงานดูแลบํารุงรักษา การจัดการดูแลบํารุงรักษาเชิง
ปองกัน จึงถูกนํามาใชในการปฏิ บัติงาน ในดานคาใชจายถึงแม วาเราจะตองเปลี่ย น
อะไหลมากขึ้นก็ตามแตโดยรวมแลวก็ไดขอดีหลายประการ คือ

       1. ไมตองหยุดเครื่องซอมบอยๆ ทําใหการใหบริการเปนไปแบบมีประสิทธิภาพ
       2. มาตรฐานของอุปกรณในระบบตางๆ ดีขึ้น ไมตองปรับเครื่องบอยๆ
       3. การซอมแซมแบบฉุกเฉินจะมีนอยลง
       4. ไมมีผลขางเคียงจากการที่อะไหลชิ้นหนึ่งเสีย พลอยใหอะไหลอื่นที่ที่ทํางาน
          สัมพันธพลอยเสียดวย เชน เพลาปมสงน้ําคด ไมไดศูนยทําใหเกิดแรงเหวี่ยง
          และตัวปมแตกเสียหายเปนตน
       5. ยืดอายุการใชงานของเครื่องจักร, อุปกรณและอาคาร
       6. พนักงานชางที่ควบคุมเครื่อง สบายใจขึ้นไมเสียสุขภาพจิต
10

ตัวอยาง เปรียบเทียบลักษณะของงานที่ตองดําเนินการบํารุงรักษาเชิงปองกัน
         งานทําความสะอาด (CLEANING)
        กรณีรถยนต : ลาง, อัดฉีดทั่วไป
กรณีระบบอาคาร : ปด, กวาด, เช็ด, ถูฝุนผงสิ่งสกปรก คราบน้ํามันออกจาก
                        เครื่องจักรและบริเวณสถานที่ทํางาน
1. งานหลอลื่น (LUBRICATING)
กรณีรถยนต :            การเติมน้ํามันเกียร, เปลี่ยนถายน้ํามันเครื่อง, อัดจารบี
กรณีระบบอาคาร : การอัดจารบี, การเติมน้ํามันหลอลื่น, การเปลี่ยนถาย
                        น้ํามันเครื่อง
2. งานตรวจปรับสภาพ (ADJUSTING)
กรณีรถยนต :            ใชเครื่องมืองายๆ ในการวัดลมยาง, ดูความสกปรกหัวเทียน
กรณีระบบอาคาร : ใชเครื่องมืองายๆ ในการตรวจสอบสภาพแบตเตอรี่, วัด
                        กระแสไฟฟา
3. งานตรวจสภาวะ (CONDITION TESTING)
กรณีรถยนต :            ใชเครื่องมือซับซอน และชางตองมีความชํานาญในการติดตั้ง
                        ลิ้นไอดี – ลิ้นไอเสีย, การตั้งเบรค, การตรวจแบริ่ง, การใช
                        ANALYZER ตรวจสอบสภาพเครื่อง
กรณีระบบอาคาร : ใชเครื่องมือซับซอน และชางตองมีความชํานาญในการวัดคา
                        ความเปนฉนวน, การยืดของสลิง
4. งานตรวจสอบความถูกตองในการทํางานของเครื่องจักร (FUNCTION TEST)
กรณีรถยนต :            การตรวจสภาพโชคอัพ, ที่ปดน้ําฝน, ที่ฉีดน้ําลางกระจก, ไฟ
                        เลี้ยว, ไฟเบรค
กรณีระบบอาคาร : การตรวจวัดแรงดัน, อุณหภูมิปม, คากระแสไฟฟา
5. การเปลี่ยนชิ้นสวน (REPLACEING COMPUNENTS)
กรณีรถยนต :            การเปลี่ยนกรองน้ํามัน, การเปลี่ยนกระบอกสูบ – ลูกสูบ
กรณีระบบอาคาร : การเปลี่ยน SPARE PARTS
11


ขั้นตอนการดําเนินงานการบํารุงรักษาเชิงปองกัน


         จัดทําขอมูลเครื่องจักรอุปกรณ
               (PLANT DATA)                     1



           จัดทําคูมือการบํารุงรักษา
            (PM INSTRUCTION)                    2



              วางแผนการทํางาน
                (PLANNING)                      3



                  นําไปปฏิบัติ
                (EXECUTION)                     4



           ประมวลผลและพัฒนางาน
                บํารุงรักษา
             (EVALUATION &                      5
             DEVELOPMENT)
12

ขั้นที่ 1 การจัดทําขอมูลเครื่องจักรอุปกรณ (PLANT DATA)
     องคประกอบของ Plant Data ควรมีดังนี้
     -    รหัสเครื่องจักร
     -    ชื่อเครื่องจักร
     -    สเปคเครื่องจักร และขอมูลดานเทคนิค
     -    ยี่หอ, รุน, ผูผลิต, ตัวแทนจําหนาย, หมายเลขโทรศัพท
     -    ราคา, คาขนสง, คาติดตั้ง, คาเสื่อมราคา, มูลคาซาก
     -    วันที่ใชงาน, อายุการใชงาน
     -    เงื่อนไขการรับประกัน, ระยะเวลารับประกัน
     -    รายละเอียดในการตัดสินใจเลือกใชเครื่องจักรนี้
     -    รายละเอียดเกี่ยวกับเครื่องจักรที่อยูในความสนใจ
     -    ตําแหนงที่ติดตั้งเครื่องจักร, หนวยงานรับผิดชอบ, ผูรับผิดชอบในการใชงาน
     -    วิธีการบํารุงรักษาเครื่องจักร, หนวยงานรับผิดชอบและผูรับผิดชอบ
     -    อื่นๆ

     วิธีการจัดทํา Plant Data
     1.   การมอบหมายผูรับผิดชอบในการทํา Plant Data
     2.   เขียนผังแสดงการติดตั้งเครื่องจักรและรหัสตําแหนง
     3.   การจัดทํารหัสเครื่องจักรและรหัสตําแหนงติดตั้งเครื่องจักร
     4.   การรวบรวมเอกสารคูมือของเครื่องจักร
     5.   การกรอกขอมูลในแบบฟอรม Plant Data
     6.   การสรางโปรแกรมคอมพิวเตอรในการจัดเก็บขอมูลและการเรียกใชขอมูล
     7.   การคียขอมูลเขาสูโปรแกรมคอมพิวเตอร
     8.   การออกรายงานเกี่ยวกับ Plant Data
13

ขั้นที่ 2 การจัดทําคูมือการบํารุงรักษา (PM INSTRUCTION)
          รายละเอียดของ PM instruction สวนใหญจะไดมาจาก Maintenance Manual
หรือ PM Manual นอกจากนั้น ยังไดมาจากประสบการณของผูที่ทําการซอมบํารุงรักษา
เครื่ อ งจั ก รด ว ย ซึ่ ง โดยปกติ ค วรจั ด เก็ บ รวบรวมอยู ใ นประวั ติ ก ารซ อ มบํ า รุ ง รั ก ษา
เครื่องจักรสามารถนํามาใชประโยชนได
          1. Maintenance Manual หรือ PM Manual
          2. Maintenance History

        องคประกอบของ PM INSTRUCTION มีดังนี้
        1.   รหัสเครื่องจักร
        2.   ชื่อของเครื่องจักร
        3.   รายละเอียดขั้นตอนของงาน PM
        4.   ความถี่/ชวงเวลา/การทํา PM
        5.   หนวยงาน/บุคคลรับผิดชอบการทํา PM
        6.   สถานะของเครื่องขณะทํา PM

ขั้นที่ 3 การวางแผนการบํารุงรักษา (Maintenance Planing)
        หลักการพิจารณาวางแผนการบํารุงรักษา
        1. นําขอมูลจาก PM Instruction มาทําการวางแผนตามกําหนดเวลา
        2. การจัดสมดุลระหวางปริมาณงานกับกําลังคน
        3. กําหนดการบํารุงรักษาจะเกิดจากชั่วโมงการใชงานสะสมของเครื่องจักร ตาม
           ความเปนจริง
        4. การกําหนดแผนบํารุงรักษาเปนรายวันหรือรายสัปดาหหรือรายเดือน
14

     รูปแบบการวางแผนการบํารุงรักษา
     1. แบบระยะเวลาใชงานคงที่ตลอดเวลา
     2. แบบระยะเวลาใชงานผันแปรตามความเปนจริง

     วิธีการวางแผนการบํารุงรักษา
     1. การใชมือทําบนกระดาษ, กระดาน White Board
     2. การใชคอมพิวเตอรชวยงาน

ขั้นที่ 4 การนําไปปฏิบัติ (EXECUTION)
     ขั้นตอนดําเนินการจัดทําระบบ PM
     1.    การอบรมพนักงาน PM ใหเขาใจพื้นฐานหลักการอยางดี
     2.    อบรมวิธีการทํางาน PM
     3.    เลือกพนักงานที่มีประสิทธิภาพ การบํารุงรักษารับผิดชอบงานมาทํา PM
     4.    การรายงานผล
     5.    การปรับปรุงและพัฒนา
     6.    นําเสนอผูบริหารระดับสูงเพื่ออนุมัติ
     7.    การควบคุมและติดตามผลการปฏิบัติงาน


 รายละเอียดการปฏิบัติในการสั่งการและควบคุมติดตามผลการดําเนินงาน
 PM
          1. การสั่งการรายวันหรือรายสัปดาหตามความเหมาะสม
          2. การรายงานผลการปฏิบติงานบํารุงรักษาของเจาหนาที่บํารุงรักษา
                                  ั
          3. การรวบรวมขอมูลเพื่อทําประวัติการบํารุงรักษา และประมวลผลการ
             บํารุงรักษา
15

ขั้นที่ 5 การประมวลผลและพัฒนางานบํารุงรักษา
     1. การจัดเก็บขอมูลเกี่ยวกับประวัติการซอมบํารุงเครื่องจักร
        - ประวัติการซอมเมื่อเครื่องจักรขัดของ (Breakdown Maintenance)
        - ประวัติการบํารุงรักษาเชิงปองกัน (Preventive Maintenance)
        - อื่นๆ

     2. การวิเคราะหขอมูลหรือการประมวลผล เพื่อปรับปรุงการบํารุงรักษา
        - การวิเคราะหอายุชิ้นสวนเพื่อปรับระยะเวลาการทํา PM ใหคุมคาเชิง
           เศรษฐศาสตรมากยิ่งขึ้น
        - การวินิจฉัยการเกิด Break down จากประวัติการซอมบํารุง เพื่อลดเวลา
           แกไขใหสั้นที่สุด
        - อื่นๆ

     3. การรายงานผลการบํารุงรักษา
        - รายงานการประเมินผลการบํารุงรักษา
        - รายงานคาใชจายที่เกิดขึ้นในการบํารุงรักษาแตละประเภท
        - รายงานการสูญเสียเวลาของเครื่องจักร เนื่องจากการบํารุงรักษาแตละ
           ประเภท
        - รายงานการใชแรงงานในการบํารุงรักษา
        - รายงานเปรียบเทียบ BM, PM
        - รายงานเปรียบเทียบชั่วโมงทํางาน, รายงาน, ซอมบํารุง
        - รายงานประสิทธิภาพเครื่องจักร
        - อื่นๆ
16

การจัดการดานงบประมาณซอมบํารุง
         ตามปกติ แ ล ว ทางฝ า ยจั ด การอาคารต อ งมี ก ารวางแผนและจั ด งบประมาณ
ประจําป สําหรั บใชในการบริ หารอาคาร และเมื่อได รั บอนุ มัติงบประมาณแลวต อง
วางแผนใชงบประมาณใหมีประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อไมใหการใชงบประมาณที่มีอยู
ขาดหรือใชเกิน ซึ่งการจัดการดานงบประมาณจะรับผิดชอบ โดยผูดูแลรับผิดชอบอาคาร
และสวนเจาหนาที่ซอมบํารุงรักษา ซึ่งประกอบดังนี้
         งบประมาณของการดู แ ลบํ า รุ ง รั ก ษาที่ ไ ด รั บ อนุ มั ติ จ ากกรรมการบริ ห าร
โรงพยาบาล จะสามารถควบคุมไดโดยการดูแลบํารุงรักษาที่มีประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งจะ
สามารถลดคาใชจายในการดูแ ลบํ ารุงรักษาดานตางๆ ของอาคาร ตลอดจนเกิดการ
ประหยัดในการจายคาสาธารณูปโภคตางๆ เชน ไฟฟา น้ําประปา ดังนั้นเจาหนาที่ผูดูแล
อาคารจะต อ งทํ า การวางแผนวิ เ คราะห ว า ค า ใช จ า ยต า งๆ ซึ่ ง โดยทั่ ว ไปแล ว ค า
สาธารณูปโภคที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงยอมเกิดจากความผิดปกติที่ตองตรวจสอบหรือการ
เพิ่มพื้นที่ใชอาคาร การจัดทํารายงานคาใชจายจริง ควรแยกรายละเอียดแตละงานเพื่องาย
ตอการเปรียบเทียบงบประมาณที่ไดจัดทํากับคาใชจายที่เกิดขึ้นจริง

งบประมาณไดมาอยางไร
        1. จากแผนงานการบํารุงรักษาของแตละอุปกรณ
        2. รวบรวมขอบกพรองทั้งหมดของอาคารและจัดทําแผนการซอมและปรับปรุง
           อาคาร
        3. ติดตอผูรับเหมาใหเสนอราคาเพื่อรวบรวมขอมูลไวจัดทํางบประมาณ
        4. จากงบประมาณของปที่แลว ถาในปปจจุบันจะไมมีการเปลี่ยนแปลงมากนัก
        5. ค า ซ อ มบํ า รุ ง รั ก ษาระบบต า งๆ ถ า ทราบราคาของอุ ป กรณ จ ะใช ค า เสื่ อ ม
           ประมาณ 10% เปนคาซอมบํารุงรักษา
        6. สอบถามจากผูแทนจําหนายกรณีไมทราบราคาวัสดุ/อะไหล/อุปกรณดวยตนเอง
        7. ใชจํานวนเงินจากสัญญาและเงื่อนไขเดิมที่เคยทําไว สําหรับผูรับเหมาชวง
           เชน ซอมบํารุงลิฟท
17

คูมือการดูแลบํารุงรักษาเชิงปองกัน
PREVENTIVE MAINTENANCE MANUAL

ชื่ออุปกรณ : MAIN DISTRIBUTION BOARD รหัสอุปกรณ : _______ ที่ตั้ง : ______

ชวงเวลา / รหัสซอมบํารุง รายการซอมบํารุง    วิธีตรวจสอบ
ประจําเดือน M1            สภาพตูโลหะ         - เปนสนิมหรือเสียหาย
                                              - ประตู เ ป ด ป ด ได เ หมื อ นปกติ
                                                  หรือไม
                                              - มีรอยน้ําซึมที่พื้นตูหรือไม
                                              - มีรอยหนูเขาไปทํารังหรือไม
                                              - มีรอยฝนรั่วหรือไม
                                              - อุ ณ ห ภู มิ ใ น ตู ร อ น เ กิ น ไ ป
                                                  หรือไม
                                              - รอบๆ ตูเปนระเบียบหรือไม
                M2       ตูรับและตูจายไฟ   - สัญญาณ (Pilot lamp) ของ
                                                  อุ ป กรณ รั บ ไฟและอุ ป กรณ
                                                  จายไฟติดหรือไม
                                              - ไฟสัญญาณของ OCB ติด
                                                  หรือไม
                                              - แอมมิเตอรปกติดีหรือไม
                                              - สวิทซสับเปลี่ยนของอุปกรณ
                                                  วัดปกติหรือไม
18

ชวงเวลา / รหัสซอมบํารุง รายการซอมบํารุง     วิธีตรวจสอบ
                 M3       เครื่องปองกัน       - รั้วปองกันเรียบรอยหรือไม
                                               - แผนปาย “หามเขา” และ
                                                   “อันตราย” แตกเสียหายหรือไม
                                               - มี เครื่ องดั บเพลิ งอยู ใกล ๆ
                                                   หรือไม
                M4       สวิทซเปด - ปดพรอม - ลูกถวยรองรับมีรอยแตกหรือ
                         ฟวสทางดานโหลด          บิ่นหรือไม
                                               - มีฝุนหรือคราบเกลือมาจับที่ผิว
                                                   หรือไม
                                               - สวนสัมผัสของขั้ วใบมี ด และ
                                                   ขั้วรองรับใบมีดมีรอยเสียหาย
                                                   หรือรอนเกินไปหรือไม
                                               - การสั บ สวิ ท ซ เ ป น ไปอย า ง
                                                   เรียบรอยหรือไม
                                               - ฟ ว ส ลิ ง ค มี ร อยแตกเสี ย หาย
                                                   หรือเปลี่ยนสีหรือไม
19




คูมือการดูแลบํารุงรักษาเชิงปองกัน
PREVENTIVE MAINTENANCE MANUAL

ชื่ออุปกรณ : หมอแปลงไฟฟา รหัสอุปกรณ : ____________ ที่ตั้ง : ____________
              ชนิดระบายความรอนดวยอากาศ

ชวงเวลา / รหัสซอมบํารุง รายการซอมบํารุง       วิธีตรวจสอบ
ประจําวัน        D1       อุณหภูมิของหมอแปลง - จุ ด ค า อุ ณ หภู มิ ข องอากาศ,
                                                     น้ํ า มั น ห ม อ แ ป ล ง แ ล ะ
                                                     อุณหภูมิของขดลวด
                 D2       ระดับน้ํามันหมอแปลง - อ า นค า จากเครื่ อ งวั ด ระดั บ
                                                     น้ํามัน (Oil Level Guage)
                 D3        - Main                - สังเกตดูรอยแตกราว หรือมี
                           - On load tap changer     ละอองน้ําจับดานในกระจก
                                                     หรือไม
                 D4       น้ํามันรั่วซึม         - ตรวจสอบตามครี บ ระบาย
                                                     ความร อ นข อ ต อ ท อ วาล ว
                                                     และชิ้นสวนอื่นๆ
                 D5       เสียงดังผิดปกติ        - อาจเกิดจากการสั่นสะเทือน
                                                     ที่ผิดปกติ สามารถตรวจสอบ
                                                     ไดโดยการใชมือสัมผัส
20

ชวงเวลา / รหัสซอมบํารุง รายการซอมบํารุง            วิธีตรวจสอบ
                 D6       บุ ช ชิ่ ง หรื อ ปลอกรอง - ตรวจสอบระดั บ น้ํ า มั น ของ
                          แกน                             บุชชิ่งรอยรั่วซึม, แตก, บิ่น,
                                                          สกปรก
                 D7       หองหายใจกรองความชื้น - ตรวจสอบการเปลี่ ย นของ
                          (Air Breather)                  สารดูดความชื้น (Silicagel)
                                                      - ตรวจดูคราบน้ํามัน
                 D8       สภาพภายนอกโดยทั่วๆ - ตรวจดู ด ว ยสายตา สั ง เกตดู
                          ไป                              สิ่งสกปรก, สนิม, หยดน้ํา,
                                                          การเปลี่ยนสีของจุดตางๆ
                                                      - ได ยิ น เสี ย ง หรื อ เห็ น แสงที่
                                                          เกิดจาก Partial discharge
                                                      - สังเกตกลิ่นที่ผิดปกติ
                 D9       ระบบ Nitrogen – Seal - ตรวจดู Nitrogen Pressure
                                                          Geuge
                                                      - สั ง เกตดู ร อยแตกร า ว หรื อ
                                                          ละอองน้ํ า จั บ ด า นในของ
                                                          กระจก
                 D10      ลอฟา (Lightning Arrester) - ตรวจสอบสภาพทั่ ว ไปของ
                                                          ลอฟา
                                                      - จุด Counter ลอฟา
                                                      - วัดคา Insulation Resistance
                                                          ของลอฟา
21

ชวงเวลา / รหัสซอมบํารุง รายการซอมบํารุง     วิธีตรวจสอบ
                 D11      อุปกรณเปลี่ยนเทปขณะ - ตรวจสอบสภาพภายนอก
                          รับโหลด (On Load Tap ทาง OLTC.
                          Changer)             - จุด Counter การทํางาน
                                               - ตรวจสอบระดับน้ํามันเกียร
                                                   ของมอเตอรเปลี่ยนเทป
                                               - ทดสอบค า ความคงทนของ
                                                   ไ ด อิ เ ล็ ก ต ริ ก (Dielectric
                                                   Strength) ของน้ํามันหมอแปลง
                                               - ตรวจสอบสภาพภายในของ
                                                   OLTC เพื่อบํารุงรักษา
คูมือการดูแลบํารุงรักษาเชิงปองกัน
PREVENTIVE MAINTENANCE MANUAL

ชื่ออุปกรณ : Lightning Arrester รหัสอุปกรณ : ____________ ที่ตั้ง : ____________

ชวงเวลา / รหัสซอมบํารุง รายการซอมบํารุง          วิธีตรวจสอบ
ประจําป         Y1       ปลอกนําสาย                - สั ง เกตมี ร อยร า วหรื อ แตก
                                                        หรือไม
                                                    - ฝุ น หรื อ คราบเกลื อ จั บ อยู
                                                        หรือไม
                                                    - ฟงเสียงดังผิดปกติหรือไม
                                                    - มีกลิ่นผิดปกติหรือไม
22

ชวงเวลา / รหัสซอมบํารุง รายการซอมบํารุง       วิธีตรวจสอบ
                 Y2       ฉนวน                   - วัดความตานทานของฉนวน
                                                 - ใชเมกเกอร ขนาด 100V วัด
                                                     ระหว า งสายไฟและสายดิ น
                                                     ถ า มี ค ว า ม ต า น ท า น เ กิ น
                                                     1000V เปนอันใชได
                                                 - ถ า ผิ ว ข อ ง ป ล อ ก นํ า ส า ย
                                                     สกปรกหรื อ ชื้ น อาจทํ า ให
                                                     ค ว า ม ต า น ท า น ล ด ล ง ไ ด
                                                     ดังนั้นกอนทําการวัดตองเช็ด
                                                     ใหแหงกอน
                Y3       การตอลงดิน




คูมือการดูแลบํารุงรักษาเชิงปองกัน
PREVENTIVE MAINTENANCE MANUAL

ชื่ออุปกรณ : POWER FUSE      รหัสอุปกรณ : ____________ ที่ตั้ง : ____________
23

ชวงเวลา / รหัสซอมบํารุง รายการซอมบํารุง         วิธีตรวจสอบ
ประจําเดือน M1            ฟวสลิงค               - สังเกตมีรอยแตกหรือไม
                                                   - ดู ว า ภายนอกของฟ ว ส ลิ ง ค
                                                       เปลี่ยนสีหรือสกปรกหรือไม
                                                   - เครื่ อ งหมายแสดงการตั ด
                                                       วงจรที่ดานลางของฟวสลิงค
                                                       ผิดปกติหรือไม
                                                   - แผน ป ายชื่อบอกขนาดฟวส
                                                       ลิงคยังอานไดหรือไม
                                                   - สวนสัมผัสระหวางฟวสลิงค
                                                       กั บ ที่ ยึ ด มี ค ว า ม เ สี ย ห า ย
                                                       หรือไม
                M2        ลูกถวยที่ยึด            - สังเกตมีรอยราวบิ่นหรือไม
                                                   - มีฝุนหรือคาบเกลือจับอยูบน
                                                       ลูกถวยหรือไม
                M3        สวิทซตัดตอน             - ตรวจสภาพนอตยึด
                                                   - ตะปูเกลี่ยวขั้วตอตางๆ หลวม
                                                       หรือไม
                                                   - ส นิ ม ค ร า บ เ ก ลื อ ติ ด อ ยู
                                                       หรือไม



คูมือการดูแลบํารุงรักษาเชิงปองกัน
PREVENTIVE MAINTENANCE MANUAL

ชื่ออุปกรณ : มอเตอรเหนี่ยวนํา รหัสอุปกรณ : ____________ ที่ตั้ง : ____________
24

ชวงเวลา / รหัสซอมบํารุง รายการซอมบํารุง   วิธีตรวจสอบ
ประจําเดือน M1            สเตเตอร           - ตะปูเกลียวที่ฝาปดหรือไม
                          (STATOR)           - มีรอยเสียหาย สกปรก หรือ
                                                 บิดเบี้ยวหรือไม
                                             - สีที่ทาไวเปนรอยหรือเปลี่ยน
                                                 สีหรือไม
                                             - ขดลวดบนสเตเตอร ชํ า รุ ด
                                                 เสียหายหรือไม
                                             - ทออากาศในแกนเหล็กของส
                                                 เตเตอรอุดตันหรือไม
                M2       โรเตอร (ROTOR)     - ทํ า อากาศในแกนเหล็ ก ของ
                                                 โรเตอรอุดตันหรือไม
                                             - สวนตอระหวางโลหะตัวนํา
                                                 ในโรเตอรและหวงลัดวงจร
                                                 (End ring) ที่ปลายของโรเตอร
                                                 ชํารุดเสียหายหรือไม
                M3       ขั้วตอ             - ขั้วตอหลวมหรือไม
                                             - ชํารุดเสียหายหรือไม
                M4       แบริ่ง              - น้ํามันรั่วหรือไม
                                             - ชํารุดเสียหายหรือไม
                M5       แผงควบคุมมอเตอร    - โวลต มิ เ ตอร อ า นค า ได ป กติ
                                                 หรือไม
                                             - แอมมิ เ ตอร อ า นค า ได ป กติ
                                                 หรือไม
                                             - สายไฟของหลอดไฟสัญญาณ
                                                 ขาดหรือไม
25

ชวงเวลา / รหัสซอมบํารุง รายการซอมบํารุง        วิธีตรวจสอบ
                 M6       เสี ย งของมอเตอร เ วลา - เสี ย งดั ง เปลี่ ย นไปจากปกติ
                          เดินเครื่อง                 หรือไม
                                                  - เสียงผิดปกติหรือไม
                                                  * เสียงลม * เสียงเครื่องกล *
                                                  เสียงแมเหล็กไฟฟา




คูมือการดูแลบํารุงรักษาเชิงปองกัน
PREVENTIVE MAINTENANCE MANUAL

ชื่ออุปกรณ : ปมน้ําชนิดเพลานอนในแนวราบ รหัสอุปกรณ : ________ ที่ตั้ง : _______
26

ชวงเวลา / รหัสซอมบํารุง รายการซอมบํารุง               วิธีตรวจสอบ
ประจําวัน        D1       อุ ณ ห ภู มิ ร อ ง ลื่ น       จับดูดวยมือ
                          (Bearing)
                 D2       ก า ร รั่ ว จ า ก กั น รั่ ว   ดูจากสายตา
                          (Packing Seal)
                 D3       การหลอลื่นกันรั่ว               ดูจากการไหลของน้ําที่มาหลอ
                                                           เลี้ยง
                  D4        โหลดของมอเตอรไฟฟา มัลติมิเตอร
                  D5        ร ะ ดั บ เ สี ย ง ข อ ง ก า ร จากการรับฟงและดูดวยตา
                            สั่นสะเทือน
ประจําเดือน       M1        อุ ณ ห ภู มิ ร อ ง ลื่ น เทอรโมมิเตอร
                            (Bearing)
                  M2        จารบีที่หลอเลี้ยงรองรื่น อัดจารบีเพิ่มเพื่อทดสอบ
                            (Bearing)
ประจํา 6 เดือน S1           การได ศู น ย ร ะหว า งป ม เครื่องตรวจสอบแนวเพลา
                            และตนกําลัง
                  S2        รอบการหมุ น ของเพลา โดยการใช เ ครื่ อ งวั ด ความเร็ ว
                            และปลอกเพลา                    ของเพลา
                  S3        ความแนนของนอตที่ขัน ใชประแจขันนอตเพื่อตรวจสอบ
                  S4        การสึกหรอของขอตอ จากการสังเกตและแรงดันที่อาน
                                                           ไดจากเกยวัดแรงดัน

ประจําป          Y1        การรั่วตามเพลา     เปดปมเพื่อตรวจสอบ
                  Y2        การสึ ก หรอของปลอก เปดปมเพื่อตรวจสอบ
                            เพลา
27

ชวงเวลา / รหัสซอมบํารุง รายการซอมบํารุง        วิธีตรวจสอบ
                 Y3       ความดันทางทอดูดและ     ดูจากเกยวัดแรงดัน
                          ทอจาย
                 Y4       ตรวจเช็ ค รอยต อ ของ   จากการสั ง เกตการรั่ ว ของน้ํ า
                          ระบบทอ                 ดวยตา




คูมือการดูแลบํารุงรักษาเชิงปองกัน
PREVENTIVE MAINTENANCE MANUAL
28


ชื่ออุปกรณ : ปมน้ําชนิด Submersible Pump รหัสอุปกรณ : _________ ที่ตั้ง : ________

ชวงเวลา / รหัสซอมบํารุง รายการซอมบํารุง                           วิธีตรวจสอบ
ประจําวัน        D1       ตรวจความปกติ ข อง                          มัลติมิเตอร
                          แ ร ง ดั น แ ล ะ
                          กระแสไฟฟา
                 D2       ค า ค า ง ๆ ที่ ตั้ ง ไ ว ใ น           ดู จ ากสายตาให เ ป น ไปตาม
                          ตูควบคุม                                  ขอกําหนด
                 D3       สภาพฉนวนไฟฟ า ของ                         ใชเครื่องวัดความตานทานของ
                          ขดลวดพันมอเตอร                            ขดลวด
                 D4       ตรวจขยะอุดตันใบพัด                         สังเกตจากการสั่งของทอแนวตั้ง
                                                                     และคากระแสไฟฟาที่ผิดปกติ
ประจํา 6 เดือน S1             น้ํามันหลอลื่น                        ถอด Oil ring ของเครื่องสูบน้ํา
                                                                     เทน้ํามันออก ถามีน้ําผสมให
                                                                     เปลี่ยนใหม
                   S2         การสึกกรอนของใบพัด                    ยกปมขึ้นเพื่อตรวจสอบ
                   S3         ซี ล น้ํ า มั น ที่ กั น น้ํ า หรื อ   ยกขึ้ น ทํ า ความสะอาดด วย
                              น้ํ า มั น ซึ ม เ ข า ไ ป ใ น         Methyl Alcohol และทาดวย
                              ม อ เ ต อ ร (Mechanical               Turbine Oil เทานั้นกอนใสคืน
                              Seal)
                   S4         ส ภ า พ ขั้ ว ต อ ข อ ง               ยกปมขึ้นเพื่อตรวจสอบ
                              กระแสไฟฟา
ประจําป           Y1         ตรวจสภาพตลั บ ลู ก ป น                ยกปมขึ้นและถอดเพื่อตรวจสอบ
                              (Bearing)
                   Y2         ตรวจเช็ ค รอยต อ ของ                  จากการสั ง เกตการรั่ ว ของน้ํ า
                              ระบบทอ, วาลว                         ดวยตา
29

คูมือการดูแลบํารุงรักษาเชิงปองกัน
PREVENTIVE MAINTENANCE MANUAL

ชื่ออุปกรณ : COOLING TOWER รหัสอุปกรณ : ___________ ที่ตั้ง : ___________

ชวงเวลา / รหัสซอมบํารุง   รายการซอมบํารุง       วิธีตรวจสอบ
ประจําวัน        D1         ความสั่นสะเทือน        จากการมองดู
                 D2         เสียปกติ               จากการฟง
                 D3         อุณหภูมิน้ําหลอเย็น   จากเทอรโมมิเตอร
                            100° F
                 D4         กระแสไฟฟ า ของ        แอมปมิเตอรตรวจสอบ
                            มอเตอร
ประจําเดือน      M1         พัดลม                สภาพใบพัด, การกัดกรอน, รอยราว,
                                                 ระยะหางถังใบพัดกับถังรับน้ําใหมี
                                                 ระยะหางประมาณ 2” – 3”
ประจําเดือน      S1         อางรับน้ํา          ลางผงและตะกอนสะสมกนอาง
                 S2         ทอ SPRINKLER คลาย SET                   SCREW       ด าน
                                                 PRINKLER HEAD
                                                 คลาย TURNBUCKLE ใหหยอน
                                                 ถอดทอ SPRINKLER ออกลาง
                 S3         SPRINKLER HEAK ถอดทอใน S2 ออกกอน
                                                 ถอด CENTRE PORT ออก แลว
                                                 ห มุ น ค ล า ย เ ก ลี ย ว SPRINKLER
                                                 HEAD จาก STAND PIPE
                 S4         แผ น แ บ งช องล ม ลางเศษผงตะกอนบนผิว FILLING
                            FILLING
30

คูมือการดูแลบํารุงรักษาเชิงปองกัน
PREVENTIVE MAINTENANCE MANUAL

ชื่ออุปกรณ : เครื่องปรับอากาศ SPLIT TYPE รหัสอุปกรณ : ________ที่ตั้ง : ________

ชวงเวลา / รหัสซอมบํารุง   รายการซอมบํารุง        วิธีตรวจสอบ
ประจําวัน
                 D1         ตรวจสอบปริมาณน้ํายา      ดู SIGHT GLASS
                 D2         ตรวจสอบคากระแสไฟ        AMP, METER
                 D3         ตรวจสอบเสียงผิดปกติ      ฟงเสียง
ประจําเดือน
                 M1         แผนกรองอากาศ      ถอดดู
                 M2         แผงระบายความร อ น เครื่ อ งฉี ด น้ํ า แรงดั น สู ง ผสม
                            CONDENSING         น้ํายาลางทําความสะอาด
31

การบํารุงรักษาเชิงปองกันสําหรับอาคาร

      จากแนวความคิดและวิธีการตางๆ เราสามารถนํามาประยุกตในงานบํารุงรักษา
อาคารสถานบริการสุขภาพ ซึ่งภายในอาคารจะมีเครื่องจักรและอุปกรณตางๆ มากมาย
โดยแบงเปนระบบได ดังนี้
      - ระบบสัญญาณเตือนภัย (FIRE ALARM SYSTEM)
      - ระบบปองกันอัคคีภัย (FIRE PROTECTION SYSTEM)
      - ระบบไฟฟา (ELECTRICAL SYSTEM)
      - ระบบลิฟท (ELEVATOR SYSTEM)
      - ระบบปรับอากาศ (AIR CONDITION SYSTEM)
      - ระบบสุขาภิบาล (SANITARY SYSTEM)
      - ระบบงานโครงสราง – สถาปตย (STRUCTURE & ARCHITECTS)
      - ระบบอื่นๆ (OTHER SYSTEM)

การสรางมาตรฐานการบํารุงรักษาอาคาร

1. จัดทําคูมือประกอบการบํารุงรักษา โดยละเอียดภายในประกอบดวย
       1.1 หนังสือขออนุญาตจากทางราชการ
       1.2 ระเบียบขอบังคับของโรงพยาบาล
       1.3 หนาที่ความรับผิดชอบของชางอาคาร
       1.4 การทํางานและการบํารุงรักษาระบบตางๆ ภายในอาคาร
       1.5 ขอมูลประวัติเครื่องจักร
       1.6 รายชื่อตัวแทนจําหนายอุปกรณงานระบบ
       1.7 รายชื่อเครื่องมือประจําอาคาร
32

2. วางแผนการบํ า รุ ง รั ก ษา และจั ด ทํ า แบบฟอร ม การตรวจเช็ ค อุ ป กรณ ง านระบบ
   ประกอบดวย
      2.1 Yearly Schedule
      2.2 Monthly Schedule
      2.3 ตารางการตรวจเช็คอุปกรณงานระบบตางๆ ประกอบดวย
          2.3.1 ระบบสุขาภิบาล (Sanitary System)
                 - ระบบน้ําดี (Cold water System)
                 - ระบบบําบัดน้ําเสีย (Waste water Treament plant System)
          2.3.2 ระบบปรับอากาศ ระบบระบายอากาศ (AIR CONDITIONING,
                 VENTILATION)
                 - CHILLER
                 - CONDENSOR PUMP
                 - COOLING TOWER
                 - VENTILATION
          2.3.3 ระบบปองกันอัคคีภัย (FIRE PROTECTION SYSTEM)
          2.3.4 ระบบไฟฟา (ELECTRICAL SYSTEM)
                 - ระบบไฟฟากําลัง (POWER)
                 - ระบบไฟฟาสื่อสาร (COMMUNICATION SYSTEM)
                 - ระบบเตือนอัคคีภัย (FIRE ALARM SYSTEM)
                 - ระบบไฟฟาแสงสวาง (LIGHTING SYSTEM)
                 - ระบบกราวด และลอฟา (GROUND AND LIGTHING
                      PROTECTION SYSTEM)
          2.3.5 ระบบลิฟท (ELEVATOR SYSTEM)
          2.3.6 ระบบงานอื่นๆ (OTHER SYSTEM)
3. จัดทําบอรดการบํารุงรักษาประจําอาคาร เอนกประสงค รายละเอียดแบบบอรดจะ
   ประกอบไปดวย
33

       3.1 Yearly Schedule
       3.2 Monthly Schedule
       3.3 Technician Organization Chart (ระดับการบังคับบัญชาของชางประจํา
           อาคาร)
       3.4 ตารางเวรนอน
       3.5 ปายชื่อชางเวรประจําแตละวัน
       3.6 รายงานสภาวะอุปกรณ และตารางการนัดหมายที่สําคัญ
       3.7 กราฟรายงานการใชพลังงานไฟฟา น้ําประปา
       3.8 รายงานผลการวิเคราะหคุณภาพน้ําเสีย
       3.9 รายงานผลการวิเคราะหน้ําหลอเย็น (Cooling System)
4. จัดทําสมุดบันทึกการทํางานของชางอาคารแตละวัน
5. จัดทําสมุดรับสงเวรในแตละวัน และรายงานเหตุการณผิดปกติ
6. จัดทําบอรด SINGLE / RISER DIAGRAM และตารางแสดง EQUIPMANT LIST
   ประจําหองเครื่องตางๆ
34

เอกสารที่ใชในการบริหารงานดูแลบํารุงรักษา
ชนิดของเอกสาร                  การใชงานและประโยชน
รายละเอียดขอกําหนด            เพื่ อ ใช ใ นการปรั บ ปรุ ง และเปลี่ ย นแปลงระบบ
                               ตางๆ ของอาคารและรับทราบมาตรฐานตางๆ ที่ใช
                               อางอิงในการออกแบบ
รายการคํานวณทางวิศวกรรม        ใชในการกําหนดขีดจํากัดของการใชงานในระบบ
                               ตางๆ รวมถึงการสรางหรือแกไขเพิ่มเติมวาอยูใน
                               ขีดความปลอดภัยหรือไม
แบบพิมพเขียว                  ใชในการศึกษาและวางแผนในดานตางๆ เกี่ยวกับ
                               รูปแบบของอาคาร, ตําแหนงทิศทาง และระบบ
                               ตางๆ ในอาคารรวมถึงตําแหนงอุปกรณตางๆ ของ
                               อาคาร เพื่ อจะได แกไ ขป ญ หาตา งๆ ที่เ กิ ด ขึ้ น ใน
                               อาคารไดอยางถูกตองและรวดเร็วในอนาคต
คูมือปฏิบัติงาน               ใช ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ วิ ธี ก ารควบคุ ม อุ ป กรณ ต า งๆ
                               รวมถึงวิธีการซอมบํารุง, ระยะเวลาในการซอม
                               บํารุงอะไหล,            รานที่จําหนาย เพื่ อใชในการ
                               วางแผนในการซอมบํารุงใหมีประสิทธิภาพสูงสุด
สัญญาวาจางกอสราง           เพื่ อ ทราบเงื่ อ นไขของสั ญ ญาในการติ ด ตาม
                               ผูรับเหมาเขาซอมงานที่บกพรองในระยะรัปบระ
                               กันงาน
ใบขออนุญาตกอสราง             เพื่อใชในการเปลี่ยน, ขาย, โอน, ยกเลิก, เพิ่มเงิน
                               และคืนเงินค้ําประกันการใช และตรวจสอบกรณี
                               เกิดความผิดปกติในเรื่องตางๆ ที่เกี่ยวของ
หนังสือค่ําประกันความเสียหาย   เปนหนังสือของธนาคารที่ค้ําประกันความเสียหาย
                               ของการก อ สร า งในระหว า งรั บ ประกั น ผลงาน
                               (Letter of Guarantee)
35

ชนิดของเอกสาร                      การใชงานและประโยชน
สัญญาซอมบํารุง – ผูรับเหมาชวง   เพื่ อ ควบคุ ม ผู รั บ เหมาช ว งซ อ มบํ า รุ ง งานระบบ
                                   ตางๆ ที่ตองใชผูชํานาญเฉพาะทาง เชน ซอมบํารุง
                                   ลิ ฟ ท ระบบปรั บ อากาศ ระบบตู ส าขาโทรศั พ ท
                                   อัตโนมัติ หรือตูควบคุมระบบสัญญาณเตือนภัย
คูมือการใชงาน                    เพื่อจะไดทราบระเบียบแนวปฏิบัติ ขอบังคับ เพื่อ
                                   จะไดประสานงานกับสวนที่เกี่ยวของไดถูกตอง
                                   และขอบเขตหนาที่ตองดําเนินการในอาคาร
สัญญาวาจางบริการ                 กรณี ที่ เ ป น บริ ษั ท ที่ รั บ บริ ก ารโครงการ จะต อ ง
                                   รับทราบขอบเขตและหนาที่เพื่อจะไดปฏิบัติและ
                                   ชี้แจงตอเจาของอาคารไดอยางถูกตอง
37
38


       รายละเอียดมาตรฐานประกอบการจัดทําบอรดชางอาคาร

ขนาด BOARD มาตรฐาน 1.2 x 2.4 m. ใช WHITE BOARD ที่ขาว หรือแผนลามิเนท

      รายละเอียดขอความภายในบอรดประชาสัมพันธ
      1. ตัวหนังสือแดง (ขนาด 2”)
      2. ตัวหนังสือสีเขียวแก (ขนาด 1.5”)
      3. ตัวหนังสือสีน้ําเงิน (ขนาด 1.2”)
      4. ตัวหนังสือสีน้ําเงิน (ขนาด 0.5”)
      5. แผนกระดาษสีขาว (13” x 23”)
      6. แผนกระดาษสีชมพู (13” x 23”)
      7. แผนกระดาษสีขาว (8” x 12”)
      8. แผนกระดาษสีขาว (8” x 12”)
      9. แผนกระดาษสีขาว (13” x 18”) ตัวหนังสือสีน้ําเงิน (ขนาด 1”)
      10. แผนกระดาษสีเหลือง (8” x 13”)
      11. แผนกระดาษสีเหลือง (8” x 13”)
      12. ตัวหนังสือสีน้ําเงิน (ขนาด 0.5”)
      13. ตัวหนังสือสีแดง (ขนาด 0.5”)
      14. แผนกระดาษสีขาว (13” x 18”) ตัวหนังสือสีน้ําเงิน (ขนาด 1”)
      15. ตัวหนังสือสีน้ําเงิน (ขนาด 0.5”)
      16. ชองขนาด 3” x 21”
      17. ชองขนาด 4” x 21”
      18. ชองขนาด 5” x 21”
      19. ชองขนาด 7” x 21”
      20. ชองขนาด 3” x 21”
      21. ชองขนาด 8” x 21”
39

ระบบที่ตองบํารุงรักษา
ระบบงานหลัก         ระบบงานยอย           รายการซอมบํารุง
1. โครงสร า งและ โครงสราง - สถาปตยกรรม - โครงสร า งอาคารรอยแตก,
    สถาปตยกรรม                              รอยราว
                                          - กระเบื้องหลังคา, ฝาเพดาน
                                          - งานกระจก, หนาตาง
                                          - งานสี
                                          - ประตูตางๆ
2. ระบบงานเครื่องกล ระบบขนสง             - ลิฟท
                    ระบบปรับอากาศ         - CHILLER
                                          - COOLING TOWER
                                          - CHILLER WATER PUMP
                                          - CONDENSER WATER PUMP
                                          - AHU, FCU
                                          - SPLITTYPE AIR COOL
                    ระบบสุขาภิบาล         - COLD WATER PUMP
                                          - BOOSTER PUMP
                                          - FLOAT VALVE
                                          - WATER TANK
                                          - TOILET
                                          - PIDING SYSTEM
                    ระบบบําบัดน้ําเสีย    - SUBMERSIBLE PUMP
                                          - AERATOR PUMP (AIR
                                             BLOWER)
                                          - FEED CLORING
                                          - WATER ANARISIS
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา

Contenu connexe

Tendances

บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางานบทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางานTeetut Tresirichod
 
APQP: Advanced Product/Project Quality Planning
APQP: Advanced Product/Project Quality PlanningAPQP: Advanced Product/Project Quality Planning
APQP: Advanced Product/Project Quality PlanningNukool Thanuanram
 
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐานบทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐานTeetut Tresirichod
 
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโครบทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโครTeetut Tresirichod
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพTeetut Tresirichod
 
พื้นฐานและเทคนิคการปรับแก้ไขงานฉีดพลาสติก
พื้นฐานและเทคนิคการปรับแก้ไขงานฉีดพลาสติกพื้นฐานและเทคนิคการปรับแก้ไขงานฉีดพลาสติก
พื้นฐานและเทคนิคการปรับแก้ไขงานฉีดพลาสติกReed Tradex
 
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหวบทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหวTeetut Tresirichod
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
FMEA 4th Edition for Beginer
FMEA 4th Edition for BeginerFMEA 4th Edition for Beginer
FMEA 4th Edition for BeginerNukool Thanuanram
 
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่Teetut Tresirichod
 
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางานบทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางานTeetut Tresirichod
 
Fishbone Diagram for Energy Conservation
Fishbone Diagram for Energy ConservationFishbone Diagram for Energy Conservation
Fishbone Diagram for Energy ConservationDenpong Soodphakdee
 
Waste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementWaste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementTeetut Tresirichod
 
บทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางาน
บทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางานบทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางาน
บทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางานTeetut Tresirichod
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 

Tendances (20)

บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางานบทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
 
APQP: Advanced Product/Project Quality Planning
APQP: Advanced Product/Project Quality PlanningAPQP: Advanced Product/Project Quality Planning
APQP: Advanced Product/Project Quality Planning
 
4.fmea
4.fmea4.fmea
4.fmea
 
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐานบทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
 
OJT Techniques
OJT TechniquesOJT Techniques
OJT Techniques
 
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโครบทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
 
พื้นฐานและเทคนิคการปรับแก้ไขงานฉีดพลาสติก
พื้นฐานและเทคนิคการปรับแก้ไขงานฉีดพลาสติกพื้นฐานและเทคนิคการปรับแก้ไขงานฉีดพลาสติก
พื้นฐานและเทคนิคการปรับแก้ไขงานฉีดพลาสติก
 
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหวบทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
 
APQP. and Control Plan
APQP. and Control PlanAPQP. and Control Plan
APQP. and Control Plan
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
 
FMEA 4th Edition for Beginer
FMEA 4th Edition for BeginerFMEA 4th Edition for Beginer
FMEA 4th Edition for Beginer
 
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
 
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางานบทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
 
Fishbone Diagram for Energy Conservation
Fishbone Diagram for Energy ConservationFishbone Diagram for Energy Conservation
Fishbone Diagram for Energy Conservation
 
Waste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementWaste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvement
 
Action plan
Action planAction plan
Action plan
 
บทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางาน
บทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางานบทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางาน
บทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางาน
 
Line Balancing
Line BalancingLine Balancing
Line Balancing
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
 

ความหมายการบำรุงรักษา

  • 1. 1 ความหมายของการดูแลบํารุงรักษา การดูแลบํารุงรักษาแบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ 1. บํารุงรักษาสวนที่เสียโดยการซอมแซม (REPAIR, REMOVE, REPLACE AND REBUILD) 2. บํารุงรักษาสวนที่ดี คือ การบํารุงรักษาอยางมีแบบแผน และตามระยะเวลา มีแผนการจัดอะไหล, กําลังคน, เครื่องมือ ประเภทของการดูแลบํารุงรักษา โดยหลักการแลว งานดูแลบํารุงรักษาสามารถแบงออกเปน 4 ประเภท 1. BREAKDOWN MAINTENANCE 2. PLANNED / PREVENTIVE MAINTENANCE 3. PREDICTIVE MAINTENANCE 4. PROACTIVE MAINTENANCE 1. การดูแลบํารุงรักษาสวนที่เสียโดยการซอมแซม (BREAKDOWN MAINTENANCE) วิธีการดูแลบํารุงรักษาวิธีนี้ถือไดวาเปนแนวความคิดในงานการดูแลบํารุงรักษา ที่เกาแกที่สุ ด ในตําราบางเลมใหนิยามวิ ธี การดูแลบํ ารุงรักษาแบบนี้วา “ดําเนิ นการ โดยไรการดูแลบํารุงรักษา” (no maintenance at all ! ? !) ทั้งนี้อาจจะเปนเพราะโดยขอเท็จจริง แลวก็คือวา บุคลากรในฝายดูแลบํารุงรักษาจะไมไปปฏิบัติงานใดๆ เลยจนกวาจะมีรายงาน วาเครื่องจักรชํารุดใชงานตอไปไมได อยางไรก็ตามการดูแลบํารุงรักษาแบบนี้ยังคงมีใช อยูกับสถานการณบางลักษณะ เชน ในอาคารที่ไมสลับซับซอนและเมื่อมีอุปกรณครุภัณฑ พรอมอยูเสมอ หรือสามารถสั่งซื้อไดอยางทันทีทันใด โดยที่คาใชจายที่เกิดขึ้นจากการดูแล บํารุงรักษาแบบนี้ ควรจะมีคาใชจายนอยกวาการประยุกตใชวิธีการดูแลบํารุงรักษาวิธีอื่นๆ ตัวอยางในการดูแลบํารุงรักษาแบบนี้ ไดแก หลอดไฟฟาตางๆ ซึ่งจะถูกปลอยไวจนกระทั่ง หลอดขาด หรือในกรณีของกอกน้ําประปาชํารุด ฯลฯ ขอเสียในการซอมบํารุงชนิดนี้ไดแก
  • 2. 2 - ไมมีสัญญาณใดๆ บอกเปนการเตือนลวงหนาเมื่อเครื่องจักรเริ่มชํารุด - ไมสามารถยอมรับได ในระบบที่ตองการความเชื่อมั่นสูง เชน ระบบลิฟท เปนตน - ตองเก็บชิ้นสวนอะไหลไวเปนจํานวนมาก ซึ่งหมายความวาคาใชจายในการ เก็บของคงคลังสูง - ไมสามารถบรรลุเปาหมายในการปฏิบัติตามแผนการผลิตไดตามประสงค - ไมสามารถวางแผนงานในการดูแลบํารุงรักษาได 2. การดูแลบํารุงรักษาตามแผน (PLANNED / PREVENTIVE MAINTENANCE) เพื่ อ เป น การลบล า งข อ บกพร อ งในการดู แ ลบํ า รุ ง รั ก ษาเมื่ อ ชํ า รุ ด จึ ง ได มี การพั ฒ นางานทางด า นการดู แ ลบํ า รุ ง รั ก ษาตามแผนขึ้ น มา กล า วโดยย อ ก็ คื อ การ บํ า รุ ง รั ก ษาอาคารและอุ ป กรณ ต ามระยะเวลาที่ กํ า หนดขึ้ น โดยอาจจะได ม าจาก ประสบการณหรือจากคูมือการใชงานของระบบและอุปกรณนั้นๆ อยางไรก็ตามการ ชํารุดของอาคารและอุปกรณโดยไมคาดคิดก็ไมสามารถขจัดออกไปได ทั้งนี้เนื่องมาจาก วารูปแบบ การชํารุดของอาคารและอุปกรณ (ในแงของการกระจายทางสถิติ) ไมได อยูในลักษณะของการกระจายแบบสม่ําเสมอ (uniform distribution) ดังนั้นจึงเปนการ ยากที่จะ เลือกชวงการดูแลบํารุงรักษาตามแผนที่เหมาะสม และในบางกรณีถึงแมวา ไดปฏิบัติการดูแลบํารุงรักษาตามแผนแลวก็ตาม ก็ยังคงมีโอกาสที่จะเกิดการชํารุดของ เครื่องจัก ร และอุ ป กรณโ ดยไมคาดคิด อี กอยางหลีกเลี่ ยงไม ได สรุ ปไดวาการดู แล บํารุงรักษาแบบนี้จะทําใหเปนการเพิ่มคาใชจายในการผลิตทั้งทางตรงและทางออม ตัวอยางของการดูแลบํารุงรักษาแบบนี้ไดแก การตรวจเช็คระดับน้ํามันลิฟทโดยสารที่ บริ เ วณช อ งตรวจระดั บ น้ํ า มั น การเปลี่ ย นถ า ยน้ํ า มั น ตามระยะเวลาการถอดเปลี่ ย น ชิ้นสวนที่สําคัญบางชิ้นตามระยะเวลา ฯลฯ ปญหาหนึ่งที่พบเสมอทําการดูแลบํารุงรักษา ตามระยะเวลา คือ ทําการเปลี่ยนชิ้นสวนบางชิ้นโดยไมจําเปนและในบางกรณีอาจจะ เปนการรบกวนชิ้นสวน ในระบบอื่นโดยไมจําเปนรวมไปถึงในกรณีที่มีการประกอบ กลับของชิ้นสวนเขาที่ ไมถูกตอง ซึ่งนับวาไดรับผลเสียมากกวาผลดีเสียอีก ในชวง
  • 3. 3 ศตวรรษที่ผานมาจึงมีวิธีการดูแลบํารุงรักษาแบบใหมที่เรียกวา REILABILITY – CENTRED – MAINTENANCE (RCM) โดยมีการยอๆ ดังนี้ คือ - ตรวจวิเคราะหหาอุปกรณวิกฤต - ตรวจสอบอุปกรณวิกฤตตามระยะเวลาที่กําหนด - ถอดอุปกรณออกเพื่อปรับสภาพ - ถอดเปลี่ยนอุปกรณวิกฤต - ในกรณีของอุปกรณที่ไมวิกฤต ก็ใหใชตอไปจนชํารุด - ในบางกรณีที่จําเปนใหทําการออกแบบอุปกรณบางชิ้นใหม 3. การดูแลบํารุงรักษาโดยการคาดคะเน (PREDICTIVE MAINTENANCE) โดยทั่วไปในปจจุบันเปนที่ทราบกันแลววาเครื่องจักรกลจะมีกลไก และวิธีการ ทํางานที่สลับซับซอนมากกวาเครื่องจักรในสมัยกอนๆ รวมทั้งเปนการยากที่จะทําการ ถอดเปลี่ยน หรือทําการตรวจเช็คตามจุดที่สําคัญของงานการดูแลบํารุงรักษาตามแผน (PM) วิธีการในงานการดูแลบํารุงรักษาโดยการคาดคะเนนับไดวาเปนปรัชญาใหมใน ศาสตรของการดูแลบํารุงรักษาเครื่องจักร แนวความคิดโดยสรุปก็คือการใชวิธีการ หรือ เทคนิคใหมๆ ของเครื่องมือวัดชนิดตางๆ เชน อุปกรณในการวัดความสั่นสะเทือนกลอง อินฟาเรด เทอรโมกราฟฟ ฯลฯ โดยพื้นฐานแลวพอที่จะจัดแบงการดูแลบํารุงรักษาแบบ นี้ออกเปนวิธียอยๆ คือ VIBRATION ANALYSIS, OIL / WEAR PARTICLE ANALYSIS, PERFORMANCE MONITORING, TEMPERATURE MONITORING การศึกษาติดตามสภาพเครื่องจักร (CONDITION MONITORING) หรือเรียกอีก ชื่อหนึ่งวาการติดตามสุขภาพเครื่องจักร (MACHINE HEALTH MONITORING) ก็จัด ไดวาเปนสวนหนึ่งของการดูแลบํารุงรักษาแบบคาดคะเนความจริงแลวการทํา CM : condition monitoring หรือ MHM : machineralth monitoring ไมใชของใหมเพราะ โดยทั่วไปแลว วิศวกร หรือผูควบคุมเครื่อง ก็ใชสามัญสํานึกในการดูแลรักษาเครื่องจักร อยูแลว เชน การใชสายตาตรวจดูลักษณะโดยทั่วไป การใชจมูกดมกลิ่นไหม การใชหูฟง เสียงที่ดังผิดปกติ และการใชนิ้วมือสัมผัส (ความรอน) เปนตน อยางไรก็ตามวิธีการ ตรวจสอบดังกลาวจะเปนลักษณะการประเมินสภาพเครื่องจักรที่ไมมีขอยุติที่แนนอน
  • 4. 4 ทั้งนี้เนื่องจากความไมเที่ยงตรงของประสาทสัมผัสของตนแตละคนไมเหมือนกัน ดังนั้น การใชเครื่องมือตรวจวัดเชิงปริมาณสําหรับการดูแลบํารุงรักษาแบบคาดคะเนจึงเปนสิ่ง สํ า คั ญ ทั้ งนี้ เพราะทํ าให ได ข อ สรุ ป ที่ ไ ม มี ก ารบิ ด พริ้ ว ได ใ นการประเมิ น สภาพของ เครื่องจักร ดังนั้นความหมายของ PREDICTIVE MAINTENANCE ก็พอที่จะสรุปไดวา เมื่อสามารถทราบถึงลักษณะของตนทุนของการชํารุด จึงพอที่จะสามารถจัดเตรียมการ ลวงหนาสําหรับแรงงาน ชิ้นสวนอะไหลและกําหนดชวงเวลาการทํางานที่ไมขัดกับ แผนการผลิตหลักได ในกรณีที่มีการประยุกตใช “predictive maintenance” ที่เหมาะสม แลวผลประโยชนที่คาดวาจะไดรับคือ - ลดคาใชจายในการดูแลบํารุงรักษา - ลดสถิติการชํารุดของเครื่องจักรและอุปกรณ - ลดเวลาการชํารุดของเครื่องจักรและอุปกรณ - ลดปริมาณอะไหลคงคลังในการดูแลบํารุงรักษา - เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต - วางแผนการดูแลบํารุงรักษาไดประสิทธิภาพสูงขึ้น - ทําใหการหยุดชะงักในการผลิตนอยลง 4. การดูแลบํารุงรักษาแบบการปองกันลวงหนา (PROACTIVE MAINTENANCE) นับไดวาการใชเทคนิคการดูแลบํารุงรักษาโดยวิธีนี้เปนการบํารุงรักษาเครื่องจักร ที่คอนขางใหมตอวงการ ทั้งนี้เพราะแนวความคิดดังกลาวนี้เพิ่งถูกตีพิมพเมื่อประมาณ ค.ศ. 1985 โดยยอแลวงานการดูแลบํารุงรักษาแบบนี้จะมุงพิจารณารากของปญหา (root cause of failure) โดยที่ root cause สามารถแบงยอยออกเปนหกอยาง คือ CHEMICAL STABILITY, PHYSICAL STABILITY, TEMPERATURE STABILITY, WEAR STABILITY, LEAKAGE STABILITY AND MECHNICAL STABILITY เมื่อใดที่มี การไมสมดุลยในระบบของเครื่อง (อาจจะเกิดความไมมี stability ในหนึ่งใน root cause ที่กลาวมา หรืออาจจะมีความไมสมดุลยในระบบมากกวาหนึ่งสาเหตุก็เปนได) ตัวอยางที่ เห็นไดงายๆ ในระบบไฮดรอลิกก็คือ การที่มีสิ่งสกปรก (contaminants) หลุดรอดเขาไป
  • 5. 5 ในระบบ ซึ่งอาจจะเกิดการเติมน้ํามันที่สกปรกเขาไปในระบบการเสื่อมสภาพของไว กรองอากาศ การชํารุดฉีกขาดของซิล ฯลฯ และสิ่งสกปรกดังกลาวก็จะเปน สาเหตุหลักที่ทําใหระบบขาดสมดุลยไป เมื่อวิศวกร หรือผูชํานาญการทราบถึง root cause ก็จะทําการแกไขใหระบบกลับคืนสูสมดุล เชน ใชไสกรองที่มประสิทธิภาพ ี สูงขึ้น เปลี่ยนซิลที่ขาด หรือทําการกรองน้ํามันที่สงสัยวามีสิ่งสกปรกผสมอยู เปนตน อยางไรก็ตามเนื่องจากจําเปนตองใชทั้งเครื่องมือ บุคลากรที่มีความชํานาญสูงในการ คนหา root cause แนวความคิดในการซอมบํารุงแบบนี้จึงยังไมแพรหลายมากนัก หลั ก ของการบํ า รุ ง รั ก ษาผู ที่ จ ะบํ า รุ ง รั ก ษาระบบงานต า งๆ ภายในอาคาร จําเปนตองมีความรู และทักษะที่เพียงพอจึงจะสามารถบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไวใน ขั้นตนจําเปนตองรูจักวงจรชีวิตของเครื่องจักรกลตางๆ วาการขัดของของเครื่องจักรอยู ในชวงใด เพื่อเปนการวิเคราะหหาสาเหตุไดอยางถูกจุดและสามารถแกไขปญหาไดอยาง ถูกตองแมนยําใชเวลาไมมากนัก
  • 6. 6 วงจรชีวิตของเครื่องจักรและการขัดของ เสนโคงรูปอางน้ํา (Bath – Tub Curve) อัตราการเกิดเหตุขัดของ วงจรชีวิตของเครื่องจักรและการขัดของ เสนโคงรูปอางน้ํา (Bath – Tub Curve) อัตราการเกิดเหตุขัดของ
  • 7. 7 ชวงการขัดของเริ่มแรก (Decreasing Failure Rate Distribution : DFR) สาเหตุ : เกิดจากการออกแบบผิดพลาด หรือการสรางผิดพลาด การแกไข : ทดลองเดินเครื่องอยางเขมงวดกอนรับเครื่อง และรีบขจัดสาเหตุ การขัดของ เพื่อลดอัตราการเกิดเหตุขัดของใหนอยลง ชวงการขัดของเปนครั้งคราว (Constant Failure Rate Distribution : CFR) สาเหตุ : เกิ ด จากการเปลี่ ย นแปลงสภาพแวดล อ มอย า งป จ จุ บั น ทั น ด ว น ความผิดพลาดของพนักงานระหวางใชงาน, เกิดขอบกพรองใน กระบวนการผลิต การแกไข : การขัดของเกิดเนื่องจากการควบคุมไดไมทั่วถึง ถึงแมจะใชการ บํารุงรักษาเชิงปองกันก็ยังคงเกิดการขัดของอยูอีก ดังนั้นระยะนี้ เปนชวงเวลาที่คอยสังเกตุการเปลี่ยนแปลงที่ผิดปกติเพื่อแกไขได ทันเหตุการณ ชวงขัดของเนื่องจากการสึกหรอ (Increasing Fail – Rate Distribution : IFR) สาเหตุ : การขัดของเกิดขึ้นอยางรวดเร็ว เนื่องจากชิ้นสวนหมดอายุการใช งาน การแกไข : ถาสามารถคาดคะเนชวงเวลาที่เกิดการสึกหรอไดลวงหนา แลวทํา การเปลี่ย นชิ้ น สวนนั้ น กอนจะเกิดการเสี ยหายก็ จะสามารถลด อั ต ราการขั ด ข อ งลงได นอกจากนั้ น การบํ า รุ ง รั ก ษาเชิ ง แก ไ ข ปรับปรุงจะทําใหการเริ่มตนของชวงเวลาขัดของเนื่องจากการสึก หรอเกิดชาได
  • 8. 8 การบํารุงรักษาเชิงปองกัน (PREVENTIVE MAINTENANCE) พื้นฐานการดูแลบํารุงรักษาอาคาร เนื่ อ งจากอาคารที่ ก อ สร า งขึ้ น มาเพื่ อ วั ต ถุ ป ระสงค ใ นการใช เ ป น ที่ พั ก อาศั ย , สํานักงานและสถานบริการสุขภาพ เพื่อใหอาคารและอุปกรณในระบบตางๆ ภายใน อาคารมีอายุการใชงานยาวนาน, ลดปญหาในการใหบริการแกผูใช, และผูรับบริการของ อาคาร และประหยัดคาใชจาย จึงจําเปนตองมีทีมงานดูแลบํารุงรักษาอาคาร เพื่อการ ตรวจสอบบํารุงรักษา และเปลี่ยนอุปกรณหรืออะไหลที่ชํารุดเสียหาย วัตถุประสงคของการบํารุงรักษาเชิงปองกันงานระบบในอาคารสถานบริการสุขภาพ เพื่อประโยชนดังนี้ 1. เพื่อลดคาใชจายของอาคาร คือ สิ่งสูงสุดและเปาหมายหลักขององคกร 2. เพื่อลดปญหาดานบริการ คือ คุณภาพของอุปกรณในอาคารจะตองพรอมใน การใชงาน มีคุณภาพกอใหเกิดความสบายใจแกผูใช 3. เพื่อลดสถิติเรื่องอุปกรณเสียหายและการซอมแซมในตัวอาคาร 4. เพื่อปรับปรุงคุณภาพการใหบริการอยูเสมอ 5. การอนุรักษพลังงาน และการรักษาสิ่งแวดลอม ท า นที่ รั บ ผิ ด ชอบในฝ า ยดู แ ลบํ า รุ ง รั ก ษาอาคารไม ว า จะเล็ ก หรื อ ใหญ คงจะ ประสบปญหาอยางเดียวกันวา หากไมมีการจัดระบบการดูแลบํารุงรักษาที่ดีพอ จะเกิด ปญหาเรื่องอุปกรณในระบบตางๆ เสียอยูบอยๆ บางครั้งสลับกันเสียจนชางซอมกันไม หวาดไมไหว อีกทั้งยังทําใหการบริการเปนไปแบบไมมีประสิทธิภาพ เกิดผลเสียหายแก อาคาร ทางแก ไ ขป ญ หานี้ ใ ห ล ดลงได โ ดยการจั ด ระบบดู แ ลบํ า รุ ง รั ก ษาเชิ ง ป อ งกั น Preventive Maintenance (PM)
  • 9. 9 อะไรคือการดูแลบํารุงรักษาเชิงปองกัน การดูแลบํารุงรักษาเชิงปองกัน หมายถึง การวางแผนดูแลบํารุงรักษาอุปกรณใน ระบบตางๆ โดยกําหนดเวลาในการดําเนินการอยางสอดคลองเปนชวงๆ ซึ่งจะมีการ ซอมแซม และเปลี่ยนอะไหลที่คาดคะเนวาจะหมดอายุการใชงาน แมวาขณะที่ทําการ เปลี่ยนนั้นยังสามารถใชงานตอไปไดอีกเล็กนอย ดวยหลักการนี้จะทําใหเราไมตองหยุด เครื่องเพื่อซอมบอยๆ ทําใหมีความมั่นใจในการเดินเครื่องวาจะไมมีปญหาจุกจิกเกิดขึ้น ทําไมตองทําการดูแลบํารุงรักษาเชิงปองกัน เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพ ในงานดูแลบํารุงรักษา การจัดการดูแลบํารุงรักษาเชิง ปองกัน จึงถูกนํามาใชในการปฏิ บัติงาน ในดานคาใชจายถึงแม วาเราจะตองเปลี่ย น อะไหลมากขึ้นก็ตามแตโดยรวมแลวก็ไดขอดีหลายประการ คือ 1. ไมตองหยุดเครื่องซอมบอยๆ ทําใหการใหบริการเปนไปแบบมีประสิทธิภาพ 2. มาตรฐานของอุปกรณในระบบตางๆ ดีขึ้น ไมตองปรับเครื่องบอยๆ 3. การซอมแซมแบบฉุกเฉินจะมีนอยลง 4. ไมมีผลขางเคียงจากการที่อะไหลชิ้นหนึ่งเสีย พลอยใหอะไหลอื่นที่ที่ทํางาน สัมพันธพลอยเสียดวย เชน เพลาปมสงน้ําคด ไมไดศูนยทําใหเกิดแรงเหวี่ยง และตัวปมแตกเสียหายเปนตน 5. ยืดอายุการใชงานของเครื่องจักร, อุปกรณและอาคาร 6. พนักงานชางที่ควบคุมเครื่อง สบายใจขึ้นไมเสียสุขภาพจิต
  • 10. 10 ตัวอยาง เปรียบเทียบลักษณะของงานที่ตองดําเนินการบํารุงรักษาเชิงปองกัน งานทําความสะอาด (CLEANING) กรณีรถยนต : ลาง, อัดฉีดทั่วไป กรณีระบบอาคาร : ปด, กวาด, เช็ด, ถูฝุนผงสิ่งสกปรก คราบน้ํามันออกจาก เครื่องจักรและบริเวณสถานที่ทํางาน 1. งานหลอลื่น (LUBRICATING) กรณีรถยนต : การเติมน้ํามันเกียร, เปลี่ยนถายน้ํามันเครื่อง, อัดจารบี กรณีระบบอาคาร : การอัดจารบี, การเติมน้ํามันหลอลื่น, การเปลี่ยนถาย น้ํามันเครื่อง 2. งานตรวจปรับสภาพ (ADJUSTING) กรณีรถยนต : ใชเครื่องมืองายๆ ในการวัดลมยาง, ดูความสกปรกหัวเทียน กรณีระบบอาคาร : ใชเครื่องมืองายๆ ในการตรวจสอบสภาพแบตเตอรี่, วัด กระแสไฟฟา 3. งานตรวจสภาวะ (CONDITION TESTING) กรณีรถยนต : ใชเครื่องมือซับซอน และชางตองมีความชํานาญในการติดตั้ง ลิ้นไอดี – ลิ้นไอเสีย, การตั้งเบรค, การตรวจแบริ่ง, การใช ANALYZER ตรวจสอบสภาพเครื่อง กรณีระบบอาคาร : ใชเครื่องมือซับซอน และชางตองมีความชํานาญในการวัดคา ความเปนฉนวน, การยืดของสลิง 4. งานตรวจสอบความถูกตองในการทํางานของเครื่องจักร (FUNCTION TEST) กรณีรถยนต : การตรวจสภาพโชคอัพ, ที่ปดน้ําฝน, ที่ฉีดน้ําลางกระจก, ไฟ เลี้ยว, ไฟเบรค กรณีระบบอาคาร : การตรวจวัดแรงดัน, อุณหภูมิปม, คากระแสไฟฟา 5. การเปลี่ยนชิ้นสวน (REPLACEING COMPUNENTS) กรณีรถยนต : การเปลี่ยนกรองน้ํามัน, การเปลี่ยนกระบอกสูบ – ลูกสูบ กรณีระบบอาคาร : การเปลี่ยน SPARE PARTS
  • 11. 11 ขั้นตอนการดําเนินงานการบํารุงรักษาเชิงปองกัน จัดทําขอมูลเครื่องจักรอุปกรณ (PLANT DATA) 1 จัดทําคูมือการบํารุงรักษา (PM INSTRUCTION) 2 วางแผนการทํางาน (PLANNING) 3 นําไปปฏิบัติ (EXECUTION) 4 ประมวลผลและพัฒนางาน บํารุงรักษา (EVALUATION & 5 DEVELOPMENT)
  • 12. 12 ขั้นที่ 1 การจัดทําขอมูลเครื่องจักรอุปกรณ (PLANT DATA) องคประกอบของ Plant Data ควรมีดังนี้ - รหัสเครื่องจักร - ชื่อเครื่องจักร - สเปคเครื่องจักร และขอมูลดานเทคนิค - ยี่หอ, รุน, ผูผลิต, ตัวแทนจําหนาย, หมายเลขโทรศัพท - ราคา, คาขนสง, คาติดตั้ง, คาเสื่อมราคา, มูลคาซาก - วันที่ใชงาน, อายุการใชงาน - เงื่อนไขการรับประกัน, ระยะเวลารับประกัน - รายละเอียดในการตัดสินใจเลือกใชเครื่องจักรนี้ - รายละเอียดเกี่ยวกับเครื่องจักรที่อยูในความสนใจ - ตําแหนงที่ติดตั้งเครื่องจักร, หนวยงานรับผิดชอบ, ผูรับผิดชอบในการใชงาน - วิธีการบํารุงรักษาเครื่องจักร, หนวยงานรับผิดชอบและผูรับผิดชอบ - อื่นๆ วิธีการจัดทํา Plant Data 1. การมอบหมายผูรับผิดชอบในการทํา Plant Data 2. เขียนผังแสดงการติดตั้งเครื่องจักรและรหัสตําแหนง 3. การจัดทํารหัสเครื่องจักรและรหัสตําแหนงติดตั้งเครื่องจักร 4. การรวบรวมเอกสารคูมือของเครื่องจักร 5. การกรอกขอมูลในแบบฟอรม Plant Data 6. การสรางโปรแกรมคอมพิวเตอรในการจัดเก็บขอมูลและการเรียกใชขอมูล 7. การคียขอมูลเขาสูโปรแกรมคอมพิวเตอร 8. การออกรายงานเกี่ยวกับ Plant Data
  • 13. 13 ขั้นที่ 2 การจัดทําคูมือการบํารุงรักษา (PM INSTRUCTION) รายละเอียดของ PM instruction สวนใหญจะไดมาจาก Maintenance Manual หรือ PM Manual นอกจากนั้น ยังไดมาจากประสบการณของผูที่ทําการซอมบํารุงรักษา เครื่ อ งจั ก รด ว ย ซึ่ ง โดยปกติ ค วรจั ด เก็ บ รวบรวมอยู ใ นประวั ติ ก ารซ อ มบํ า รุ ง รั ก ษา เครื่องจักรสามารถนํามาใชประโยชนได 1. Maintenance Manual หรือ PM Manual 2. Maintenance History องคประกอบของ PM INSTRUCTION มีดังนี้ 1. รหัสเครื่องจักร 2. ชื่อของเครื่องจักร 3. รายละเอียดขั้นตอนของงาน PM 4. ความถี่/ชวงเวลา/การทํา PM 5. หนวยงาน/บุคคลรับผิดชอบการทํา PM 6. สถานะของเครื่องขณะทํา PM ขั้นที่ 3 การวางแผนการบํารุงรักษา (Maintenance Planing) หลักการพิจารณาวางแผนการบํารุงรักษา 1. นําขอมูลจาก PM Instruction มาทําการวางแผนตามกําหนดเวลา 2. การจัดสมดุลระหวางปริมาณงานกับกําลังคน 3. กําหนดการบํารุงรักษาจะเกิดจากชั่วโมงการใชงานสะสมของเครื่องจักร ตาม ความเปนจริง 4. การกําหนดแผนบํารุงรักษาเปนรายวันหรือรายสัปดาหหรือรายเดือน
  • 14. 14 รูปแบบการวางแผนการบํารุงรักษา 1. แบบระยะเวลาใชงานคงที่ตลอดเวลา 2. แบบระยะเวลาใชงานผันแปรตามความเปนจริง วิธีการวางแผนการบํารุงรักษา 1. การใชมือทําบนกระดาษ, กระดาน White Board 2. การใชคอมพิวเตอรชวยงาน ขั้นที่ 4 การนําไปปฏิบัติ (EXECUTION) ขั้นตอนดําเนินการจัดทําระบบ PM 1. การอบรมพนักงาน PM ใหเขาใจพื้นฐานหลักการอยางดี 2. อบรมวิธีการทํางาน PM 3. เลือกพนักงานที่มีประสิทธิภาพ การบํารุงรักษารับผิดชอบงานมาทํา PM 4. การรายงานผล 5. การปรับปรุงและพัฒนา 6. นําเสนอผูบริหารระดับสูงเพื่ออนุมัติ 7. การควบคุมและติดตามผลการปฏิบัติงาน รายละเอียดการปฏิบัติในการสั่งการและควบคุมติดตามผลการดําเนินงาน PM 1. การสั่งการรายวันหรือรายสัปดาหตามความเหมาะสม 2. การรายงานผลการปฏิบติงานบํารุงรักษาของเจาหนาที่บํารุงรักษา ั 3. การรวบรวมขอมูลเพื่อทําประวัติการบํารุงรักษา และประมวลผลการ บํารุงรักษา
  • 15. 15 ขั้นที่ 5 การประมวลผลและพัฒนางานบํารุงรักษา 1. การจัดเก็บขอมูลเกี่ยวกับประวัติการซอมบํารุงเครื่องจักร - ประวัติการซอมเมื่อเครื่องจักรขัดของ (Breakdown Maintenance) - ประวัติการบํารุงรักษาเชิงปองกัน (Preventive Maintenance) - อื่นๆ 2. การวิเคราะหขอมูลหรือการประมวลผล เพื่อปรับปรุงการบํารุงรักษา - การวิเคราะหอายุชิ้นสวนเพื่อปรับระยะเวลาการทํา PM ใหคุมคาเชิง เศรษฐศาสตรมากยิ่งขึ้น - การวินิจฉัยการเกิด Break down จากประวัติการซอมบํารุง เพื่อลดเวลา แกไขใหสั้นที่สุด - อื่นๆ 3. การรายงานผลการบํารุงรักษา - รายงานการประเมินผลการบํารุงรักษา - รายงานคาใชจายที่เกิดขึ้นในการบํารุงรักษาแตละประเภท - รายงานการสูญเสียเวลาของเครื่องจักร เนื่องจากการบํารุงรักษาแตละ ประเภท - รายงานการใชแรงงานในการบํารุงรักษา - รายงานเปรียบเทียบ BM, PM - รายงานเปรียบเทียบชั่วโมงทํางาน, รายงาน, ซอมบํารุง - รายงานประสิทธิภาพเครื่องจักร - อื่นๆ
  • 16. 16 การจัดการดานงบประมาณซอมบํารุง ตามปกติ แ ล ว ทางฝ า ยจั ด การอาคารต อ งมี ก ารวางแผนและจั ด งบประมาณ ประจําป สําหรั บใชในการบริ หารอาคาร และเมื่อได รั บอนุ มัติงบประมาณแลวต อง วางแผนใชงบประมาณใหมีประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อไมใหการใชงบประมาณที่มีอยู ขาดหรือใชเกิน ซึ่งการจัดการดานงบประมาณจะรับผิดชอบ โดยผูดูแลรับผิดชอบอาคาร และสวนเจาหนาที่ซอมบํารุงรักษา ซึ่งประกอบดังนี้ งบประมาณของการดู แ ลบํ า รุ ง รั ก ษาที่ ไ ด รั บ อนุ มั ติ จ ากกรรมการบริ ห าร โรงพยาบาล จะสามารถควบคุมไดโดยการดูแลบํารุงรักษาที่มีประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งจะ สามารถลดคาใชจายในการดูแ ลบํ ารุงรักษาดานตางๆ ของอาคาร ตลอดจนเกิดการ ประหยัดในการจายคาสาธารณูปโภคตางๆ เชน ไฟฟา น้ําประปา ดังนั้นเจาหนาที่ผูดูแล อาคารจะต อ งทํ า การวางแผนวิ เ คราะห ว า ค า ใช จ า ยต า งๆ ซึ่ ง โดยทั่ ว ไปแล ว ค า สาธารณูปโภคที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงยอมเกิดจากความผิดปกติที่ตองตรวจสอบหรือการ เพิ่มพื้นที่ใชอาคาร การจัดทํารายงานคาใชจายจริง ควรแยกรายละเอียดแตละงานเพื่องาย ตอการเปรียบเทียบงบประมาณที่ไดจัดทํากับคาใชจายที่เกิดขึ้นจริง งบประมาณไดมาอยางไร 1. จากแผนงานการบํารุงรักษาของแตละอุปกรณ 2. รวบรวมขอบกพรองทั้งหมดของอาคารและจัดทําแผนการซอมและปรับปรุง อาคาร 3. ติดตอผูรับเหมาใหเสนอราคาเพื่อรวบรวมขอมูลไวจัดทํางบประมาณ 4. จากงบประมาณของปที่แลว ถาในปปจจุบันจะไมมีการเปลี่ยนแปลงมากนัก 5. ค า ซ อ มบํ า รุ ง รั ก ษาระบบต า งๆ ถ า ทราบราคาของอุ ป กรณ จ ะใช ค า เสื่ อ ม ประมาณ 10% เปนคาซอมบํารุงรักษา 6. สอบถามจากผูแทนจําหนายกรณีไมทราบราคาวัสดุ/อะไหล/อุปกรณดวยตนเอง 7. ใชจํานวนเงินจากสัญญาและเงื่อนไขเดิมที่เคยทําไว สําหรับผูรับเหมาชวง เชน ซอมบํารุงลิฟท
  • 17. 17 คูมือการดูแลบํารุงรักษาเชิงปองกัน PREVENTIVE MAINTENANCE MANUAL ชื่ออุปกรณ : MAIN DISTRIBUTION BOARD รหัสอุปกรณ : _______ ที่ตั้ง : ______ ชวงเวลา / รหัสซอมบํารุง รายการซอมบํารุง วิธีตรวจสอบ ประจําเดือน M1 สภาพตูโลหะ - เปนสนิมหรือเสียหาย - ประตู เ ป ด ป ด ได เ หมื อ นปกติ หรือไม - มีรอยน้ําซึมที่พื้นตูหรือไม - มีรอยหนูเขาไปทํารังหรือไม - มีรอยฝนรั่วหรือไม - อุ ณ ห ภู มิ ใ น ตู ร อ น เ กิ น ไ ป หรือไม - รอบๆ ตูเปนระเบียบหรือไม M2 ตูรับและตูจายไฟ - สัญญาณ (Pilot lamp) ของ อุ ป กรณ รั บ ไฟและอุ ป กรณ จายไฟติดหรือไม - ไฟสัญญาณของ OCB ติด หรือไม - แอมมิเตอรปกติดีหรือไม - สวิทซสับเปลี่ยนของอุปกรณ วัดปกติหรือไม
  • 18. 18 ชวงเวลา / รหัสซอมบํารุง รายการซอมบํารุง วิธีตรวจสอบ M3 เครื่องปองกัน - รั้วปองกันเรียบรอยหรือไม - แผนปาย “หามเขา” และ “อันตราย” แตกเสียหายหรือไม - มี เครื่ องดั บเพลิ งอยู ใกล ๆ หรือไม M4 สวิทซเปด - ปดพรอม - ลูกถวยรองรับมีรอยแตกหรือ ฟวสทางดานโหลด บิ่นหรือไม - มีฝุนหรือคราบเกลือมาจับที่ผิว หรือไม - สวนสัมผัสของขั้ วใบมี ด และ ขั้วรองรับใบมีดมีรอยเสียหาย หรือรอนเกินไปหรือไม - การสั บ สวิ ท ซ เ ป น ไปอย า ง เรียบรอยหรือไม - ฟ ว ส ลิ ง ค มี ร อยแตกเสี ย หาย หรือเปลี่ยนสีหรือไม
  • 19. 19 คูมือการดูแลบํารุงรักษาเชิงปองกัน PREVENTIVE MAINTENANCE MANUAL ชื่ออุปกรณ : หมอแปลงไฟฟา รหัสอุปกรณ : ____________ ที่ตั้ง : ____________ ชนิดระบายความรอนดวยอากาศ ชวงเวลา / รหัสซอมบํารุง รายการซอมบํารุง วิธีตรวจสอบ ประจําวัน D1 อุณหภูมิของหมอแปลง - จุ ด ค า อุ ณ หภู มิ ข องอากาศ, น้ํ า มั น ห ม อ แ ป ล ง แ ล ะ อุณหภูมิของขดลวด D2 ระดับน้ํามันหมอแปลง - อ า นค า จากเครื่ อ งวั ด ระดั บ น้ํามัน (Oil Level Guage) D3 - Main - สังเกตดูรอยแตกราว หรือมี - On load tap changer ละอองน้ําจับดานในกระจก หรือไม D4 น้ํามันรั่วซึม - ตรวจสอบตามครี บ ระบาย ความร อ นข อ ต อ ท อ วาล ว และชิ้นสวนอื่นๆ D5 เสียงดังผิดปกติ - อาจเกิดจากการสั่นสะเทือน ที่ผิดปกติ สามารถตรวจสอบ ไดโดยการใชมือสัมผัส
  • 20. 20 ชวงเวลา / รหัสซอมบํารุง รายการซอมบํารุง วิธีตรวจสอบ D6 บุ ช ชิ่ ง หรื อ ปลอกรอง - ตรวจสอบระดั บ น้ํ า มั น ของ แกน บุชชิ่งรอยรั่วซึม, แตก, บิ่น, สกปรก D7 หองหายใจกรองความชื้น - ตรวจสอบการเปลี่ ย นของ (Air Breather) สารดูดความชื้น (Silicagel) - ตรวจดูคราบน้ํามัน D8 สภาพภายนอกโดยทั่วๆ - ตรวจดู ด ว ยสายตา สั ง เกตดู ไป สิ่งสกปรก, สนิม, หยดน้ํา, การเปลี่ยนสีของจุดตางๆ - ได ยิ น เสี ย ง หรื อ เห็ น แสงที่ เกิดจาก Partial discharge - สังเกตกลิ่นที่ผิดปกติ D9 ระบบ Nitrogen – Seal - ตรวจดู Nitrogen Pressure Geuge - สั ง เกตดู ร อยแตกร า ว หรื อ ละอองน้ํ า จั บ ด า นในของ กระจก D10 ลอฟา (Lightning Arrester) - ตรวจสอบสภาพทั่ ว ไปของ ลอฟา - จุด Counter ลอฟา - วัดคา Insulation Resistance ของลอฟา
  • 21. 21 ชวงเวลา / รหัสซอมบํารุง รายการซอมบํารุง วิธีตรวจสอบ D11 อุปกรณเปลี่ยนเทปขณะ - ตรวจสอบสภาพภายนอก รับโหลด (On Load Tap ทาง OLTC. Changer) - จุด Counter การทํางาน - ตรวจสอบระดับน้ํามันเกียร ของมอเตอรเปลี่ยนเทป - ทดสอบค า ความคงทนของ ไ ด อิ เ ล็ ก ต ริ ก (Dielectric Strength) ของน้ํามันหมอแปลง - ตรวจสอบสภาพภายในของ OLTC เพื่อบํารุงรักษา คูมือการดูแลบํารุงรักษาเชิงปองกัน PREVENTIVE MAINTENANCE MANUAL ชื่ออุปกรณ : Lightning Arrester รหัสอุปกรณ : ____________ ที่ตั้ง : ____________ ชวงเวลา / รหัสซอมบํารุง รายการซอมบํารุง วิธีตรวจสอบ ประจําป Y1 ปลอกนําสาย - สั ง เกตมี ร อยร า วหรื อ แตก หรือไม - ฝุ น หรื อ คราบเกลื อ จั บ อยู หรือไม - ฟงเสียงดังผิดปกติหรือไม - มีกลิ่นผิดปกติหรือไม
  • 22. 22 ชวงเวลา / รหัสซอมบํารุง รายการซอมบํารุง วิธีตรวจสอบ Y2 ฉนวน - วัดความตานทานของฉนวน - ใชเมกเกอร ขนาด 100V วัด ระหว า งสายไฟและสายดิ น ถ า มี ค ว า ม ต า น ท า น เ กิ น 1000V เปนอันใชได - ถ า ผิ ว ข อ ง ป ล อ ก นํ า ส า ย สกปรกหรื อ ชื้ น อาจทํ า ให ค ว า ม ต า น ท า น ล ด ล ง ไ ด ดังนั้นกอนทําการวัดตองเช็ด ใหแหงกอน Y3 การตอลงดิน คูมือการดูแลบํารุงรักษาเชิงปองกัน PREVENTIVE MAINTENANCE MANUAL ชื่ออุปกรณ : POWER FUSE รหัสอุปกรณ : ____________ ที่ตั้ง : ____________
  • 23. 23 ชวงเวลา / รหัสซอมบํารุง รายการซอมบํารุง วิธีตรวจสอบ ประจําเดือน M1 ฟวสลิงค - สังเกตมีรอยแตกหรือไม - ดู ว า ภายนอกของฟ ว ส ลิ ง ค เปลี่ยนสีหรือสกปรกหรือไม - เครื่ อ งหมายแสดงการตั ด วงจรที่ดานลางของฟวสลิงค ผิดปกติหรือไม - แผน ป ายชื่อบอกขนาดฟวส ลิงคยังอานไดหรือไม - สวนสัมผัสระหวางฟวสลิงค กั บ ที่ ยึ ด มี ค ว า ม เ สี ย ห า ย หรือไม M2 ลูกถวยที่ยึด - สังเกตมีรอยราวบิ่นหรือไม - มีฝุนหรือคาบเกลือจับอยูบน ลูกถวยหรือไม M3 สวิทซตัดตอน - ตรวจสภาพนอตยึด - ตะปูเกลี่ยวขั้วตอตางๆ หลวม หรือไม - ส นิ ม ค ร า บ เ ก ลื อ ติ ด อ ยู หรือไม คูมือการดูแลบํารุงรักษาเชิงปองกัน PREVENTIVE MAINTENANCE MANUAL ชื่ออุปกรณ : มอเตอรเหนี่ยวนํา รหัสอุปกรณ : ____________ ที่ตั้ง : ____________
  • 24. 24 ชวงเวลา / รหัสซอมบํารุง รายการซอมบํารุง วิธีตรวจสอบ ประจําเดือน M1 สเตเตอร - ตะปูเกลียวที่ฝาปดหรือไม (STATOR) - มีรอยเสียหาย สกปรก หรือ บิดเบี้ยวหรือไม - สีที่ทาไวเปนรอยหรือเปลี่ยน สีหรือไม - ขดลวดบนสเตเตอร ชํ า รุ ด เสียหายหรือไม - ทออากาศในแกนเหล็กของส เตเตอรอุดตันหรือไม M2 โรเตอร (ROTOR) - ทํ า อากาศในแกนเหล็ ก ของ โรเตอรอุดตันหรือไม - สวนตอระหวางโลหะตัวนํา ในโรเตอรและหวงลัดวงจร (End ring) ที่ปลายของโรเตอร ชํารุดเสียหายหรือไม M3 ขั้วตอ - ขั้วตอหลวมหรือไม - ชํารุดเสียหายหรือไม M4 แบริ่ง - น้ํามันรั่วหรือไม - ชํารุดเสียหายหรือไม M5 แผงควบคุมมอเตอร - โวลต มิ เ ตอร อ า นค า ได ป กติ หรือไม - แอมมิ เ ตอร อ า นค า ได ป กติ หรือไม - สายไฟของหลอดไฟสัญญาณ ขาดหรือไม
  • 25. 25 ชวงเวลา / รหัสซอมบํารุง รายการซอมบํารุง วิธีตรวจสอบ M6 เสี ย งของมอเตอร เ วลา - เสี ย งดั ง เปลี่ ย นไปจากปกติ เดินเครื่อง หรือไม - เสียงผิดปกติหรือไม * เสียงลม * เสียงเครื่องกล * เสียงแมเหล็กไฟฟา คูมือการดูแลบํารุงรักษาเชิงปองกัน PREVENTIVE MAINTENANCE MANUAL ชื่ออุปกรณ : ปมน้ําชนิดเพลานอนในแนวราบ รหัสอุปกรณ : ________ ที่ตั้ง : _______
  • 26. 26 ชวงเวลา / รหัสซอมบํารุง รายการซอมบํารุง วิธีตรวจสอบ ประจําวัน D1 อุ ณ ห ภู มิ ร อ ง ลื่ น จับดูดวยมือ (Bearing) D2 ก า ร รั่ ว จ า ก กั น รั่ ว ดูจากสายตา (Packing Seal) D3 การหลอลื่นกันรั่ว ดูจากการไหลของน้ําที่มาหลอ เลี้ยง D4 โหลดของมอเตอรไฟฟา มัลติมิเตอร D5 ร ะ ดั บ เ สี ย ง ข อ ง ก า ร จากการรับฟงและดูดวยตา สั่นสะเทือน ประจําเดือน M1 อุ ณ ห ภู มิ ร อ ง ลื่ น เทอรโมมิเตอร (Bearing) M2 จารบีที่หลอเลี้ยงรองรื่น อัดจารบีเพิ่มเพื่อทดสอบ (Bearing) ประจํา 6 เดือน S1 การได ศู น ย ร ะหว า งป ม เครื่องตรวจสอบแนวเพลา และตนกําลัง S2 รอบการหมุ น ของเพลา โดยการใช เ ครื่ อ งวั ด ความเร็ ว และปลอกเพลา ของเพลา S3 ความแนนของนอตที่ขัน ใชประแจขันนอตเพื่อตรวจสอบ S4 การสึกหรอของขอตอ จากการสังเกตและแรงดันที่อาน ไดจากเกยวัดแรงดัน ประจําป Y1 การรั่วตามเพลา เปดปมเพื่อตรวจสอบ Y2 การสึ ก หรอของปลอก เปดปมเพื่อตรวจสอบ เพลา
  • 27. 27 ชวงเวลา / รหัสซอมบํารุง รายการซอมบํารุง วิธีตรวจสอบ Y3 ความดันทางทอดูดและ ดูจากเกยวัดแรงดัน ทอจาย Y4 ตรวจเช็ ค รอยต อ ของ จากการสั ง เกตการรั่ ว ของน้ํ า ระบบทอ ดวยตา คูมือการดูแลบํารุงรักษาเชิงปองกัน PREVENTIVE MAINTENANCE MANUAL
  • 28. 28 ชื่ออุปกรณ : ปมน้ําชนิด Submersible Pump รหัสอุปกรณ : _________ ที่ตั้ง : ________ ชวงเวลา / รหัสซอมบํารุง รายการซอมบํารุง วิธีตรวจสอบ ประจําวัน D1 ตรวจความปกติ ข อง มัลติมิเตอร แ ร ง ดั น แ ล ะ กระแสไฟฟา D2 ค า ค า ง ๆ ที่ ตั้ ง ไ ว ใ น ดู จ ากสายตาให เ ป น ไปตาม ตูควบคุม ขอกําหนด D3 สภาพฉนวนไฟฟ า ของ ใชเครื่องวัดความตานทานของ ขดลวดพันมอเตอร ขดลวด D4 ตรวจขยะอุดตันใบพัด สังเกตจากการสั่งของทอแนวตั้ง และคากระแสไฟฟาที่ผิดปกติ ประจํา 6 เดือน S1 น้ํามันหลอลื่น ถอด Oil ring ของเครื่องสูบน้ํา เทน้ํามันออก ถามีน้ําผสมให เปลี่ยนใหม S2 การสึกกรอนของใบพัด ยกปมขึ้นเพื่อตรวจสอบ S3 ซี ล น้ํ า มั น ที่ กั น น้ํ า หรื อ ยกขึ้ น ทํ า ความสะอาดด วย น้ํ า มั น ซึ ม เ ข า ไ ป ใ น Methyl Alcohol และทาดวย ม อ เ ต อ ร (Mechanical Turbine Oil เทานั้นกอนใสคืน Seal) S4 ส ภ า พ ขั้ ว ต อ ข อ ง ยกปมขึ้นเพื่อตรวจสอบ กระแสไฟฟา ประจําป Y1 ตรวจสภาพตลั บ ลู ก ป น ยกปมขึ้นและถอดเพื่อตรวจสอบ (Bearing) Y2 ตรวจเช็ ค รอยต อ ของ จากการสั ง เกตการรั่ ว ของน้ํ า ระบบทอ, วาลว ดวยตา
  • 29. 29 คูมือการดูแลบํารุงรักษาเชิงปองกัน PREVENTIVE MAINTENANCE MANUAL ชื่ออุปกรณ : COOLING TOWER รหัสอุปกรณ : ___________ ที่ตั้ง : ___________ ชวงเวลา / รหัสซอมบํารุง รายการซอมบํารุง วิธีตรวจสอบ ประจําวัน D1 ความสั่นสะเทือน จากการมองดู D2 เสียปกติ จากการฟง D3 อุณหภูมิน้ําหลอเย็น จากเทอรโมมิเตอร 100° F D4 กระแสไฟฟ า ของ แอมปมิเตอรตรวจสอบ มอเตอร ประจําเดือน M1 พัดลม สภาพใบพัด, การกัดกรอน, รอยราว, ระยะหางถังใบพัดกับถังรับน้ําใหมี ระยะหางประมาณ 2” – 3” ประจําเดือน S1 อางรับน้ํา ลางผงและตะกอนสะสมกนอาง S2 ทอ SPRINKLER คลาย SET SCREW ด าน PRINKLER HEAD คลาย TURNBUCKLE ใหหยอน ถอดทอ SPRINKLER ออกลาง S3 SPRINKLER HEAK ถอดทอใน S2 ออกกอน ถอด CENTRE PORT ออก แลว ห มุ น ค ล า ย เ ก ลี ย ว SPRINKLER HEAD จาก STAND PIPE S4 แผ น แ บ งช องล ม ลางเศษผงตะกอนบนผิว FILLING FILLING
  • 30. 30 คูมือการดูแลบํารุงรักษาเชิงปองกัน PREVENTIVE MAINTENANCE MANUAL ชื่ออุปกรณ : เครื่องปรับอากาศ SPLIT TYPE รหัสอุปกรณ : ________ที่ตั้ง : ________ ชวงเวลา / รหัสซอมบํารุง รายการซอมบํารุง วิธีตรวจสอบ ประจําวัน D1 ตรวจสอบปริมาณน้ํายา ดู SIGHT GLASS D2 ตรวจสอบคากระแสไฟ AMP, METER D3 ตรวจสอบเสียงผิดปกติ ฟงเสียง ประจําเดือน M1 แผนกรองอากาศ ถอดดู M2 แผงระบายความร อ น เครื่ อ งฉี ด น้ํ า แรงดั น สู ง ผสม CONDENSING น้ํายาลางทําความสะอาด
  • 31. 31 การบํารุงรักษาเชิงปองกันสําหรับอาคาร จากแนวความคิดและวิธีการตางๆ เราสามารถนํามาประยุกตในงานบํารุงรักษา อาคารสถานบริการสุขภาพ ซึ่งภายในอาคารจะมีเครื่องจักรและอุปกรณตางๆ มากมาย โดยแบงเปนระบบได ดังนี้ - ระบบสัญญาณเตือนภัย (FIRE ALARM SYSTEM) - ระบบปองกันอัคคีภัย (FIRE PROTECTION SYSTEM) - ระบบไฟฟา (ELECTRICAL SYSTEM) - ระบบลิฟท (ELEVATOR SYSTEM) - ระบบปรับอากาศ (AIR CONDITION SYSTEM) - ระบบสุขาภิบาล (SANITARY SYSTEM) - ระบบงานโครงสราง – สถาปตย (STRUCTURE & ARCHITECTS) - ระบบอื่นๆ (OTHER SYSTEM) การสรางมาตรฐานการบํารุงรักษาอาคาร 1. จัดทําคูมือประกอบการบํารุงรักษา โดยละเอียดภายในประกอบดวย 1.1 หนังสือขออนุญาตจากทางราชการ 1.2 ระเบียบขอบังคับของโรงพยาบาล 1.3 หนาที่ความรับผิดชอบของชางอาคาร 1.4 การทํางานและการบํารุงรักษาระบบตางๆ ภายในอาคาร 1.5 ขอมูลประวัติเครื่องจักร 1.6 รายชื่อตัวแทนจําหนายอุปกรณงานระบบ 1.7 รายชื่อเครื่องมือประจําอาคาร
  • 32. 32 2. วางแผนการบํ า รุ ง รั ก ษา และจั ด ทํ า แบบฟอร ม การตรวจเช็ ค อุ ป กรณ ง านระบบ ประกอบดวย 2.1 Yearly Schedule 2.2 Monthly Schedule 2.3 ตารางการตรวจเช็คอุปกรณงานระบบตางๆ ประกอบดวย 2.3.1 ระบบสุขาภิบาล (Sanitary System) - ระบบน้ําดี (Cold water System) - ระบบบําบัดน้ําเสีย (Waste water Treament plant System) 2.3.2 ระบบปรับอากาศ ระบบระบายอากาศ (AIR CONDITIONING, VENTILATION) - CHILLER - CONDENSOR PUMP - COOLING TOWER - VENTILATION 2.3.3 ระบบปองกันอัคคีภัย (FIRE PROTECTION SYSTEM) 2.3.4 ระบบไฟฟา (ELECTRICAL SYSTEM) - ระบบไฟฟากําลัง (POWER) - ระบบไฟฟาสื่อสาร (COMMUNICATION SYSTEM) - ระบบเตือนอัคคีภัย (FIRE ALARM SYSTEM) - ระบบไฟฟาแสงสวาง (LIGHTING SYSTEM) - ระบบกราวด และลอฟา (GROUND AND LIGTHING PROTECTION SYSTEM) 2.3.5 ระบบลิฟท (ELEVATOR SYSTEM) 2.3.6 ระบบงานอื่นๆ (OTHER SYSTEM) 3. จัดทําบอรดการบํารุงรักษาประจําอาคาร เอนกประสงค รายละเอียดแบบบอรดจะ ประกอบไปดวย
  • 33. 33 3.1 Yearly Schedule 3.2 Monthly Schedule 3.3 Technician Organization Chart (ระดับการบังคับบัญชาของชางประจํา อาคาร) 3.4 ตารางเวรนอน 3.5 ปายชื่อชางเวรประจําแตละวัน 3.6 รายงานสภาวะอุปกรณ และตารางการนัดหมายที่สําคัญ 3.7 กราฟรายงานการใชพลังงานไฟฟา น้ําประปา 3.8 รายงานผลการวิเคราะหคุณภาพน้ําเสีย 3.9 รายงานผลการวิเคราะหน้ําหลอเย็น (Cooling System) 4. จัดทําสมุดบันทึกการทํางานของชางอาคารแตละวัน 5. จัดทําสมุดรับสงเวรในแตละวัน และรายงานเหตุการณผิดปกติ 6. จัดทําบอรด SINGLE / RISER DIAGRAM และตารางแสดง EQUIPMANT LIST ประจําหองเครื่องตางๆ
  • 34. 34 เอกสารที่ใชในการบริหารงานดูแลบํารุงรักษา ชนิดของเอกสาร การใชงานและประโยชน รายละเอียดขอกําหนด เพื่ อ ใช ใ นการปรั บ ปรุ ง และเปลี่ ย นแปลงระบบ ตางๆ ของอาคารและรับทราบมาตรฐานตางๆ ที่ใช อางอิงในการออกแบบ รายการคํานวณทางวิศวกรรม ใชในการกําหนดขีดจํากัดของการใชงานในระบบ ตางๆ รวมถึงการสรางหรือแกไขเพิ่มเติมวาอยูใน ขีดความปลอดภัยหรือไม แบบพิมพเขียว ใชในการศึกษาและวางแผนในดานตางๆ เกี่ยวกับ รูปแบบของอาคาร, ตําแหนงทิศทาง และระบบ ตางๆ ในอาคารรวมถึงตําแหนงอุปกรณตางๆ ของ อาคาร เพื่ อจะได แกไ ขป ญ หาตา งๆ ที่เ กิ ด ขึ้ น ใน อาคารไดอยางถูกตองและรวดเร็วในอนาคต คูมือปฏิบัติงาน ใช ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ วิ ธี ก ารควบคุ ม อุ ป กรณ ต า งๆ รวมถึงวิธีการซอมบํารุง, ระยะเวลาในการซอม บํารุงอะไหล, รานที่จําหนาย เพื่ อใชในการ วางแผนในการซอมบํารุงใหมีประสิทธิภาพสูงสุด สัญญาวาจางกอสราง เพื่ อ ทราบเงื่ อ นไขของสั ญ ญาในการติ ด ตาม ผูรับเหมาเขาซอมงานที่บกพรองในระยะรัปบระ กันงาน ใบขออนุญาตกอสราง เพื่อใชในการเปลี่ยน, ขาย, โอน, ยกเลิก, เพิ่มเงิน และคืนเงินค้ําประกันการใช และตรวจสอบกรณี เกิดความผิดปกติในเรื่องตางๆ ที่เกี่ยวของ หนังสือค่ําประกันความเสียหาย เปนหนังสือของธนาคารที่ค้ําประกันความเสียหาย ของการก อ สร า งในระหว า งรั บ ประกั น ผลงาน (Letter of Guarantee)
  • 35. 35 ชนิดของเอกสาร การใชงานและประโยชน สัญญาซอมบํารุง – ผูรับเหมาชวง เพื่ อ ควบคุ ม ผู รั บ เหมาช ว งซ อ มบํ า รุ ง งานระบบ ตางๆ ที่ตองใชผูชํานาญเฉพาะทาง เชน ซอมบํารุง ลิ ฟ ท ระบบปรั บ อากาศ ระบบตู ส าขาโทรศั พ ท อัตโนมัติ หรือตูควบคุมระบบสัญญาณเตือนภัย คูมือการใชงาน เพื่อจะไดทราบระเบียบแนวปฏิบัติ ขอบังคับ เพื่อ จะไดประสานงานกับสวนที่เกี่ยวของไดถูกตอง และขอบเขตหนาที่ตองดําเนินการในอาคาร สัญญาวาจางบริการ กรณี ที่ เ ป น บริ ษั ท ที่ รั บ บริ ก ารโครงการ จะต อ ง รับทราบขอบเขตและหนาที่เพื่อจะไดปฏิบัติและ ชี้แจงตอเจาของอาคารไดอยางถูกตอง
  • 36.
  • 37. 37
  • 38. 38 รายละเอียดมาตรฐานประกอบการจัดทําบอรดชางอาคาร ขนาด BOARD มาตรฐาน 1.2 x 2.4 m. ใช WHITE BOARD ที่ขาว หรือแผนลามิเนท รายละเอียดขอความภายในบอรดประชาสัมพันธ 1. ตัวหนังสือแดง (ขนาด 2”) 2. ตัวหนังสือสีเขียวแก (ขนาด 1.5”) 3. ตัวหนังสือสีน้ําเงิน (ขนาด 1.2”) 4. ตัวหนังสือสีน้ําเงิน (ขนาด 0.5”) 5. แผนกระดาษสีขาว (13” x 23”) 6. แผนกระดาษสีชมพู (13” x 23”) 7. แผนกระดาษสีขาว (8” x 12”) 8. แผนกระดาษสีขาว (8” x 12”) 9. แผนกระดาษสีขาว (13” x 18”) ตัวหนังสือสีน้ําเงิน (ขนาด 1”) 10. แผนกระดาษสีเหลือง (8” x 13”) 11. แผนกระดาษสีเหลือง (8” x 13”) 12. ตัวหนังสือสีน้ําเงิน (ขนาด 0.5”) 13. ตัวหนังสือสีแดง (ขนาด 0.5”) 14. แผนกระดาษสีขาว (13” x 18”) ตัวหนังสือสีน้ําเงิน (ขนาด 1”) 15. ตัวหนังสือสีน้ําเงิน (ขนาด 0.5”) 16. ชองขนาด 3” x 21” 17. ชองขนาด 4” x 21” 18. ชองขนาด 5” x 21” 19. ชองขนาด 7” x 21” 20. ชองขนาด 3” x 21” 21. ชองขนาด 8” x 21”
  • 39. 39 ระบบที่ตองบํารุงรักษา ระบบงานหลัก ระบบงานยอย รายการซอมบํารุง 1. โครงสร า งและ โครงสราง - สถาปตยกรรม - โครงสร า งอาคารรอยแตก, สถาปตยกรรม รอยราว - กระเบื้องหลังคา, ฝาเพดาน - งานกระจก, หนาตาง - งานสี - ประตูตางๆ 2. ระบบงานเครื่องกล ระบบขนสง - ลิฟท ระบบปรับอากาศ - CHILLER - COOLING TOWER - CHILLER WATER PUMP - CONDENSER WATER PUMP - AHU, FCU - SPLITTYPE AIR COOL ระบบสุขาภิบาล - COLD WATER PUMP - BOOSTER PUMP - FLOAT VALVE - WATER TANK - TOILET - PIDING SYSTEM ระบบบําบัดน้ําเสีย - SUBMERSIBLE PUMP - AERATOR PUMP (AIR BLOWER) - FEED CLORING - WATER ANARISIS