SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  15
การจัด กิจ กรรมพัฒ นาผู้เ รีย น

       การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการ
ศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธิการได้
จัดทำาและประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ขึนเพื่อให้เขตพื้นที่การศึกษาและสถาน
                       ้
ศึกษาได้นำาไปใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดทำาหลักสูตร
สถานศึกษา และจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาเด็กและ
เยาวชนไทยทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีคุณภาพ
ด้านความรู้และทักษะที่จำาเป็นสำาหรับการดำารงชีวิตในสังคมที่มี
การเปลี่ยนแปลง และแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อ
เนื่องตลอดชีวิต และในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550 – 2554) ได้ชี้ให้เห็นถึงความจำาเป็นใน
การปรับเปลี่ยนจุดเน้นในด้านการพัฒนาคุณภาพคนในสังคม
ไทยให้มีคุณธรรมและมี
ความรอบรู้อย่างเท่าทัน ให้มีความรู้ด้านร่างกาย สติปัญญา
อารมณ์ และสังคม สามารถก้าวทันการเปลี่ยนแปลงเพื่อนำาไปสู้
สังคมฐานความรู้ได้อย่างมั่นคง แนวการพัฒนาคนดังกล่าวมุ่ง
เตรียมเด็กและเยาวชนให้มีพื้นฐานทางจิตใจที่ดีงาม มีจิต
สาธารณะ พร้อมทั้งมีสมรรถนะ ทักษะ และความรู้พื้นฐานที่
จำาเป็นในการดำารงชีวิต อันจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศแบบ
ยั่งยืน
       อีกทั้งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช
2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545 ได้
กำาหนดแนวทางการจัดการศึกษา โดยยึดหลักผู้เรียนมีความ
สำาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน
พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ โดยจัดเนื้อหาสาระ
และกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้
เรียน คำานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ฝึกทักษะ
กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ ประกอบ
กับมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคมเทคโนโลยี ก่อให้
เกิดทั้งผลดีและผลเสียต่อการดำาเนินชีวิตในปัจจุบันของบุคคล
ทำาให้เกิดความยุ่งยากซับซ้อนมากยิ่งขึ้น จำาเป็นต้องมีการ
ปรับเปลี่ยนวิถีการดำาเนินชีวิตให้สามารถดำารงอยู่ในสังคมได้
อย่างมีคุณค่า มีศักดิศรี มีความสุขบนพื้นฐานของเศรษฐกิจพอ
                      ์
เพียงและยั่งยืน ซึงแนวทางดังกล่าวสอดคล้องกับนโยบายของ
                    ่
กระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่โลก
ยุคศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งส่งเสริมผู้เรียนมีคุณธรรม รักความ
เป็นไทย ให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์และคิดสร้างสรรค์ มีทักษะ
ด้านเทคโนโลยี สามารถทำางาน และอยู่ร่วมกับผู้อื้นในสังคม
โลกได้อย่างสันติ
       หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 มุงพัฒนาผู้เรียนทุกคนซึ่งเป็นกำาลังของชาติให้เป็น
             ่
มนุษย์ทมีความสมดุลทั้งทางด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มี
          ี่
จิตสำานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในการ
ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติที่จำาเป็นต่อ
การศึกษา การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่ง
เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถ
เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ การพัฒนาที่
สำาคัญ คือ
การพัฒนาที่สมดุลอย่างเป็นองค์รวมทุกด้านเพื่อความเป็นมนุษย์
ที่สมบูรณ์ มีพื้นฐานทางจริยศาสตร์ ความเป็นคนดีทั้งร่างกาย
สติปัญญา อารมณ์ และสังคม ผู้เรียนทุกคนในระดับการศึกษา
ขั้นพื้นฐานต้องสร้างองค์ความรู้ ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู้
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ จึงจำาเป็นต้องเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาษาต่างประเทศ และกิจกรรม
พัฒนาผู้เรียน ซึงเป็นการบูรณาการองค์ความรู้ ทักษะและ
                  ่
เจตคติที่เกิดจากการเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และ
ประสบการณ์ของผู้เรียนมาปฏิบัติ เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะที่
สำาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ด้วยเหตุผลดังกล่าว กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จึงเป็นส่วน
หนึ่งของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 ทีช่วยให้ผู้เรียนได้นำาองค์ความรู้ ทักษะจากการเรียนรู้
         ่
และประสบการณ์ของผู้เรียนมาปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนมา
ปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาตนเองเพื่อเป็นคนดี มีคุณธรรม
จริยธรรม มีวินัย และมีจิตสำานึกสาธารณะที่ดีงาม เป็นคนมี
ปัญญาในการใช้ทักษะชีวิต การคิด การสื่อสาร การแก้ปัญหา
และการใช้เทคโนโลยี และเป็นคนมีความสุขในการดำาเนินชีวิต
อย่างพอเพียง โดยอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างสร้างสรรค์

     การจัด กิจ กรรมพัฒ นาผู้เ รีย นตามหลัก สูต ร
       กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประกอบด้วยกิจกรรม 3 ลักษณะ
ดังนี้

1. กิจ กรรมแนะแนว
      เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้
รักษ์สิ่งแวดล้อม สามารถคิดตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา กำาหนด
เป้าหมาย วางแผนชีวิตทั้งด้านการเรียน และอาชีพ สามารถ
ปรับตนได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยังช่วยให้ครูรู้จักและ
เข้าใจผู้เรียน ทั้งยังเป็นกิจกรรมที่ช่วยเหลือและให้คำาปรึกษา
แก่ผู้ปกครองในการมีส่วนรวมพัฒนาผู้เรียน

2. กิจ กรรมนัก เรีย น
       เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความเป็นระเบียบวินัย ความเป็น
ผู้นำา ผู้ตามที่ดี ความรับผิดชอบ การทำางานร่วมกัน การรู้จัก
แก้ปัญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วย
เหลือแบ่งปัน เอื้ออาทร สมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับ
ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน ให้ได้
ปฏิบัติด้วยตนเองในทุกขั้นตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์
วางแผน ปฏิบัติตามแผนประเมิน และปรับปรุงการทำางาน เน้น
การทำางานร่วมกันเป็นกลุ่มตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับ
วุฒิภาวะของผู้เรียนและบริบทของสถานศึกษาและท้องถิ่น
กิจกรรมนักเรียนประกอบด้วย
  2.1 กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และ นักศึกษาวิชาทหาร
  2.2 กิจกรรมชุมนุม หรือ กลุ่มสนใจ

3. กิจ กรรมเพื่อ สัง คมและสาธารณประโยชน์
      เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบำาเพ็ญตนให้เป็น
ประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และท้องถิ่น ตามความสนใจใน
ลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม
ความเสียสละต่อสังคม และการมีจิตสาธารณะ เช่น กิจกรรม
อาสาพัฒนาต่าง ๆ กิจกรรมสร้างสรรค์สังคม
เป้าหมายของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้
เรียนมุ่งส่งเสริมและพัฒนาให้ผู้เรียนใช้ความรู้ ทักษะและ
ประสบการณ์จากการเรียนรู้ไปพัฒนาตนเองให้เกิดสมรรถนะ
สำาคัญ 5 ประการ ได้แก่ ความสามารถในการสื่อสาร ความ
สามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความ
สามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้
เทคโนโลยี
อันจะนำาไปสู่คุณลักษณะอันพึง

         แนวการจัด กิจ กรรมพัฒ นาผู้เ รีย น
1. ให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
2. ให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมผ่านประสบการณ์ที่หลากหลาย
ฝึกการทำางานที่สอดคล้องกับชีวิตจริง ตลอดจนสะท้อนความรู้
ทักษะ และประสบการณ์ของผู้เรียน
3. จัดกิจกรรมอย่างสมดุลทั้ง 3 ลักษณะ คือ กิจกรรม
แนะแนว กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพื่อสังคมและ
สาธารณประโยชน์ โดยจัดกิจกรรมรายบุคคล กิจกรรมกลุ่ม
ทั้งในและนอกสถานที่อย่างสมำ่าเสมอและต่อเนื่อง
4. จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเป็นผู้ดำาเนินการ โดยการศึกษาและ
ใช้ข้อมูลประกอบการวางแผนอย่างเป็นระบบ เน้นการคิด
วิเคราะห์และใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการดำาเนินกิจกรรม
5. ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้แบบร่วมมือมากกว่า
เน้นการแข่งขันบนพื้นฐานการปฏิบัติตามวิถีประชาธิปไตย
6. จัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่กิจกรรมขอบข่าย
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

       สถานศึกษาต้องจัดกิจกรรมให้ครบทั้ง 3 ลักษณะ คือ
กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพื่อสังคมและ
สาธารณประโยชน์ โดยสามารถจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนได้
หลากหลายรูปแบบและวิธีการ โดยมีขอบเขตดังนี้
1. เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ให้
กว้างขวางลึกซึ้งยิ่งขึ้น ในลักษณะเป็นกระบวนการเชิงบูรณา
การโดยยึดหลักคุณธรรมจริยธรรม ตลอดจนสามารถบูรณา
การระหว่างกิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรม
เพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
2. เป็นกิจกรรมที่ตอบสนองความสนใจ ความถนัด และความ
ต้องการของผู้เรียนตามความแตกต่างระหว่างบุคคล เน้นการ
ให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าของวิชาความรู้ อาชีพ และการดำาเนิน
ชีวิตที่ดีงาม ตลอดจนเห็นแนวทางในการศึกษาต่อและการ
ประกอบอาชีพ
3. เป็นกิจกรรมที่ปลูกฝังและส่งเสริมจิตสำานึกการทำาประโยชน์
ต่อสังคมในลักษณะต่าง ๆสนับสนุนค่านิยมที่ดีงามและเสริม
สร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการ
ศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
4. เป็นกิจกรรมที่ฝึกการทำางานและการให้บริการด้านต่าง ๆ ทั้ง
ที่เป็นประโยชน์ต่อตนเองและส่วนรวม เพื่อเสริมสร้างความมี
นำ้าใจ ความเอื้ออาทร ความเป็นพลเมืองดี และความรับผิด
ชอบต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม

             แนวการจัด กิจ กรรมนัก เรีย น

  • กิจ กรรมลูก เสือ – เนตรนารี
    กิจกรรมลูกเสือ คือ กิจกรรมพัฒนาเยาวชน มีวัตถุประสงค์
เพื่อฝึกอบรมให้การศึกษาและพัฒนาเยาวชนให้เป็นพลเมือดี
โดยไม่คำานึงถึงเชื้อชาติ ศาสนา ทั้งนี้เป็นไปตามมุ่งประสงค์
หลักการและวิธีการซึ่งลูกเสือโลกได้กำาหนดไว้ปัจจุบันกิจกรรม
ลูกเสือถือเป็นกระบวนการทางการศึกษาส่วนหนึ่ง ซึ่งมุ่งพัฒนา
สมรรถภาพของบุคคลทั้งทางสมอง ร่างกาย จิตใจ และศีลธรรม
เพื่อให้เป็นบุคคลที่มีความประพฤติดีงาม ไม่กระทำาตนให้เป็น
ปัญหาต่อสังคม และดำารงชีวิตอย่างมีความหมายและสุขสบาย

     หลัก การ
1. มีศาสนาเป็นหลักยึดทางจิตใจ จงรักภักดีต่อศาสนาที่ตน
เคารพนับถือ และพึงปฏิบัติศาสนกิจด้วยความจริงใจ
2. จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริยและประเทศชาติของตนพร้อม
                                 ์
ด้วยการส่งเสริมและสนับสนุนสันติสุขและสันติภาพ ความเข้าใจ
ที่ดีซงกันและกัน และความร่วมมือซึ่งกันและกันตั้งแต่ระดับท้อง
      ึ่
ถิ่น ระดับชาติและระดับนานาชาติ
3. เข้าร่วมพัฒนาสังคม ยอมรับ และให้ความเคารพในเกียรติ
และศักดิ์ศรีของผู้อื่นและเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน รวมทั้งธรรมชาติ
และสรรพสิ่งทั้งหลายในโลก
4. มีความรับผิดชอบต่อการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
5. ลูกเสือทุกคนต้องยึดมั่นในคำาปฏิญาณและกฎของลูกเสือ



     วัต ถุป ระสงค์
      พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ. 2551 มาตรา 6 ได้กำาหนด
วัตถุประสงค์ของการฝึกอบรมลูกเสือ เพื่อพัฒนาลูกเสือทั้งทาง
ร่างกาย สติปัญญา จิตใจและศีลธรรมให้เป็นพลเมืองดี มีความ
รับผิดชอบและช่วยสร้างสรรค์สังคม ให้เกิดความสามัคคี และมี
ความเจริญก้าวหน้า ทั้งนี้เพื่อความสงบสุขและความมั่นคงของ
ประเทศชาติตามแนวทางดังต่อไปนี้
1. ให้มีนิสัยในการสังเกต จดจำา เชื่อฟัง และพึ่งตนเอง
2. ให้มีความซื่อสัตย์ สุจริต มีระเบียบวินัย และเห็นอกเห็นใจผู้
อื่น
3. รู้จักบำาเพ็ญตนเพื่อสาธารณประโยชน์
4. รู้จักทำาการฝีมือและฝึกฝนการท ากิจกรรมต่างๆ ตามความ
เหมาะสม
5. ให้รู้จักรักษาและส่งเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรม และ
ความมั่นคงของประเทศชาติ

    ขอบข่า ย
      กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี เป็นกิจกรรมที่มุ่งปลูกฝังระเบียบ
วินัยและกฎเกณฑ์เพื่อการอยู่ร่วมกัน ให้รู้จักการเสียสละและ
บำาเพ็ญประโยชน์แก่สังคมและวิถีชีวิตในระบอบประชาธิปไตย
ซึ่งการจัดกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารีให้เป็นไปตามข้อบังคับของ
สำานักงานลูกเสือแห่งชาติ รวมทั้งให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกน
กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประเภท
หลักสูตรลูกเสือ เนตรนารี
   1. ลูกเสือสำารอง ชันประถมศึกษาปีที่ 1-3
                       ้
   2. ลูกเสือสามัญ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6
   3. ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3

    แนวการจัด กิจ กรรม
      การจัดกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี มีแนวทางตามวิธีการลูก
เสือ (Scout Method) 7 ประการ คือ
1. คำาปฏิญาณและกฎ ถือเป็นหลักเกณฑ์ที่ลูกเสือทุกคนให้
คำามั่นสัญญาว่าจะปฏิบัติตาม
2. เรียนรู้จากการกระทำา เป็นการพัฒนาส่วนบุคคล ที่สามารถ
แก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง
3. ระบบหมู่ เป็นรากฐานอันแท้จริงของการลูกเสือ เป็นพื้นฐาน
ในการอยู่ร่วมกัน การยอมรับซึ่ง
กันและกัน การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ การช่วยเหลือซึ่งกัน
และกันเป็นการเรียนรู้ประชาธิปไตยเบื้องต้น
4. การใช้สัญลักษณ์ร่วมกัน เป็นการฝึกให้มีความเป็นอันหนึ่ง
อันเดียวกันของการเป็นสมาชิกลูกเสือ–เนตรนารี ได้แก่ เครื่อง
แบบ เครื่องหมาย การทำาความเคารพ คำาปฏิญาณ กฎ
คติพจน์ ธง เป็นต้น ในการเป็นสมาชิกลูกเสือแห่งโลกที่มี
สมาชิกมากที่สุด
5. การศึกษาธรรมชาติ เป็นสิ่งสำาคัญอันดับหนึ่ง
6. ความก้าวหน้าในการเข้าร่วมกิจกรรม ทีหลากหลายให้
                                        ่
สัมพันธ์กันเพื่อการพัฒนาตนเอง
7. การสนับสนุนโดยผู้ใหญ่ ในการร่วมมือกันพัฒนาอย่างถูก
ต้อง

    การประเมิน กิจ กรรม
      การประเมินกิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารี เป็นกระบวนการ
ทดสอบความสามารถ และพัฒนาการด้านต่างๆของผู้เรียน ทั้ง
ความรู้ ความสามารถตามทฤษฎี ความประพฤติ พฤติกรรมการ
เข้าร่วมกิจกรรมที่เน้นทักษะและการปฏิบัติด้วยวิธีการประเมินที่
หลากหลายและการประเมินตามสภาพจริง แบ่งออกเป็น 2 ส่วน
คือ
1. กิจกรรมบังคับ เป็นการประเมินผลกิจกรรมตามหลักสูตร
เพื่อให้ผู้เรียนผ่านเกณฑ์การตัดสินให้เลื่อนชั้นหรือจบหลักสูตร
ตามเกณฑ์การประเมิน ระบบกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกำาหนด ที่มี
การประเมินผลตลอดภาคเรียน/ปี ผลการประเมินเป็น “ผ่าน”
และ “ไม่ผ่าน”
     ผ่าน หมายถึง ผ่านเกณฑ์การประเมิน
   1. ผู้เรียนมีเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
จากสมุดบันทึกกิจกรรม
   2. ผู้เรียนผ่านเกณฑ์การปฏิบัติกิจกรรมตามแนวปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงจาก
      2.1 แบบประเมินการติดตามผลการปฏิบัติงานหรือผลงาน/
ชิ้นงานโดยครูผู้สอน
     2.2 แบบประเมินตนเองของผู้เรียน
   ไม่ผ่าน หมายถึง ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน
   1. ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมน้อยกว่าร้อยละ 80
   2. ผู้เรียนไม่ผ่านเกณฑ์การปฏิบัติกิจกรรมตามแนวปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงจาก
    2.1 แบบประเมินการติดตามผลการปฏิบัติงานหรือผลงาน/ชิน     ้
งานโดยครูผู้สอน
    2.2 แบบประเมินตนเองของผู้เรียน
• กิจ กรรมชุม นุม / กลุม สนใจ
                         ่
      กิจกรรมชุมนุม/ชมรม เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนรวมกลุ่มกันจัด
ขึ้นตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน
เพื่อเติมเต็มความรู้ ความชำานาญ ประสบการณ์ ทักษะ เจตคติ
เพื่อพัฒนาตนเองตามศักยภาพ
      ชุมนุม หมายถึง กลุ่มคนกลุ่มหนึ่งที่มีความสนใจในสิ่ง
เดียวกัน จึงรวมกลุ่มกันเพื่อนำาสิ่งที่ตนสนใจในสิ่งนั้นๆ ทำา
ประโยชน์ต่อสังคม และเป็นกิจกรรมที่พัฒนาความถนัด ความ
สนใจตามความต้องการของผู้เรียน มุ่งเน้นการเติมเต็มความรู้
ความชำานาญและประสบการณ์ของผู้เรียนให้กว้างขวางยิ่งขึ้น
เพื่อผู้เรียนได้ค้นพบความถนัด ความสนใจของตนเอง และ
พัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพ ตลอดจนการพัฒนาทักษะและ
ปลูกฝังจิตสำานึกของการทำาประโยชน์เพื่อสังคม
        ชุมนุมกลุ่มสนใจ หมายถึง การจัดตั้งชุมนุมขึ้นในโรงเรียน
แล้วให้นักเรียนสมัครเข้าชุมนุมตามความถนัดและสนใจของ
นักเรียนเอง เช่น ชุมนุมดนตรี , ชุมนุมร้องเพลงการเล่นของ
ไทย , ชุมนุมกีฬา , ชุมนุมศิลปะ ,ชุมนุมฝึกอาชีพ


    หลัก การ
1. เกิดจากการสร้างสรรค์และออกแบบกิจกรรมของผู้เรียนตาม
ความสมัครใจ
2. ผู้เรียนร่วมกันทำางานเป็นทีม ช่วยกันคิด ช่วยกันทำา และช่วย
กันแก้ปัญหา
3. เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน
4. เป็นกิจกรรมที่เหมาะสมกับวัยและวุฒิภาวะของผู้เรียน รวม
ทั้งบริบทของสถานศึกษาและท้องถิ่น

    วัต ถุป ระสงค์
1. เพื่อให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ ความถนัด
และความต้องการของตนเอง
2. เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาความรู้ ความสามารถด้านการคิด
วิเคราะห์ สังเคราะห์ให้เกิดประสบการณ์ทั้งทางวิชาการและ
วิชาชีพตามศักยภาพ
3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้เวลาให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและ
ส่วนรวม
4. เพื่อให้ผู้เรียนทำางานร่วมกับผู้อื่นได้ตามวิถีประชาธิปไตย

     ขอบข่า ย
1. เป็นกิจกรรมที่เกื้อกูล ส่งเสริมการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ให้กว้างขวาง ลึกซึ้งยิงขึ้น
                              ่
2. เป็นกิจกรรมที่จัดตามความสนใจของผู้เรียน
3. เป็นกิจกรรมที่สามารถจัดได้ทั้งในและนอกสถานศึกษา และ
ทั้งในและนอกเวลาเรียน

   แนวการจัด กิจ กรรมชุม นุม /กลุม สนใจ
                                 ่
สามารถปรับใช้ได้ตามความเหมาะสมกับบริบทและสถานภาพ
ของโรงเรียน
1. ให้ผู้เรียนดำาเนินกิจกรรมได้หลากหลาย ทั้งรูปแบบภายใน
หรือภายนอกห้องเรียนภายในระยะเวลา 1 ปีการศึกษา
2. ระบบกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจัดตั้งชุมนุม กลุ่มสนใจ จาการ
สำารวจความสนใจของผู้เรียนในการเลือกเข้าร่วมกิจกรรม
3. นักเรียนร่วมกันจัดตั้งชุมนุม กลุ่มสนใจ และเชิญครูที่ปรึกษา
โดยร่วมกันดำาเนินกิจกรรมตามหลักการจัดกิจกรรมชุมนุมได้
4. ครูที่ปรึกษาเป็นผู้รับผิดชอบ กระตุ้น และส่งเสริมให้ผู้เรียนมี
การถอดประสบการณ์แลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่กิจกรรม
5. จัดกิจกรรมตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

     เงื่อ นไข
1. กิจกรรมชุมนุม ชมรม เป็นไปตามโครงสร้างระบบกิจกรรม
พัฒนาผู้เรียน
2. สมาชิกขุมนุม ชมรม ต้องเข้าร่วมกิจกรรม และปฏิบัติตาม
ระเบียบของชุมนุม ชมรม มีผลงาน/ชิ้นงาน และคุณลักษณะอัน
พึงประสงค์ตามที่กำาหนดพร้อมรับการติดตามผลและประเมินผล
การดำาเนินงานของชุมนุม ชมรมอย่างต่อเนื่องและสมำ่าเสมอ

    การประเมิน ผล
     เป็นการติดตามผล ตรวจสอบความสามารถและพัฒนาการ
ด้านต่างๆตามวัตถุประสงค์ที่กำาหนด ด้วยวิธีการที่หลากหลาย
และประเมินตามสภาพจริง โดยกำาหนดผลการประเมินเป็น
“ผ่าน” และ “ไม่ผ่าน”
  ผ่าน หมายถึง ผ่านเกณฑ์การประเมิน
     1. ผู้เรียนมีเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ
80 จากสมุดบันทึกกิจกรรม
     2. ผู้เรียนผ่านเกณฑ์การปฏิบัติกิจกรรมตามแนวปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงจาก
             2.1 แบบประเมินการติดตามผลการปฏิบัติงานหรือ
ผลงาน/ชินงานโดยครูผู้สอน
         ้
             2.2 แบบประเมินตนเองของผู้เรียน
  ไม่ผ่าน หมายถึง ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน
      1. ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมน้อยกว่าร้อยละ 80
      2. ผู้เรียนไม่ผ่านเกณฑ์การปฏิบัติกิจกรรมตามแนว
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
             2.1 แบบประเมินการติดตามผลการปฏิบัติงานหรือ
ผลงาน/ชินงานโดยครูผู้สอน
           ้
             2.2 แบบประเมินตนเองของผู้เรียน

  • กิจ กรรมเพื่อ สัง คมและสาธารณประโยชน์
   กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์เป็นกิจกรรมที่ส่ง
เสริมให้ผู้เรียนบำาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อครอบครัว ชุมชน
สังคมและประเทศชาติ ในลักษณะอาสาสมัครเพื่อช่วยขัดเกลา
จิตใจของผู้เรียนให้มีความเมตตา กรุณา มีความเสียสละ และมี
จิตสาธารณะเพื่อช่วยสร้างสรรค์สังคมให้อยู่ร่วมกันอย่างมีความ
สุข
หลัก การ
  ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองตามธรรมชาติ
และเต็มตามศักยภาพโดยคำานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
และพัฒนาการทางสมอง เน้นให้ความสำาคัญทั้งความรู้ และ
คุณธรรมจริยธรรม จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้สร้างสรรค์
ออกแบบกิจกรรมเพื่อสาธารณประโยชน์อย่างหลากหลายรูป
แบบเพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบต่อสังคมในลักษณะจิตอาสา

  วัต ถุป ระสงค์
1. เพื่อปลูกฝังและสร้างจิตสำานึกให้แก่ผู้เรียนในการบำาเพ็ญตน
ให้เป็นประโยชน์ต่อครอบครัว โรงเรียน สังคม และประเทศชาติ
2. เพื่อให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการจัดกิจกรรม
เพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ตาม
ความถนัดและความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร
3. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ คุณธรรม จริยธรรมตามคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
4. เพื่อให้ผู้เรียนมีจิตสาธารณและใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์

    ขอบข่า ย
    เป็นกระบวนการจัดกิจกรรมในลักษณะกิจกรรมบำาเพ็ญ
ประโยชน์ กิจกรรมอาสาพัฒนา หรือกิจกรรมสร้างสรรค์สังคม
โดยผู้เรียนดำาเนินการด้วยตนเองในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อ
แสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสังคม
และมีจิตสาธารณะ

    แนวการจัด กิจ กรรม
เน้นให้ผู้เรียนร่วมกันสำารวจและวิเคราะห์สภาพปัญหา ร่วมกัน
ออกแบบการจัดกิจกรรม วางแผนการจัดกิจกรรม ปฏิบัติ
กิจกรรมตามแผน ร่วมสรุปและประเมินผลการจัดกิจกรรม ร่วม
รายงานผล พร้อมทั้งประชาสัมพันธ์และเผยแพร่การจัดกิจกรรม
รูปแบบกิจกรรม ผู้เรียนสามารถเลือกจัดกิจกรรมหรือเข้าร่วม
กิจกรรมได้ดังนี้
1. กิจกรรมภายในโรงเรียน (กิจกรรมในวิถีชีวิตโรงเรียนเพื่อ
ปลูกฝังจิตอาสา) เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนและครูที่ปรึกษากิจกรรม
ร่วมกันวางแผนปฏิบัติกิจกรรมจิตอาสาในวิถีของชั้นเรียนและ
โรงเรียนจนเกิดเป็นนิสัยในการสมัครใจทำางานต่างๆเพื่อ
ประโยชน์ของส่วนรวม ซึงงานเหล่านี้จะขยายขอบเขตจากใกล้
                            ่
ตัวไปสู่สังคมที่อยู่ภายนอกได้
2. จัดกิจกรรมภายนอกโรงเรียน (กิจกรรมอาสาสมัครเพื่อ
สังคม) เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนได้รับการ
สนับสนุนตามแผนการจัดกิจกรรมโดยให้ทำากิจกรรมด้วยความ
สมัครใจที่เป็นประโยชน์แก่ชุมชนและสังคมโดยรวม ลักษณะ
กิจกรรมผู้เรียนสามารถจัดกิจกรรมได้ในลักษณะต่อไปนี้
1. ลักษณะบูรณาการ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ตามองค์ความรู้ที่
ได้จากการเรียนรู้ของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ตามความเหมาะ
สม
2. ลักษณะโครงการ/ โครงงาน/กิจกรรม หมายถึงกิจกรรมที่ผู้
เรียนนำาเสนอการจัดกิจกรรมต่อโรงเรียนเพื่อความเห็นชอบใน
การจัดทำาโครงการหรือโครงงานหรือกิจกรรม และระบุระยะ
เวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดอย่างชัดเจน
3. ลักษณะการจัดร่วมกับองค์กรอื่น หมายถึงกิจกรรมที่ผู้เรียน
อาสาสมัครเข้าร่วมกิจกรรมกับ
หน่วยงานหรือองค์กรอื่นๆที่จัดกิจกรรมในลักษณะเพื่อสังคมและ
สาธารณประโยชน์ที่ผู้เรียนสามารถเลือกเข้าร่วมกิจกรรมกับ
หน่วยงานอื่นที่เข้ามาจัดกิจกรรมในโรงเรียน หรือ เข้าร่วม
กิจกรรมกับหน่วยงานอื่นที่จัดกิจกรรมนอกโรงเรียน

   เงื่อ นไข
1. นักเรียนทุกคนในโรงเรียนจะต้องเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคม
และสาธารณประโยชน์ตามโครงสร้างของระบบกิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียน ทั้ง 5 กิจกรรมให้ครบถ้วนสมบูรณ์ตามความเหมาะสม
2. กิจกรรมจิตอาสาเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ตามหลัก
สูตรบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีกิจกรรม
หลักๆ ได้แก่
2.1 กิจกรรมจิตอาสาเสริมสร้างภาวะผู้นำา : งานคณะ
กรรมการนักเรียน
    2.2 กิจกรรมจิตอาสาสร้างสรรค์สุนทรียภาพทางดนตรี กีฬา
และศิลปะ ได้หลอมรวมอยูใน  ่
กิจกรรมกีฬานักเรียนประจำาปี ด้านดนตรีได้แก่การเข้าร่วม
ขบวนพาเหรด ด้านกีฬาได้แก่การเป็นนักกรีฑา/นักกีฬา ตัวจริง
ที่ส่งลงแข่งขัน ด้านศิลปะได้แก่การร่วมกิจกรรมเชียร์ และมี
ความต่อเนื่องมาจากกิจกรรมกีฬาภายในของโรงเรียนเป็นต้น
    2.3 กิจกรรมจิตอาสาเสริมสร้างคุณธรรมและวัฒนธรรมไทย
: การอาสาเข้าร่วมกิจกรรมตาม
เทศกาลประจำาปี / ประเพณี
    2.4 กิจกรรมจิตอาสาสร้างความตระหนักการอนุรักษ์สิ่ง
แวดล้อม : การมีส่วนร่วมอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อม
    2.5 กิจกรรมจิตอาสาส่งเสริมประชาธิปไตย : การเข้าร่วม
กิจกรรมในลักษณะเดียวกัน

   การประเมิน ผลกิจ กรรม
     ผู้เรียนจะต้องเข้าร่วมกิจกรรมตามโครงสร้างของระบบ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นการติดตามผล ตรวจสอบความ
สามารถและพัฒนาการด้านต่างๆตามวัตถุประสงค์ที่กำาหนด
ด้วยวิธีการที่หลากหลาย และประเมินตามสภาพจริง โดย
กำาหนดผลการประเมินเป็น “ผ่าน” และ “ไม่ผ่าน” คุณลักษณะอัน
พึงประสงค์ข้อที่1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และข้อที่ 8 มีจิต
สาธารณะ ด้วยการเข้าร่วมกิจกรรมที่กำาหนดตามเกณฑ์
       ผ่าน หมายถึง ผ่านเกณฑ์การประเมิน
      1. ผู้เรียนมีเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อย
ละ 80 จากสมุดบันทึกกิจกรรม
      2. ผู้เรียนผ่านเกณฑ์การปฏิบัติกิจกรรมตามแนวปรัชญา
     ของเศรษฐกิจพอเพียงจาก
              2.1 แบบประเมินการติดตามผลการปฏิบัติงานหรือ
ผลงาน/ชินงานโดยครูผู้สอน
            ้
              2.2 แบบประเมินตนเองของผู้เรียน
ไม่ผ่าน หมายถึง ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน
      1. ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมน้อยกว่าร้อยละ 80
      2. ผู้เรียนไม่ผ่านเกณฑ์การปฏิบัติกิจกรรมตามแนว
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
    2.1 แบบประเมินการติดตามผลการปฏิบัติงานหรือผลงาน/
ชิ้นงานโดยครูผู้สอน
    2.2 แบบประเมินตนเองของผู้เรียน

Contenu connexe

Tendances

โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนTwatchai Tangutairuang
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
โครงสร้างลูกเสือม1
โครงสร้างลูกเสือม1โครงสร้างลูกเสือม1
โครงสร้างลูกเสือม1ดอย บาน ลือ
 
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษานวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษาครูแชมป์ ฟักอ่อน
 
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการteaw-sirinapa
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียนขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียนyana54
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)yana54
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมtassanee chaicharoen
 
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxรายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxweskaew yodmongkol
 
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558pakpoom khangtomnium
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาและภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเยาวชน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาและภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเยาวชน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาและภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเยาวชน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาและภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเยาวชน Sircom Smarnbua
 

Tendances (20)

โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชน
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
โครงสร้างลูกเสือม1
โครงสร้างลูกเสือม1โครงสร้างลูกเสือม1
โครงสร้างลูกเสือม1
 
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษานวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
 
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำโรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ
 
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียนบทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
 
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียนขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
 
บริหารกิจการนักเรียน
บริหารกิจการนักเรียนบริหารกิจการนักเรียน
บริหารกิจการนักเรียน
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
 
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
 
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxรายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
 
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาและภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเยาวชน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาและภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเยาวชน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาและภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเยาวชน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาและภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเยาวชน
 
บทที่ 2++77
บทที่  2++77บทที่  2++77
บทที่ 2++77
 
กิจการนักเรียน
กิจการนักเรียนกิจการนักเรียน
กิจการนักเรียน
 

En vedette

กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์จตุรพล ชานันโท
 
โครงการชุมนุมดนตรีไทย
โครงการชุมนุมดนตรีไทยโครงการชุมนุมดนตรีไทย
โครงการชุมนุมดนตรีไทยพรรณภา ดาวตก
 
บทที่ 3สัญญา
บทที่ 3สัญญาบทที่ 3สัญญา
บทที่ 3สัญญาChi Wasana
 
ชุมนุม ร้องเล่น เต้นรำ
ชุมนุม ร้องเล่น เต้นรำชุมนุม ร้องเล่น เต้นรำ
ชุมนุม ร้องเล่น เต้นรำkrutitirut
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์จตุรพล ชานันโท
 
เล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
เล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
เล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนChay Kung
 
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1watdang
 
การจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจัดบรรยากาศในชั้นเรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจัดบรรยากาศในชั้นเรียนaeimzaza aeimzaza
 
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภการจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภpairop
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑Rissa Byk
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมจตุรพล ชานันโท
 

En vedette (13)

กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
 
โครงการชุมนุมดนตรีไทย
โครงการชุมนุมดนตรีไทยโครงการชุมนุมดนตรีไทย
โครงการชุมนุมดนตรีไทย
 
บทที่ 3สัญญา
บทที่ 3สัญญาบทที่ 3สัญญา
บทที่ 3สัญญา
 
ชุมนุม ร้องเล่น เต้นรำ
ชุมนุม ร้องเล่น เต้นรำชุมนุม ร้องเล่น เต้นรำ
ชุมนุม ร้องเล่น เต้นรำ
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
 
เล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
เล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
เล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 
การจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจัดบรรยากาศในชั้นเรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
 
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
 
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภการจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 

Similaire à การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br

หลักสูตรเรณูนครฯปี51
หลักสูตรเรณูนครฯปี51หลักสูตรเรณูนครฯปี51
หลักสูตรเรณูนครฯปี51Manchai
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 dockrupornpana55
 
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54somchaitumdee50
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7benty2443
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7nattawad147
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524gam030
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7wanneemayss
 

Similaire à การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br (20)

หลักสูตรเรณูนครฯปี51
หลักสูตรเรณูนครฯปี51หลักสูตรเรณูนครฯปี51
หลักสูตรเรณูนครฯปี51
 
ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
B2
B2B2
B2
 
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
School curiculum
School curiculumSchool curiculum
School curiculum
 

Plus de Proud N. Boonrak

สมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือสมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือProud N. Boonrak
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงProud N. Boonrak
 
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้Proud N. Boonrak
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการProud N. Boonrak
 
มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒Proud N. Boonrak
 
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตProud N. Boonrak
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์Proud N. Boonrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพProud N. Boonrak
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง Proud N. Boonrak
 
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษา
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษาร่างยุทธศาสตร์การศึกษา
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษาProud N. Boonrak
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง Proud N. Boonrak
 
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coachingการนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ CoachingProud N. Boonrak
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมProud N. Boonrak
 

Plus de Proud N. Boonrak (16)

สมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือสมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือ
 
Present simple
Present simplePresent simple
Present simple
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
 
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
 
พหุปัญญา
พหุปัญญาพหุปัญญา
พหุปัญญา
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
 
ASEAN
ASEANASEAN
ASEAN
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษา
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษาร่างยุทธศาสตร์การศึกษา
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษา
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coachingการนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
 

การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br

  • 1. การจัด กิจ กรรมพัฒ นาผู้เ รีย น การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธิการได้ จัดทำาและประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ขึนเพื่อให้เขตพื้นที่การศึกษาและสถาน ้ ศึกษาได้นำาไปใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดทำาหลักสูตร สถานศึกษา และจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาเด็กและ เยาวชนไทยทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีคุณภาพ ด้านความรู้และทักษะที่จำาเป็นสำาหรับการดำารงชีวิตในสังคมที่มี การเปลี่ยนแปลง และแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อ เนื่องตลอดชีวิต และในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550 – 2554) ได้ชี้ให้เห็นถึงความจำาเป็นใน การปรับเปลี่ยนจุดเน้นในด้านการพัฒนาคุณภาพคนในสังคม ไทยให้มีคุณธรรมและมี ความรอบรู้อย่างเท่าทัน ให้มีความรู้ด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม สามารถก้าวทันการเปลี่ยนแปลงเพื่อนำาไปสู้ สังคมฐานความรู้ได้อย่างมั่นคง แนวการพัฒนาคนดังกล่าวมุ่ง เตรียมเด็กและเยาวชนให้มีพื้นฐานทางจิตใจที่ดีงาม มีจิต สาธารณะ พร้อมทั้งมีสมรรถนะ ทักษะ และความรู้พื้นฐานที่ จำาเป็นในการดำารงชีวิต อันจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศแบบ ยั่งยืน อีกทั้งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545 ได้ กำาหนดแนวทางการจัดการศึกษา โดยยึดหลักผู้เรียนมีความ สำาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ โดยจัดเนื้อหาสาระ และกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้ เรียน คำานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ ประกอบ กับมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคมเทคโนโลยี ก่อให้ เกิดทั้งผลดีและผลเสียต่อการดำาเนินชีวิตในปัจจุบันของบุคคล ทำาให้เกิดความยุ่งยากซับซ้อนมากยิ่งขึ้น จำาเป็นต้องมีการ
  • 2. ปรับเปลี่ยนวิถีการดำาเนินชีวิตให้สามารถดำารงอยู่ในสังคมได้ อย่างมีคุณค่า มีศักดิศรี มีความสุขบนพื้นฐานของเศรษฐกิจพอ ์ เพียงและยั่งยืน ซึงแนวทางดังกล่าวสอดคล้องกับนโยบายของ ่ กระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่โลก ยุคศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งส่งเสริมผู้เรียนมีคุณธรรม รักความ เป็นไทย ให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์และคิดสร้างสรรค์ มีทักษะ ด้านเทคโนโลยี สามารถทำางาน และอยู่ร่วมกับผู้อื้นในสังคม โลกได้อย่างสันติ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุงพัฒนาผู้เรียนทุกคนซึ่งเป็นกำาลังของชาติให้เป็น ่ มนุษย์ทมีความสมดุลทั้งทางด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มี ี่ จิตสำานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในการ ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติที่จำาเป็นต่อ การศึกษา การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่ง เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถ เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ การพัฒนาที่ สำาคัญ คือ การพัฒนาที่สมดุลอย่างเป็นองค์รวมทุกด้านเพื่อความเป็นมนุษย์ ที่สมบูรณ์ มีพื้นฐานทางจริยศาสตร์ ความเป็นคนดีทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม ผู้เรียนทุกคนในระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐานต้องสร้างองค์ความรู้ ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู้ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ จึงจำาเป็นต้องเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่ม สาระการเรียนรู้ คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาษาต่างประเทศ และกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน ซึงเป็นการบูรณาการองค์ความรู้ ทักษะและ ่ เจตคติที่เกิดจากการเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และ ประสบการณ์ของผู้เรียนมาปฏิบัติ เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะที่ สำาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
  • 3. ด้วยเหตุผลดังกล่าว กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จึงเป็นส่วน หนึ่งของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ทีช่วยให้ผู้เรียนได้นำาองค์ความรู้ ทักษะจากการเรียนรู้ ่ และประสบการณ์ของผู้เรียนมาปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนมา ปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาตนเองเพื่อเป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย และมีจิตสำานึกสาธารณะที่ดีงาม เป็นคนมี ปัญญาในการใช้ทักษะชีวิต การคิด การสื่อสาร การแก้ปัญหา และการใช้เทคโนโลยี และเป็นคนมีความสุขในการดำาเนินชีวิต อย่างพอเพียง โดยอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างสร้างสรรค์ การจัด กิจ กรรมพัฒ นาผู้เ รีย นตามหลัก สูต ร กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประกอบด้วยกิจกรรม 3 ลักษณะ ดังนี้ 1. กิจ กรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้ รักษ์สิ่งแวดล้อม สามารถคิดตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา กำาหนด เป้าหมาย วางแผนชีวิตทั้งด้านการเรียน และอาชีพ สามารถ ปรับตนได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยังช่วยให้ครูรู้จักและ เข้าใจผู้เรียน ทั้งยังเป็นกิจกรรมที่ช่วยเหลือและให้คำาปรึกษา แก่ผู้ปกครองในการมีส่วนรวมพัฒนาผู้เรียน 2. กิจ กรรมนัก เรีย น เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความเป็นระเบียบวินัย ความเป็น ผู้นำา ผู้ตามที่ดี ความรับผิดชอบ การทำางานร่วมกัน การรู้จัก แก้ปัญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วย เหลือแบ่งปัน เอื้ออาทร สมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับ ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน ให้ได้ ปฏิบัติด้วยตนเองในทุกขั้นตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติตามแผนประเมิน และปรับปรุงการทำางาน เน้น การทำางานร่วมกันเป็นกลุ่มตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับ
  • 4. วุฒิภาวะของผู้เรียนและบริบทของสถานศึกษาและท้องถิ่น กิจกรรมนักเรียนประกอบด้วย 2.1 กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และ นักศึกษาวิชาทหาร 2.2 กิจกรรมชุมนุม หรือ กลุ่มสนใจ 3. กิจ กรรมเพื่อ สัง คมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบำาเพ็ญตนให้เป็น ประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และท้องถิ่น ตามความสนใจใน ลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสังคม และการมีจิตสาธารณะ เช่น กิจกรรม อาสาพัฒนาต่าง ๆ กิจกรรมสร้างสรรค์สังคม เป้าหมายของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้ เรียนมุ่งส่งเสริมและพัฒนาให้ผู้เรียนใช้ความรู้ ทักษะและ ประสบการณ์จากการเรียนรู้ไปพัฒนาตนเองให้เกิดสมรรถนะ สำาคัญ 5 ประการ ได้แก่ ความสามารถในการสื่อสาร ความ สามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความ สามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี อันจะนำาไปสู่คุณลักษณะอันพึง แนวการจัด กิจ กรรมพัฒ นาผู้เ รีย น 1. ให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ 2. ให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมผ่านประสบการณ์ที่หลากหลาย ฝึกการทำางานที่สอดคล้องกับชีวิตจริง ตลอดจนสะท้อนความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ของผู้เรียน 3. จัดกิจกรรมอย่างสมดุลทั้ง 3 ลักษณะ คือ กิจกรรม แนะแนว กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ โดยจัดกิจกรรมรายบุคคล กิจกรรมกลุ่ม ทั้งในและนอกสถานที่อย่างสมำ่าเสมอและต่อเนื่อง 4. จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเป็นผู้ดำาเนินการ โดยการศึกษาและ ใช้ข้อมูลประกอบการวางแผนอย่างเป็นระบบ เน้นการคิด วิเคราะห์และใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการดำาเนินกิจกรรม
  • 5. 5. ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้แบบร่วมมือมากกว่า เน้นการแข่งขันบนพื้นฐานการปฏิบัติตามวิถีประชาธิปไตย 6. จัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่กิจกรรมขอบข่าย การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สถานศึกษาต้องจัดกิจกรรมให้ครบทั้ง 3 ลักษณะ คือ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ โดยสามารถจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนได้ หลากหลายรูปแบบและวิธีการ โดยมีขอบเขตดังนี้ 1. เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ให้ กว้างขวางลึกซึ้งยิ่งขึ้น ในลักษณะเป็นกระบวนการเชิงบูรณา การโดยยึดหลักคุณธรรมจริยธรรม ตลอดจนสามารถบูรณา การระหว่างกิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรม เพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 2. เป็นกิจกรรมที่ตอบสนองความสนใจ ความถนัด และความ ต้องการของผู้เรียนตามความแตกต่างระหว่างบุคคล เน้นการ ให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าของวิชาความรู้ อาชีพ และการดำาเนิน ชีวิตที่ดีงาม ตลอดจนเห็นแนวทางในการศึกษาต่อและการ ประกอบอาชีพ 3. เป็นกิจกรรมที่ปลูกฝังและส่งเสริมจิตสำานึกการทำาประโยชน์ ต่อสังคมในลักษณะต่าง ๆสนับสนุนค่านิยมที่ดีงามและเสริม สร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 4. เป็นกิจกรรมที่ฝึกการทำางานและการให้บริการด้านต่าง ๆ ทั้ง ที่เป็นประโยชน์ต่อตนเองและส่วนรวม เพื่อเสริมสร้างความมี นำ้าใจ ความเอื้ออาทร ความเป็นพลเมืองดี และความรับผิด ชอบต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม แนวการจัด กิจ กรรมนัก เรีย น • กิจ กรรมลูก เสือ – เนตรนารี กิจกรรมลูกเสือ คือ กิจกรรมพัฒนาเยาวชน มีวัตถุประสงค์ เพื่อฝึกอบรมให้การศึกษาและพัฒนาเยาวชนให้เป็นพลเมือดี
  • 6. โดยไม่คำานึงถึงเชื้อชาติ ศาสนา ทั้งนี้เป็นไปตามมุ่งประสงค์ หลักการและวิธีการซึ่งลูกเสือโลกได้กำาหนดไว้ปัจจุบันกิจกรรม ลูกเสือถือเป็นกระบวนการทางการศึกษาส่วนหนึ่ง ซึ่งมุ่งพัฒนา สมรรถภาพของบุคคลทั้งทางสมอง ร่างกาย จิตใจ และศีลธรรม เพื่อให้เป็นบุคคลที่มีความประพฤติดีงาม ไม่กระทำาตนให้เป็น ปัญหาต่อสังคม และดำารงชีวิตอย่างมีความหมายและสุขสบาย หลัก การ 1. มีศาสนาเป็นหลักยึดทางจิตใจ จงรักภักดีต่อศาสนาที่ตน เคารพนับถือ และพึงปฏิบัติศาสนกิจด้วยความจริงใจ 2. จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริยและประเทศชาติของตนพร้อม ์ ด้วยการส่งเสริมและสนับสนุนสันติสุขและสันติภาพ ความเข้าใจ ที่ดีซงกันและกัน และความร่วมมือซึ่งกันและกันตั้งแต่ระดับท้อง ึ่ ถิ่น ระดับชาติและระดับนานาชาติ 3. เข้าร่วมพัฒนาสังคม ยอมรับ และให้ความเคารพในเกียรติ และศักดิ์ศรีของผู้อื่นและเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน รวมทั้งธรรมชาติ และสรรพสิ่งทั้งหลายในโลก 4. มีความรับผิดชอบต่อการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 5. ลูกเสือทุกคนต้องยึดมั่นในคำาปฏิญาณและกฎของลูกเสือ วัต ถุป ระสงค์ พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ. 2551 มาตรา 6 ได้กำาหนด วัตถุประสงค์ของการฝึกอบรมลูกเสือ เพื่อพัฒนาลูกเสือทั้งทาง ร่างกาย สติปัญญา จิตใจและศีลธรรมให้เป็นพลเมืองดี มีความ รับผิดชอบและช่วยสร้างสรรค์สังคม ให้เกิดความสามัคคี และมี ความเจริญก้าวหน้า ทั้งนี้เพื่อความสงบสุขและความมั่นคงของ ประเทศชาติตามแนวทางดังต่อไปนี้ 1. ให้มีนิสัยในการสังเกต จดจำา เชื่อฟัง และพึ่งตนเอง 2. ให้มีความซื่อสัตย์ สุจริต มีระเบียบวินัย และเห็นอกเห็นใจผู้ อื่น 3. รู้จักบำาเพ็ญตนเพื่อสาธารณประโยชน์
  • 7. 4. รู้จักทำาการฝีมือและฝึกฝนการท ากิจกรรมต่างๆ ตามความ เหมาะสม 5. ให้รู้จักรักษาและส่งเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรม และ ความมั่นคงของประเทศชาติ ขอบข่า ย กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี เป็นกิจกรรมที่มุ่งปลูกฝังระเบียบ วินัยและกฎเกณฑ์เพื่อการอยู่ร่วมกัน ให้รู้จักการเสียสละและ บำาเพ็ญประโยชน์แก่สังคมและวิถีชีวิตในระบอบประชาธิปไตย ซึ่งการจัดกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารีให้เป็นไปตามข้อบังคับของ สำานักงานลูกเสือแห่งชาติ รวมทั้งให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกน กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประเภท หลักสูตรลูกเสือ เนตรนารี 1. ลูกเสือสำารอง ชันประถมศึกษาปีที่ 1-3 ้ 2. ลูกเสือสามัญ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 3. ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 แนวการจัด กิจ กรรม การจัดกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี มีแนวทางตามวิธีการลูก เสือ (Scout Method) 7 ประการ คือ 1. คำาปฏิญาณและกฎ ถือเป็นหลักเกณฑ์ที่ลูกเสือทุกคนให้ คำามั่นสัญญาว่าจะปฏิบัติตาม 2. เรียนรู้จากการกระทำา เป็นการพัฒนาส่วนบุคคล ที่สามารถ แก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง 3. ระบบหมู่ เป็นรากฐานอันแท้จริงของการลูกเสือ เป็นพื้นฐาน ในการอยู่ร่วมกัน การยอมรับซึ่ง กันและกัน การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ การช่วยเหลือซึ่งกัน และกันเป็นการเรียนรู้ประชาธิปไตยเบื้องต้น 4. การใช้สัญลักษณ์ร่วมกัน เป็นการฝึกให้มีความเป็นอันหนึ่ง อันเดียวกันของการเป็นสมาชิกลูกเสือ–เนตรนารี ได้แก่ เครื่อง แบบ เครื่องหมาย การทำาความเคารพ คำาปฏิญาณ กฎ คติพจน์ ธง เป็นต้น ในการเป็นสมาชิกลูกเสือแห่งโลกที่มี สมาชิกมากที่สุด
  • 8. 5. การศึกษาธรรมชาติ เป็นสิ่งสำาคัญอันดับหนึ่ง 6. ความก้าวหน้าในการเข้าร่วมกิจกรรม ทีหลากหลายให้ ่ สัมพันธ์กันเพื่อการพัฒนาตนเอง 7. การสนับสนุนโดยผู้ใหญ่ ในการร่วมมือกันพัฒนาอย่างถูก ต้อง การประเมิน กิจ กรรม การประเมินกิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารี เป็นกระบวนการ ทดสอบความสามารถ และพัฒนาการด้านต่างๆของผู้เรียน ทั้ง ความรู้ ความสามารถตามทฤษฎี ความประพฤติ พฤติกรรมการ เข้าร่วมกิจกรรมที่เน้นทักษะและการปฏิบัติด้วยวิธีการประเมินที่ หลากหลายและการประเมินตามสภาพจริง แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ 1. กิจกรรมบังคับ เป็นการประเมินผลกิจกรรมตามหลักสูตร เพื่อให้ผู้เรียนผ่านเกณฑ์การตัดสินให้เลื่อนชั้นหรือจบหลักสูตร ตามเกณฑ์การประเมิน ระบบกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกำาหนด ที่มี การประเมินผลตลอดภาคเรียน/ปี ผลการประเมินเป็น “ผ่าน” และ “ไม่ผ่าน” ผ่าน หมายถึง ผ่านเกณฑ์การประเมิน 1. ผู้เรียนมีเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากสมุดบันทึกกิจกรรม 2. ผู้เรียนผ่านเกณฑ์การปฏิบัติกิจกรรมตามแนวปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงจาก 2.1 แบบประเมินการติดตามผลการปฏิบัติงานหรือผลงาน/ ชิ้นงานโดยครูผู้สอน 2.2 แบบประเมินตนเองของผู้เรียน ไม่ผ่าน หมายถึง ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน 1. ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมน้อยกว่าร้อยละ 80 2. ผู้เรียนไม่ผ่านเกณฑ์การปฏิบัติกิจกรรมตามแนวปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงจาก 2.1 แบบประเมินการติดตามผลการปฏิบัติงานหรือผลงาน/ชิน ้ งานโดยครูผู้สอน 2.2 แบบประเมินตนเองของผู้เรียน
  • 9. • กิจ กรรมชุม นุม / กลุม สนใจ ่ กิจกรรมชุมนุม/ชมรม เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนรวมกลุ่มกันจัด ขึ้นตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน เพื่อเติมเต็มความรู้ ความชำานาญ ประสบการณ์ ทักษะ เจตคติ เพื่อพัฒนาตนเองตามศักยภาพ ชุมนุม หมายถึง กลุ่มคนกลุ่มหนึ่งที่มีความสนใจในสิ่ง เดียวกัน จึงรวมกลุ่มกันเพื่อนำาสิ่งที่ตนสนใจในสิ่งนั้นๆ ทำา ประโยชน์ต่อสังคม และเป็นกิจกรรมที่พัฒนาความถนัด ความ สนใจตามความต้องการของผู้เรียน มุ่งเน้นการเติมเต็มความรู้ ความชำานาญและประสบการณ์ของผู้เรียนให้กว้างขวางยิ่งขึ้น เพื่อผู้เรียนได้ค้นพบความถนัด ความสนใจของตนเอง และ พัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพ ตลอดจนการพัฒนาทักษะและ ปลูกฝังจิตสำานึกของการทำาประโยชน์เพื่อสังคม ชุมนุมกลุ่มสนใจ หมายถึง การจัดตั้งชุมนุมขึ้นในโรงเรียน แล้วให้นักเรียนสมัครเข้าชุมนุมตามความถนัดและสนใจของ นักเรียนเอง เช่น ชุมนุมดนตรี , ชุมนุมร้องเพลงการเล่นของ ไทย , ชุมนุมกีฬา , ชุมนุมศิลปะ ,ชุมนุมฝึกอาชีพ หลัก การ 1. เกิดจากการสร้างสรรค์และออกแบบกิจกรรมของผู้เรียนตาม ความสมัครใจ 2. ผู้เรียนร่วมกันทำางานเป็นทีม ช่วยกันคิด ช่วยกันทำา และช่วย กันแก้ปัญหา 3. เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน 4. เป็นกิจกรรมที่เหมาะสมกับวัยและวุฒิภาวะของผู้เรียน รวม ทั้งบริบทของสถานศึกษาและท้องถิ่น วัต ถุป ระสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ ความถนัด และความต้องการของตนเอง
  • 10. 2. เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาความรู้ ความสามารถด้านการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ให้เกิดประสบการณ์ทั้งทางวิชาการและ วิชาชีพตามศักยภาพ 3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้เวลาให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและ ส่วนรวม 4. เพื่อให้ผู้เรียนทำางานร่วมกับผู้อื่นได้ตามวิถีประชาธิปไตย ขอบข่า ย 1. เป็นกิจกรรมที่เกื้อกูล ส่งเสริมการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการ เรียนรู้ให้กว้างขวาง ลึกซึ้งยิงขึ้น ่ 2. เป็นกิจกรรมที่จัดตามความสนใจของผู้เรียน 3. เป็นกิจกรรมที่สามารถจัดได้ทั้งในและนอกสถานศึกษา และ ทั้งในและนอกเวลาเรียน แนวการจัด กิจ กรรมชุม นุม /กลุม สนใจ ่ สามารถปรับใช้ได้ตามความเหมาะสมกับบริบทและสถานภาพ ของโรงเรียน 1. ให้ผู้เรียนดำาเนินกิจกรรมได้หลากหลาย ทั้งรูปแบบภายใน หรือภายนอกห้องเรียนภายในระยะเวลา 1 ปีการศึกษา 2. ระบบกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจัดตั้งชุมนุม กลุ่มสนใจ จาการ สำารวจความสนใจของผู้เรียนในการเลือกเข้าร่วมกิจกรรม 3. นักเรียนร่วมกันจัดตั้งชุมนุม กลุ่มสนใจ และเชิญครูที่ปรึกษา โดยร่วมกันดำาเนินกิจกรรมตามหลักการจัดกิจกรรมชุมนุมได้ 4. ครูที่ปรึกษาเป็นผู้รับผิดชอบ กระตุ้น และส่งเสริมให้ผู้เรียนมี การถอดประสบการณ์แลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่กิจกรรม 5. จัดกิจกรรมตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เงื่อ นไข 1. กิจกรรมชุมนุม ชมรม เป็นไปตามโครงสร้างระบบกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน 2. สมาชิกขุมนุม ชมรม ต้องเข้าร่วมกิจกรรม และปฏิบัติตาม ระเบียบของชุมนุม ชมรม มีผลงาน/ชิ้นงาน และคุณลักษณะอัน
  • 11. พึงประสงค์ตามที่กำาหนดพร้อมรับการติดตามผลและประเมินผล การดำาเนินงานของชุมนุม ชมรมอย่างต่อเนื่องและสมำ่าเสมอ การประเมิน ผล เป็นการติดตามผล ตรวจสอบความสามารถและพัฒนาการ ด้านต่างๆตามวัตถุประสงค์ที่กำาหนด ด้วยวิธีการที่หลากหลาย และประเมินตามสภาพจริง โดยกำาหนดผลการประเมินเป็น “ผ่าน” และ “ไม่ผ่าน” ผ่าน หมายถึง ผ่านเกณฑ์การประเมิน 1. ผู้เรียนมีเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากสมุดบันทึกกิจกรรม 2. ผู้เรียนผ่านเกณฑ์การปฏิบัติกิจกรรมตามแนวปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงจาก 2.1 แบบประเมินการติดตามผลการปฏิบัติงานหรือ ผลงาน/ชินงานโดยครูผู้สอน ้ 2.2 แบบประเมินตนเองของผู้เรียน ไม่ผ่าน หมายถึง ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน 1. ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมน้อยกว่าร้อยละ 80 2. ผู้เรียนไม่ผ่านเกณฑ์การปฏิบัติกิจกรรมตามแนว ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2.1 แบบประเมินการติดตามผลการปฏิบัติงานหรือ ผลงาน/ชินงานโดยครูผู้สอน ้ 2.2 แบบประเมินตนเองของผู้เรียน • กิจ กรรมเพื่อ สัง คมและสาธารณประโยชน์ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์เป็นกิจกรรมที่ส่ง เสริมให้ผู้เรียนบำาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ ในลักษณะอาสาสมัครเพื่อช่วยขัดเกลา จิตใจของผู้เรียนให้มีความเมตตา กรุณา มีความเสียสละ และมี จิตสาธารณะเพื่อช่วยสร้างสรรค์สังคมให้อยู่ร่วมกันอย่างมีความ สุข
  • 12. หลัก การ ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพโดยคำานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล และพัฒนาการทางสมอง เน้นให้ความสำาคัญทั้งความรู้ และ คุณธรรมจริยธรรม จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้สร้างสรรค์ ออกแบบกิจกรรมเพื่อสาธารณประโยชน์อย่างหลากหลายรูป แบบเพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบต่อสังคมในลักษณะจิตอาสา วัต ถุป ระสงค์ 1. เพื่อปลูกฝังและสร้างจิตสำานึกให้แก่ผู้เรียนในการบำาเพ็ญตน ให้เป็นประโยชน์ต่อครอบครัว โรงเรียน สังคม และประเทศชาติ 2. เพื่อให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการจัดกิจกรรม เพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ตาม ความถนัดและความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร 3. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ คุณธรรม จริยธรรมตามคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 4. เพื่อให้ผู้เรียนมีจิตสาธารณและใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ขอบข่า ย เป็นกระบวนการจัดกิจกรรมในลักษณะกิจกรรมบำาเพ็ญ ประโยชน์ กิจกรรมอาสาพัฒนา หรือกิจกรรมสร้างสรรค์สังคม โดยผู้เรียนดำาเนินการด้วยตนเองในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อ แสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสังคม และมีจิตสาธารณะ แนวการจัด กิจ กรรม เน้นให้ผู้เรียนร่วมกันสำารวจและวิเคราะห์สภาพปัญหา ร่วมกัน ออกแบบการจัดกิจกรรม วางแผนการจัดกิจกรรม ปฏิบัติ กิจกรรมตามแผน ร่วมสรุปและประเมินผลการจัดกิจกรรม ร่วม รายงานผล พร้อมทั้งประชาสัมพันธ์และเผยแพร่การจัดกิจกรรม รูปแบบกิจกรรม ผู้เรียนสามารถเลือกจัดกิจกรรมหรือเข้าร่วม กิจกรรมได้ดังนี้
  • 13. 1. กิจกรรมภายในโรงเรียน (กิจกรรมในวิถีชีวิตโรงเรียนเพื่อ ปลูกฝังจิตอาสา) เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนและครูที่ปรึกษากิจกรรม ร่วมกันวางแผนปฏิบัติกิจกรรมจิตอาสาในวิถีของชั้นเรียนและ โรงเรียนจนเกิดเป็นนิสัยในการสมัครใจทำางานต่างๆเพื่อ ประโยชน์ของส่วนรวม ซึงงานเหล่านี้จะขยายขอบเขตจากใกล้ ่ ตัวไปสู่สังคมที่อยู่ภายนอกได้ 2. จัดกิจกรรมภายนอกโรงเรียน (กิจกรรมอาสาสมัครเพื่อ สังคม) เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนได้รับการ สนับสนุนตามแผนการจัดกิจกรรมโดยให้ทำากิจกรรมด้วยความ สมัครใจที่เป็นประโยชน์แก่ชุมชนและสังคมโดยรวม ลักษณะ กิจกรรมผู้เรียนสามารถจัดกิจกรรมได้ในลักษณะต่อไปนี้ 1. ลักษณะบูรณาการ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ตามองค์ความรู้ที่ ได้จากการเรียนรู้ของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ตามความเหมาะ สม 2. ลักษณะโครงการ/ โครงงาน/กิจกรรม หมายถึงกิจกรรมที่ผู้ เรียนนำาเสนอการจัดกิจกรรมต่อโรงเรียนเพื่อความเห็นชอบใน การจัดทำาโครงการหรือโครงงานหรือกิจกรรม และระบุระยะ เวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดอย่างชัดเจน 3. ลักษณะการจัดร่วมกับองค์กรอื่น หมายถึงกิจกรรมที่ผู้เรียน อาสาสมัครเข้าร่วมกิจกรรมกับ หน่วยงานหรือองค์กรอื่นๆที่จัดกิจกรรมในลักษณะเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ที่ผู้เรียนสามารถเลือกเข้าร่วมกิจกรรมกับ หน่วยงานอื่นที่เข้ามาจัดกิจกรรมในโรงเรียน หรือ เข้าร่วม กิจกรรมกับหน่วยงานอื่นที่จัดกิจกรรมนอกโรงเรียน เงื่อ นไข 1. นักเรียนทุกคนในโรงเรียนจะต้องเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณประโยชน์ตามโครงสร้างของระบบกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน ทั้ง 5 กิจกรรมให้ครบถ้วนสมบูรณ์ตามความเหมาะสม 2. กิจกรรมจิตอาสาเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ตามหลัก สูตรบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีกิจกรรม หลักๆ ได้แก่
  • 14. 2.1 กิจกรรมจิตอาสาเสริมสร้างภาวะผู้นำา : งานคณะ กรรมการนักเรียน 2.2 กิจกรรมจิตอาสาสร้างสรรค์สุนทรียภาพทางดนตรี กีฬา และศิลปะ ได้หลอมรวมอยูใน ่ กิจกรรมกีฬานักเรียนประจำาปี ด้านดนตรีได้แก่การเข้าร่วม ขบวนพาเหรด ด้านกีฬาได้แก่การเป็นนักกรีฑา/นักกีฬา ตัวจริง ที่ส่งลงแข่งขัน ด้านศิลปะได้แก่การร่วมกิจกรรมเชียร์ และมี ความต่อเนื่องมาจากกิจกรรมกีฬาภายในของโรงเรียนเป็นต้น 2.3 กิจกรรมจิตอาสาเสริมสร้างคุณธรรมและวัฒนธรรมไทย : การอาสาเข้าร่วมกิจกรรมตาม เทศกาลประจำาปี / ประเพณี 2.4 กิจกรรมจิตอาสาสร้างความตระหนักการอนุรักษ์สิ่ง แวดล้อม : การมีส่วนร่วมอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม 2.5 กิจกรรมจิตอาสาส่งเสริมประชาธิปไตย : การเข้าร่วม กิจกรรมในลักษณะเดียวกัน การประเมิน ผลกิจ กรรม ผู้เรียนจะต้องเข้าร่วมกิจกรรมตามโครงสร้างของระบบ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นการติดตามผล ตรวจสอบความ สามารถและพัฒนาการด้านต่างๆตามวัตถุประสงค์ที่กำาหนด ด้วยวิธีการที่หลากหลาย และประเมินตามสภาพจริง โดย กำาหนดผลการประเมินเป็น “ผ่าน” และ “ไม่ผ่าน” คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ข้อที่1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และข้อที่ 8 มีจิต สาธารณะ ด้วยการเข้าร่วมกิจกรรมที่กำาหนดตามเกณฑ์ ผ่าน หมายถึง ผ่านเกณฑ์การประเมิน 1. ผู้เรียนมีเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อย ละ 80 จากสมุดบันทึกกิจกรรม 2. ผู้เรียนผ่านเกณฑ์การปฏิบัติกิจกรรมตามแนวปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงจาก 2.1 แบบประเมินการติดตามผลการปฏิบัติงานหรือ ผลงาน/ชินงานโดยครูผู้สอน ้ 2.2 แบบประเมินตนเองของผู้เรียน
  • 15. ไม่ผ่าน หมายถึง ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน 1. ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมน้อยกว่าร้อยละ 80 2. ผู้เรียนไม่ผ่านเกณฑ์การปฏิบัติกิจกรรมตามแนว ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2.1 แบบประเมินการติดตามผลการปฏิบัติงานหรือผลงาน/ ชิ้นงานโดยครูผู้สอน 2.2 แบบประเมินตนเองของผู้เรียน