SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  31
บทที่ 2



รู ปแบบของการประกอบธุรกิจ
รู ปแบบของการประกอบธุรกิจ

           รู ปแบบของการประกอบธุรกิจมีหลายประเภท ซึ่งแต่ ละ
ประเภทมีลักษณะที่แตกต่ างกัน การเลือกประกอบธุรกิจประเภท
ใดนั้นย่ อมขึนอยู่กบความต้ องการ ความสนใจ และความเหมาะสม
               ้   ั
ทีจะประกอบธุรกิจนั้น ๆ ธนชัย ยมจินดา (2543, หน้ า 66) ได้ แบ่ ง
   ่
รู ปแบบของการประกอบธุรกิจออกเป็ น 3 ประเภท คือ
     1. การประกอบการแบบเจ้ าของคนเดียวหรือร้ านค้ าเอกชน
     2. การประกอบการแบบห้ างหุ้นส่ วน
     3. การประกอบการแบบบริษัทจากัด
ปัจจัยในการเลือกรู ปแบบของการประกอบธุรกิจ
1. ความยากง่ ายของการก่ อตั้ง
2. ขอบเขตของความรับผิดในหนี้
3. ความคล่ องตัวของการปฏิบติการ
                              ั
4. ความยากง่ ายของการจัดหาเงินทุน
5. สิ ทธิในการควบคุมการดาเนินงานของธุรกิจ
6. การรักษาความลับ
7. ความมีอสระจากการควบคุมโดยรัฐ
             ิ
8. ปัจจัยด้ านกฎหมาย
9. ความมั่นคงและความต่ อเนื่องของการดาเนินงาน
10. ปัจจัยด้ านภาษี สาหรับการเสี ยภาษี
การประกอบการแบบเจ้ าของคนเดียวหรือร้ านค้ าเอกชน
      (SOLE OR SINGLE PROPRIETORSHIP)

         คือ ธุ รกิจที่บุคคลคนเดียวเป็ นเจ้ าของ และมีสิทธิ ขาดแต่ เพียงผู้
เดียวในการจัดการกิจการทั้งหมด เจ้ าของกิจการเป็ นผู้รับความเสี่ ยงจาก
การขาดทุนหรื อผลประโยชน์ จากกาไรแต่ เพียงผู้เดียว ลักษณะพิเศษของ
การประกอบการแบบเจ้ าของคนเดียว คือ เจ้ าของจะเป็ นผู้จัดการและเป็ นผู้
ตัดสิ นใจเกี่ยวกับการดาเนินการต่ าง ๆ ของธุรกิจทั้งหมด ดังนั้นจะเห็นได้
ว่ า ความส าเร็ จ ของการด าเนิ น ธุ ร กิ จ แบบเจ้ า ของคนเดี ย วจะขึ้น อยู่ กั บ
ความสามารถด้ านการจัดการหรือการบริหารของผู้เป็ นเจ้ าของเป็ นสาคัญ
การจัดตั้งกิจการเจ้ าของคนเดียว เจ้ าของกิจการต้ องไปยื่น
ขอจดทะเบียนพาณิชย์ ภายใน 30 วัน นั บแต่ วันที่ได้ เริ่ มประกอบ
กิจการ เจ้ าของกิจการใดฝ่ าฝื นต้ องระวางโทษปรับไม่ เกิน 2,000 บาท
และปรับต่ อเนื่องอีกวันละไม่ เกิน 100 บาท จนกว่ าจะได้ จดทะเบียน
(พิมล จงวรนนท์ ,2548, หน้ า 29) การประกอบกิจการแบบเจ้ าของ
คนเดียว กฎหมายไม่ มีกาหนดในเรื่ องของการจดทะเบียนเป็ นนิติ
บุ ค คล แต่ ต้ องดู ว่ ากิ จ การนั้ นต้ องจดทะเบี ย นพาณิ ช ย์ ตาม
พระราชบัญญัตทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ. 2499 หรือไม่
                ิ
สาหรับกิจการทีไม่ ต้องจดทะเบียนพาณิชย์ ได้ แก่ (ประภาศรี อึงกุล
                                ่                                   ่
   ,2542, หน้ า 59)
         1. การค้ าเร่ และการค้ าแผงลอย
         2. พาณิชย์ กจเพือการบารุงศาสนาหรือเพือการกุศล
                           ิ ่                   ่
         3. พาณิชย์ กจของนิตบุคคลซึ่งได้ มีพระราชบัญญัตหรือพระราช
                            ิ     ิ                      ิ
กฤษฎีกาจัดตั้งขึน้
         4. พาณิชย์ กจของกระทรวง ทบวง กรม
                       ิ
         5. พาณิชย์ กจของมูลนิธิ สมาคม และสหกรณ์
                              ิ
         6. พาณิชย์ กจซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ได้ ประกาศในราช
                         ิ
กิจจานุเบกษาให้ ได้ รับยกเว้ นไม่ ต้องจดทะเบียนพาณิชย์
การจดทะเบียนพาณิชย์

          การจดทะเบียนพาณิชย์ จะเป็ นไปตามพระราชบัญญัตทะเบียนพาณิชย์
                                                        ิ
พ.ศ. 2499 “ผู้ประกอบพาณิชกิจ” หมายถึง บุคคลธรรมดาหรือนิตบุคคลซึ่ง
                                                            ิ
ประกอบพาณิชยกิจเป็ นอาชีพปกติ และหมายความถึงผู้เป็ นหุ้นส่ วนทีไม่ จากัด
                                                               ่
ความรับผิด กรรมการ หรือผู้จัดการด้ วย ฉะนั้นผู้ประกอบพาณิชยกิจจึงได้ แก่
(ประภาศรี อึงกุล,2542, หน้ า 56-57)
              ่
  1. บุคคลธรรมดาคนเดียว
  2. ห้ างหุ้นส่ วนสามัญทีมิได้ จดทะเบียนเป็ นนิตบุคคล
                          ่                      ิ
  3. ห้ างหุ้นส่ วนสามัญนิตบุคคลและห้ างหุ้นส่ วนจากัด
                            ิ
4. บริษทจากัด หมายถึง บริษทจากัดซึ่งเป็ นนิตบุคคลจด
                ั                    ั              ิ
ทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มกรรมการเป็ นผู้ดาเนิน
                                            ี
กิจการของบริษัท
        5. ห้ างหุ้นส่ วนและบริษทจากัด
                                ั
รายการจดทะเบียนพาณิชย์

1. ชื่อ อายุ เชื้อชาติ และตาบลทีอยู่ของผู้ประกอบพาณิชยกิจ
                                ่
2. ชื่อทีใช้ ในการประกอบพาณิชยกิจ
          ่
3. ชนิดแห่ งพาณิชยกิจ
4. จานวนเงินซึ่งนามาใช้ ในการประกอบพาณิชยกิจเป็ นประจา
5. ทีต้งสานักงานใหญ่ สาขา โรงเก็บสิ นค้ า และตัวแทนค้ าต่ าง
      ่ ั
6. วันทีเ่ ริ่มประกอบพาณิชยกิจในประเทศไทย
7. วันขอจดทะเบียนพาณิชยกิจในประเทศไทย
8. ชื่อทีใช้ ในการประกอบพาณิชยกิจ ชื่อสั ญชาติ และตาบลทีอยู่ของผู้โอนพาณิชย
            ่                                             ่
   กิจ หระบุวนที่ และเหตุทรับโอน
                 ั          ี่
ข้ อดีของการประกอบการแบบเจ้ าของคนเดียว
1. ก่ อตั้งได้ ง่ายและมีต้นทุนตา
                               ่
2. รักษาความลับได้
3. การตัดสิ นใจและการควบคุมธุรกิจ
4. การเลิกกิจการ
5. กาไรทั้งหมดเป็ นของเจ้ าของกิจการ
6. กฎระเบียบของราชการ
7. ภาษี
ข้ อเสี ยของการประกอบการแบบเจ้ าของคนเดียว
                             1. ความรับผิดชอบในหนีอย่ างไม่ จากัด
                                                    ้
                             2. การมีข้อจากัดในการจัดหาเงินทุน
                             3. ขาดความต่ อเนื่องในการดาเนินธุรกิจ
                             4. การบริหารงานขาดประสิ ทธิภาพ

           เนื่องจากเจ้ าของกิจการเพียงคนเดียวไม่ สามารถดาเนินธุรกิจ
โดยมีทกษะต่ าง ๆครบทุกด้ าน ทาให้ ผลการดาเนินงานไม่ มประสิ ทธิภาพ
         ั                                               ี
เท่ าทีควร
       ่
การประกอบการแบบห้ างหุ้นส่ วน (PARTNERSHIP)
ประเภทของห้ างหุ้นส่ วน

การประกอบกิจการในรู ปแบบห้ างหุ้นส่ วน แบ่ งออกเป็ น 2 ประเภทคือ
1. ห้ างหุ้นส่ วนสามัญ (General)
2. ห้ างหุ้นส่ วนจากัด (Limited Partnership)
1. ห้ างหุ้นส่ วนสามัญ (GENERAL)

         ประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ ม าตรา 1025 บั ญ ญั ติ ว่ า “ห้ า ง
หุ้นส่ วนสามัญ” คือ ห้ างหุ้นส่ วนประเภท ซึ่ งผู้เป็ นหุ้นส่ วนทั้งหมดทุกคนต้ อง
รับผิดชอบร่ วมกัน เพือหนีสินทั้งปวงของหุ้นส่ วนโดยไม่ จากัดจานวน
                     ่ ้
         ตามกฎหมายระบุว่าห้ างหุ้นส่ วนสามัญนั้นจดทะเบียนหรือไม่ กได้ หาก ็
จดทะเบียนจะทาให้ มีฐานะเป็ นนิตบุคคล เรียกว่ า ห้ างหุ้นส่ วนสามัญนิตบุคคล
                                  ิ                                     ิ
2. ห้ างหุ้นส่ วนจากัด (LIMITED PARTNERSHIP)



            ห้ างหุ้ นส่ วนจากัด หมายถึง ห้ างหุ้ นส่ วนประเภทหนี่ง ซึ่ งมีผู้
เป็ นหุ้ น ส่ วนอยู่ 2 จ าพวก คื อ จ าพวกจ ากั ด ความรั บ ผิ ด เพีย งไม่ เ กิ น
จานวนเงินทีตนรับจะลงหุ้นในห้ างหุ้นส่ วนนั้น และจาพวกรับผิดร่ วมกัน
                ่
ในบรรดาหนี้สินของห้ างหุ้นส่ วนโดยไม่ มีจากัดจานวน (ชรั ตน์ รุ่ งเรื อง
ศิลป์ และพรนภา กุลทวีสุข, 2541, หน้ า 1-1)
การจัดตั้งห้ างหุ้นส่ วน


      ในการจดทะเบียนห้ างหุ้นส่ วนสามัญนิติบุคคล และห้ างหุ้นส่ วนจากัดนั้น
ต้ องไปยืนขอจดทะเบียน ณ สานักงานทะเบียนหุ้นส่ วนบริ ษัท โดยหากหุ้นส่ วน
          ่
ส านั ก งานใหญ่ ต้ั ง อยู่ ใ นเขตกรุ ง เทพมหานคร ต้ อ งไปยื่ น ขอจดทะเบี ย นที่
ส านั ก งานทะเบี ย นหุ้ น ส่ วนบริ ษั ท กรมทะเบี ย นการค้ า กระทรวงพาณิ ช ย์
สาหรับต่ างจังหวัด จะตั้งอยู่ทสานักงานพาณิชย์ จังหวัดของแต่ ละจังหวัด
                                 ี่
รายการจดทะเบียนจัดตั้งห้ างหุ้นส่ วน
1. ชื่อห้ างหุ้นส่ วน
2. วัตถุประสงค์ ในการประกอบกิจการ
3. ทีต้งสานักงานแห่ งใหญ่ และสานักงานสาขาทั้งปวง
      ่ ั
4. ชื่อ ยีห้อ สานัก และอาชีวะของผู้เป็ นหุ้นส่ วนทุกคน รวมทั้งจานวนเงิน ซึ่ง
           ่
   แต่ ละคนลงทุนเข้ าหุ้น
5. ชื่อหุ้นส่ วนผู้จัดการ
6. ข้ อจากัดอานาจหุ้นส่ วนผู้จัดการ (ถ้ ามี)
7. รายการอย่ างอืนทีสมควรจะให้ ประชาชนทราบ
                     ่ ่
8. ดวงตราของห้ างหุ้นส่ วน
ข้ อเสี ยของการประกอบการแบบห้ างหุ้นส่ วน
การประกอบการแบบบริษัทจากัด (COMPANY)


          บริ ษัท คือ องค์ การธุ รกิจที่ต้ังขึ้นด้ วยการแบ่ งทุนออกเป็ นหุ้ น
แต่ ละหุ้นมีมูลค่ าเท่ า ๆ กัน ผู้ถือหุ้ นต่ างรั บผิดจากัดเพียงไม่ เกินจานวน
เงินที่ตนยังส่ งใช้ ไม่ ครบมูลค่ าของหุ้นตนถือ การดาเนินธุรกิจในรู ปแบบ
ของบริษัทจากัด แบ่ งออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
   1. บริษัทเอกชนจากัด
   2. บริษัทมหาชนจากัด
1. บริษัทเอกชนจากัด (COMPANY LIMITED)

               ตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ ม าตรา 1096 ให้
  ความหมายว่ า “บริ ษัทจากัด คือ บริ ษัทประเภทซึ่ งจัดตั้งด้ วยการแบ่ ง
  ทุนเป็ นหุ้นมีมูลค่ าเท่ า ๆ กัน โดยมีผู้ถือหุ้นไม่ ถึงหนึ่งร้ อยคนรวมทั้งนิติ
  บุคคล (ถ้ ามี) ผู้ถือหุ้นดังกล่ าวต่ างรับผิดเพียงไม่ เกินจานวนเงินที่ตนยัง
  ส่ งใช้ ไม่ ครบมูลค่ าของหุ้นทีตนถือ”
                                  ่
การจัดตั้งบริษัทจากัด
5. กรรมการบริ ษัทต้ องเรี ยกผู้ เข้ าชื่ อซื้อหุ้ นทุกคน ชาระราคาค่ าหุ้ น
อย่ างน้ อยร้ อยละ 25 ของราคาหุ้น
           6. เมื่อชาระค่ าหุ้นแล้ ว กรรมการของบริ ษัทต้ องไปยื่นขอจดทะเบียน
ตั้งบริษัทจากัดต่ อนายทะเบียนหุ้นส่ วนบริษัทภายในกาหนดเวลา 3 เดือน นับแต่
วันประชุ มตั้งบริษัท เมื่อนายทะเบียนรับจดทะเบียนแล้ ว บริษัทก็จะมีสภาพเป็ น
นิตบุคคล
    ิ
           7. หนังสื อบริคณห์ สนธิ คือ หนังสื อที่ผู้เริ่มก่ อการแสดงความประสงค์
ในการจัดตั้งบริษัทจากัด
2. บริษัทมหาชนจากัด (PUBLIC COMPANY LIMITED)

          บริ ษั ท มหาชนจ ากั ด ตาม
พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ม ห า ช น จ า กั ด
พ . ศ . 2 5 3 5 ม า ต ร า 7 5 ไ ด้ ใ ห้
ความหมายว่ า บริ ษัท มหาชนจ ากัด
คื อ บริ ษั ท ประเภทซึ่ ง ตั้ ง ขึ้ น ด้ วย
ความประสงค์ ที่จะเสนอขายหุ้ นต่ อ
ประชาชน โดนผู้ถอหุ้นมีความรับผิด
                        ื
จากัดไม่ เกนจานวนเงินค่ าหุ้ นที่ต้อง
ชาระ และบริษทดังกล่ าวได้ ระบุความ
                  ั
ป ร ะ ส ง ค์ เ ช่ น นั้ น ไ ว้ ใ น ห นั ง สื อ
บริคณห์ สนธิ
การจัดตั้งบริษัทมหาชนจากัด
         1. จัดทาหนังสื อบริคณห์ สนธิแล้ วนาไปขอจดทะเบียนตาม
พระราชบัญญัตมหาชนจากัด พ.ศ.2531 โดยผู้ก่อตั้งตั้งแต่ 15 คนขึนไป
                ิ                                                 ้
         2. จัดทาหนังสื อชี้ชวนและนาไปขอจดทะเบียนกับนายทะเบียนกับ
กรมทะเบียนการค้ าแล้ วจึงจะเสนอขายหุ้น
         3. ทาการโฆษณาชี้ชวนให้ ประชาชนซื้อหุ้นหรือหุ้นกู้ (ถ้ ามี)
หลังจากทีจดทะเบียนกับนายทะเบียน
          ่
         4. ประชุ มจัดตั้งบริษท เมื่อมีผู้ถอหุ้นครบ 100 คน และเป็ นหุ้นที่
                               ั           ื
ชาระด้ วยตัวเงินไม่ น้อยกว่า 5 ล้ านบาท
            ๋
5. เรียกผู้เข้ าชื่อจองหุ้นชาระเงินค่ าหุ้น
          6. จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท ต้ องดาเนินการให้ เสร็จภายใน 3 เดือน
นับแต่ วนประชุ มจัดตั้งบริษท และได้ ชาระเงินค่ าหุ้นครบตามจานวน 100
        ั                       ั
คนแล้ ว
ข้ อดีของการประกอบการแบบบริษัทจากัด
ข้ อเสี ยของการประกอบการแบบบริษัทจากัด
สรุป

           รู ปแบบของการประกอบธุรกิจโดยทั่วไปแบ่ งออกเป็ น 3 ประเภทคือ (1)
การประกอบการแบบเจ้ าของคนเดียวหรื อร้ านค้ าเอกชน (2) การประกอบการ
แบบห้ างหุ้นส่ วน และ (3) การประกอบการแบบบริษัทจากัด ซึ่งในการพิจารณา
ว่ าจะเลือกประกอบธุ รกิจแบบใดจึงจะเหมาะสมจะต้ องพิจารณาถึงปั จจัยต่ าง ๆ
เช่ น ความยากง่ ายของการจัดหาเงินทุน การรักษาความลับ ความมั่นคงและความ
ต่ อเนื่องของการดาเนินงาน ตลอดจนปัจจัยด้ านภาษีและกฎหมาย
จบการนาเสนอ

Contenu connexe

Tendances

รูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจรูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจNetsai Tnz
 
Edvoc0447wp ch2
Edvoc0447wp ch2Edvoc0447wp ch2
Edvoc0447wp ch2pairart
 
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)Pa'rig Prig
 
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินCh5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินple2516
 
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคารCh1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคารple2516
 
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับCh2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับple2516
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1praphol
 
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าKu'kab Ratthakiat
 
ชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนthnaporn999
 

Tendances (14)

รูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจรูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
 
Edvoc0447wp ch2
Edvoc0447wp ch2Edvoc0447wp ch2
Edvoc0447wp ch2
 
งานธุรกิจ
งานธุรกิจงานธุรกิจ
งานธุรกิจ
 
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
 
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินCh5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สิน
 
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคารCh1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
ร่วมค้า หน่วยที่-2
ร่วมค้า หน่วยที่-2ร่วมค้า หน่วยที่-2
ร่วมค้า หน่วยที่-2
 
Partnership
PartnershipPartnership
Partnership
 
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับCh2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
 
ชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วน
 

Similaire à บทที่2

หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2thnaporn999
 
หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2thnaporn999
 
ใบกิจกรรมกลุ่ม ระดับ ม พร้อมเฉลย
ใบกิจกรรมกลุ่ม  ระดับ  ม พร้อมเฉลยใบกิจกรรมกลุ่ม  ระดับ  ม พร้อมเฉลย
ใบกิจกรรมกลุ่ม ระดับ ม พร้อมเฉลยthnaporn999
 
บริษัท
บริษัทบริษัท
บริษัทthnaporn999
 
1แผนธุรกิจ 1
1แผนธุรกิจ 11แผนธุรกิจ 1
1แผนธุรกิจ 1tonmai
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯบทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯThamonwan Theerabunchorn
 
5บริษัทมหาชนจำกัด
5บริษัทมหาชนจำกัด5บริษัทมหาชนจำกัด
5บริษัทมหาชนจำกัดNurat Puankhamma
 
การประกอบการ
การประกอบการการประกอบการ
การประกอบการPa'rig Prig
 
บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfdrchanidap
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการDrDanai Thienphut
 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...Earn LikeStock
 
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVexเสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVexPeerasak C.
 
การประกอบการ
การประกอบการการประกอบการ
การประกอบการPa'rig Prig
 

Similaire à บทที่2 (20)

หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2
 
หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2
 
ใบกิจกรรมกลุ่ม ระดับ ม พร้อมเฉลย
ใบกิจกรรมกลุ่ม  ระดับ  ม พร้อมเฉลยใบกิจกรรมกลุ่ม  ระดับ  ม พร้อมเฉลย
ใบกิจกรรมกลุ่ม ระดับ ม พร้อมเฉลย
 
บริษัท
บริษัทบริษัท
บริษัท
 
1แผนธุรกิจ 1
1แผนธุรกิจ 11แผนธุรกิจ 1
1แผนธุรกิจ 1
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯบทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
 
Chapter 5_Managing Tour Operators
Chapter 5_Managing Tour OperatorsChapter 5_Managing Tour Operators
Chapter 5_Managing Tour Operators
 
5บริษัทมหาชนจำกัด
5บริษัทมหาชนจำกัด5บริษัทมหาชนจำกัด
5บริษัทมหาชนจำกัด
 
การประกอบการ
การประกอบการการประกอบการ
การประกอบการ
 
งานนำเสนอจัดตั้งบริษัท
งานนำเสนอจัดตั้งบริษัทงานนำเสนอจัดตั้งบริษัท
งานนำเสนอจัดตั้งบริษัท
 
บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการ
 
Testing
TestingTesting
Testing
 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
 
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVexเสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
 
การประกอบการ
การประกอบการการประกอบการ
การประกอบการ
 
Bus lesson1
Bus lesson1Bus lesson1
Bus lesson1
 
08chap06
08chap0608chap06
08chap06
 
08chap06 (2)
08chap06 (2)08chap06 (2)
08chap06 (2)
 

Plus de praphol

สถานการณ์การท่องเที่ยว ปี 2560
สถานการณ์การท่องเที่ยว ปี 2560สถานการณ์การท่องเที่ยว ปี 2560
สถานการณ์การท่องเที่ยว ปี 2560praphol
 
เอลวิสสุกี้ ยศเส
เอลวิสสุกี้ ยศเสเอลวิสสุกี้ ยศเส
เอลวิสสุกี้ ยศเสpraphol
 
ร้านก๋วยเตี๋ยวรุ่งเรือง
ร้านก๋วยเตี๋ยวรุ่งเรืองร้านก๋วยเตี๋ยวรุ่งเรือง
ร้านก๋วยเตี๋ยวรุ่งเรืองpraphol
 
ปาท่องโก๋เสวย เยาวราช
ปาท่องโก๋เสวย เยาวราชปาท่องโก๋เสวย เยาวราช
ปาท่องโก๋เสวย เยาวราชpraphol
 
นายอ้วน เย็นตาโฟเสาชิงช้า
นายอ้วน เย็นตาโฟเสาชิงช้านายอ้วน เย็นตาโฟเสาชิงช้า
นายอ้วน เย็นตาโฟเสาชิงช้าpraphol
 
โกอ่าง
โกอ่างโกอ่าง
โกอ่างpraphol
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงานและ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงานและบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงานและ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงานและpraphol
 
บบที่12
บบที่12บบที่12
บบที่12praphol
 
บบที่10
บบที่10บบที่10
บบที่10praphol
 
บบที่9
บบที่9บบที่9
บบที่9praphol
 
บบที่8
บบที่8บบที่8
บบที่8praphol
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7praphol
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6praphol
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5praphol
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3praphol
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4praphol
 
Magicoflove
MagicofloveMagicoflove
Magicoflovepraphol
 
20things
20things20things
20thingspraphol
 
Jobassign
JobassignJobassign
Jobassignpraphol
 
บทที่ ๘ ทรัพยากรการท่องเที่ยว
บทที่ ๘ ทรัพยากรการท่องเที่ยวบทที่ ๘ ทรัพยากรการท่องเที่ยว
บทที่ ๘ ทรัพยากรการท่องเที่ยวpraphol
 

Plus de praphol (20)

สถานการณ์การท่องเที่ยว ปี 2560
สถานการณ์การท่องเที่ยว ปี 2560สถานการณ์การท่องเที่ยว ปี 2560
สถานการณ์การท่องเที่ยว ปี 2560
 
เอลวิสสุกี้ ยศเส
เอลวิสสุกี้ ยศเสเอลวิสสุกี้ ยศเส
เอลวิสสุกี้ ยศเส
 
ร้านก๋วยเตี๋ยวรุ่งเรือง
ร้านก๋วยเตี๋ยวรุ่งเรืองร้านก๋วยเตี๋ยวรุ่งเรือง
ร้านก๋วยเตี๋ยวรุ่งเรือง
 
ปาท่องโก๋เสวย เยาวราช
ปาท่องโก๋เสวย เยาวราชปาท่องโก๋เสวย เยาวราช
ปาท่องโก๋เสวย เยาวราช
 
นายอ้วน เย็นตาโฟเสาชิงช้า
นายอ้วน เย็นตาโฟเสาชิงช้านายอ้วน เย็นตาโฟเสาชิงช้า
นายอ้วน เย็นตาโฟเสาชิงช้า
 
โกอ่าง
โกอ่างโกอ่าง
โกอ่าง
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงานและ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงานและบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงานและ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงานและ
 
บบที่12
บบที่12บบที่12
บบที่12
 
บบที่10
บบที่10บบที่10
บบที่10
 
บบที่9
บบที่9บบที่9
บบที่9
 
บบที่8
บบที่8บบที่8
บบที่8
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
Magicoflove
MagicofloveMagicoflove
Magicoflove
 
20things
20things20things
20things
 
Jobassign
JobassignJobassign
Jobassign
 
บทที่ ๘ ทรัพยากรการท่องเที่ยว
บทที่ ๘ ทรัพยากรการท่องเที่ยวบทที่ ๘ ทรัพยากรการท่องเที่ยว
บทที่ ๘ ทรัพยากรการท่องเที่ยว
 

บทที่2

  • 2. รู ปแบบของการประกอบธุรกิจ รู ปแบบของการประกอบธุรกิจมีหลายประเภท ซึ่งแต่ ละ ประเภทมีลักษณะที่แตกต่ างกัน การเลือกประกอบธุรกิจประเภท ใดนั้นย่ อมขึนอยู่กบความต้ องการ ความสนใจ และความเหมาะสม ้ ั ทีจะประกอบธุรกิจนั้น ๆ ธนชัย ยมจินดา (2543, หน้ า 66) ได้ แบ่ ง ่ รู ปแบบของการประกอบธุรกิจออกเป็ น 3 ประเภท คือ 1. การประกอบการแบบเจ้ าของคนเดียวหรือร้ านค้ าเอกชน 2. การประกอบการแบบห้ างหุ้นส่ วน 3. การประกอบการแบบบริษัทจากัด
  • 3. ปัจจัยในการเลือกรู ปแบบของการประกอบธุรกิจ 1. ความยากง่ ายของการก่ อตั้ง 2. ขอบเขตของความรับผิดในหนี้ 3. ความคล่ องตัวของการปฏิบติการ ั 4. ความยากง่ ายของการจัดหาเงินทุน 5. สิ ทธิในการควบคุมการดาเนินงานของธุรกิจ 6. การรักษาความลับ 7. ความมีอสระจากการควบคุมโดยรัฐ ิ 8. ปัจจัยด้ านกฎหมาย 9. ความมั่นคงและความต่ อเนื่องของการดาเนินงาน 10. ปัจจัยด้ านภาษี สาหรับการเสี ยภาษี
  • 4. การประกอบการแบบเจ้ าของคนเดียวหรือร้ านค้ าเอกชน (SOLE OR SINGLE PROPRIETORSHIP) คือ ธุ รกิจที่บุคคลคนเดียวเป็ นเจ้ าของ และมีสิทธิ ขาดแต่ เพียงผู้ เดียวในการจัดการกิจการทั้งหมด เจ้ าของกิจการเป็ นผู้รับความเสี่ ยงจาก การขาดทุนหรื อผลประโยชน์ จากกาไรแต่ เพียงผู้เดียว ลักษณะพิเศษของ การประกอบการแบบเจ้ าของคนเดียว คือ เจ้ าของจะเป็ นผู้จัดการและเป็ นผู้ ตัดสิ นใจเกี่ยวกับการดาเนินการต่ าง ๆ ของธุรกิจทั้งหมด ดังนั้นจะเห็นได้ ว่ า ความส าเร็ จ ของการด าเนิ น ธุ ร กิ จ แบบเจ้ า ของคนเดี ย วจะขึ้น อยู่ กั บ ความสามารถด้ านการจัดการหรือการบริหารของผู้เป็ นเจ้ าของเป็ นสาคัญ
  • 5. การจัดตั้งกิจการเจ้ าของคนเดียว เจ้ าของกิจการต้ องไปยื่น ขอจดทะเบียนพาณิชย์ ภายใน 30 วัน นั บแต่ วันที่ได้ เริ่ มประกอบ กิจการ เจ้ าของกิจการใดฝ่ าฝื นต้ องระวางโทษปรับไม่ เกิน 2,000 บาท และปรับต่ อเนื่องอีกวันละไม่ เกิน 100 บาท จนกว่ าจะได้ จดทะเบียน (พิมล จงวรนนท์ ,2548, หน้ า 29) การประกอบกิจการแบบเจ้ าของ คนเดียว กฎหมายไม่ มีกาหนดในเรื่ องของการจดทะเบียนเป็ นนิติ บุ ค คล แต่ ต้ องดู ว่ ากิ จ การนั้ นต้ องจดทะเบี ย นพาณิ ช ย์ ตาม พระราชบัญญัตทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ. 2499 หรือไม่ ิ
  • 6. สาหรับกิจการทีไม่ ต้องจดทะเบียนพาณิชย์ ได้ แก่ (ประภาศรี อึงกุล ่ ่ ,2542, หน้ า 59) 1. การค้ าเร่ และการค้ าแผงลอย 2. พาณิชย์ กจเพือการบารุงศาสนาหรือเพือการกุศล ิ ่ ่ 3. พาณิชย์ กจของนิตบุคคลซึ่งได้ มีพระราชบัญญัตหรือพระราช ิ ิ ิ กฤษฎีกาจัดตั้งขึน้ 4. พาณิชย์ กจของกระทรวง ทบวง กรม ิ 5. พาณิชย์ กจของมูลนิธิ สมาคม และสหกรณ์ ิ 6. พาณิชย์ กจซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ได้ ประกาศในราช ิ กิจจานุเบกษาให้ ได้ รับยกเว้ นไม่ ต้องจดทะเบียนพาณิชย์
  • 7. การจดทะเบียนพาณิชย์ การจดทะเบียนพาณิชย์ จะเป็ นไปตามพระราชบัญญัตทะเบียนพาณิชย์ ิ พ.ศ. 2499 “ผู้ประกอบพาณิชกิจ” หมายถึง บุคคลธรรมดาหรือนิตบุคคลซึ่ง ิ ประกอบพาณิชยกิจเป็ นอาชีพปกติ และหมายความถึงผู้เป็ นหุ้นส่ วนทีไม่ จากัด ่ ความรับผิด กรรมการ หรือผู้จัดการด้ วย ฉะนั้นผู้ประกอบพาณิชยกิจจึงได้ แก่ (ประภาศรี อึงกุล,2542, หน้ า 56-57) ่ 1. บุคคลธรรมดาคนเดียว 2. ห้ างหุ้นส่ วนสามัญทีมิได้ จดทะเบียนเป็ นนิตบุคคล ่ ิ 3. ห้ างหุ้นส่ วนสามัญนิตบุคคลและห้ างหุ้นส่ วนจากัด ิ
  • 8. 4. บริษทจากัด หมายถึง บริษทจากัดซึ่งเป็ นนิตบุคคลจด ั ั ิ ทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มกรรมการเป็ นผู้ดาเนิน ี กิจการของบริษัท 5. ห้ างหุ้นส่ วนและบริษทจากัด ั
  • 9. รายการจดทะเบียนพาณิชย์ 1. ชื่อ อายุ เชื้อชาติ และตาบลทีอยู่ของผู้ประกอบพาณิชยกิจ ่ 2. ชื่อทีใช้ ในการประกอบพาณิชยกิจ ่ 3. ชนิดแห่ งพาณิชยกิจ 4. จานวนเงินซึ่งนามาใช้ ในการประกอบพาณิชยกิจเป็ นประจา 5. ทีต้งสานักงานใหญ่ สาขา โรงเก็บสิ นค้ า และตัวแทนค้ าต่ าง ่ ั 6. วันทีเ่ ริ่มประกอบพาณิชยกิจในประเทศไทย 7. วันขอจดทะเบียนพาณิชยกิจในประเทศไทย 8. ชื่อทีใช้ ในการประกอบพาณิชยกิจ ชื่อสั ญชาติ และตาบลทีอยู่ของผู้โอนพาณิชย ่ ่ กิจ หระบุวนที่ และเหตุทรับโอน ั ี่
  • 10. ข้ อดีของการประกอบการแบบเจ้ าของคนเดียว 1. ก่ อตั้งได้ ง่ายและมีต้นทุนตา ่ 2. รักษาความลับได้ 3. การตัดสิ นใจและการควบคุมธุรกิจ 4. การเลิกกิจการ 5. กาไรทั้งหมดเป็ นของเจ้ าของกิจการ 6. กฎระเบียบของราชการ 7. ภาษี
  • 11. ข้ อเสี ยของการประกอบการแบบเจ้ าของคนเดียว 1. ความรับผิดชอบในหนีอย่ างไม่ จากัด ้ 2. การมีข้อจากัดในการจัดหาเงินทุน 3. ขาดความต่ อเนื่องในการดาเนินธุรกิจ 4. การบริหารงานขาดประสิ ทธิภาพ เนื่องจากเจ้ าของกิจการเพียงคนเดียวไม่ สามารถดาเนินธุรกิจ โดยมีทกษะต่ าง ๆครบทุกด้ าน ทาให้ ผลการดาเนินงานไม่ มประสิ ทธิภาพ ั ี เท่ าทีควร ่
  • 13. ประเภทของห้ างหุ้นส่ วน การประกอบกิจการในรู ปแบบห้ างหุ้นส่ วน แบ่ งออกเป็ น 2 ประเภทคือ 1. ห้ างหุ้นส่ วนสามัญ (General) 2. ห้ างหุ้นส่ วนจากัด (Limited Partnership)
  • 14. 1. ห้ างหุ้นส่ วนสามัญ (GENERAL) ประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ ม าตรา 1025 บั ญ ญั ติ ว่ า “ห้ า ง หุ้นส่ วนสามัญ” คือ ห้ างหุ้นส่ วนประเภท ซึ่ งผู้เป็ นหุ้นส่ วนทั้งหมดทุกคนต้ อง รับผิดชอบร่ วมกัน เพือหนีสินทั้งปวงของหุ้นส่ วนโดยไม่ จากัดจานวน ่ ้ ตามกฎหมายระบุว่าห้ างหุ้นส่ วนสามัญนั้นจดทะเบียนหรือไม่ กได้ หาก ็ จดทะเบียนจะทาให้ มีฐานะเป็ นนิตบุคคล เรียกว่ า ห้ างหุ้นส่ วนสามัญนิตบุคคล ิ ิ
  • 15. 2. ห้ างหุ้นส่ วนจากัด (LIMITED PARTNERSHIP) ห้ างหุ้ นส่ วนจากัด หมายถึง ห้ างหุ้ นส่ วนประเภทหนี่ง ซึ่ งมีผู้ เป็ นหุ้ น ส่ วนอยู่ 2 จ าพวก คื อ จ าพวกจ ากั ด ความรั บ ผิ ด เพีย งไม่ เ กิ น จานวนเงินทีตนรับจะลงหุ้นในห้ างหุ้นส่ วนนั้น และจาพวกรับผิดร่ วมกัน ่ ในบรรดาหนี้สินของห้ างหุ้นส่ วนโดยไม่ มีจากัดจานวน (ชรั ตน์ รุ่ งเรื อง ศิลป์ และพรนภา กุลทวีสุข, 2541, หน้ า 1-1)
  • 16. การจัดตั้งห้ างหุ้นส่ วน ในการจดทะเบียนห้ างหุ้นส่ วนสามัญนิติบุคคล และห้ างหุ้นส่ วนจากัดนั้น ต้ องไปยืนขอจดทะเบียน ณ สานักงานทะเบียนหุ้นส่ วนบริ ษัท โดยหากหุ้นส่ วน ่ ส านั ก งานใหญ่ ต้ั ง อยู่ ใ นเขตกรุ ง เทพมหานคร ต้ อ งไปยื่ น ขอจดทะเบี ย นที่ ส านั ก งานทะเบี ย นหุ้ น ส่ วนบริ ษั ท กรมทะเบี ย นการค้ า กระทรวงพาณิ ช ย์ สาหรับต่ างจังหวัด จะตั้งอยู่ทสานักงานพาณิชย์ จังหวัดของแต่ ละจังหวัด ี่
  • 17. รายการจดทะเบียนจัดตั้งห้ างหุ้นส่ วน 1. ชื่อห้ างหุ้นส่ วน 2. วัตถุประสงค์ ในการประกอบกิจการ 3. ทีต้งสานักงานแห่ งใหญ่ และสานักงานสาขาทั้งปวง ่ ั 4. ชื่อ ยีห้อ สานัก และอาชีวะของผู้เป็ นหุ้นส่ วนทุกคน รวมทั้งจานวนเงิน ซึ่ง ่ แต่ ละคนลงทุนเข้ าหุ้น 5. ชื่อหุ้นส่ วนผู้จัดการ 6. ข้ อจากัดอานาจหุ้นส่ วนผู้จัดการ (ถ้ ามี) 7. รายการอย่ างอืนทีสมควรจะให้ ประชาชนทราบ ่ ่ 8. ดวงตราของห้ างหุ้นส่ วน
  • 18.
  • 20. การประกอบการแบบบริษัทจากัด (COMPANY) บริ ษัท คือ องค์ การธุ รกิจที่ต้ังขึ้นด้ วยการแบ่ งทุนออกเป็ นหุ้ น แต่ ละหุ้นมีมูลค่ าเท่ า ๆ กัน ผู้ถือหุ้ นต่ างรั บผิดจากัดเพียงไม่ เกินจานวน เงินที่ตนยังส่ งใช้ ไม่ ครบมูลค่ าของหุ้นตนถือ การดาเนินธุรกิจในรู ปแบบ ของบริษัทจากัด แบ่ งออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. บริษัทเอกชนจากัด 2. บริษัทมหาชนจากัด
  • 21. 1. บริษัทเอกชนจากัด (COMPANY LIMITED) ตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ ม าตรา 1096 ให้ ความหมายว่ า “บริ ษัทจากัด คือ บริ ษัทประเภทซึ่ งจัดตั้งด้ วยการแบ่ ง ทุนเป็ นหุ้นมีมูลค่ าเท่ า ๆ กัน โดยมีผู้ถือหุ้นไม่ ถึงหนึ่งร้ อยคนรวมทั้งนิติ บุคคล (ถ้ ามี) ผู้ถือหุ้นดังกล่ าวต่ างรับผิดเพียงไม่ เกินจานวนเงินที่ตนยัง ส่ งใช้ ไม่ ครบมูลค่ าของหุ้นทีตนถือ” ่
  • 23. 5. กรรมการบริ ษัทต้ องเรี ยกผู้ เข้ าชื่ อซื้อหุ้ นทุกคน ชาระราคาค่ าหุ้ น อย่ างน้ อยร้ อยละ 25 ของราคาหุ้น 6. เมื่อชาระค่ าหุ้นแล้ ว กรรมการของบริ ษัทต้ องไปยื่นขอจดทะเบียน ตั้งบริษัทจากัดต่ อนายทะเบียนหุ้นส่ วนบริษัทภายในกาหนดเวลา 3 เดือน นับแต่ วันประชุ มตั้งบริษัท เมื่อนายทะเบียนรับจดทะเบียนแล้ ว บริษัทก็จะมีสภาพเป็ น นิตบุคคล ิ 7. หนังสื อบริคณห์ สนธิ คือ หนังสื อที่ผู้เริ่มก่ อการแสดงความประสงค์ ในการจัดตั้งบริษัทจากัด
  • 24.
  • 25. 2. บริษัทมหาชนจากัด (PUBLIC COMPANY LIMITED) บริ ษั ท มหาชนจ ากั ด ตาม พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ม ห า ช น จ า กั ด พ . ศ . 2 5 3 5 ม า ต ร า 7 5 ไ ด้ ใ ห้ ความหมายว่ า บริ ษัท มหาชนจ ากัด คื อ บริ ษั ท ประเภทซึ่ ง ตั้ ง ขึ้ น ด้ วย ความประสงค์ ที่จะเสนอขายหุ้ นต่ อ ประชาชน โดนผู้ถอหุ้นมีความรับผิด ื จากัดไม่ เกนจานวนเงินค่ าหุ้ นที่ต้อง ชาระ และบริษทดังกล่ าวได้ ระบุความ ั ป ร ะ ส ง ค์ เ ช่ น นั้ น ไ ว้ ใ น ห นั ง สื อ บริคณห์ สนธิ
  • 26. การจัดตั้งบริษัทมหาชนจากัด 1. จัดทาหนังสื อบริคณห์ สนธิแล้ วนาไปขอจดทะเบียนตาม พระราชบัญญัตมหาชนจากัด พ.ศ.2531 โดยผู้ก่อตั้งตั้งแต่ 15 คนขึนไป ิ ้ 2. จัดทาหนังสื อชี้ชวนและนาไปขอจดทะเบียนกับนายทะเบียนกับ กรมทะเบียนการค้ าแล้ วจึงจะเสนอขายหุ้น 3. ทาการโฆษณาชี้ชวนให้ ประชาชนซื้อหุ้นหรือหุ้นกู้ (ถ้ ามี) หลังจากทีจดทะเบียนกับนายทะเบียน ่ 4. ประชุ มจัดตั้งบริษท เมื่อมีผู้ถอหุ้นครบ 100 คน และเป็ นหุ้นที่ ั ื ชาระด้ วยตัวเงินไม่ น้อยกว่า 5 ล้ านบาท ๋
  • 27. 5. เรียกผู้เข้ าชื่อจองหุ้นชาระเงินค่ าหุ้น 6. จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท ต้ องดาเนินการให้ เสร็จภายใน 3 เดือน นับแต่ วนประชุ มจัดตั้งบริษท และได้ ชาระเงินค่ าหุ้นครบตามจานวน 100 ั ั คนแล้ ว
  • 30. สรุป รู ปแบบของการประกอบธุรกิจโดยทั่วไปแบ่ งออกเป็ น 3 ประเภทคือ (1) การประกอบการแบบเจ้ าของคนเดียวหรื อร้ านค้ าเอกชน (2) การประกอบการ แบบห้ างหุ้นส่ วน และ (3) การประกอบการแบบบริษัทจากัด ซึ่งในการพิจารณา ว่ าจะเลือกประกอบธุ รกิจแบบใดจึงจะเหมาะสมจะต้ องพิจารณาถึงปั จจัยต่ าง ๆ เช่ น ความยากง่ ายของการจัดหาเงินทุน การรักษาความลับ ความมั่นคงและความ ต่ อเนื่องของการดาเนินงาน ตลอดจนปัจจัยด้ านภาษีและกฎหมาย