SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  20
กฎหมายในชีวิตประจาวัน
การบรรยายครั้งที่ 11
นิติกรรม
ปพพ. มาตรา 149 การใดๆอันทาลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจ
สมัครมุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล เพื่อจะก่อ
เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ
ลักษณะของนิติกรรม
1. เป็นการกระทาของบุคคลโดยการแสดงเจตนา การแสดงเจตนาทานิติกรรมมี 3
รูปแบบ
- การแสดงเจตนาโดยชัดแจ้ง
- การแสดงเจตนาโดยปริยาย
- การแสดงเจตนาโดยการนิ่ง
2.การกระทาที่ชอบด้วยกฎหมาย นิติกรรมจะต้องเป็นการกระทาที่ชอบหรือ
ถูกต้องตามกฎหมาย การกระทาที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายได้แก่ การกระทาที่มี
วัตถุประสงค์ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย เป็นการพ้นวิสัย หรือขัดต่อความสงบ
เรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน นิติกรรมที่มีวัตถุประสงค์อย่างใด
อย่างหนึ่ง กฎหมายไม่ยอมรับบังคับได้โดยถือว่าเสียเปล่าไม่มีผลใดๆ ในทาง
กฎหมาย หรือเป็นโมฆะ
3.มุ่งที่จะผูกนิติสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ผู้แสดงเจตนามีความต้องการ
ให้เกิดความผูกพันหรือให้เกิดผลตามกฎหมายอย่างจริงจัง
4.ต้องเป็นการกระทาที่ทาด้วยใจสมัคร หมายถึงการแสดงเจตนาของ
บุคคลที่มิได้ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลหรืออานาจภายนอกอันทาให้การ
แสดงเจตนาของเขาไม่สมัครใจ เช่น มิได้ถูกหลอกลวง ข่มขู่ ฉ้อฉล หรือ
เป็นเรื่องเข้าใจผิด
5.มีความเคลื่อนแห่งสิทธิ ผลของนิติกรรมทาให้เกิดความเคลื่อนไหว
แห่งสิทธิ 5 ลักษณะ ได้แก่ การก่อ การเปลี่ยนแปลง การโอน การสงวน
และการระงับแห่งสิทธิ
ประเภทของนิติกรรม
1.นิติกรรมฝ่ายเดียวและนิติกรรมหลายฝ่าย พิจารณาจากผู้ทานิติกรรม นิติกรรมฝ่ายเดียว
เป็นนิติกรรมที่เกิดขึ้นจากการแสดงเจตนาของผู้ทานิติกรรมเพียงฝ่ายเดียวซึ่งจะมีผลทันที
ส่วนนิติกรรมหลายฝ่ายเกิดจากการแสดงเจตนาของบุคคลสองฝ่ายขึ้นไป
2.นิติกรรมที่มีผลเมื่อผู้ทายังมีชีวิตอยู่และมีผลเมื่อผู้ทาตาย พิจารณาจากผลของนิติกรรม
ว่านิติกรรมที่ได้กระทาไปนั้นเกิดผลเมื่อใด
3.นิติกรรมที่มีค่าตอบแทนกับนิติกรรมที่ไม่มีค่าตอบแทน พิจารณาจากค่าตอบแทน นิติ
กรรมที่มีค่าตอบแทนคู่กรณีทุกฝ่ายต้องปฏิบัติการชาระหนี้อย่างใดอย่างหนึ่งเป็น
ค่าตอบแทนกัน
4.นิติกรรมที่ต้องทาเป็นหนังสือ นิติกรรมประเภทนี้ต้องทาเป็นหนังสือและสามารถทากันเอง
ได้ ในนิติกรรมบางประเภท กฎหมายต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือและลงลายมือชื่อเพื่อ
ประโยชน์ในการฟ้ องคดี หากไม่ได้ทาหรือไม่มี ก็จะฟ้ องร้องต่อศาลไม่ได้ แต่นิติกรรมที่
เกิดขึ้นไม่ถึงกับตกเป็นโมฆะ
5.นิติกรรมที่ต้องทาตามแบบ ต้องทาตามแบบที่กฎหมายกาหนด หากไม่ทานิติกรรมตาม
แบบจะตกเป็นโมฆะ ได้แก่ สัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ สัญญาเช่าซื้อ
ความบกพร่องในการแสดงเจตนา
1.เจตนาลวง เป็นกรณีที่บุคคลสมคบหรือสมรู้กัน แสดงการทานิติกรรมขึ้นมา
ระหว่างกัน ซึ่งความจริงเขาทั้งสองไม่ได้ทานิติกรรมขึ้นต่อกันแต่อย่างใด
เพียงต้องการหลอกบุคคลที่เกี่ยวข้อง คู่กรณีจึงไม่มีเจตนาทานิติกรรมต่อกัน
2. นิติกรรมอาพราง เป็นเรื่องที่คู่กรณีมีเจตนาจะทานิติกรรมอย่างหนึ่งอย่างใด
และได้ทานิติกรรมนั้นแล้ว แต่นิติกรรมที่ทากันนั้นปกปิดอาพรางไว้มิได้แสดง
ให้ปรากฏ กลับแสดงนิติกรรมอีกอย่างหนึ่งให้ปรากฏออกมา โดยคู่กรณีไม่
ต้องการผูกพันตามนิติกรรมที่ปรากฎเพียงแต่ให้บุคคลภายนอกทราบว่าได้
ทานิติกรรมนั้น ดังนั้นนิติกรรมที่ปรากฎแก่บุคคลภายนอกเป็นนิติกรรมอา
พรางจึงตกเป็นโมฆะกรรม ส่วนนิติกรรมที่แท้จริงหรือที่ถูกปกปิดอาพรางไว้
มีผลบังคับต่อกันได้
3.ความสาคัญผิดในสิ่งซึ่งเป็นสาระสาคัญของนิติกรรม ได้แก่กรณีที่ความนึก
คิดของผู้แสดงเจตนาไม่ตรงกับความเป็นจริง อาจเกิดจากความ
รู้เท่าไม่ถึงการณ์หรือหลงผิดคิดว่าเป็นเช่นนั้น สาระสาคัญของนิติกรรม
ได้แก่ ลักษณะหรือชนิดของนิติกรรม ตัวบุคคลซึ่งเป็นคู่กรณีแห่งนิติกรรม
และทรัพย์สินซึ่งเป็นวัตถุแห่งนิติกรรม ผลของเรื่องการสาคัญผิด ทาให้นิติ
กรรมที่เกิดขึ้นตกเป็นโมฆะกรรม
4. สาคัญผิดในคุณสมบัติของบุคคลหรือทรัพย์สิน ม. ๑๕๗ การแสดงเจตนา
โดยสาคัญผิดในคุณสมบัติของบุคคลหรือทรัพย์สิน เป็นโมฆียะ
5. กลฉ้อฉล ม. ๑๕๙ การแสดงเจตนาเพราะถูกกลฉ้อฉลเป็นโมฆียะ
6. การข่มขู่ ม.๑๖๔ การแสดงเจตนาเพราะถูกข่มขู่เป็นโมฆียะ การข่มขู่ที่จะทา
ให้การใดตกเป็นโมฆียะนั้น จะต้องเป็นการข่มขู่ที่จะให้เกิดภัยอันใกล้จะถึง
และร้ายแรงถึงขนาดที่จะจูงใจให้ผู้ถูกข่มขู่มีมูลต้องกลัว ซึ่งถ้ามิได้มีการข่มขู่
เช่นนั้นการนั้นก็คงจะมิได้กระทาขึ้น
โมฆะกรรม
หมายถึง การกระทาที่สูญเปล่าเสียเปล่าไม่มีผลใดๆ เกิดขึ้นตามกฎหมาย จะ
เรียกร้องบังคับกันไม่ได้ ส่วนใหญ่มีที่มาจากเรื่องเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ แบบของนิติกรรม
การแสดงเจตนาบกพร่องหรือเจตนาวิปริต
นิติกรรมที่ตกเป็นโมฆะ ผลสาคัญคือ ไม่อาจให้สัตยาบันได้/ผู้มีส่วนได้เสียยก
เอาความเสียเปล่าขึ้นกล่าวอ้างได้ / หากต้องการคืนทรัพย์สินอันเกิดจากโมฆะ ให้นาเรื่อง
ลาภมิได้ มาใช้บังคับ
โมฆะกรรม ไม่ก่อให้เกิดความเคลื่อนไหวใดๆในสิทธิ ดังนั้นก่อนทานิติกรรมที่
เป็นโมฆะ สิทธิหน้าที่ของคู่กรณีมีอยู่แค่ไหน หลังทานิติกรรมนั้นแล้ว คู่กรณีก็มีสิทธิและ
หน้าที่เช่นนั้นตามเดิม(ความเสียเปล่าเกิดขึ้นทันที) ตัวอย่าง เช่น ก. ทาสัญญาขายที่ดิน
ให้ ข. โดยไม่ได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ สัญญาซื้อขายรายนี้ย่อมต้องเป็นโมฆะ
เนื่องจากไม่ถูกต้องตามแบบที่กฎหมายกาหนด หากพิจารณาผลของสัญญา
โมฆียกรรม
หมายถึง นิติกรรมที่ถือว่าสมบูรณ์มีผลผูกพันและใช้บังคับได้ตาม
กฎหมายทุกประการตราบที่ยังไม่ถูกบอกล้าง(หรือให้สัตยาบัน) เมื่อถูกบอกล้าง
แล้วทาให้นิติกรรมนั้นตกเป็นโมฆะ ย้อนไปตั้งแต่เวลาเริ่มแรกที่ทานิติกรรมนั้น
นิติกรรมที่เป็นโมฆียกรรม เป็นเรื่องผู้ทานิติกรรมมีความบกพร่องเรื่อง
ความสามารถ เช่นเป็นผู้เยาว์ คนไร้ความสามารถ เป็นคนเสมือนไร้
ความสามารถ เรื่องความสาคัญผิดในคุณสมบัติของบุคคลหรือทรัพย์ กลฉ้อฉล
การข่มขู่ การสมรสโดยสาคัญผิดในตัวคู่สมรส
ผลนิติกรรมที่เป็นโมฆียกรรม
โมฆียกรรมอาจถูกบอกล้างได้ การบอกล้างเป็นการแสดงเจตนา
ทาลายนิติกรรมที่สมบูรณ์อยู่ในขณะนั้นให้เป็นอันเสียเปล่าไม่มีผลในทาง
กฎหมาย
โมฆียกรรมอาจให้สัตยาบันได้ หมายถึง การรับรองนิติกรรมที่เป็น
โมฆียกรรมนั้นมีผลสมบูรณ์ใช้ได้ตลอดไป และไม่อาจบอกล้างได้อีก
สรุป
• โมฆะ เป็นผลของนิติกรรมที่เสียเปล่ามาตั้งแต่ต้น ไม่มีผลบังคับตาม
กฎหมาย
• โมฆียะ เป็นนิติกรรมที่สมบูรณ์ตามกฎหมายจนกว่าจะมีการบอกล้าง
ถ้าไม่มีการบอกล้างภายในเวลา หรือมีการให้สัตยาบันนิติกรรมนั้นเป็น
อันสมบูรณ์ตลอดไป
สัญญา
หมายถึง นิติกรรมที่คู่กรณีทั้งสองฝ่าย ต่างแสดงเจตนาตรงกันใน
การที่จะก่อให้เกิดผลผูกพันทางกฎหมาย หรือคู่กรณีฝ่ายหนึ่งแสดงเจตนา
ที่เรียกว่า”คาเสนอ” ไปยังคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่ง และหากฝ่ายที่ได้รับคาเสนอ
เห็นชอบด้วยและได้แสดงเจตนาตอบรับเรียกว่า”คาสนอง” มายังผู้เสนอ
เมื่อคาเสนอและคาสนองถูกต้องตรงกัน สัญญาก็เกิดขึ้น
• สาระสาคัญของสัญญา
1. ต้องมีบุคคลตั้งแต่ 2 ฝ่ายขึ้นไป
2. ต้องมีเจตนา เจตนาที่เป็นคาเสนอและคาสนองต้องตรงกัน
3. แบบหรือวิธีในการแสดงเจตนา อาจเป็นวิธีการใดก็ได้ไม่ว่าด้วย วาจา กริยา
อากร ลายมือชื่อ หรือด้วยการกระทาที่สันนิษฐานได้ว่าเป็นการแสดงเจตนา
คาเสนอ
คาเสนอ คือ การแสดงเจตนา แสดงความประสงค์ของตนต่อบุคคลใด
บุคคลหนึ่ง หรือหลายคนเพื่อขอให้ทาสัญญาด้วย คาเสนอเป็นนิติกรรมฝ่าย
เดียวซึ่งมีผลผูกพันผู้เสนอ
ลักษณะคาเสนอ
- เป็นการแสดงเจตนาขอทาสัญญา เป็นการแสดงเจตนาทาคาเสนอเฉพาะ
หน้า คาเสนอจะมีผลเมื่อผู้รับการแสดงเจตนาได้ ทราบ ม.๑๖๘และ ม.๑๖๙
- คาเสนอต้องเป็นการแสดงเจตนาที่ชัดแจ้ง ปราศจากการเคลือบแคลง
สงสัย
- คาเสนอต้องมีข้อความชัดเจนแน่นอน
- คาเสนออาจทาต่อบุคคลใดบุคคลหนึ่งโดยเฉพาะเจาะจงก็ได้ หรืออาจทา
ต่อสาธารณชนก็ได้
คาสนอง
คาสนอง คือ การแสดงเจตนาของผู้สนองรับต่อผู้เสนอตกลงรับทา
สัญญาตามคาเสนอ เป็นนิติกรรมฝ่ายเดียวซึ่งผูกพันผู้สนองรับและจะต้องแสดง
เจตนาต่อผู้เสนอเท่านั้น
ลักษณะคาสนอง
- เป็นนิติกรรมฝ่ายเดียว ซึ่งต้องมีผู้รับการแสดงเจตนา
- การแสดงเจตนาโดยชัดแจ้ง ปริยาย หรือการนิ่งก็ได้
- มีข้อความชัดเจนแน่นอนปราศจากเงื่อนไข
- ต้องแสดงเจตนาต่อผู้เสนอ หรือตามที่ผู้เสนอกาหนดไว้
- ต้องตอบภายในระยะเวลาที่กาหนดไว้ในคาเสนอ หรืออย่างน้องภายใน
เวลาอันควรคาดหมายว่าจะมีการบอกกล่าวสนองรับหรือ ขณะที่มีคาเสนอ
แล้วแต่กรณี
สัญญาเกิดเมื่อคาเสนอกับคาสนองถูกต้องตรงกัน
ม.๓๖๑ อันสัญญาซึ่งอยู่ห่างกันโดยระยะทางนั้น ย่อมเกิดเป็นสัญญาขึ้นแต่
เวลาเมื่อคาบอกกล่าวสนองไปถึงผู้เสนอ ถ้าตามเจตนาอันผู้เสนอได้แสดง หรือตามปกติ
ประเพณีไม่จาต้องมีคาบอกกล่าวสนองไซร้ท่านว่า สัญญานั้นเกิดเป็นสัญญาขึ้นในเวลา
เมื่อมีการอันใดอันหนึ่ง อันจะพึงสันนิษฐานได้ว่าเป็นการแสดงเจตนาสนองรับ”
สัญญาจะเกิด ณ ที่ใดแล้วแต่การทาคาสนอง
๑.สัญญาระหว่างบุคคลซึ่งอยู่ห่างโดยระยะทาง ย่อมเกิดเป็นสัญญาแต่เวลาเมื่อคา
บอกกล่าวสนองไปถึงผู้เสนอ ตาม ม.๓๖๑วรรคหนึ่งและม.๑๖๙ วรรคหนึ่ง
๒.สัญญาระหว่างบุคคลซึ่งอยู่เฉพาะหน้า ไม่ว่ามีการบ่งระยะเวลาให้ทาคาสนองตาม
ม.๓๕๔ หรือไม่มีการบ่งระยะเวลาให้ทาคาสนอง ตาม ม.๓๕๖ เมื่อสนองรับต่อหน้า ก็
เกิดสัญญา ณ ที่สนองรับ นั้น (ผู้เสนออยู่ ณ ที่ใดสัญญาย่อมเกิดที่นั้น)
๓.สัญญาระหว่างบุคคลซึ่งเกิดจากการแสดงเจตนาสนองรับโดยปริยาย หรือการ
แสดงเจตนาสนองรับตามวิธีการที่ผู้เสนอกาหนด หรือโดยการนิ่ง สัญญาย่อมเกิด ณ ที่ซึ่ง
มีการอันใดอันหนึ่ง อันสันนิษฐานได้ว่าเป็นการแสดงเจตนาสนองรับ ตาม ม. ๓๖๑ วรรค
หนึ่ง
สัญญาเกิดแม้ไม่ได้ตกลงกันหมดทุกข้อ
ม.๓๖๗ สัญญาใด คู่สัญญาได้ถือว่าเป็นอันได้ทากันขึ้นแล้ว แต่แท้ที่
จริงยังมิได้ตกลงกันในข้อหนึ่งข้อใด อันจะต้องทาความตกลงให้สาเร็จ ถ้าจะพึง
อนุมานได้ว่า ถึงหากจะไม่ทาการตกลงกันในข้อนี้ได้ สัญญานั้นก็จะได้ทาขึ้นไซร้
ท่านว่าข้อความส่วนที่ได้ตกลงกันแล้วก็ย่อมเป็นอันสมบูรณ์” (สัญญาเกิดแม้
ไม่ได้ตกลงกันทุกข้อ แต่เกิดขึ้นโดยการหยั่งเจตนาของคู่สัญญา)
สัญญาไม่เกิดเพราะไม่ได้ตกลงกันหมดทุกข้อ หรือไม่ได้ทาเป็ นหนังสือ
ม.๓๖๖ “ข้อความใดๆ แห่งสัญญาอันคู่สัญญาแม้เพียงฝ่ายเดียวได้
แสดงไว้ว่าเป็นสาระสาคัญอันจะต้องตกลงกันหมดทุกข้อนั้น หากคู่สัญญายัง
ไม่ได้ตกลงกันได้หมดทุกข้ออยู่ตราบใด เมื่อกรณีเป็นที่สงสัยท่านนับว่ายังมิได้มี
สัญญาต่อกัน การที่ได้ทาความเข้ากันไว้เฉพาะบางสิ่งบางอย่างถึงแม้ว่าจะได้
จดลงไว้ก็หาเป็นการผูกพันไม่ ถ้าได้ตกลงกันว่าสัญญาอันมุ่งจะทาจะต้องทา
เป็นหนังสือไซร้ เมื่อกรณีเป็นที่สงสัยท่านนับว่ายังมิได้มีสัญญาต่อกันจนกว่าจะ
ได้ทาขึ้นเป็นหนังสือ”
ประเภทของสัญญา
๑.สัญญาต่างตอบแทนกับสัญญาไม่ต่างตอบแทน
-สัญญาต่างตอบแทน ได้แก่สัญญาที่ทาให้คู่สัญญาต่างเป็นทั้งเจ้าหนี้และลูกหนี้ซึ่งกันและกัน เช่น
สัญญาซื้อขาย
-สัญญาไม่ต่างตอบแทน ได้แก่สัญญาที่ทาให้คู่สัญญาเป็นหนี้เป็นสัญญาที่ก่อหนี้ฝ่ายเดียว เช่น
สัญญายืม
๒.สัญญามีค่าตอบแทนกับสัญญาไม่มีค่าตอบแทน
-สัญญามีค่าตอบแทน ได้แก่สัญญาที่ทาให้คู่สัญญาต่างมีสิทธิได้รับค่าตอบแทนซึ่งกันและกัน
ค่าตอบแทนอาจเป็นทรัพย์สิน แรงงาน หรือประโยชน์อื่นใดก็ได้
-สัญญาไม่มีค่าตอบแทน ได้แก่สัญญาที่ทาให้คู่สัญญาแต่เพียงฝ่ายเดียวได้รับประโยชน์จากสัญญา
เช่น สัญญาให้
๓.สัญญาประธานกับสัญญาอุปกรณ์
-สัญญาประธาน หมายถึง สัญญาที่เกิดขึ้นและเป็นอยู่ได้โดยลาพังไม่ขึ้นกับสัญญาอื่นใด
-สัญญาอุปกรณ์ หมายถึง สัญญาที่ไม่สามารถเกิดขึ้นและเป็นอยู่ได้โดยลาพังตนเอง เช่น สัญญาค้า
ประกัน
๔.สัญญาเพื่อประโยชน์บุคคลภายนอก ได้แก่สัญญาซึ่งคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งตกลงกับคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่ง
ว่าจะชาระหนี้ให้แก่บุคคลภายนอก ซึ่งไม่ได้เข้าเป็นคู่สัญญาด้วย และเมื่อเกิดหนี้ตามสัญญาให้ไปชา
ระหนี้กับบุคคลภายนอกโดยตรง เช่น สัญญาประกันชีวิต
ทรัพย์และทรัพย์สิน
ป.พ.พ. ม.๑๓๗ ทรัพย์ หมายความว่า วัตถุที่มีรูปร่าง
ป.พ.พ.ม.๑๓๘ ทรัพย์สิน หมายความรวมทั้งทรัพย์ และวัตถุไม่มีรูปร่างซึ่งอาจมี
ราคา และอาจถือเอาได้
ลักษณะสาคัญของทรัพย์และทรัพย์สิน
ทรัพย์ คือ วัตถุมีรูปร่าง ส่วนทรัพย์สิน คือวัตถุที่มีรูปร่างก็ได้หรือไม่มีรูปร่างก็ได้
วัตถุที่มีรูปร่าง หรือไม่มีรูปร่างนั้นต้องอาจมีราคาได้ และต้องอาจถือเอาได้
อาจมีราคา หมายถึง คุณค่าในตัวของมันเอง
อาจถือเอาได้ หมายถึง อาจเข้าถือเอาหรือเข้าหวงกันไว้เพื่อตนเอง
ประเภทของทรัพย์สิน
๑.อสังหาริมทรัพย์ คือ ทรัพย์ที่เคลื่อนที่ไม่ได้ ได้แก่
– ที่ดิน
– ทรัพย์ที่ติดกับที่ดินมีลักษณะเป็นการถาวร
– ทรัพย์ซึ่งประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดิน
– สิทธิทั้งหลายที่เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์
๒.สังหาริมทรัพย์ ทรัพย์สินอื่นนอกจากอสังหาริมทรัพย์และหมายความรวมถึง
สิทธิอันเกี่ยวข้องกับทรัพย์สินนั้นด้วย สังหาริมทรัพย์กรณีเป็นทรัพย์เคลื่อนที่
ได้โดยสภาพของตัวทรัพย์เอง เช่น สัตว์ต่างๆ หรือสังหาริมทรัพย์กรณีเป็น
ทรัพย์ที่เคลื่อนที่ได้ด้วยกาลังจากภายนอก เช่น โต้ะ เก้าอี้สมุดปากกา ฯลฯ
ส่วนกาลังแห่งธรรมชาติที่เป็นสังหาริมทรัพย์จะต้องมีราคาและอาจถือเอาได้
ได้แก่ พลังไอน้า พลังน้าตก แก๊ส ฯลฯ นอกจากนี้สิทธิ บางอย่าง เช่น สิทธิ
จานา เช่า สิทธิยึดหน่วง ลิขสิทธิ์ เครื่องหมายการค้า ก็เป็นสังหาริมทรัพย์
๓.ทรัพย์แบ่งได้ หมายถึง ทรัพย์อันอาจแยกออกจากกันเป็นส่วนได้ โดย
ไม่เสียรูปทรงหรือเสียสภาพ ทรัพย์แบ่งได้อาจเป็นได้ทั้งอสังหาริมทรัพย์
และสังหาริมทรัพย์ เช่น ผ้า ทราย น้าตาล น้ามัน ข้าวสาร ทราย ที่ดิน
เป็นต้น
๔.ทรัพย์แบ่งไม่ได้ หมายถึง ทรัพย์ที่แบ่งไม่ได้โดยสภาพของตัวทรัพย์
และแบ่งไม่ได้โดยอานาจของกฎหมาย เช่น รถยนต์ บ้าน ช้าง ภาระจา
ยอม สิทธิจานอง
๕.ทรัพย์นอกพาณิชย์ หมายถึง ทรัพย์ที่ไม่สามารถถือเอาได้ และทรัพย์ที่
ไม่สามารถโอนให้แก่กันได้โดยชอบด้วยกฎหมาย เช่น ดวงจันทร์ สาย
ลม น้าทะเล สาธารณสมบัติของแผ่นดิน ที่วัด ธรณีสงฆ์ สิทธิที่ได้รับค่า
อุปการะเลี้ยงดู
ส่วนประกอบของทรัพย์
ส่วนควบ หมายถึง ส่วนซึ่งโดยสภาพแห่งทรัพย์หรือโดยจารีตประเพณีแห่งท้องถิ่น เป็นสาระสาคัญใน
ความเป็นอยู่ของทรัพย์นั้น และไม่อาจแยกจากกันได้นอกจากจะทาลาย ทาให้บุบสลายหรือทาให้
ทรัพย์นั้นเปลี่ยนแปลงรูปทรงหรือสภาพไป เจ้าของทรัพย์ย่อมมีกรรมสิทธิ์ในส่วนควบของทรัพย์นั้น
อุปกรณ์ หมายถึง สังหาริมทรัพย์ซึ่งโดยปกติเฉพาะท้องถิ่นหรือโดยเจตนาชัดแจ้งของเจ้าของทรัพย์ที่เป็น
ประธานและเจ้าของทรัพย์ได้นามาสู่ทรัพย์ที่เป็นประธาน โดยการนามาติดต่อหรือปรับเข้าไว้หรือทา
โดยประการอื่นใด ในฐานะเป็นของใช้ประกอบทรัพย์ที่เป็นประธานนั้น อุปกรณ์ที่แยกออกจากทรัพย์
ประธานเป็นการชั่วคราว ก็ยังไม่ขาดจากเป็นอุปกรณ์ของทรัพย์ที่เป็นประธานนั้น อุปกรณ์ย่อมตกติด
ไปกับทรัพย์ที่เป็นประธาน เว้นแต่จะมีการกาหนดไว้เป็นอย่างอื่น
ดอกผลของทรัพย์ ได้แก่ ดอกผลธรรมดาและดอกผลนิตินัย
ดอกผลธรรมดา หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของทรัพย์ ซึ่งได้มาจากตัวทรัพย์โดยการมีหรือใช้
ทรัพย์นั้นตามปกตินิยม และสามารถถือเอาได้เมื่อขาดจากทรัพย์นั้น เช่น ต้นมะม่วงที่ปลูกแล้วออกผล
ถือว่าผลมะม่วง ที่สุก ถือเป็นดอกผลธรรมดาของต้นไม้ หรือสัตว์เลี้ยงออกลูกมาเป็นดอกผลธรรมดา
ของสัตว์
ดอกผลนิตินัย หมายถึง ทรัพย์หรือประโยชน์อย่างอื่น ที่ได้มาเป็นครั้งคราวแก่เจ้าของทรัพย์จากผู้อื่น
เพื่อการที่ได้ใช้ทรัพย์นั้น และสามารถคานวณและถือเอาได้เป็นรายวันหรือตามระยะเวลาที่กาหนดไว้
เช่นดอกเบี้ยของเงินที่กู้ยืม ค่าเช่าบ้าน ลูกสุนัขที่ได้จากการนาพ่อพันธ์ไปผสมพันธ์แต่ละครั้ง เจ้าของ
แม่สุนัข ก็มอบลูกสุนัขให้ครั้งละตัว แม้ว่าลูกสุนัขเป็นดอกผลธรรมดาที่เกิดจากแม่สุนัข แต่กรณีลูกสุนัข
ที่มอบให้แก่เจ้าของพ่อพันธ์นี้เป็นดอกผลนิตินัย

Contenu connexe

Tendances

ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
billy ratchadamri
 
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
Supisara Jaibaan
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
thnaporn999
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
billy ratchadamri
 
ระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย Isระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย Is
Lawsom
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
thnaporn999
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
Kanin Wongyai
 
หน้าที่พลเมืองมอปลาย
หน้าที่พลเมืองมอปลายหน้าที่พลเมืองมอปลาย
หน้าที่พลเมืองมอปลาย
Kroo Mngschool
 

Tendances (20)

ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้
 
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
 
ระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย Isระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย Is
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
T1 b1
T1 b1T1 b1
T1 b1
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
 
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปกฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
 
สรุปพ.ร.บ.นำเที่ยวverง่าย
สรุปพ.ร.บ.นำเที่ยวverง่ายสรุปพ.ร.บ.นำเที่ยวverง่าย
สรุปพ.ร.บ.นำเที่ยวverง่าย
 
9789740328735
97897403287359789740328735
9789740328735
 
หน้าที่พลเมืองมอปลาย
หน้าที่พลเมืองมอปลายหน้าที่พลเมืองมอปลาย
หน้าที่พลเมืองมอปลาย
 
วินัยครู
วินัยครูวินัยครู
วินัยครู
 
9789740332909
97897403329099789740332909
9789740332909
 
กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมาย
 
หลักกฎหมายอาญาทั่วไป
หลักกฎหมายอาญาทั่วไปหลักกฎหมายอาญาทั่วไป
หลักกฎหมายอาญาทั่วไป
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
 

En vedette

วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
AJ Por
 
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุนพยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
AJ Por
 

En vedette (20)

กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
 
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุนพยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
 
11/11/13 Meeting
11/11/13 Meeting11/11/13 Meeting
11/11/13 Meeting
 
Biomechanical Simulation using Supercomputer for Predictive Medicine
Biomechanical Simulation using Supercomputer for Predictive MedicineBiomechanical Simulation using Supercomputer for Predictive Medicine
Biomechanical Simulation using Supercomputer for Predictive Medicine
 
Surgical System Based on Manufacturing Tecnologies
Surgical System Based on Manufacturing TecnologiesSurgical System Based on Manufacturing Tecnologies
Surgical System Based on Manufacturing Tecnologies
 
Listas calificaciones 2dos, 5to bimestre
Listas calificaciones 2dos, 5to bimestreListas calificaciones 2dos, 5to bimestre
Listas calificaciones 2dos, 5to bimestre
 
นำเสนอหลักสูตรธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
นำเสนอหลักสูตรธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษานำเสนอหลักสูตรธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
นำเสนอหลักสูตรธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
 
Computational Geometry Laboratory
Computational Geometry LaboratoryComputational Geometry Laboratory
Computational Geometry Laboratory
 
นำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
นำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษานำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
นำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
 
Minerva: A Companion Robot
Minerva: A Companion RobotMinerva: A Companion Robot
Minerva: A Companion Robot
 
Livestrong
LivestrongLivestrong
Livestrong
 
Listas 2dos. 4to. Bimestre
Listas 2dos. 4to. BimestreListas 2dos. 4to. Bimestre
Listas 2dos. 4to. Bimestre
 

Similaire à กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11

กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
Eyezz Alazy
 
เฉลยข้อสอบติว
เฉลยข้อสอบติวเฉลยข้อสอบติว
เฉลยข้อสอบติว
Mac Legendlaw
 

Similaire à กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11 (13)

กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
แผ่นพับกิ๊บ
แผ่นพับกิ๊บแผ่นพับกิ๊บ
แผ่นพับกิ๊บ
 
แผ่นพับกิ๊บ
แผ่นพับกิ๊บแผ่นพับกิ๊บ
แผ่นพับกิ๊บ
 
เฉลยข้อสอบติว
เฉลยข้อสอบติวเฉลยข้อสอบติว
เฉลยข้อสอบติว
 
Laws 100
Laws 100Laws 100
Laws 100
 
คู่ความ
คู่ความคู่ความ
คู่ความ
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
การพิจารณาว่าบุคคลจะต้องรับผิดในทางอาญา
การพิจารณาว่าบุคคลจะต้องรับผิดในทางอาญาการพิจารณาว่าบุคคลจะต้องรับผิดในทางอาญา
การพิจารณาว่าบุคคลจะต้องรับผิดในทางอาญา
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 

กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11

  • 2. นิติกรรม ปพพ. มาตรา 149 การใดๆอันทาลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจ สมัครมุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ
  • 3. ลักษณะของนิติกรรม 1. เป็นการกระทาของบุคคลโดยการแสดงเจตนา การแสดงเจตนาทานิติกรรมมี 3 รูปแบบ - การแสดงเจตนาโดยชัดแจ้ง - การแสดงเจตนาโดยปริยาย - การแสดงเจตนาโดยการนิ่ง 2.การกระทาที่ชอบด้วยกฎหมาย นิติกรรมจะต้องเป็นการกระทาที่ชอบหรือ ถูกต้องตามกฎหมาย การกระทาที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายได้แก่ การกระทาที่มี วัตถุประสงค์ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย เป็นการพ้นวิสัย หรือขัดต่อความสงบ เรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน นิติกรรมที่มีวัตถุประสงค์อย่างใด อย่างหนึ่ง กฎหมายไม่ยอมรับบังคับได้โดยถือว่าเสียเปล่าไม่มีผลใดๆ ในทาง กฎหมาย หรือเป็นโมฆะ
  • 4. 3.มุ่งที่จะผูกนิติสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ผู้แสดงเจตนามีความต้องการ ให้เกิดความผูกพันหรือให้เกิดผลตามกฎหมายอย่างจริงจัง 4.ต้องเป็นการกระทาที่ทาด้วยใจสมัคร หมายถึงการแสดงเจตนาของ บุคคลที่มิได้ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลหรืออานาจภายนอกอันทาให้การ แสดงเจตนาของเขาไม่สมัครใจ เช่น มิได้ถูกหลอกลวง ข่มขู่ ฉ้อฉล หรือ เป็นเรื่องเข้าใจผิด 5.มีความเคลื่อนแห่งสิทธิ ผลของนิติกรรมทาให้เกิดความเคลื่อนไหว แห่งสิทธิ 5 ลักษณะ ได้แก่ การก่อ การเปลี่ยนแปลง การโอน การสงวน และการระงับแห่งสิทธิ
  • 5. ประเภทของนิติกรรม 1.นิติกรรมฝ่ายเดียวและนิติกรรมหลายฝ่าย พิจารณาจากผู้ทานิติกรรม นิติกรรมฝ่ายเดียว เป็นนิติกรรมที่เกิดขึ้นจากการแสดงเจตนาของผู้ทานิติกรรมเพียงฝ่ายเดียวซึ่งจะมีผลทันที ส่วนนิติกรรมหลายฝ่ายเกิดจากการแสดงเจตนาของบุคคลสองฝ่ายขึ้นไป 2.นิติกรรมที่มีผลเมื่อผู้ทายังมีชีวิตอยู่และมีผลเมื่อผู้ทาตาย พิจารณาจากผลของนิติกรรม ว่านิติกรรมที่ได้กระทาไปนั้นเกิดผลเมื่อใด 3.นิติกรรมที่มีค่าตอบแทนกับนิติกรรมที่ไม่มีค่าตอบแทน พิจารณาจากค่าตอบแทน นิติ กรรมที่มีค่าตอบแทนคู่กรณีทุกฝ่ายต้องปฏิบัติการชาระหนี้อย่างใดอย่างหนึ่งเป็น ค่าตอบแทนกัน 4.นิติกรรมที่ต้องทาเป็นหนังสือ นิติกรรมประเภทนี้ต้องทาเป็นหนังสือและสามารถทากันเอง ได้ ในนิติกรรมบางประเภท กฎหมายต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือและลงลายมือชื่อเพื่อ ประโยชน์ในการฟ้ องคดี หากไม่ได้ทาหรือไม่มี ก็จะฟ้ องร้องต่อศาลไม่ได้ แต่นิติกรรมที่ เกิดขึ้นไม่ถึงกับตกเป็นโมฆะ 5.นิติกรรมที่ต้องทาตามแบบ ต้องทาตามแบบที่กฎหมายกาหนด หากไม่ทานิติกรรมตาม แบบจะตกเป็นโมฆะ ได้แก่ สัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ สัญญาเช่าซื้อ
  • 6. ความบกพร่องในการแสดงเจตนา 1.เจตนาลวง เป็นกรณีที่บุคคลสมคบหรือสมรู้กัน แสดงการทานิติกรรมขึ้นมา ระหว่างกัน ซึ่งความจริงเขาทั้งสองไม่ได้ทานิติกรรมขึ้นต่อกันแต่อย่างใด เพียงต้องการหลอกบุคคลที่เกี่ยวข้อง คู่กรณีจึงไม่มีเจตนาทานิติกรรมต่อกัน 2. นิติกรรมอาพราง เป็นเรื่องที่คู่กรณีมีเจตนาจะทานิติกรรมอย่างหนึ่งอย่างใด และได้ทานิติกรรมนั้นแล้ว แต่นิติกรรมที่ทากันนั้นปกปิดอาพรางไว้มิได้แสดง ให้ปรากฏ กลับแสดงนิติกรรมอีกอย่างหนึ่งให้ปรากฏออกมา โดยคู่กรณีไม่ ต้องการผูกพันตามนิติกรรมที่ปรากฎเพียงแต่ให้บุคคลภายนอกทราบว่าได้ ทานิติกรรมนั้น ดังนั้นนิติกรรมที่ปรากฎแก่บุคคลภายนอกเป็นนิติกรรมอา พรางจึงตกเป็นโมฆะกรรม ส่วนนิติกรรมที่แท้จริงหรือที่ถูกปกปิดอาพรางไว้ มีผลบังคับต่อกันได้
  • 7. 3.ความสาคัญผิดในสิ่งซึ่งเป็นสาระสาคัญของนิติกรรม ได้แก่กรณีที่ความนึก คิดของผู้แสดงเจตนาไม่ตรงกับความเป็นจริง อาจเกิดจากความ รู้เท่าไม่ถึงการณ์หรือหลงผิดคิดว่าเป็นเช่นนั้น สาระสาคัญของนิติกรรม ได้แก่ ลักษณะหรือชนิดของนิติกรรม ตัวบุคคลซึ่งเป็นคู่กรณีแห่งนิติกรรม และทรัพย์สินซึ่งเป็นวัตถุแห่งนิติกรรม ผลของเรื่องการสาคัญผิด ทาให้นิติ กรรมที่เกิดขึ้นตกเป็นโมฆะกรรม 4. สาคัญผิดในคุณสมบัติของบุคคลหรือทรัพย์สิน ม. ๑๕๗ การแสดงเจตนา โดยสาคัญผิดในคุณสมบัติของบุคคลหรือทรัพย์สิน เป็นโมฆียะ 5. กลฉ้อฉล ม. ๑๕๙ การแสดงเจตนาเพราะถูกกลฉ้อฉลเป็นโมฆียะ 6. การข่มขู่ ม.๑๖๔ การแสดงเจตนาเพราะถูกข่มขู่เป็นโมฆียะ การข่มขู่ที่จะทา ให้การใดตกเป็นโมฆียะนั้น จะต้องเป็นการข่มขู่ที่จะให้เกิดภัยอันใกล้จะถึง และร้ายแรงถึงขนาดที่จะจูงใจให้ผู้ถูกข่มขู่มีมูลต้องกลัว ซึ่งถ้ามิได้มีการข่มขู่ เช่นนั้นการนั้นก็คงจะมิได้กระทาขึ้น
  • 8. โมฆะกรรม หมายถึง การกระทาที่สูญเปล่าเสียเปล่าไม่มีผลใดๆ เกิดขึ้นตามกฎหมาย จะ เรียกร้องบังคับกันไม่ได้ ส่วนใหญ่มีที่มาจากเรื่องเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ แบบของนิติกรรม การแสดงเจตนาบกพร่องหรือเจตนาวิปริต นิติกรรมที่ตกเป็นโมฆะ ผลสาคัญคือ ไม่อาจให้สัตยาบันได้/ผู้มีส่วนได้เสียยก เอาความเสียเปล่าขึ้นกล่าวอ้างได้ / หากต้องการคืนทรัพย์สินอันเกิดจากโมฆะ ให้นาเรื่อง ลาภมิได้ มาใช้บังคับ โมฆะกรรม ไม่ก่อให้เกิดความเคลื่อนไหวใดๆในสิทธิ ดังนั้นก่อนทานิติกรรมที่ เป็นโมฆะ สิทธิหน้าที่ของคู่กรณีมีอยู่แค่ไหน หลังทานิติกรรมนั้นแล้ว คู่กรณีก็มีสิทธิและ หน้าที่เช่นนั้นตามเดิม(ความเสียเปล่าเกิดขึ้นทันที) ตัวอย่าง เช่น ก. ทาสัญญาขายที่ดิน ให้ ข. โดยไม่ได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ สัญญาซื้อขายรายนี้ย่อมต้องเป็นโมฆะ เนื่องจากไม่ถูกต้องตามแบบที่กฎหมายกาหนด หากพิจารณาผลของสัญญา
  • 9. โมฆียกรรม หมายถึง นิติกรรมที่ถือว่าสมบูรณ์มีผลผูกพันและใช้บังคับได้ตาม กฎหมายทุกประการตราบที่ยังไม่ถูกบอกล้าง(หรือให้สัตยาบัน) เมื่อถูกบอกล้าง แล้วทาให้นิติกรรมนั้นตกเป็นโมฆะ ย้อนไปตั้งแต่เวลาเริ่มแรกที่ทานิติกรรมนั้น นิติกรรมที่เป็นโมฆียกรรม เป็นเรื่องผู้ทานิติกรรมมีความบกพร่องเรื่อง ความสามารถ เช่นเป็นผู้เยาว์ คนไร้ความสามารถ เป็นคนเสมือนไร้ ความสามารถ เรื่องความสาคัญผิดในคุณสมบัติของบุคคลหรือทรัพย์ กลฉ้อฉล การข่มขู่ การสมรสโดยสาคัญผิดในตัวคู่สมรส ผลนิติกรรมที่เป็นโมฆียกรรม โมฆียกรรมอาจถูกบอกล้างได้ การบอกล้างเป็นการแสดงเจตนา ทาลายนิติกรรมที่สมบูรณ์อยู่ในขณะนั้นให้เป็นอันเสียเปล่าไม่มีผลในทาง กฎหมาย โมฆียกรรมอาจให้สัตยาบันได้ หมายถึง การรับรองนิติกรรมที่เป็น โมฆียกรรมนั้นมีผลสมบูรณ์ใช้ได้ตลอดไป และไม่อาจบอกล้างได้อีก
  • 10. สรุป • โมฆะ เป็นผลของนิติกรรมที่เสียเปล่ามาตั้งแต่ต้น ไม่มีผลบังคับตาม กฎหมาย • โมฆียะ เป็นนิติกรรมที่สมบูรณ์ตามกฎหมายจนกว่าจะมีการบอกล้าง ถ้าไม่มีการบอกล้างภายในเวลา หรือมีการให้สัตยาบันนิติกรรมนั้นเป็น อันสมบูรณ์ตลอดไป
  • 11. สัญญา หมายถึง นิติกรรมที่คู่กรณีทั้งสองฝ่าย ต่างแสดงเจตนาตรงกันใน การที่จะก่อให้เกิดผลผูกพันทางกฎหมาย หรือคู่กรณีฝ่ายหนึ่งแสดงเจตนา ที่เรียกว่า”คาเสนอ” ไปยังคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่ง และหากฝ่ายที่ได้รับคาเสนอ เห็นชอบด้วยและได้แสดงเจตนาตอบรับเรียกว่า”คาสนอง” มายังผู้เสนอ เมื่อคาเสนอและคาสนองถูกต้องตรงกัน สัญญาก็เกิดขึ้น • สาระสาคัญของสัญญา 1. ต้องมีบุคคลตั้งแต่ 2 ฝ่ายขึ้นไป 2. ต้องมีเจตนา เจตนาที่เป็นคาเสนอและคาสนองต้องตรงกัน 3. แบบหรือวิธีในการแสดงเจตนา อาจเป็นวิธีการใดก็ได้ไม่ว่าด้วย วาจา กริยา อากร ลายมือชื่อ หรือด้วยการกระทาที่สันนิษฐานได้ว่าเป็นการแสดงเจตนา
  • 12. คาเสนอ คาเสนอ คือ การแสดงเจตนา แสดงความประสงค์ของตนต่อบุคคลใด บุคคลหนึ่ง หรือหลายคนเพื่อขอให้ทาสัญญาด้วย คาเสนอเป็นนิติกรรมฝ่าย เดียวซึ่งมีผลผูกพันผู้เสนอ ลักษณะคาเสนอ - เป็นการแสดงเจตนาขอทาสัญญา เป็นการแสดงเจตนาทาคาเสนอเฉพาะ หน้า คาเสนอจะมีผลเมื่อผู้รับการแสดงเจตนาได้ ทราบ ม.๑๖๘และ ม.๑๖๙ - คาเสนอต้องเป็นการแสดงเจตนาที่ชัดแจ้ง ปราศจากการเคลือบแคลง สงสัย - คาเสนอต้องมีข้อความชัดเจนแน่นอน - คาเสนออาจทาต่อบุคคลใดบุคคลหนึ่งโดยเฉพาะเจาะจงก็ได้ หรืออาจทา ต่อสาธารณชนก็ได้
  • 13. คาสนอง คาสนอง คือ การแสดงเจตนาของผู้สนองรับต่อผู้เสนอตกลงรับทา สัญญาตามคาเสนอ เป็นนิติกรรมฝ่ายเดียวซึ่งผูกพันผู้สนองรับและจะต้องแสดง เจตนาต่อผู้เสนอเท่านั้น ลักษณะคาสนอง - เป็นนิติกรรมฝ่ายเดียว ซึ่งต้องมีผู้รับการแสดงเจตนา - การแสดงเจตนาโดยชัดแจ้ง ปริยาย หรือการนิ่งก็ได้ - มีข้อความชัดเจนแน่นอนปราศจากเงื่อนไข - ต้องแสดงเจตนาต่อผู้เสนอ หรือตามที่ผู้เสนอกาหนดไว้ - ต้องตอบภายในระยะเวลาที่กาหนดไว้ในคาเสนอ หรืออย่างน้องภายใน เวลาอันควรคาดหมายว่าจะมีการบอกกล่าวสนองรับหรือ ขณะที่มีคาเสนอ แล้วแต่กรณี
  • 14. สัญญาเกิดเมื่อคาเสนอกับคาสนองถูกต้องตรงกัน ม.๓๖๑ อันสัญญาซึ่งอยู่ห่างกันโดยระยะทางนั้น ย่อมเกิดเป็นสัญญาขึ้นแต่ เวลาเมื่อคาบอกกล่าวสนองไปถึงผู้เสนอ ถ้าตามเจตนาอันผู้เสนอได้แสดง หรือตามปกติ ประเพณีไม่จาต้องมีคาบอกกล่าวสนองไซร้ท่านว่า สัญญานั้นเกิดเป็นสัญญาขึ้นในเวลา เมื่อมีการอันใดอันหนึ่ง อันจะพึงสันนิษฐานได้ว่าเป็นการแสดงเจตนาสนองรับ” สัญญาจะเกิด ณ ที่ใดแล้วแต่การทาคาสนอง ๑.สัญญาระหว่างบุคคลซึ่งอยู่ห่างโดยระยะทาง ย่อมเกิดเป็นสัญญาแต่เวลาเมื่อคา บอกกล่าวสนองไปถึงผู้เสนอ ตาม ม.๓๖๑วรรคหนึ่งและม.๑๖๙ วรรคหนึ่ง ๒.สัญญาระหว่างบุคคลซึ่งอยู่เฉพาะหน้า ไม่ว่ามีการบ่งระยะเวลาให้ทาคาสนองตาม ม.๓๕๔ หรือไม่มีการบ่งระยะเวลาให้ทาคาสนอง ตาม ม.๓๕๖ เมื่อสนองรับต่อหน้า ก็ เกิดสัญญา ณ ที่สนองรับ นั้น (ผู้เสนออยู่ ณ ที่ใดสัญญาย่อมเกิดที่นั้น) ๓.สัญญาระหว่างบุคคลซึ่งเกิดจากการแสดงเจตนาสนองรับโดยปริยาย หรือการ แสดงเจตนาสนองรับตามวิธีการที่ผู้เสนอกาหนด หรือโดยการนิ่ง สัญญาย่อมเกิด ณ ที่ซึ่ง มีการอันใดอันหนึ่ง อันสันนิษฐานได้ว่าเป็นการแสดงเจตนาสนองรับ ตาม ม. ๓๖๑ วรรค หนึ่ง
  • 15. สัญญาเกิดแม้ไม่ได้ตกลงกันหมดทุกข้อ ม.๓๖๗ สัญญาใด คู่สัญญาได้ถือว่าเป็นอันได้ทากันขึ้นแล้ว แต่แท้ที่ จริงยังมิได้ตกลงกันในข้อหนึ่งข้อใด อันจะต้องทาความตกลงให้สาเร็จ ถ้าจะพึง อนุมานได้ว่า ถึงหากจะไม่ทาการตกลงกันในข้อนี้ได้ สัญญานั้นก็จะได้ทาขึ้นไซร้ ท่านว่าข้อความส่วนที่ได้ตกลงกันแล้วก็ย่อมเป็นอันสมบูรณ์” (สัญญาเกิดแม้ ไม่ได้ตกลงกันทุกข้อ แต่เกิดขึ้นโดยการหยั่งเจตนาของคู่สัญญา) สัญญาไม่เกิดเพราะไม่ได้ตกลงกันหมดทุกข้อ หรือไม่ได้ทาเป็ นหนังสือ ม.๓๖๖ “ข้อความใดๆ แห่งสัญญาอันคู่สัญญาแม้เพียงฝ่ายเดียวได้ แสดงไว้ว่าเป็นสาระสาคัญอันจะต้องตกลงกันหมดทุกข้อนั้น หากคู่สัญญายัง ไม่ได้ตกลงกันได้หมดทุกข้ออยู่ตราบใด เมื่อกรณีเป็นที่สงสัยท่านนับว่ายังมิได้มี สัญญาต่อกัน การที่ได้ทาความเข้ากันไว้เฉพาะบางสิ่งบางอย่างถึงแม้ว่าจะได้ จดลงไว้ก็หาเป็นการผูกพันไม่ ถ้าได้ตกลงกันว่าสัญญาอันมุ่งจะทาจะต้องทา เป็นหนังสือไซร้ เมื่อกรณีเป็นที่สงสัยท่านนับว่ายังมิได้มีสัญญาต่อกันจนกว่าจะ ได้ทาขึ้นเป็นหนังสือ”
  • 16. ประเภทของสัญญา ๑.สัญญาต่างตอบแทนกับสัญญาไม่ต่างตอบแทน -สัญญาต่างตอบแทน ได้แก่สัญญาที่ทาให้คู่สัญญาต่างเป็นทั้งเจ้าหนี้และลูกหนี้ซึ่งกันและกัน เช่น สัญญาซื้อขาย -สัญญาไม่ต่างตอบแทน ได้แก่สัญญาที่ทาให้คู่สัญญาเป็นหนี้เป็นสัญญาที่ก่อหนี้ฝ่ายเดียว เช่น สัญญายืม ๒.สัญญามีค่าตอบแทนกับสัญญาไม่มีค่าตอบแทน -สัญญามีค่าตอบแทน ได้แก่สัญญาที่ทาให้คู่สัญญาต่างมีสิทธิได้รับค่าตอบแทนซึ่งกันและกัน ค่าตอบแทนอาจเป็นทรัพย์สิน แรงงาน หรือประโยชน์อื่นใดก็ได้ -สัญญาไม่มีค่าตอบแทน ได้แก่สัญญาที่ทาให้คู่สัญญาแต่เพียงฝ่ายเดียวได้รับประโยชน์จากสัญญา เช่น สัญญาให้ ๓.สัญญาประธานกับสัญญาอุปกรณ์ -สัญญาประธาน หมายถึง สัญญาที่เกิดขึ้นและเป็นอยู่ได้โดยลาพังไม่ขึ้นกับสัญญาอื่นใด -สัญญาอุปกรณ์ หมายถึง สัญญาที่ไม่สามารถเกิดขึ้นและเป็นอยู่ได้โดยลาพังตนเอง เช่น สัญญาค้า ประกัน ๔.สัญญาเพื่อประโยชน์บุคคลภายนอก ได้แก่สัญญาซึ่งคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งตกลงกับคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่ง ว่าจะชาระหนี้ให้แก่บุคคลภายนอก ซึ่งไม่ได้เข้าเป็นคู่สัญญาด้วย และเมื่อเกิดหนี้ตามสัญญาให้ไปชา ระหนี้กับบุคคลภายนอกโดยตรง เช่น สัญญาประกันชีวิต
  • 17. ทรัพย์และทรัพย์สิน ป.พ.พ. ม.๑๓๗ ทรัพย์ หมายความว่า วัตถุที่มีรูปร่าง ป.พ.พ.ม.๑๓๘ ทรัพย์สิน หมายความรวมทั้งทรัพย์ และวัตถุไม่มีรูปร่างซึ่งอาจมี ราคา และอาจถือเอาได้ ลักษณะสาคัญของทรัพย์และทรัพย์สิน ทรัพย์ คือ วัตถุมีรูปร่าง ส่วนทรัพย์สิน คือวัตถุที่มีรูปร่างก็ได้หรือไม่มีรูปร่างก็ได้ วัตถุที่มีรูปร่าง หรือไม่มีรูปร่างนั้นต้องอาจมีราคาได้ และต้องอาจถือเอาได้ อาจมีราคา หมายถึง คุณค่าในตัวของมันเอง อาจถือเอาได้ หมายถึง อาจเข้าถือเอาหรือเข้าหวงกันไว้เพื่อตนเอง
  • 18. ประเภทของทรัพย์สิน ๑.อสังหาริมทรัพย์ คือ ทรัพย์ที่เคลื่อนที่ไม่ได้ ได้แก่ – ที่ดิน – ทรัพย์ที่ติดกับที่ดินมีลักษณะเป็นการถาวร – ทรัพย์ซึ่งประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดิน – สิทธิทั้งหลายที่เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ ๒.สังหาริมทรัพย์ ทรัพย์สินอื่นนอกจากอสังหาริมทรัพย์และหมายความรวมถึง สิทธิอันเกี่ยวข้องกับทรัพย์สินนั้นด้วย สังหาริมทรัพย์กรณีเป็นทรัพย์เคลื่อนที่ ได้โดยสภาพของตัวทรัพย์เอง เช่น สัตว์ต่างๆ หรือสังหาริมทรัพย์กรณีเป็น ทรัพย์ที่เคลื่อนที่ได้ด้วยกาลังจากภายนอก เช่น โต้ะ เก้าอี้สมุดปากกา ฯลฯ ส่วนกาลังแห่งธรรมชาติที่เป็นสังหาริมทรัพย์จะต้องมีราคาและอาจถือเอาได้ ได้แก่ พลังไอน้า พลังน้าตก แก๊ส ฯลฯ นอกจากนี้สิทธิ บางอย่าง เช่น สิทธิ จานา เช่า สิทธิยึดหน่วง ลิขสิทธิ์ เครื่องหมายการค้า ก็เป็นสังหาริมทรัพย์
  • 19. ๓.ทรัพย์แบ่งได้ หมายถึง ทรัพย์อันอาจแยกออกจากกันเป็นส่วนได้ โดย ไม่เสียรูปทรงหรือเสียสภาพ ทรัพย์แบ่งได้อาจเป็นได้ทั้งอสังหาริมทรัพย์ และสังหาริมทรัพย์ เช่น ผ้า ทราย น้าตาล น้ามัน ข้าวสาร ทราย ที่ดิน เป็นต้น ๔.ทรัพย์แบ่งไม่ได้ หมายถึง ทรัพย์ที่แบ่งไม่ได้โดยสภาพของตัวทรัพย์ และแบ่งไม่ได้โดยอานาจของกฎหมาย เช่น รถยนต์ บ้าน ช้าง ภาระจา ยอม สิทธิจานอง ๕.ทรัพย์นอกพาณิชย์ หมายถึง ทรัพย์ที่ไม่สามารถถือเอาได้ และทรัพย์ที่ ไม่สามารถโอนให้แก่กันได้โดยชอบด้วยกฎหมาย เช่น ดวงจันทร์ สาย ลม น้าทะเล สาธารณสมบัติของแผ่นดิน ที่วัด ธรณีสงฆ์ สิทธิที่ได้รับค่า อุปการะเลี้ยงดู
  • 20. ส่วนประกอบของทรัพย์ ส่วนควบ หมายถึง ส่วนซึ่งโดยสภาพแห่งทรัพย์หรือโดยจารีตประเพณีแห่งท้องถิ่น เป็นสาระสาคัญใน ความเป็นอยู่ของทรัพย์นั้น และไม่อาจแยกจากกันได้นอกจากจะทาลาย ทาให้บุบสลายหรือทาให้ ทรัพย์นั้นเปลี่ยนแปลงรูปทรงหรือสภาพไป เจ้าของทรัพย์ย่อมมีกรรมสิทธิ์ในส่วนควบของทรัพย์นั้น อุปกรณ์ หมายถึง สังหาริมทรัพย์ซึ่งโดยปกติเฉพาะท้องถิ่นหรือโดยเจตนาชัดแจ้งของเจ้าของทรัพย์ที่เป็น ประธานและเจ้าของทรัพย์ได้นามาสู่ทรัพย์ที่เป็นประธาน โดยการนามาติดต่อหรือปรับเข้าไว้หรือทา โดยประการอื่นใด ในฐานะเป็นของใช้ประกอบทรัพย์ที่เป็นประธานนั้น อุปกรณ์ที่แยกออกจากทรัพย์ ประธานเป็นการชั่วคราว ก็ยังไม่ขาดจากเป็นอุปกรณ์ของทรัพย์ที่เป็นประธานนั้น อุปกรณ์ย่อมตกติด ไปกับทรัพย์ที่เป็นประธาน เว้นแต่จะมีการกาหนดไว้เป็นอย่างอื่น ดอกผลของทรัพย์ ได้แก่ ดอกผลธรรมดาและดอกผลนิตินัย ดอกผลธรรมดา หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของทรัพย์ ซึ่งได้มาจากตัวทรัพย์โดยการมีหรือใช้ ทรัพย์นั้นตามปกตินิยม และสามารถถือเอาได้เมื่อขาดจากทรัพย์นั้น เช่น ต้นมะม่วงที่ปลูกแล้วออกผล ถือว่าผลมะม่วง ที่สุก ถือเป็นดอกผลธรรมดาของต้นไม้ หรือสัตว์เลี้ยงออกลูกมาเป็นดอกผลธรรมดา ของสัตว์ ดอกผลนิตินัย หมายถึง ทรัพย์หรือประโยชน์อย่างอื่น ที่ได้มาเป็นครั้งคราวแก่เจ้าของทรัพย์จากผู้อื่น เพื่อการที่ได้ใช้ทรัพย์นั้น และสามารถคานวณและถือเอาได้เป็นรายวันหรือตามระยะเวลาที่กาหนดไว้ เช่นดอกเบี้ยของเงินที่กู้ยืม ค่าเช่าบ้าน ลูกสุนัขที่ได้จากการนาพ่อพันธ์ไปผสมพันธ์แต่ละครั้ง เจ้าของ แม่สุนัข ก็มอบลูกสุนัขให้ครั้งละตัว แม้ว่าลูกสุนัขเป็นดอกผลธรรมดาที่เกิดจากแม่สุนัข แต่กรณีลูกสุนัข ที่มอบให้แก่เจ้าของพ่อพันธ์นี้เป็นดอกผลนิตินัย