SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  18
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับข้อมูล และสารสนเทศ
1. ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ
2. แหล่งข้อมูล
3. การรวบรวมข้อมูล
4. รูปแบบของข้อมูล
5. คุณสมบัติของข้อมูล
6. การทาข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
7. ความสาคัญของข้อมูลและสารสนเทศ
8. ประโยชน์ของข้อมูลและสารสนเทศ
9. การแบ่งสารสนเทศ
1. ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูล (data) คือ ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่างๆ เช่น คน
สัตว์ สิ่งของ สถานที่ ฯลฯ ข้อมูลจึงเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ของสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้น
อย่างต่อเนื่อง มีการรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ข้อมูลอาจเป็น ตัวเลข
ข้อความ หรือรายละเอียดซึ่งอาจอยู่ในรูปแบบอย่างเป็ นระบบต่างๆ เช่น ภาพ เสียง
วีดีโอ ดังนั้น การเก็บข้อมูลจึงเป็นการเก็บรวบรวมเกี่ยวกับข้อเท็จจริงของสิ่งที่เราสนใจ
นั้นเอง ข้อมูลจึงหมายถึง ตัวแทนของข้อเท็จจริง หรือความเป็นไปได้ของสิ่งที่เราสนใจ
อย่างไรก็ดี ข้อมูลที่รวบรวมไว้อาจไม่ให้ รายละเอียดทั้งหมด
1. ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ
สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลที่ได้ผ่านการประมวลผล ผ่าน
การวิเคราะห์ หรือสรุปให้ อยู่ในรูปที่มีความหมายที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ตาม
จุดประสงค์ในการดาเนินกิจกรรมต่างๆ มักจะมี สารสนเทศเข้าไปเกี่ยวข้องด้วย ดังเช่น
การขายสินค้า จะมีสารสนเทศเกี่ยวกับรายละเอียดสินค้า ประวัติลูกค้า รายการขาย
ข้อมูลพนักงานขาย เป็นต้น กิจกรรมเกี่ยวกับ ด้านการเรียนการสอน จะมีสารสนเทศ
เกี่ยวกับประวัติ นักศึกษา คะแนนเฉลี่ย ข้อมูลอาจารย์ โปรแกรมวิชาต่าง ๆ รายวิชาที่เปิด
สอน เป็นต้น ระบบบัญชี จะมีสารสนเทศ เกี่ยวกับบัญชี ต่างๆ เช่น บัญชีแยกประเภท
บัญชีรายรับบัญชีรายจ่าย งบดุล งบกาไร-ขาดทุน สารสนเทศที่ดีต้อง มาจากข้อมูลที่ดี
ตัวอย่างข้อมูลและสารสนเทศ
เลขที่ ชื่อ-สกุล วัน เดือน ปี ที่เกิด
1 นายมานะ รักเรียน 25 ก.พ. 2521
ระเบียนประวัติ การแจกแจง
ปีเกิด จำนวนนักเรียน
2521 210
2522 152
2523 252
2524 201
- -
2. แหล่งข้อมูล
1. จากโทรทัศน์ เรารับข้อมูลจากโทรทัศน์ได้ทั้งภาพ และ เสียง
2. จากวิทยุ วิทยุให้ข่าวเป็นเสียงเพียงอย่างเดียว วิทยุข้อดีที่สามารถรับฟังได้ทุกพื้นที่ ข้อมูลจากวิทยุ เช่น
พยากรณ์อากาศประจาวัน รายการวิทยุเพื่อการศึกษาสรุปข่าวและเหตุการณ์ประจาวัน เป็นต้น
3 จากสื่อสิ่งพิมพ์ หนังสือทุกชนิด แผ่นภาพ แผ่นปลิว เอกสารต่างๆวารสาร หนังสือพิมพ์รวมเรียกว่า สื่อ
สิ่งพิมพ์ให้ข้อมูลทั้งข้อความ และรูปภาพประกอบ ทั้งด้านความรู้ความบันเทิงและใช้อ้างอิงประกอบรายงาน
ต่างๆที่สามารถนามาใช้ได้ตลอดเวลา
4 จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ในปัจจุบันมีการนาเสนอข้อมูลในรูปของกระดาษอิเล็กทรอนิกส์หรือเรียก อีกอย่าง
หนึ่งว่าเว็บเพจ เป็นบริการหนึ่งในอินเทอร์เน็ตคือ ข้อมูลที่นาเสนอมีทั้งข้อความ เสียง ภาพนิ่งและ
ภาพเคลื่อนไหว และการสืบค้นข้อมูล ในอินเทอร์เน็ตจะมีความสะดวกและรวดเร็วรวมทั้งการติดต่อส่ง
ข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังที่หนึ่งได้อย่างรวดเร็ว นอกจากข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตยังมีข้อมูลที่จัดทาอยู่ในรูป
ฐานข้อมูลในซีดีรอม
ข้อมูลที่จะนามาประมวลผลเพื่อเป็นสารสนเทศ เกิดจากแหล่งข้อมูล 2 แหล่ง
คือ
1. แหล่งข้อมูลภายในองค์กร เป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นภายในองค์กร สามารถนาข้อมูลเหล่านั้นมาทา
ให้เป็น สารสนเทศภายในองค์การ ได้ แหล่งข้อมูลนี้จะให้ข้อมูลเท็จจริงต่างๆ ขององค์กร เช่น
ประสิทธิภาพในการทางานของลูกจ้าง ความถูกต้องในการวางแผนที่ผ่านมานโยบายขององค์กร
สภาพคล่องของบริษัท ยอดขาย จุดคุ้มทุน เงินลงทุน โครงสร้างการบริหารงาน ฯลฯ
2. แหล่งข้อมูลภายนอกองค์กร เป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นนอกองค์กร และ นามาทาเป็นสารสนเทศ
เพื่อให้ผู้บริหาร ใช้ตัดสินใจ กาหนดการปฏิบัติงาน แหล่งข้อมูล เห่ลานี้ได้แก่ ตัวลูกค้า บริษัทขายส่ง
สินค้า บริษัทคู่แข่งขั้น วารสารทางธุรกิจ สมาคม หน่วยงานของรัฐ ซึ่งจะให้ข้อมูลเกี่ยวกับ อัตราการ
ขยายตัวของประชากรคู่แข่งทางธุรกิจ โอกาสใหม่ทางธุรกิจ กฎหมาย เทคโนโลยีสมัยใหม่
3. การรวบรวมข้อมูล
การรวบรวมข้อมูลเป็นการนาข้อมูลที่ต้องการจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่เชื่อมถือได้มารวมไว้เพื่อใช้ในการจัดทา เป็นข้อ
อ้างอิงหรือรายงานต่างๆ เราสามารถรวบรวมข้อมูลได้หลายวิธีเช่น
1.สอบถามจากผู้ที่เราต้องการทราบข้อมูลโดยตรง เช่น อยากทราบว่านักศึกษาที่อยู่ชั้น ปวส.1 ห้อง 1 ชื่ออะไร บ้านอยู่ไหน อายุ
เท่าไหร่ ก็ถามจากนักเรียนแต่ละคนได้โดยตรง
2. การจดบันทึก บันทึกเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่สนใจซึ่งเกิดขึ้นในแต่ละวันไว้หรือบันทึกผลการทดลอง ต่างๆ เช่น นักเรียนนักศึกษา
มีการศึกษาเกี่ยวกับต้นไม้ในวิทยาลัยก็จะมีการเลือกต้นไม้และบันทึก ตั้งแต่การปลูก การเจริญเติบโตแต่ละระยะมีการบันทึกการ
เปลี่ยนแปลงว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง
3. การสารวจ เช่นสารวจว่าในโรงเรียนของเรามีห้องอื่นๆ ที่ไม่ใช่ห้องเรียนอยู่กี่ห้องอยู่ที่ไหน และ มีการใช้ประโยชน์อย่างไร เมื่อ
ต้องการใช้งานก็สามารถไปใช้ห้องนั้นได้ทันที
4. การรวบรวมข้อมูลที่มีผู้อื่นรวบรวมไว้แล้ว เช่น สถิติการมาเรียนของนักศึกษา สถิติจานวนประชากร ในแต่ละจังหวัด สถิติการ
ส่งออกสินค้าต่างๆ ข้อมูลเหล่านี้มีการพิมพ์เผยแพร่ไว้ในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนามาใช้ในการอ้างอิงได้ทันที การเก็บรวบรวม
ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ต้องเลือกจากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ เช่นแหล่งข้อมูลนั้นมีตัวตนสามารถอ้างอิงสถานที่ติดต่อได้
แหล่งข้อมูลมีการจดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย ถ้าเป็นหนังสือหรือวารสารที่ใช้อ้างอิงต้องมีรหัสประจาหนังสือ เช่น ISBN
974-7188-14-7
4. คุณสมบัติของข้อมูล
1. ความถูกต้องเที่ยงตรง หมายถึง อัตราส่วนของสารสนเทศ ที่ถูกต้องกับจานวนสารสนเทศทั้งหมดใน
ช่วงเวลาหนึ่ง สารสนเทศที่ดีจะต้องมีความเที่ยงตรง เชื่อถือได้โดยไม่ให้มีความคลาดเคลื่อน หรือมีความ
คลาดเคลื่อนน้อยที่สุดเพราะประสิทธิผลของการตัดสินใจขึ้นอยู่กับความถูกต้องเที่ยงตรงของสารสนเทศ
ยิ่งสารสนเทศมีความถูกต้องมากเท่าใดก็ยิ่งมีคุณค่าต่อผู้ใช้มากเท่านั้น หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูล
แล้วข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้จะทาให้เกดผลเสียอย่างมาก ผู้ใช้จะไม่กล้าอ้างอิงหรือนาเอาไปใช้
ประโยชน์ ซึ่งเป็นเหตุให้การตัดสินใจของผู้บริหารขาดความแม่นยาและอาจมีโอกาสผิดพลาดได้
โครงสร้างข้อมูลที่ออกแบบต้องคานึงถึง กรรมวิธี การดาเนินงานเพื่อให้ได้ความถูกต้องแม่นยามากที่สุด
2. ความรวดเร็ว และ เป็ นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจาเป็นต้องให้ทันต่อความต้องการของผู้ใช้ มี
การตอบสนองต่อผู้ใช้ได้เร็ว ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อเหตุการณ์หรือความต้องการมรการ
ออกแบบระบบการเรียนค้น และรายงานตามความต้องความต้องการของผู้ใช้
4. คุณสมบัติของข้อมูล
3. ความสมบูรณ์ แม้ว่าองค์กรจะมีสารสนเทศที่ถูกต้อง และ ได้มารวดเร็วทันเวลาแล้วก็ตามแต่ถ้า สารสนเทศนั้นไม่
ครบถ้วนสมบูรณ์พอที่จะทาให้การวินิจฉัยได้ สารสนเทศนั้นก็ไม่สามารถใช้เพิ่มประสิทธิภาพ ในการตัดสินใจได้ ความ
สมบูรณ์ของสารสนเทศขึ้นกับการรวบรวมข้อมูลและวิธีการปฏิบัติด้วย ในการดาเนิน การจัดทาสารสนเทศต้องสารวจ และ
สอบถามความต้องการ ใช้ข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความสมบูรณ์ ในระดับหนึ่งที่เหมาะสม
4. ความชัดเจน และกะทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลจานวนมากจะต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลมากจึงจาเป็นต้องออกแบบ
โครงสร้างข้อมูลให้กะทัดรัดสื่อความหมายได้ มีการใช้รหัสหรือย่นย่อข้อมูลให้เหมาะสม เพื่อที่จะจัดเก็บเข้าไว้ในระบบ
คอมพิวเตอร์
5. ความสอดคล้องความต้องการ เป็นเรื่องที่สาคัญ ดังนั้นจึงต้องมีการสารวจเพื่อหาความต้องการของ หน่วยงาน และ
องค์กร ดูสภาพการใช้ข้อมูลความลึก หรือความกว้างของเขตของข้อมูลที่สอดคล้องกับ ความต้องการ
6. ความตรงกับความต้องการของผู้ใช้ สารสนเทศที่สื่อความหมายได้ครบถ้วนสามารถตอบสนอง ความต้องการของ
ผู้ใช้ในที่จะนาไปใช้ ในการออกแบบ พัฒนาระบบสารสนเทศ จะต้องถามผู้ใช้ด้วยว่าต้องการสารสนเทศใดบ้างสาหรับใช้ใน
งานแต่ละงาน เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจในเรื่องต่างๆ
5. ประเภทของข้อมูล
1. ข้อมูลปฐมภูมิ หมายถึง ข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมหรือบันทึกจากแหล่งข้อมูล
โดยตรงซึ่งอาจได้จากสอบถาม การสัมภาษณ์ การสารวจ การจดบันทึก ตลอดจนการ
จัดหามาด้วยเครื่องจักรอัตโนมัติต่างๆ ที่ดาเนินการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานที่ได้มาจากจุด
กาเนิดของข้อมูลนั้นๆ
2. ข้อมูลทุติยภูมิ หมายถึง ข้อมูลที่มีผู้อื่นรวบรวมไว้ให้แล้ว บางครั้งอาจจะมีการ
ประมวลผลเพื่อเป็นสารเทศ ผู้ใช้จึงไม่จาเป็นต้องไปสารวจเอง ดังตัวอย่าง ข้อมูลสถิติ
ต่างๆ ที่หน่วยงานรัฐบาลทาไว้แล้ว เช่น สถิติจานวนปะชากรแต่ละจังหวัด สถิติการส่ง
สินค้าออก สถิติการนาสินค้าเข้าข้อมูลเหล่านี้มีการตีพิมพ์ เผยแพร่ เพื่อให้ใช้งานได้หรือ
นาเอาไปประมวลผลต่อ
6 การทาข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศ
การทาข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าการประมวลผล (Process) หมายถึง การ
แปลงข้อมูลให้เปลี่ยนเป็นสารสนเทศ ซึ่งเป็นการนาข้อมูลมาคานวณ จัดกลุ่มหรือจัดระเบียบเพื่อให้
ได้ข้อมูลที่มีประโยชน์ต่อการใช้งานมากขึ้น หรือเราเรียกว่า สารสนเทศ
ตัวอย่างการประมวลผลแบบง่ายๆ ในชีวิตประจาวัน เช่น ถ้านักเรียนไปซื้อผลไม้ในตลาด
แม่ค้า ร้านหนึ่งบอกว่าเงาะราคากิโลละ 20 บาท ถ้าซื้อเงาะ 3 กิโลกรัม ลดให้ 10 บาท ส่วนอีก
ร้านหนึ่ง ติดราคาไว้ว่าเงาะ ราคา กิโลละ 17 บาท ถ้าให้ซื้อเงาะ 3 กิโลกรัม นักเรียนควรจะซื้อจาก
ร้านไหนตัวอย่างข้างต้น นักเรียนจะเห็นได้ว่า ราคาเงาะ ต่อกิโลกรัมของแม่ค้าทั้งสองเจ้า และ
จานวนเงาะ 3 กิโลกรัมที่ต้องการซื้อเป็น ข้อมูล ที่ได้ เบื้องต้น แต่ข้อมูลเหล่านี้ไม่ได้บอกเลยว่าควร
จะเลือกซื้อเงาะจากเจ้าไหน สิ่งที่ต้องทาคือ นาข้อมูลเหล่านั้นมาประมวลผล เพื่อให้ได้ราคาทั้งหมด
ของเงาะ 3 กิโลกรัม (สารสนเทศ) จากแม่ค้าทั้งสองเจ้า แล้วนามาเปรียบเทียบ
6 การทาข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศ
ข้อมูล การประมวลผล สารสนเทศ
แม่ค้าเจ้าแรก
กิโลกรัมละ 20 บาท
แม่ค้าเจ้าที่สอง
กิโลกรัมละ 17 บาท
(3 กิโลกรัม* 20
บาท)-10
(3 กิโลกรัม* 17บาท)
ราคา 50 บาท
ราคา 51 บาท
ข้อมูล การประมวลผล สารสนเทศ
20 บาท และ 17 บาท 50 บาท < 51 บาท เราควรเลือกซื้อจากแม่ค้าเจ้าแรก
การดาเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ
1) การจัดแบ่งกลุ่มข้อมูล ข้อมูลที่เก็บจะต้องมีการแบ่งแยกกลุ่ม เพื่อเตรียมไว้สาหรับการใช้งาน
การแบ่งแยกกลุ่มมีวิธีการที่ชัดเจน เช่น ข้อมูลในโรงเรียนมีการแบ่งเป็นแฟ้ มประวัตินักเรียน และ แฟ้ ม
ลงทะเบียน สมุด โทรศัพท์หน้าเหลืองมีการแบ่งหมวดสินค้า และ บริการเพื่อความสะดวกในการค้นหา
2) การจัดเรียงข้อมูล เมื่อจัดแบ่งกลุ่มเป็นแฟ้ มแล้ว ควรมีการจัดเรียงข้อมูลตามลาดับ ตัวเลขหรือ
ตัวอักษร เพื่อให้เรียกใช้งานได้ง่ายและประหยัดเวลา ตัวอย่างการจัดเรียงข้อมูล เช่น การจัดเรียงบัตร
ข้อมูลผู้แต่ง หนังสือในตู้บัตรรายการของห้องสมุดตามลาดับตัวอักษร การจัดเรียงชื่อคนในสมุด
รายนามผู้ใช้โทรศัพท์เป็นต้น
3) การสรุปผล บางครั้งข้อมูลที่จัดเก็บมีจานวนมาก จาเป็นต้องมีการสรุปผลหรือสร้าง รายงานย่อ
เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ ข้อมูลที่สรุปได้นี้อาจสื่อความหมายได้ดีกว่า เช่น สถิติจานวนนักเรียนแยกตาม
ชั้นเรียนแต่ละชั้น
การดาเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ
4) การคานวณ ข้อมูลที่เก็บมีจานวนมาก ข้อมูลบางส่วนเป็นข้อมูลตัวเลข ที่สามารถนาไปคานวณเพื่อหาผลลัพธ์บางอย่าง
ได้ ดังนั้นการสร้างสารสนเทศจากข้อมูลจึงอาศัยการคานวณข้อมูลที่เก็บไว้ด้วย
5) การทาสาเนาข้อมูล คือ การคัดลอกข้อมูล อาจจะเป็นการคัดลอกข้อมูลด้วยมือ คัดลอกด้วยกระดาษสาเนาหรือ
คัดลอกโดยใช้เครื่องมืออื่น ๆ เช่น การจัดที่อยู่และเบอร์โทรศัพท์ของตนเองบนกระดาษหลาย ๆ แผ่น เพื่อแจกจ่ายเพื่อน
หลายๆ คน การถ่ายเอกสารด้วยเครื่องถ่ายเอกสาร และ การอัดรูปถ่ายรูปเดียวกันหลาย ๆ ใบเพื่อนแจกเพื่อนๆ การทา
สาเนาข้อมูลเหล่านี้ถ้าใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยก็สามารถทาได้อย่าง รวดเร็ว
6) การสืบค้นข้อมูล เมื่อได้มีการบันทึกข้อมูลอย่างถาวรแล้ว อาจต้องมีการสืบค้นข้อมูลในภายหลังได้ เช่น การสืบค้น
ข้อมูลในห้องสมุด การค้นหาเอกสารในแฟ้ มเก็บเอกสารซึ่งในปัจจุบันข้อมูลที่มีปริมาณมาก ๆ จะ ถูกบันทึกลงเครื่อง
คอมพิวเตอร์เนื่องจากคอมพิวเตอร์สามารถหาข้อมูลได้เร็วกว่าการค้นหาข้อมูลด้วยมือ
7) การปรับปรุงข้อมูล เป็นการแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องทันสมัย ทั้งนี้ข้อมูลของสิ่งต่าง ๆมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอข้อมูลที่ถูก
จัดเก็บไว้ก่อนหน้านี้ในคอมพิวเตอร์จึงต้องมีการปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้อง ตัวสอย่างการปรับปรุงข้อมูล เช่น การปรับปรุง
ยอดเงินในบัญชี ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อเราไปฝากหรือถอนเงินจากบัญชีเงินฝากในธนาคาร
7 ความสาคัญ ข้อมูลและสารสนเทศ
1.ด้านการวางแผน การนาสารสนเทศไปใช้ในการวางแผนเกี่ยวกับจัดองค์กร บริหารงานบุคคล การผลิตสิค้า
การตลาด การวางแผนค่าใช้จ่าย เป็นต้น สารสนเทศที่ใช้ในการวางแผนจะเน้นในเรื่องของอนาคตซึ่งสามารถ
อธิบาย หรือคาดการณ์ถึงสถานการณ์ในอนาคต สามารถตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงที่อาจจะเกิดขึ้น ใน
อนาคตได้
2. ด้านการตัดสินใจ การนาสารสนเทศไปใช้ในการสนับสนุนการตัดสินใจ เพื่อเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด ในการ
แก้ปัญหา สารสนเทศที่ดีจะมีความสาคัญอย่างยิ่งที่จะช่วยสนับสนุนในการตัดสินใจของผู้บริหาร ช่วยให้ผู้บริหาร
สามารถตัดสินใจด้วยความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เช่น การตัดสินใจที่จะรับบุคลากรเพิ่ม การขยายกิจการ
การเพิ่มปริมาณการผลิต การเปิดโรงงานใหม่เป็นต้น
3. ด้านการดาเนินงาน การนาสารสนเทศไปใช้ในการดาเนินงาน ช่วยผู้บริหารในการควบคุม และ ติดตามผล
การดาเนินงานให้เป็นไปตามกฎระเบียบ วัตถุประสงค์และเป้ าหมายขององค์กร สารสนเทศใช้ในการควบคุม และ
ติดตามผล เช่นปริมาณงานที่ทาได้ใน 1 วัน จานวนสินค้าอย่างต่าที่ควรเก็บในสต็อกและจานวนสินค้าที่ผลิตใน
1 วันเป็นต้น
8 ประโยชน์ของข้อมูลและสารสนเทศ
• สามารถสรุปประโยชน์ของข้อมูลและสารสนเทศ ได้ดังนี้
1. ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ
2. ทาให้เกิดความคิด และความเข้าใจมากขึ้น
3. ทาให้เห็นสภาพปัญหา/การเปลี่ยนแปลงว่าขณะนี้มีความก้าวหน้าหรือตกต่าอย่างไร
4. ทาให้ประเมินค่าได้
5. ทาให้เกิดความน่าสนใจ และเกิดการตื่นตัวในเหตุการณ์ต่าง ๆ
6. ทาให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
7. ช่วยในการตัดสินใจ และสามารถคาดการณ์ในอนาคตได้
9 การแบ่งสารสนเทศ
ประเภทการจัดแบ่ง ลักษณะของสารสนเทศที่จัดแบ่ง
1.แบ่งตามแหล่งที่ได้มาของสารสนเทศ 1.1 สารสนเทศจากสภาพแวดล้อมภายนอก
1.2 สารสนเทศจากสภาพแวดล้อมภายใน
2.แบ่งตามวิธีการได้มาของสารสนเทศ 2.1 สารสนเทศแบบเป็นทางการ
2.2 สารสนเทศแบบไม่เป็นทางการ
3.แบ่งตามหน้าที่และกิจกรรมในองค์กร 3.1 สารสนเทศเกี่ยวกับการเงินการบัญชี
3.2 สารสนเทศเกี่ยวกับการขายการตลาด
3.3 สารสนเทศเกี่ยวกับการผลิต
3.4 สารสนเทศเกี่ยวกับสินค้าคงคลัง
3.5 สารสนเทศเกี่ยวกับบุคลากร
3.6 สารสนเทศเกี่ยวกับจัดการวางแผน
4.แบ่งตามกรอบเวลา 4.1 สารสนเทศที่เป็นประวัติศาสตร์(อดีต)
4.2 สารสนเทศเพื่อการวางแผน(อนาคต)
4.3 สารสนเทศเพื่อการควบคุม(ปัจจุบัน)
5.แบ่งตามวิธีการประมวลผลที่ใช้กับเครื่อง
คอมพิวเตอร์
5.1 สารสนเทศที่ได้จากการประมวลผล
แบบกลุ่ม(Batch Processing
System)
5.2 สารสนเทศที่ได้จากการประมวลผล
แบบโต้ตอบ(Interactive)
5.3 สารสนเทศที่ได้จากการประมวลผล
แบบเชื่อมตรง(Online Processing

Contenu connexe

Tendances

สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจFluke Ggo
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลsa
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)
4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)
4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)phatrinn555
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศPraphaphun Kaewmuan
 
บทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูลบทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูลWanphen Wirojcharoenwong
 
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศWanphen Wirojcharoenwong
 
กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2
กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2
กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2BoOm mm
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2Hitsuji12
 
เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ
เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศเรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ
เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศsarawoot7
 

Tendances (17)

สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)
4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)
4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
 
บทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูลบทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูล
 
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2
กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2
กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
 
เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ
เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศเรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ
เรื่อง ข้อมูลสารสนเทศ
 

En vedette

บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการบทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการPrakaywan Tumsangwan
 
ระบบ (System)
ระบบ (System)ระบบ (System)
ระบบ (System)tumetr
 
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารบทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารPrakaywan Tumsangwan
 
Chapter 2 information in the organization
Chapter 2 information in the organizationChapter 2 information in the organization
Chapter 2 information in the organizationPa'rig Prig
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ครู อินดี้
 
Chapter 3 the structure of management information systems
Chapter 3 the structure of management information systemsChapter 3 the structure of management information systems
Chapter 3 the structure of management information systemsPa'rig Prig
 
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)tumetr
 
Chapter 4 strategic information system
Chapter 4 strategic information systemChapter 4 strategic information system
Chapter 4 strategic information systemPa'rig Prig
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศManas Panjai
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7Pa'rig Prig
 
Types o f information systems
Types o f information systemsTypes o f information systems
Types o f information systemsBimbashree K.G
 
Types Of Information Systems
Types Of Information SystemsTypes Of Information Systems
Types Of Information SystemsManuel Ardales
 
Management Information System (MIS)
Management Information System (MIS)Management Information System (MIS)
Management Information System (MIS)Navneet Jingar
 

En vedette (19)

บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการบทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
 
ระบบ (System)
ระบบ (System)ระบบ (System)
ระบบ (System)
 
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารบทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
 
Unit6
Unit6Unit6
Unit6
 
Mi sch1
Mi sch1Mi sch1
Mi sch1
 
Mis 1
Mis 1Mis 1
Mis 1
 
Chapter 2 information in the organization
Chapter 2 information in the organizationChapter 2 information in the organization
Chapter 2 information in the organization
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Mi sch2
Mi sch2Mi sch2
Mi sch2
 
medicaltourism101
medicaltourism101medicaltourism101
medicaltourism101
 
Chapter 3 the structure of management information systems
Chapter 3 the structure of management information systemsChapter 3 the structure of management information systems
Chapter 3 the structure of management information systems
 
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
 
Chapter 4 strategic information system
Chapter 4 strategic information systemChapter 4 strategic information system
Chapter 4 strategic information system
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
Mis
MisMis
Mis
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
 
Types o f information systems
Types o f information systemsTypes o f information systems
Types o f information systems
 
Types Of Information Systems
Types Of Information SystemsTypes Of Information Systems
Types Of Information Systems
 
Management Information System (MIS)
Management Information System (MIS)Management Information System (MIS)
Management Information System (MIS)
 

Similaire à หน่วยที่1

บทที่ 1
บทที่  1บทที่  1
บทที่ 1leoleaun
 
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศKo Kung
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศchushi1991
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจTiger Tanatat
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศTay Chaloeykrai
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศบทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศnawapornsattasan
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศkartoon7
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศnutoon
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศnutoon
 

Similaire à หน่วยที่1 (20)

Mis 1
Mis 1Mis 1
Mis 1
 
บทที่ 1
บทที่  1บทที่  1
บทที่ 1
 
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
 
บทที่ 2 ข้อมูลและสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลและสารสนเทศบทที่ 2 ข้อมูลและสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
 
1
11
1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศบทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ทบทวนความรู้เดิม
ทบทวนความรู้เดิมทบทวนความรู้เดิม
ทบทวนความรู้เดิม
 
1
11
1
 
1
11
1
 

Plus de Prakaywan Tumsangwan

บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจบทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจPrakaywan Tumsangwan
 
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจบทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจPrakaywan Tumsangwan
 
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจบทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจPrakaywan Tumsangwan
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศPrakaywan Tumsangwan
 
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการบทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการPrakaywan Tumsangwan
 

Plus de Prakaywan Tumsangwan (6)

บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจบทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
 
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจบทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
 
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจบทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการบทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
 

หน่วยที่1

  • 2. หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับข้อมูล และสารสนเทศ 1. ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ 2. แหล่งข้อมูล 3. การรวบรวมข้อมูล 4. รูปแบบของข้อมูล 5. คุณสมบัติของข้อมูล 6. การทาข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ 7. ความสาคัญของข้อมูลและสารสนเทศ 8. ประโยชน์ของข้อมูลและสารสนเทศ 9. การแบ่งสารสนเทศ
  • 3. 1. ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ ข้อมูล (data) คือ ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่างๆ เช่น คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ ฯลฯ ข้อมูลจึงเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ของสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้น อย่างต่อเนื่อง มีการรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ข้อมูลอาจเป็น ตัวเลข ข้อความ หรือรายละเอียดซึ่งอาจอยู่ในรูปแบบอย่างเป็ นระบบต่างๆ เช่น ภาพ เสียง วีดีโอ ดังนั้น การเก็บข้อมูลจึงเป็นการเก็บรวบรวมเกี่ยวกับข้อเท็จจริงของสิ่งที่เราสนใจ นั้นเอง ข้อมูลจึงหมายถึง ตัวแทนของข้อเท็จจริง หรือความเป็นไปได้ของสิ่งที่เราสนใจ อย่างไรก็ดี ข้อมูลที่รวบรวมไว้อาจไม่ให้ รายละเอียดทั้งหมด
  • 4. 1. ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลที่ได้ผ่านการประมวลผล ผ่าน การวิเคราะห์ หรือสรุปให้ อยู่ในรูปที่มีความหมายที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ตาม จุดประสงค์ในการดาเนินกิจกรรมต่างๆ มักจะมี สารสนเทศเข้าไปเกี่ยวข้องด้วย ดังเช่น การขายสินค้า จะมีสารสนเทศเกี่ยวกับรายละเอียดสินค้า ประวัติลูกค้า รายการขาย ข้อมูลพนักงานขาย เป็นต้น กิจกรรมเกี่ยวกับ ด้านการเรียนการสอน จะมีสารสนเทศ เกี่ยวกับประวัติ นักศึกษา คะแนนเฉลี่ย ข้อมูลอาจารย์ โปรแกรมวิชาต่าง ๆ รายวิชาที่เปิด สอน เป็นต้น ระบบบัญชี จะมีสารสนเทศ เกี่ยวกับบัญชี ต่างๆ เช่น บัญชีแยกประเภท บัญชีรายรับบัญชีรายจ่าย งบดุล งบกาไร-ขาดทุน สารสนเทศที่ดีต้อง มาจากข้อมูลที่ดี
  • 5. ตัวอย่างข้อมูลและสารสนเทศ เลขที่ ชื่อ-สกุล วัน เดือน ปี ที่เกิด 1 นายมานะ รักเรียน 25 ก.พ. 2521 ระเบียนประวัติ การแจกแจง ปีเกิด จำนวนนักเรียน 2521 210 2522 152 2523 252 2524 201 - -
  • 6. 2. แหล่งข้อมูล 1. จากโทรทัศน์ เรารับข้อมูลจากโทรทัศน์ได้ทั้งภาพ และ เสียง 2. จากวิทยุ วิทยุให้ข่าวเป็นเสียงเพียงอย่างเดียว วิทยุข้อดีที่สามารถรับฟังได้ทุกพื้นที่ ข้อมูลจากวิทยุ เช่น พยากรณ์อากาศประจาวัน รายการวิทยุเพื่อการศึกษาสรุปข่าวและเหตุการณ์ประจาวัน เป็นต้น 3 จากสื่อสิ่งพิมพ์ หนังสือทุกชนิด แผ่นภาพ แผ่นปลิว เอกสารต่างๆวารสาร หนังสือพิมพ์รวมเรียกว่า สื่อ สิ่งพิมพ์ให้ข้อมูลทั้งข้อความ และรูปภาพประกอบ ทั้งด้านความรู้ความบันเทิงและใช้อ้างอิงประกอบรายงาน ต่างๆที่สามารถนามาใช้ได้ตลอดเวลา 4 จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ในปัจจุบันมีการนาเสนอข้อมูลในรูปของกระดาษอิเล็กทรอนิกส์หรือเรียก อีกอย่าง หนึ่งว่าเว็บเพจ เป็นบริการหนึ่งในอินเทอร์เน็ตคือ ข้อมูลที่นาเสนอมีทั้งข้อความ เสียง ภาพนิ่งและ ภาพเคลื่อนไหว และการสืบค้นข้อมูล ในอินเทอร์เน็ตจะมีความสะดวกและรวดเร็วรวมทั้งการติดต่อส่ง ข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังที่หนึ่งได้อย่างรวดเร็ว นอกจากข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตยังมีข้อมูลที่จัดทาอยู่ในรูป ฐานข้อมูลในซีดีรอม
  • 7. ข้อมูลที่จะนามาประมวลผลเพื่อเป็นสารสนเทศ เกิดจากแหล่งข้อมูล 2 แหล่ง คือ 1. แหล่งข้อมูลภายในองค์กร เป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นภายในองค์กร สามารถนาข้อมูลเหล่านั้นมาทา ให้เป็น สารสนเทศภายในองค์การ ได้ แหล่งข้อมูลนี้จะให้ข้อมูลเท็จจริงต่างๆ ขององค์กร เช่น ประสิทธิภาพในการทางานของลูกจ้าง ความถูกต้องในการวางแผนที่ผ่านมานโยบายขององค์กร สภาพคล่องของบริษัท ยอดขาย จุดคุ้มทุน เงินลงทุน โครงสร้างการบริหารงาน ฯลฯ 2. แหล่งข้อมูลภายนอกองค์กร เป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นนอกองค์กร และ นามาทาเป็นสารสนเทศ เพื่อให้ผู้บริหาร ใช้ตัดสินใจ กาหนดการปฏิบัติงาน แหล่งข้อมูล เห่ลานี้ได้แก่ ตัวลูกค้า บริษัทขายส่ง สินค้า บริษัทคู่แข่งขั้น วารสารทางธุรกิจ สมาคม หน่วยงานของรัฐ ซึ่งจะให้ข้อมูลเกี่ยวกับ อัตราการ ขยายตัวของประชากรคู่แข่งทางธุรกิจ โอกาสใหม่ทางธุรกิจ กฎหมาย เทคโนโลยีสมัยใหม่
  • 8. 3. การรวบรวมข้อมูล การรวบรวมข้อมูลเป็นการนาข้อมูลที่ต้องการจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่เชื่อมถือได้มารวมไว้เพื่อใช้ในการจัดทา เป็นข้อ อ้างอิงหรือรายงานต่างๆ เราสามารถรวบรวมข้อมูลได้หลายวิธีเช่น 1.สอบถามจากผู้ที่เราต้องการทราบข้อมูลโดยตรง เช่น อยากทราบว่านักศึกษาที่อยู่ชั้น ปวส.1 ห้อง 1 ชื่ออะไร บ้านอยู่ไหน อายุ เท่าไหร่ ก็ถามจากนักเรียนแต่ละคนได้โดยตรง 2. การจดบันทึก บันทึกเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่สนใจซึ่งเกิดขึ้นในแต่ละวันไว้หรือบันทึกผลการทดลอง ต่างๆ เช่น นักเรียนนักศึกษา มีการศึกษาเกี่ยวกับต้นไม้ในวิทยาลัยก็จะมีการเลือกต้นไม้และบันทึก ตั้งแต่การปลูก การเจริญเติบโตแต่ละระยะมีการบันทึกการ เปลี่ยนแปลงว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง 3. การสารวจ เช่นสารวจว่าในโรงเรียนของเรามีห้องอื่นๆ ที่ไม่ใช่ห้องเรียนอยู่กี่ห้องอยู่ที่ไหน และ มีการใช้ประโยชน์อย่างไร เมื่อ ต้องการใช้งานก็สามารถไปใช้ห้องนั้นได้ทันที 4. การรวบรวมข้อมูลที่มีผู้อื่นรวบรวมไว้แล้ว เช่น สถิติการมาเรียนของนักศึกษา สถิติจานวนประชากร ในแต่ละจังหวัด สถิติการ ส่งออกสินค้าต่างๆ ข้อมูลเหล่านี้มีการพิมพ์เผยแพร่ไว้ในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนามาใช้ในการอ้างอิงได้ทันที การเก็บรวบรวม ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ต้องเลือกจากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ เช่นแหล่งข้อมูลนั้นมีตัวตนสามารถอ้างอิงสถานที่ติดต่อได้ แหล่งข้อมูลมีการจดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย ถ้าเป็นหนังสือหรือวารสารที่ใช้อ้างอิงต้องมีรหัสประจาหนังสือ เช่น ISBN 974-7188-14-7
  • 9. 4. คุณสมบัติของข้อมูล 1. ความถูกต้องเที่ยงตรง หมายถึง อัตราส่วนของสารสนเทศ ที่ถูกต้องกับจานวนสารสนเทศทั้งหมดใน ช่วงเวลาหนึ่ง สารสนเทศที่ดีจะต้องมีความเที่ยงตรง เชื่อถือได้โดยไม่ให้มีความคลาดเคลื่อน หรือมีความ คลาดเคลื่อนน้อยที่สุดเพราะประสิทธิผลของการตัดสินใจขึ้นอยู่กับความถูกต้องเที่ยงตรงของสารสนเทศ ยิ่งสารสนเทศมีความถูกต้องมากเท่าใดก็ยิ่งมีคุณค่าต่อผู้ใช้มากเท่านั้น หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูล แล้วข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้จะทาให้เกดผลเสียอย่างมาก ผู้ใช้จะไม่กล้าอ้างอิงหรือนาเอาไปใช้ ประโยชน์ ซึ่งเป็นเหตุให้การตัดสินใจของผู้บริหารขาดความแม่นยาและอาจมีโอกาสผิดพลาดได้ โครงสร้างข้อมูลที่ออกแบบต้องคานึงถึง กรรมวิธี การดาเนินงานเพื่อให้ได้ความถูกต้องแม่นยามากที่สุด 2. ความรวดเร็ว และ เป็ นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจาเป็นต้องให้ทันต่อความต้องการของผู้ใช้ มี การตอบสนองต่อผู้ใช้ได้เร็ว ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อเหตุการณ์หรือความต้องการมรการ ออกแบบระบบการเรียนค้น และรายงานตามความต้องความต้องการของผู้ใช้
  • 10. 4. คุณสมบัติของข้อมูล 3. ความสมบูรณ์ แม้ว่าองค์กรจะมีสารสนเทศที่ถูกต้อง และ ได้มารวดเร็วทันเวลาแล้วก็ตามแต่ถ้า สารสนเทศนั้นไม่ ครบถ้วนสมบูรณ์พอที่จะทาให้การวินิจฉัยได้ สารสนเทศนั้นก็ไม่สามารถใช้เพิ่มประสิทธิภาพ ในการตัดสินใจได้ ความ สมบูรณ์ของสารสนเทศขึ้นกับการรวบรวมข้อมูลและวิธีการปฏิบัติด้วย ในการดาเนิน การจัดทาสารสนเทศต้องสารวจ และ สอบถามความต้องการ ใช้ข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความสมบูรณ์ ในระดับหนึ่งที่เหมาะสม 4. ความชัดเจน และกะทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลจานวนมากจะต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลมากจึงจาเป็นต้องออกแบบ โครงสร้างข้อมูลให้กะทัดรัดสื่อความหมายได้ มีการใช้รหัสหรือย่นย่อข้อมูลให้เหมาะสม เพื่อที่จะจัดเก็บเข้าไว้ในระบบ คอมพิวเตอร์ 5. ความสอดคล้องความต้องการ เป็นเรื่องที่สาคัญ ดังนั้นจึงต้องมีการสารวจเพื่อหาความต้องการของ หน่วยงาน และ องค์กร ดูสภาพการใช้ข้อมูลความลึก หรือความกว้างของเขตของข้อมูลที่สอดคล้องกับ ความต้องการ 6. ความตรงกับความต้องการของผู้ใช้ สารสนเทศที่สื่อความหมายได้ครบถ้วนสามารถตอบสนอง ความต้องการของ ผู้ใช้ในที่จะนาไปใช้ ในการออกแบบ พัฒนาระบบสารสนเทศ จะต้องถามผู้ใช้ด้วยว่าต้องการสารสนเทศใดบ้างสาหรับใช้ใน งานแต่ละงาน เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจในเรื่องต่างๆ
  • 11. 5. ประเภทของข้อมูล 1. ข้อมูลปฐมภูมิ หมายถึง ข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมหรือบันทึกจากแหล่งข้อมูล โดยตรงซึ่งอาจได้จากสอบถาม การสัมภาษณ์ การสารวจ การจดบันทึก ตลอดจนการ จัดหามาด้วยเครื่องจักรอัตโนมัติต่างๆ ที่ดาเนินการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานที่ได้มาจากจุด กาเนิดของข้อมูลนั้นๆ 2. ข้อมูลทุติยภูมิ หมายถึง ข้อมูลที่มีผู้อื่นรวบรวมไว้ให้แล้ว บางครั้งอาจจะมีการ ประมวลผลเพื่อเป็นสารเทศ ผู้ใช้จึงไม่จาเป็นต้องไปสารวจเอง ดังตัวอย่าง ข้อมูลสถิติ ต่างๆ ที่หน่วยงานรัฐบาลทาไว้แล้ว เช่น สถิติจานวนปะชากรแต่ละจังหวัด สถิติการส่ง สินค้าออก สถิติการนาสินค้าเข้าข้อมูลเหล่านี้มีการตีพิมพ์ เผยแพร่ เพื่อให้ใช้งานได้หรือ นาเอาไปประมวลผลต่อ
  • 12. 6 การทาข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศ การทาข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าการประมวลผล (Process) หมายถึง การ แปลงข้อมูลให้เปลี่ยนเป็นสารสนเทศ ซึ่งเป็นการนาข้อมูลมาคานวณ จัดกลุ่มหรือจัดระเบียบเพื่อให้ ได้ข้อมูลที่มีประโยชน์ต่อการใช้งานมากขึ้น หรือเราเรียกว่า สารสนเทศ ตัวอย่างการประมวลผลแบบง่ายๆ ในชีวิตประจาวัน เช่น ถ้านักเรียนไปซื้อผลไม้ในตลาด แม่ค้า ร้านหนึ่งบอกว่าเงาะราคากิโลละ 20 บาท ถ้าซื้อเงาะ 3 กิโลกรัม ลดให้ 10 บาท ส่วนอีก ร้านหนึ่ง ติดราคาไว้ว่าเงาะ ราคา กิโลละ 17 บาท ถ้าให้ซื้อเงาะ 3 กิโลกรัม นักเรียนควรจะซื้อจาก ร้านไหนตัวอย่างข้างต้น นักเรียนจะเห็นได้ว่า ราคาเงาะ ต่อกิโลกรัมของแม่ค้าทั้งสองเจ้า และ จานวนเงาะ 3 กิโลกรัมที่ต้องการซื้อเป็น ข้อมูล ที่ได้ เบื้องต้น แต่ข้อมูลเหล่านี้ไม่ได้บอกเลยว่าควร จะเลือกซื้อเงาะจากเจ้าไหน สิ่งที่ต้องทาคือ นาข้อมูลเหล่านั้นมาประมวลผล เพื่อให้ได้ราคาทั้งหมด ของเงาะ 3 กิโลกรัม (สารสนเทศ) จากแม่ค้าทั้งสองเจ้า แล้วนามาเปรียบเทียบ
  • 13. 6 การทาข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศ ข้อมูล การประมวลผล สารสนเทศ แม่ค้าเจ้าแรก กิโลกรัมละ 20 บาท แม่ค้าเจ้าที่สอง กิโลกรัมละ 17 บาท (3 กิโลกรัม* 20 บาท)-10 (3 กิโลกรัม* 17บาท) ราคา 50 บาท ราคา 51 บาท ข้อมูล การประมวลผล สารสนเทศ 20 บาท และ 17 บาท 50 บาท < 51 บาท เราควรเลือกซื้อจากแม่ค้าเจ้าแรก
  • 14. การดาเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ 1) การจัดแบ่งกลุ่มข้อมูล ข้อมูลที่เก็บจะต้องมีการแบ่งแยกกลุ่ม เพื่อเตรียมไว้สาหรับการใช้งาน การแบ่งแยกกลุ่มมีวิธีการที่ชัดเจน เช่น ข้อมูลในโรงเรียนมีการแบ่งเป็นแฟ้ มประวัตินักเรียน และ แฟ้ ม ลงทะเบียน สมุด โทรศัพท์หน้าเหลืองมีการแบ่งหมวดสินค้า และ บริการเพื่อความสะดวกในการค้นหา 2) การจัดเรียงข้อมูล เมื่อจัดแบ่งกลุ่มเป็นแฟ้ มแล้ว ควรมีการจัดเรียงข้อมูลตามลาดับ ตัวเลขหรือ ตัวอักษร เพื่อให้เรียกใช้งานได้ง่ายและประหยัดเวลา ตัวอย่างการจัดเรียงข้อมูล เช่น การจัดเรียงบัตร ข้อมูลผู้แต่ง หนังสือในตู้บัตรรายการของห้องสมุดตามลาดับตัวอักษร การจัดเรียงชื่อคนในสมุด รายนามผู้ใช้โทรศัพท์เป็นต้น 3) การสรุปผล บางครั้งข้อมูลที่จัดเก็บมีจานวนมาก จาเป็นต้องมีการสรุปผลหรือสร้าง รายงานย่อ เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ ข้อมูลที่สรุปได้นี้อาจสื่อความหมายได้ดีกว่า เช่น สถิติจานวนนักเรียนแยกตาม ชั้นเรียนแต่ละชั้น
  • 15. การดาเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ 4) การคานวณ ข้อมูลที่เก็บมีจานวนมาก ข้อมูลบางส่วนเป็นข้อมูลตัวเลข ที่สามารถนาไปคานวณเพื่อหาผลลัพธ์บางอย่าง ได้ ดังนั้นการสร้างสารสนเทศจากข้อมูลจึงอาศัยการคานวณข้อมูลที่เก็บไว้ด้วย 5) การทาสาเนาข้อมูล คือ การคัดลอกข้อมูล อาจจะเป็นการคัดลอกข้อมูลด้วยมือ คัดลอกด้วยกระดาษสาเนาหรือ คัดลอกโดยใช้เครื่องมืออื่น ๆ เช่น การจัดที่อยู่และเบอร์โทรศัพท์ของตนเองบนกระดาษหลาย ๆ แผ่น เพื่อแจกจ่ายเพื่อน หลายๆ คน การถ่ายเอกสารด้วยเครื่องถ่ายเอกสาร และ การอัดรูปถ่ายรูปเดียวกันหลาย ๆ ใบเพื่อนแจกเพื่อนๆ การทา สาเนาข้อมูลเหล่านี้ถ้าใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยก็สามารถทาได้อย่าง รวดเร็ว 6) การสืบค้นข้อมูล เมื่อได้มีการบันทึกข้อมูลอย่างถาวรแล้ว อาจต้องมีการสืบค้นข้อมูลในภายหลังได้ เช่น การสืบค้น ข้อมูลในห้องสมุด การค้นหาเอกสารในแฟ้ มเก็บเอกสารซึ่งในปัจจุบันข้อมูลที่มีปริมาณมาก ๆ จะ ถูกบันทึกลงเครื่อง คอมพิวเตอร์เนื่องจากคอมพิวเตอร์สามารถหาข้อมูลได้เร็วกว่าการค้นหาข้อมูลด้วยมือ 7) การปรับปรุงข้อมูล เป็นการแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องทันสมัย ทั้งนี้ข้อมูลของสิ่งต่าง ๆมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอข้อมูลที่ถูก จัดเก็บไว้ก่อนหน้านี้ในคอมพิวเตอร์จึงต้องมีการปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้อง ตัวสอย่างการปรับปรุงข้อมูล เช่น การปรับปรุง ยอดเงินในบัญชี ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อเราไปฝากหรือถอนเงินจากบัญชีเงินฝากในธนาคาร
  • 16. 7 ความสาคัญ ข้อมูลและสารสนเทศ 1.ด้านการวางแผน การนาสารสนเทศไปใช้ในการวางแผนเกี่ยวกับจัดองค์กร บริหารงานบุคคล การผลิตสิค้า การตลาด การวางแผนค่าใช้จ่าย เป็นต้น สารสนเทศที่ใช้ในการวางแผนจะเน้นในเรื่องของอนาคตซึ่งสามารถ อธิบาย หรือคาดการณ์ถึงสถานการณ์ในอนาคต สามารถตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงที่อาจจะเกิดขึ้น ใน อนาคตได้ 2. ด้านการตัดสินใจ การนาสารสนเทศไปใช้ในการสนับสนุนการตัดสินใจ เพื่อเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด ในการ แก้ปัญหา สารสนเทศที่ดีจะมีความสาคัญอย่างยิ่งที่จะช่วยสนับสนุนในการตัดสินใจของผู้บริหาร ช่วยให้ผู้บริหาร สามารถตัดสินใจด้วยความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เช่น การตัดสินใจที่จะรับบุคลากรเพิ่ม การขยายกิจการ การเพิ่มปริมาณการผลิต การเปิดโรงงานใหม่เป็นต้น 3. ด้านการดาเนินงาน การนาสารสนเทศไปใช้ในการดาเนินงาน ช่วยผู้บริหารในการควบคุม และ ติดตามผล การดาเนินงานให้เป็นไปตามกฎระเบียบ วัตถุประสงค์และเป้ าหมายขององค์กร สารสนเทศใช้ในการควบคุม และ ติดตามผล เช่นปริมาณงานที่ทาได้ใน 1 วัน จานวนสินค้าอย่างต่าที่ควรเก็บในสต็อกและจานวนสินค้าที่ผลิตใน 1 วันเป็นต้น
  • 17. 8 ประโยชน์ของข้อมูลและสารสนเทศ • สามารถสรุปประโยชน์ของข้อมูลและสารสนเทศ ได้ดังนี้ 1. ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ 2. ทาให้เกิดความคิด และความเข้าใจมากขึ้น 3. ทาให้เห็นสภาพปัญหา/การเปลี่ยนแปลงว่าขณะนี้มีความก้าวหน้าหรือตกต่าอย่างไร 4. ทาให้ประเมินค่าได้ 5. ทาให้เกิดความน่าสนใจ และเกิดการตื่นตัวในเหตุการณ์ต่าง ๆ 6. ทาให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ 7. ช่วยในการตัดสินใจ และสามารถคาดการณ์ในอนาคตได้
  • 18. 9 การแบ่งสารสนเทศ ประเภทการจัดแบ่ง ลักษณะของสารสนเทศที่จัดแบ่ง 1.แบ่งตามแหล่งที่ได้มาของสารสนเทศ 1.1 สารสนเทศจากสภาพแวดล้อมภายนอก 1.2 สารสนเทศจากสภาพแวดล้อมภายใน 2.แบ่งตามวิธีการได้มาของสารสนเทศ 2.1 สารสนเทศแบบเป็นทางการ 2.2 สารสนเทศแบบไม่เป็นทางการ 3.แบ่งตามหน้าที่และกิจกรรมในองค์กร 3.1 สารสนเทศเกี่ยวกับการเงินการบัญชี 3.2 สารสนเทศเกี่ยวกับการขายการตลาด 3.3 สารสนเทศเกี่ยวกับการผลิต 3.4 สารสนเทศเกี่ยวกับสินค้าคงคลัง 3.5 สารสนเทศเกี่ยวกับบุคลากร 3.6 สารสนเทศเกี่ยวกับจัดการวางแผน 4.แบ่งตามกรอบเวลา 4.1 สารสนเทศที่เป็นประวัติศาสตร์(อดีต) 4.2 สารสนเทศเพื่อการวางแผน(อนาคต) 4.3 สารสนเทศเพื่อการควบคุม(ปัจจุบัน) 5.แบ่งตามวิธีการประมวลผลที่ใช้กับเครื่อง คอมพิวเตอร์ 5.1 สารสนเทศที่ได้จากการประมวลผล แบบกลุ่ม(Batch Processing System) 5.2 สารสนเทศที่ได้จากการประมวลผล แบบโต้ตอบ(Interactive) 5.3 สารสนเทศที่ได้จากการประมวลผล แบบเชื่อมตรง(Online Processing