SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
Download to read offline
เศรษฐศาสตร์ หมายถึง การจัดสรรทรัพยากรทีมีอยู่อย่างจากัด
่
เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ที่ไม่จากัด
การจัดสรรทรัพยากร
ทรัพยากรมีจากัด
(ปัจจัยการผลิต)

+

ความต้องการของมนุษย์
มีไม่จากัด

เกิดความขาดแคลน
ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ

What
How
For whom
เป็นศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับกิจกรรมของมนุษย์ที่เกี่ยวกับ
การผลิตในเขตภูมิภาคต่างๆ ทาให้ผู้ศึกษาสามารถตอบ
คาถามพื้นฐานเกี่ยวกับสิ่งต่อไปนี้ได้คือ
 WHAT

 HOW  FOR WHOM

 WHERE  WHEN  WHY
1. ความมีประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ

2. การจ้างงานเต็มที่
3. ความมีเสถียรภาพของระดับราคาสินค้าและบริการ
4. ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
5. ความเท่าเทียมกันในการกระจายรายได้
เศรษฐศาสตร์จุลภาค

เศรษฐศาสตร์มหภาค

เป็นการศึกษาหน่วยย่อย
ของระบบเศรษฐกิจ

เป็นการศึกษาหน่วยรวม
ของระบบเศรษฐกิจ
 นิติศาสตร์

 รัฐศาสตร์

 บริหารธุรกิจ

 จิตวิทยา

 ประวัติศาสตร์

 ภูมิศาสตร์
 กิจกรรมทางเศรษฐกิจ
 วงจรเศรษฐกิจ
 การวัดระดับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
การผลิต

กิจกรรม
ทางเศรษฐกิจ

คือ การสร้างสินค้าและบริการ

การบริโภค คือ การใช้ประโยชน์จากสินค้าและบริการ
การแลกเปลี่ยน คือ การนาเอาสินค้าอย่างหนึ่งไปแลก
กับอีกอย่างหนึ่ง
การกระจาย คือ การจาหน่ายจ่ายแจกผลผลิตไปยัง
ผู้บริโภคและการแบ่งสรรผลตอบแทน
ไปยังผู้ผลิต
การผลิต
เพื่อ สนองความต้องการของมนุษย์

การสร้างสินค้าและบริการ

ทรัพย์เสรี
Form Utility

เศรษฐทรัพย์
Place Utility

และ เกิดประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ
(อรรถประโยชน์ : Utility)

Time Utility

Possession Utility

Service Utility
สินค้าคงทน
สินค้าผู้บริโภค

เศรษฐทรัพย์

สินค้าทุน
สินค้าบริการ

สินค้ากึ่งคงทน
สินค้าไม่คงทน
ขั้นปฐมภูมิ - เป็นการผลิตวัตถุดิบ
(ลงทุนต่า ลงแรงสูง ผลตอบแทนต่า)

ขั้นตอนการผลิต

ขั้นทุติยภูมิ - เป็นการแปรรูปเป็นสินค้าสาเร็จรูป
(ลงทุนสูง ลงแรงสูง ผลตอบแทนสูง)
ขั้นอุดม - เป็นการผลิตบริการ
(ลงทุนต่า ลงแรงต่า ผลตอบแทนสูง)
ที่ดิน

ปัจจัยการผลิต

แรงงาน

ค่าเช่า
Skilled Labour
Unskilled Labour
Semiskilled Labour

ทุน
ผู้ประกอบการ

ค่าจ้าง
ดอกเบี้ย
กาไร
กลไกราคา
 ความต้องการสินค้าและบริการ ที่ผู้บริโภคมีอานาจซื้อ
ณ ระดับราคาหนึ่ง ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง
ราคา/กก. (บาท)

D

50
40
30
20
10
0

2

4

6

8

10

D

ถ้าราคาสูง
อุปสงค์ต่า
อุปสงค์สูง
ถ้าราคาต่า
(อุปสงค์แปรผกผันกับราคา)
ปริมาณสินค้า/กก.
 ความต้องการขายสินค้าและบริการ ณ ระดับราคาหนึ่ง
ในช่วงเวลาหนึ่ง
ราคา/กก. (บาท)
50
40
30
20
10
S
0 2

S

4

6

8

10

ถ้าราคาสูง
อุปทานสูง
อุปทานต่า
ถ้าราคาต่า
(อุปทานแปรผันตามราคา)
ปริมาณสินค้า/กก.
ราคา/กก. (บาท)
ราคา/
อุปสงค์/ อุปทาน/
D
S
กก.(บาท) กก.
กก.
30
B
A
25
30
10
50
E
20
25
20
40
15
D
C
10 S
20
30
30
D
0 10 20 30 40 50 ปริมาณสินค้า/กก.
15
40
20
10

50

E – จุดดุลยภาพ

AB – อุปสงค์ส่วนขาด อุปทานส่วนเกิน
CD – อุปสงค์ส่วนเกิน อุปทานส่วนขาด
ราคา 20 บาท – ราคาดุลยภาพ
ปริมาณ 30 กก. – ปริมาณดุลยภาพ
10
 แก้ปัญหาด้านผู้ซื้อ  กาหนดราคาสูงสุด


(ราคาต่ากว่าราคาดุลยภาพ)
้
 แก้ปัญหาด้านผู้ผลิต  กาหนดราคาขันต่า


(ราคาสูงกว่าราคาดุลยภาพ)
การใช้ประโยชน์จากสินค้า และบริการ
ปัจจัยกาหนดการบริโภค

การบริโภค
รายได้ (กาลังซื้อ)

รสนิยม (ความพอใจสูงสุด)

ราคาของสินค้า

การออม  รายได้ – รายจ่าย

การออมทาให้เกิดผลดีต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ
เป็นวงจรดังนี้ การออม
รายได้
การลงทุน

การจ้างงาน
กระจายผลผลิต

ผู้บริโภค

กระจายรายได้

ผู้ผลิต

การกระจาย
สภาพทางภูมิศาสตร์

ปัจจัยควบคุม
การกระจาย

โอกาสในทางสังคม
ความสามารถ
ลักษณะของอุปสงค์อุปทาน
Barter System

การแลกเปลี่ยน

Money System
Credit System

Accout Trade
ตลาด
 สถานที่ใดๆ ที่สามารถติดต่อซื้อขายกันได้

ไม่จาเป็นต้องมีสถานทีแน่นอน เช่น ธุรกิจ
่
นายหน้าซื้อขายทีดิน ธุรกิจบ้านเช่า
่
องค์ประกอบของตลาด ผูซื้อ ผู้ขาย สินค้า
้
ตลาดแข่งขันสมบูรณ์

ประเภท
ของตลาด

ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์

ตลาดกึ่งแข่งขัน
กึ่งผูกขาด
ตลาดที่มีผู้ขาย
น้อยราย
ตลาดผูกขาด
วงจรเศรษฐกิจ
ต้นทุนการผลิต
ปัจจัยการผลิต

ตลาดปัจจัยการผลิต

รายได้ของครัวเรือน
ปัจจัยการผลิต

รายได้
ปัจจัยการผลิต

หน่วยธุรกิจ

หน่วยครัวเรือน
สินค้าและบริการ
ค่าใช้จ่าย

สินค้าและบริการ
รายได้ของธุรกิจ

ตลาดผลผลิต

สินค้าและบริการ
ค่าใช้จ่ายของครัวเรือน
รายได้ประชาชาติ : National Income : NI
มูลค่ารวมของสินค้าบริการขั้นสุดท้าย ที่ประชาชาติผลิตขึ้นในระยะเวลา 1 ปี
โดยหักค่าเสื่อมราคาของทรัพยากรและภาษีทางอ้อม

ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น : Gross National Product : GNP
มูลค่ารวมของสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย ที่ประชาชาติผลิตขึ้นในระยะเวลา 1 ปี
ผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น : Gross Domestic Product : GDP

มูลค่ารวมของสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย ทีผลิตขึ้นในประเทศในระยะเวลา 1 ปี
่
GDP ปี 45 = 500,000 ล้านบาท ชาวต่างประเทศในไทยมี
รายได้ 25,000 ล้านบาท คนไทยในต่างประเทศมีรายได้
10,000 ล้านบาท ค่าเสื่อมราคา 5,000 ล้านบาท
ถาม
1. รายได้ประชาชาติ NI
= GDP
500,000 –
ชาวต่างประเทศ
25,000
= 475,000 +
คนไทยในต่างประเทศ
10,000
= 485,000 – (ตัวเลขนี้คือ GNP)
ค่าเสื่อม
5,000
ตอบ = 480,000 (ตัวเลขนี้คือ NI)
2. รายได้ประชาชาติที่แท้จริง โดยมีดัชนีราคา ปี 45 = 120

= รายได้ประชาชาติที่เป็นตัวเงิน  ดัชนีราคาของปีฐาน
ดัชนีราคาปีเดียวกัน
= 480,000  100
120
..index_price.ppt

= 400,000 ล้านบาท
มาตรฐานการครองชีพ - ระดับความกินดีอยู่ดีของมนุษย์ใน
อันที่จะมีเครื่องอุปโภคบริโภคมา
บาบัดความต้องการ

ค่าครองชีพ - ค่าใช้จ่ายในการซื้อหาสินค้าและ
บริการในชีวิตประจาวัน

สินค้าบริการขั้นสุดท้าย - สินค้าบริการที่ซื้อขายแล้วนาไป
บริโภคทันทีไม่นาไปขายต่อ
ระบบเศรษฐกิจ
ลักษณะการดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจของแต่ละสังคม
เพื่อ
บรรลุจดมุงหมายสูงสุดทางเศรษฐกิจ
ุ ่
ระบบเศรษฐกิจ

ทุนนิยมหรือเสรีนยม
ิ
คอมมิวนิสต์
สังคมนิยม
แบบผสม

อยู่ดี กินดี มั่งคั่ง
ผู้รับผิดชอบดาเนินการ

เอกชน
รัฐบาล
รัฐบาล > เอกชน
เอกชน + รัฐบาล
สรุปปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
พอประมาณ
มีเหตุผล

เงื่อนไขความรู้
(รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง)

มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี

เงื่อนไขคุณธรรม
นาสู่

(ซื่อสัตย์สุจริต ขยัน อดทน สติปัญญา แบ่งปัน)

ชีวิต / เศรษฐกิจ / สังคม / สิ่งแวดล้อม
สมดุล / มั่นคง / ยั่งยืน
ทฤษฎีใหม่
การแบ่งที่ดินออกเป็นแปลง ๆ เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
โดยใช้อัตราส่วน ดังนี้ 30 : 30 : 30 : 10
พื้นที่แปลงที่ 1 มีพื้นที่ร้อยละ 30 ใช้เป็นแหล่งน้า เลี้ยงสัตว์ และปลูกพืช
พื้นที่แปลงที่ 2มีพื้นที่ร้อยละ 30 ใช้ปลูกข้าว
พื้นที่แปลงที่ 3 มีพื้นที่ร้อยละ 30 ใช้ปลูกไม้ผล พืชไร่ พืชสวน ผัก
พื้นที่แปลงที่ 4 มีพื้นที่ร้อยละ 10 ใช้เป็นที่อยู่อาศัย เลี้ยงสัตว์ และโรงเรือนอื่นๆ
เงิน (Money) – สิ่งหนึ่งสิ่งใดที่สังคมสมมติขึ้นและยอมรับว่ามี
ค่า
ใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน
สร้างจากโลหะชนิดต่างๆ
ไม่ต้องมีสิ่งค้าประกันเงินตรา

เหรียญกษาปณ์

เงินมี 3 ประเภท

ธนบัตร

ใช้แลกเปลี่ยนเฉพาะภายในประเทศ
ผลิตโดยกองกษาปณ์ กรมธนารักษ์
กระทรวงการคลัง

เป็นเงินกระดาษชาระหนี้ได้ตามกฎหมาย
ผลิตโดยธนาคารกลาง
ต้องมีสิ่งค้าประกันเงินตรา
ใช้แลกเปลี่ยนระหว่างประเทศได้

เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน
เป็นหน่วยในการวัดมูลค่า
เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน
เป็นมาตรฐานในการชาระหนี้ในอนาคต

หน้าที่ของเงิน

เป็นเครื่องรักษามูลค่า

ค่าของเงิน
ค่าภายในประเทศ

ค่าภายนอกประเทศ
เงินเฟ้อ (Inflation)
ปริมาณเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจมากเกินไป
ราคาสินค้าและบริการสูงขึ้น
เศรษฐกิจมีความคล่องตัวมาก
อุปสงค์ในสินค้าและบริการมากกว่าอุปทาน
สาเหตุ
สินค้าขาดตลาด
ต้นทุนในการผลิตสูง
ผู้ได้รับประโยชน์ -ผู้มีรายได้ขึ้นอยู่กับ

ผู้ได้รับผลกระทบ

ความคล่องของเศรษฐกิจ
ผูเสียผลประโยชน์ -ผู้มีรายได้ประจา
้
เงินเฟ้ออ่อนๆ - ราคาสินค้าบริการสูง

ลักษณะของเงินเฟ้อ

การแก้ไข

ไม่เกิน 5%ต่อปี
เงินเฟ้อปานกลาง - ราคาสินค้าบริการจะสูง
ระหว่าง 5-10%ต่อปี
เงินเฟ้ออย่างรุนแรง - ราคาสินค้าบริการ
จะสูงเกิน 20%
- ลดปริมาณเงินลง ดังนี้
ต่อปี

- เพิ่มภาษีทางตรงและทางอ้อม
- รัฐบาลจัดงบประมาณเกินดุล
- ธนาคารกลางลดการปล่อยสินเชื่อ
- ธนาคารกลางเพิ่มอัตราดอกเบี้ยเงินฝากเงินกู้แก่ธนาคารพาณิชย์
- ธนาคารกลางเพิ่มปริมาณการขายพันธบัตรรัฐบาล
ธนาคารกลาง หน้าที่ - ผลิตธนบัตร และออกธนบัตร

- เป็นนายธนาคารของธนาคารพาณิชย์และรัฐบาล
- ควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินตรา
- รักษาทุนสารองระหว่างประเทศ
- กาหนดนโยบายการเงินของประเทศ
- ควบคุมตรวจสอบสถาบันการเงินอื่นๆ
ธนาคารพาณิชย์ หน้าที่ - รับฝากเงิน
- สร้างเงินฝากหรือให้กู้เงิน
- ให้บริการด้านต่างๆ
ธนาคารพิเศษ มีดงนี้ - ธนาคารออมสิน
ั
- ธนาคารอาคารสงเคราะห์
- ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
รายรับ

= รายได้ + เงินกู้ + เงินคงคลัง

ภาษีทางตรง

ภาษีทางอ้อม

ภาษีศุลกากร ภาษีสรรพสามิต ภาษีสรรพากร
งบประมาณแผ่นดิน
รัฐบาล

 จัดทา

รัฐสภา

 อนุมัติ

ปีงบประมาณ1 ตุลาคม ถึง 30 กันยายน ของปีถัดไป
งบประมาณขาดดุล  รายได้ต่ากว่ารายจ่าย
งบประมาณเกินดุล  รายได้สูงกว่ารายจ่าย
งบประมาณได้ดุล  รายได้เท่ากับรายจ่าย
ขั้นตอนการจัดทางบประมาณ
1. รัฐบาล รวบรวมรายจ่ายจากหน่วยราชการต่างๆ
2. รัฐบาลส่งข้อมูลข้อ 1 ให้สานักงบประมาณ,
กระทรวงการคลัง, สภาพัฒน์
3. หน่วยงานในข้อ 2 พิจารณาจัดทาเรียบร้อย ส่งกลับ
ค.ร.ม. พิจารณาตรวจสอบ
4. ค.ร.ม. นาเสนอรัฐสภา เพื่อพิจารณาและลงมติรับรอง
5. สภามีมติรับรอง จะประกาศใช้เป็นกฎหมายเรียก พ.ร.บ.
งบประมาณประจาปี
บัญชีการเงินระหว่างประเทศ แบ่งได้ 3 บัญชี ดังนี้
บัญชีเดินสะพัด เป็นบัญชีแสดงรายรับและรายจ่ายเกี่ยวกับ
สินค้าเข้าและสินค้าออก หรือดุลการค้า รวมทั้งดุลบริการและ
ดุลบริจาค

บัญชีทุนเคลื่อนย้าย เป็นบัญชีที่แสดงเกี่ยวกับการนา
เงินทุนไปลงทุนระหว่างประเทศ

บัญชีทุนสารองระหว่างประเทศ เป็นบัญชีที่แสดงการ
เปลี่ยนแปลงของจานวนเงินสารองระหว่างประเทศในแต่ละปี
รายรับ

ร่ายจ่าย

บัญชี
ล้านบาท สตางค์ ล้านบาท สตางค์

1. บัญชีเดินสะพัด

46,000

-

48,000

-

- การค้าระหว่างประเทศ (ดุลการค้า)

15,000

-

16,000

-

- การบริการระหว่างประเทศ (ดุล
บริการ)

18,000

-

16,500

-

- การบริจาค/การโอนเงินระหว่าง
ประเทศ (ดุลบริจาค)

13,000

-

15,500

-
ลักษณะของดุลการชาระเงินระหว่างประเทศ
แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ คือ
ดุลการชาระเงินเกินดุล คือ รายรับสูงกว่ารายจ่าย
(ทาให้เงินทุนสารองฯ เพิ่มขึ้น)

ดุลการชาระเงินขาดดุล รายรับต่ากว่ารายจ่าย
(ทาให้เงินทุนสารองฯ ลดลง)

ดุลการชาระเงินได้ดุล (สมดุล) คือ รายรับเท่ากับรายจ่าย
(เงินทุนสารองฯ ไม่เปลียนแปลง)
่
การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เป้าหมาย
ขั้นตอนการรวมกลุ่ม

เพื่อกระจายผลประโยชน์ระหว่างสมาชิก
เพื่อมีอานาจต่อรองทางเศรษฐกิจ
เขตการค้าเสรี
สหภาพศุลกากร

ตลาดร่วม
สหภาพเศรษฐกิจ
สหภาพเหนือชาติ
ปัจจัยสาคัญที่มีอิทธิพลต่อการรวมกลุ่มประเทศมีดังนี้
ลักษณะแวดล้อมทางภูมิศาสตร์
HICs – Highly Industrialized Countries
ระบบเศรษฐกิจ
NICs – Newly Industrialized Countries
LICs – Less Industrialized Countries
NAICs – Newly Agro Industrialized Countries

ระบบการเมืองการปกครอง
ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม
การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เป้าหมาย

ขั้นตอนการรวมกลุม
่

เพื่อกระจายผลประโยชน์ระหว่างสมาชิก
เพื่อมีอานาจต่อรองทางเศรษฐกิจ
เขตการค้าเสรี

สหภาพศุลกากร
ตลาดร่วม

สหภาพเศรษฐกิจ
สหภาพเหนือชาติ
การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระดับโลก
ธนาคารโลก
IMF

ให้กู้เงินระยะยาว เพื่อแก้ปญหาโครงสร้างระบบเศรษฐกิจ
ั
ให้คาแนะนาทางวิชาการ

ให้กู้เงินระยะสั้น เพื่อแก้ปัญหาการขาดดุลการชาระเงิน
รักษาเสถียรภาพของอัตราแลกเปลียนเงินตรา
่
ระหว่างประเทศ ให้คาแนะนาทางวิชาการ
(IMFบอกให้ทาอะไรต้องทา)
WTO

เป็นองค์การด้านการค้าระหว่างประเทศทีสาคัญและ
่
ใหญ่ที่สุดของโลก ลาว สมาชิก อันดับ 158
พัฒนาจาก GATT
ส่งเสริมการค้าเสรีระหว่างประเทศ
ให้ความคุมครองทรัพย์สินทางปัญญาแก่ประเทศสมาชิก
้
ขจัดข้อพิพาททางการค้าระหว่างประเทศ
การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค
EU

มีสมาชิก 28 ประเทศ รอคิวมีสมาชิก 35 รัฐ
ใช้นโยบายเศรษฐกิจเดียวกัน ใช้เงินสกุลเดียวกัน คือ EURO
สร้างอานาจต่อรองทางการค้ากับประเทศนอกกลุ่ม
ดาเนินการให้สิทธิ GSP แก่ประเทศกาลังพัฒนาโดยทั่วไป

เป็นองค์การทางเศรษฐกิจที่เข้มแข็งทีสุดในปัจจุบัน
่
อนาคตดาเนินการไปสูสหภาพเหนือชาติยุโรป
่
รอคิวเป็นสมาชิก มาซิโดเนีย ตุรกี แอลเบเนีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวินา มอนเตเนโกร
เซอร์เบีย และ โคโซโว ซึ่งถ้าเข้าได้หมดนี้ ถึงตอนนั้นอียูก็จะมีสมาชิก 35 รัฐ
NAFTA

มีสมาชิก 3 ประเทศ
ได้แก่
สหรัฐอเมริกา แคนาดา และเม็กซิโก

มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจการค้าของไทยในแง่ลบ
ค่อนข้างมาก
G8

สมาชิก

เป้าหมาย

สหรัฐอมริกา แคนาดา
อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน อิตาลี
ญี่ปุ่น
รัสเซีย (สมาชิกสาดับที่ 8)
พยายามผลักดันให้เปิดตลาดการค้าเสรี
แต่มีข้อกาหนดที่มาใช้กีดกันสินค้า
จากประเทศนอกกลุ่มคือ เรื่องสิทธิมนุษยชน
เรื่องสิ่งแวดล้อม
กฎหมายลิขสิทธิ์
ISO
G77

เป็นการรวมตัวกันอย่างหลวม ๆ ของประเทศ
กาลังพัฒนา ปัจจุบันมีสมาชิก 130 ประเทศ
ริเริ่มให้มีการประชุมอังค์แทด
เป็นครั้งแรก เมื่อปี 2507

เรียกร้องให้ประเทศพัฒนาแล้วให้ความร่วมมือ
ช่วยเหลือ พัฒนาเศรษฐกิจของเทศยากจน
United Nations Conference for Trade
and Development (UNCTAD)
ถือเป็นกลุ่มผลประโยชน์
OPEC

วัตถุประสงค์คือ เพื่อเจรจาต่อรองโดยให้สมาชิก
ขายน้ามันได้ในราคาและเงือนไขที่ดี
่

นับเป็นความสาเร็จระดับหนึ่งของประเทศที่เคยด้อย
พัฒนามาก่อนแต่กสามารถสร้างอานาจต่อรองได้สาเร็จ
็
APEC

สร้างอานาจต่อรองกับการกีดกันทางการค้าของกลุ่ม EU
ลดปัญหาและอุปสรรคทางการค้า สนับสนุนการค้าเสรี
ตาม WTO
พัฒนาทรัพยากรมนุษย์และทรัพยากรธรรมชาติ
พัฒนาธุรกิจขนาดเล็กและขนาดกลาง
ถ่ายทอดเทคโนโลยีความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
และวิชาการ
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระดับอนุภูมิภาค
กลุ่ม
สมาชิก
จุดเน้น
ไทย มาเลเซีย
สามเหลี่ยมเศรษฐกิจ
การค้า การลงทุน
อินโดนีเซีย
(IMT – GT)
สี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ ไทย ลาว จีน เมียน การค้า การลงทุน การท่องเทียว
่
มาร์
(QEC)
หกเหลี่ยมเศรษฐกิจ ไทย ลาว เมียนมาร์ จีน การพัฒนาการค้า การคมนาคม
เวียดนาม กัมพูชา
ในอนุภาคลุ่มแม่น้า
การท่องเที่ยว บริเวณลุ่มแม่น้า
โขง
โขง (GMS)
กลุ่ม
สมาชิก
จุดเน้น
ความริเริ่มแห่งอ่าว ไทย บังคลาเทศ อินเดีย การค้า เทคโนโลยีสารสนเทศ
เบงกอลหรือบิมสเท็ค เมียนมาร์ ศรีลังกา
ความร่วมมือทางวิชาการ ความ
เนปาล ภูฏาน
ร่วมมือทางเศรษฐกิจ
(BIMST – EC :
Bay of Bengal (ไทยเป็นเจ้าภาพประชุม
Summit ครั้งที่ 1
Initiative for
Multi – Sectoral 30 – 31 ก.ค. 2004)
Technical
Economic
Cooperation)
กลุ่ม
สมาชิก
ไทย เมียนมาร์ ลาว
ยุทธศาสตร์ความ
กัมพูชา เวียดนาม
ร่วมมือทางเศรษฐกิจ
อิรวดี – เจ้าพระยา – (ถือกาเนิดจากปฏิญญา
พุกาม 2003)
แม่น้าโขง หรือเอ็ค
เม็คส์ (ACMECS : ไทยเป็นเจ้าภาพประชุม
Summit ครั้งที่ 2
Ayeyawady –
1 – 3 พ.ย. 2005
Chao Phray –
Mekong Economic
Cooperation
Strategy)

จุดเน้น
ความสามารถในการแข่งขันการ
เคลื่อนย้ายภาคอุตสาหกรรม
การเกษตร และการผลิตไปยัง
บริเวณที่มีความได้เปรียบ สร้าง
โอกาสการจ้างงาน สร้างสันติภาพ
เสถียรภาพ ความมั่นคงร่วมกัน
อย่างยั่งยืน
กลุ่ม
ความร่วมมือลุมแม่น้า
่
โขง – คงคา
(MGC :
Mekong – Ganga
Cooperation )

สมาชิก
ไทย เมียนมาร์ ลาว
กัมพูชา อินเดีย

จุดเน้น
ท่องเที่ยว วัฒนธรรม การศึกษา
การคมนาคมขนส่ง
Basic Economics For High School.

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นPaew Tongpanya
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันPaew Tongpanya
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นพจีกานต์ หว่านพืช
 
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKruemas Kerdpocha
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจPannatut Pakphichai
 

What's hot (10)

เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
 
002
002002
002
 
บริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศ
บริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศบริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศ
บริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศ
 
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
 

Viewers also liked

Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่thnaporn999
 
วิวัฒนาการทางเศรษฐกิจของโลก
วิวัฒนาการทางเศรษฐกิจของโลกวิวัฒนาการทางเศรษฐกิจของโลก
วิวัฒนาการทางเศรษฐกิจของโลกwathanasin38
 
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศสังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศChainarong Maharak
 
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศpptหน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศpptapple_clubx
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกKwandjit Boonmak
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 

Viewers also liked (7)

วิจัย การรวมกลุ่ม
วิจัย การรวมกลุ่มวิจัย การรวมกลุ่ม
วิจัย การรวมกลุ่ม
 
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
 
วิวัฒนาการทางเศรษฐกิจของโลก
วิวัฒนาการทางเศรษฐกิจของโลกวิวัฒนาการทางเศรษฐกิจของโลก
วิวัฒนาการทางเศรษฐกิจของโลก
 
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศสังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
 
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศpptหน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 

Similar to Basic Economics For High School.

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงENooilada
 
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงfreelance
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาjuriporn chuchanakij
 
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนfreelance
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptpronprom11
 
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์krunimsocial
 
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1Parich Suriya
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์thnaporn999
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงSuriyakan Yunin
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงKanyakon
 
Economics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's ProblemsEconomics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's ProblemsSarinee Achavanuntakul
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงbanlangkhao
 

Similar to Basic Economics For High School. (20)

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
 
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
 
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1
 
Thai economic
Thai economicThai economic
Thai economic
 
Thai economic
Thai economicThai economic
Thai economic
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Economics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's ProblemsEconomics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's Problems
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
Humane Capitalism
Humane CapitalismHumane Capitalism
Humane Capitalism
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
พอเพียง
พอเพียงพอเพียง
พอเพียง
 

Basic Economics For High School.