SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  28
Télécharger pour lire hors ligne
METR0360 Mechatronics System Design
Ch1 : Introduction to Mechatronics
เมคคาทรอนิกส์คืออะไรเมคคาทรอนกสคออะไร
องค์ประกอบของระบบเมคคาทรอนิกส์
ตัวอย่างระบบเมคคาทรอนิกส์ตวอยางระบบเมคคาทรอนกส
ความรู้พื้นฐานสาขาวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์
วัตถุประสงค์ :
ื่ ใ ้ ้ ใ ิ ื้ ิ ์เพือให้เข้าใจแนวคิดพืนฐานของระบบเมคคาทรอนิกส์
เพื่อให้เข้าใจองค์ประกอบของระบบเมคคาทรอนิกส์
2/2556 by psw1999@yahoo.com
Introduction to Mechatronics
1 1 ิ ส์ ื ไ1.1 เมคคาทรอนกสคออะไร
เมคคาทรอนิกส์เป็นศาสตร์ที่นําความรู้หลากหลายสาขามาผสมผสานกันโดยคําว่า
M h t i ี้ ิ ํ ํ ่ M h i El t i ื่ ั ึ่Mechatronics นเกดจากการนาเอาคาวา Mechanics และ Electronics เชอมกนซง
ศาสตร์นี้ถือกําเนิดมาเมื่อประมาณปี ค.ศ. 1970 โดยวิศวกรบริษัท Yasakawa ในประเทศ
ี่ป่ ซึ่ ใ ั้ ี ิ ่ ิ ส์ ็ ื ป ์ใช้ญปุน ซงในขณะนนมการนยามวาเมคคาทรอนกสกคอการประยุกตใช
ไมโครโปรเซสเซอร์เพื่อการควบคุมเครื่องจักรกลหรือผลิตภัณฑ์ในแบบที่มีการผสมผสาน
กันร หว่างร บบไฟฟ้าแล กลไก (El t M h i l P d t) แต่อย่างไรก็ตามคํากนระหวางระบบไฟฟาและกลไก (Electro-Mechanical Product) แตอยางไรกตามคา
ว่าเมคคาทรอนิกส์ในปัจจุบันนั้นมีความหมายและการประยุกต์ใช้งานที่กว้างขวางมากกว่า
นั้นมาก จากบทความวิชาการ [1] ”M h t i A I d t i l P ti ”นนมาก จากบทความวชาการ [1] ”Mechatronics – An Industrial Perspective”
กล่าวถึงความหมายของคําว่า Mechatronics ไว้ดังนี้ “The synergistic integration
f h i l i i ith l t i d i t lli t tof mechanical engineering with electronics and intelligent computer
control in the design and manufacturing of industrial products and
” และนอกจากนั้นก็ยังมีผ้ให้คําจํากัดความไว้อีกหลายคนด้วยกันprocesses” และนอกจากนนกยงมผูใหคาจากดความไวอกหลายคนดวยกน
Introduction to Mechatronics
Takashi Yamaguchi วิศวกรบริษัทฮิตาชิที่ทํางานในหน่วยงานที่ชื่อว่า
่ ไ ้ ่Mechanical Engineering Laboratory กล่าวไว้ว่า
Mechatronics is a methodology for designing products that exhibit
fast, precise performance.
ซึ่งการที่จะได้ผลิตภัณฑ์คุณสมบัติดังกล่าวทําไม่สามารถเกิดได้โดยการออกแบบ
ี่ ี ่ ั้ ่ ้ ึ ิ ใ ่ระบบทางกลทีดีเท่านันแต่จะต้องรวมถึงการพิจารณาการออกแบบในส่วนของการ
ควบคุมเซอร์โว, เซนเซอร์และวงจรอิเล็กทรอนิกส์ นอกจากนั้น Takashi ยังกล่าวอีกว่า
ิ ์ไ ์ใ ื่ ิ ์ ื ่ ็ ั ่ ํ ็ ั ึ่ ์ใ ้ดิสค์ไดรว์ในเครืองคอมพิวเตอร์ถือว่าเป็นตัวอย่างความสําเร็จอันหนึงของการประยุกต์ใช้
ศาสตร์ที่เรียกว่า Mechatronics ลักษณะการทํางานของดิสค์ไดรว์นั้นต้องการให้ระบบ
ํ ไ ้ ็ ํ ่ ่ ํ ใ ้ ึ ึ่ ้ ึ ีทํางานได้รวดเร็วและตําแหน่งแม่นยําในการเข้าถึงซึงข้อมูลรวมถึงมีความคงทน
(Robust) ต่อสิ่งที่มารบกวนระบบจากภายนอก (Disturbances)
ั ื ไ ้ ่ ไ ้ ่ ี ิ
Introduction to Mechatronics
จากหนังสือ Mechatronics (Sabri Cetikunt) [2] ได้กล่าวไว้ว่าทีมวิศวกรออกแบบ
ผลิตภัณฑ์ที่เป็น Electromechanical Product จะประกอบด้วย
1. วิศวกรผู้ออกแบบส่วนประกอบทางกล
ิ ้ ่ ป ไฟฟ้ ่2. วิศวกรผู้ออกแบบส่วนประกอบทางไฟฟ้า เช่น Sensor, Actuator, Amplifier
ตลอดจน Algorithm ในการควบคุม เป็นต้น
ิ ้ ่ ป ้ ิ ์ ั้ ์ ์ ฟ ์ ์3. วิศวกรผู้ออกแบบส่วนประกอบด้านคอมพิวเตอร์ทังฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์
่ ํ ั ิ ิ ์ ้ ั้ ื่ ํ ้ ี่ ั้ ่ ใแต่สําหรับวิศวกรเมคคาทรอนิกส์แล้วนันจะถูกสอนมาเพือทําหน้าทีทังสามอย่างใน
วิศวกรคนเดียวกัน ดังนั้นการออกแบบจะไม่ใช่เป็นการออกแบบที่เป็นลําดับขั้นเช่น เริ่ม
้ ้ ไฟฟ้ ปิ ้ ้จากระบบทางกล ตามด้วยการออกแบบระบบด้านไฟฟ้า และปิดท้ายด้วยการออกแบบ
ระบบควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ แต่วิศวกรเมคคาทรอนิกส์จะต้องออกแบบระบบต่างๆ
ไป ้ ั ื่ ใ ้ ิ ั ์ ป็ ไป ่ ี ี่ (O i l P dไปพรอมกันเพือใหการออกแบบผลิตภัณฑ์เป็นไปอยางดีทีสุด (Optimal Product
Design)
Introduction to Mechatronics
Davor Hrovat พนักงานผู้เชี่ยวชาญอาวุโสของ Ford Research Laboratory
่ ่กล่าวว่า Mechatronics is mixture of technologies and techniques that
together help in designing better products
และสุดท้ายสําหรับตัวอย่างคําจํากัดความจากหนังสือ Mechatronics System
็ ืDesign [3] ก็คือ Mechartonics is a methodology used for the optimal
design of electromechanical product. ซึ่งก็หมายความว่าเมคคาทรอนิกส์เป็น
ิ ี ี่ใ ้ใ ่ ิ ั ์ ี่ ี ่ ั้วิธีการทีใช้ในการออกแบบอย่างเหมาะสมของผลิตภัณฑ์ทีมีส่วนประกอบทังระบบทาง
กลและไฟฟ้า
์ ิ ์
Introduction to Mechatronics
1.2 องค์ประกอบระบบเมคคาทรอนิกส์ [3]
องค์ประกอบระบบเมคคาทรอนิกส์ในมมมองของสิ่งที่มาประกอบกันให้เป็นระบบองคประกอบระบบเมคคาทรอนกสในมุมมองของสงทมาประกอบกนใหเปนระบบ
เมคคาทรอนิกส์อาจพิจารณาได้ดังรูปที่ 1.1
องค์ประกอบด้านฮาร์ดแวร์ ได้แก่องคประกอบดานฮารดแวร ไดแก
• ระบบทางกลและกลไกขับเคลื่อนเครื่องจักร (Mechanical systems)
• ระบบขับเคลื่อนกลไกของเครื่องจักร (Actuator)• ระบบขบเคลอนกลไกของเครองจกร (Actuator)
• อุปกรณ์ตรวจวัดสถานะของเครื่องจักร (Sensor)
• วงจรอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเชื่อมต่อระหว่างเซ็นเซอร์ แอคทเอเตอร์เข้ากับตัวควบคม• วงจรอเลกทรอนกสเพอเชอมตอระหวางเซนเซอร,แอคทูเอเตอรเขากบตวควบคุม
(Signal conditioning circuit & data conversion circuit)
• ตัวควบคม (Controller) เช่น คอมพิวเตอร์ ไมโครคอนโทรลเลอร์บอร์ดหรือ PLC• ตวควบคุม (Controller) เชน คอมพวเตอร,ไมโครคอนโทรลเลอรบอรดหรอ PLC
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ทําหน้าที่เป็นตัวควบคมซอฟตแวรทาหนาทเปนตวควบคุม
Introduction to Mechatronics
รูปที่ 1.1 องค์ประกอบของระบบ Mechatronics
จากหนังสือ Devdas Shetty and Richard A. Kolk, “Mechatronics System Design 2nd edition, Cengage-Learing, 2011
Introduction to Mechatronics
รปที่ 1 2 องค์ประกอบระบบขับเคลื่อนกลไกด้วยมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงรูปท 1.2 องคประกอบระบบขบเคลอนกลไกดวยมอเตอรไฟฟากระแสตรง
จากหนังสือ Devdas Shetty and Richard A. Kolk, “Mechatronics System Design 2nd edition, Cengage-Learing, 2011
Introduction to Mechatronics
ั ่ ิ ์
จากเอกสารอ้างอิงตัวอย่างของระบบที่ถือว่าเป็นเมคคาทรอนิคส์ได้แก่ ระบบการ
1.3 ตัวอย่างระบบเมคคาทรอนิกส์
ควบคุมเครื่องบินและอากาศยาน (Flight Control),ระบบควบคุมในรถยนต์ เช่น ระบบ
ป้องกันการสั่นสะเทือน, ระบบ ABS(Anti lock brake system), ระบบการผลิตแบบ
อัตโนมัติ เช่น หุ่นยนต์, เครื่องจักรกลแบบ CNC และยังได้รวมไปถึงอุปกรณ์
เครื่องใช้ไฟฟ้าในครัวเรือนอย่างเช่น เครื่องซักผ้า เป็นต้น
) ื่ CNC b) ส
รูปที่ 1.3 ตัวอยางระบบเมคคาทรอนิกส
a) เครอง CNC b) แขนกลอุตสาหกรรม
Introduction to Mechatronics
- เครื่องซักผ้า มีความต้องการของระบบคือทราบขนาดของโหลด(จํานวนเสื้อผ้าที่
จะซัก)มีระบบควบคมการปั่นผ้า/การนําน้ําเข้าเพื่อซัก ล้างให้เหมาะสมกับปริมาณผ้าจะซก)มระบบควบคุมการปนผา/การนานาเขาเพอซก-ลางใหเหมาะสมกบปรมาณผา
รปที่ 1 4 ตัวอย่างเครื่องซักผ้ารูปท 1.4 ตวอยางเครองซกผา
Introduction to Mechatronics
รูปที่1.5 ตัวอย่างโครงสร้างของเครื่องซักผ้าอัตโนมัติ
Introduction to Mechatronics
รปที่ 1 5 แสดงไดอะแกรมเครื่องซักผ้าแบบอัตโนมัติ ซึ่งพบว่าตัวควบคมที่เป็นหัวใจรูปท 1.5 แสดงไดอะแกรมเครองซกผาแบบอตโนมต ซงพบวาตวควบคุมทเปนหวใจ
สําคัญของระบบก็คือ ไมโครโปรเซสเซอร์(MCU) และมีเซนเซอร์ทําหน้าที่ตรวจจับ
สถานะต่างเช่น เซนเซอร์ตรวจวัดอณหภมิ ระดับน้ําในถัง เซนเซอร์ตรวจจับสถานะสถานะตางเชน เซนเซอรตรวจวดอุณหภูม, ระดบนาในถง,เซนเซอรตรวจจบสถานะ
ของการเปิด-ปิดฝาเครื่อง, ส่วนตรวจจับความสกปรกของน้ําในตอนล้างผ้า เป็นต้น
สําหรับส่วนที่เป็นอปกรณ์ที่ทําหน้าที่เป็น Actuator ในระบบนี้ได้แก่ มอเตอร์ โซลิสาหรบสวนทเปนอุปกรณททาหนาทเปน Actuator ในระบบนไดแก มอเตอร, โซล
นอยด์ ,วาล์วควบคุม นอกจากนั้นยังมีส่วนติดต่อกับผู้ใช้งานอันได้แก่ จอแสดงผล
,และป่มกดเพื่อสั่งงาน เป็นต้น,และปุมกดเพอสงงาน เปนตน
Introduction to Mechatronics
รูปที่1.6 รถยนตและตัวควบคุมแบบอิเล็กทรอนิกส (ECU)
- รถยนต ในรถยนตสมัยใหมจะมีอุปกรณคอมพิวเตอรที่ใชในการควบคุม
ระบบเพื่อใหเปนไปตามความตองการคือควบคุมระบบยอยๆในรถยนต เชน ระบบหาม
ลอและการเรงเครื่องยนต, Cruise Control และ ABS เปนตน ทําใหรถยนตใชงานไดงาย
้ขึ้นมีความนาเชื่อถือสูง
Introduction to Mechatronics
ป ี่ 1 7 ื่ ั ส ิ ั โ ั ิสํ ั ี รูปท 1.7 เครองตดพลาสตกอตโนมตสาหรบการบรรจุหบหอ
Introduction to Mechatronics
ในรูปที่ 1.7 ระบบประกอบดวยสายพานลําเลียงสินคาและมวนวัสดุที่เปน
ิ ึ่ ี ี่ ื่  ิ    ี่ พลาสติกซึงมีการคลีออกมาเพือหอสินคาดวยการหมุนมอเตอรทีแกนของมวน
พลาสติกนี้ และนอกจากนั้นระบบมีใบมีดที่ติดกับมอเตอรซึ่งถูกควบคุมตําแหนงดวย
ํ   ื่ ใ ใ ั ิ  ั ิ ีชุดควบคุมตําแหนงมอเตอรเพือใชในการตัดพลาสติก สวนการตัดพลาสติกจะมี
การสั่งตัดเมื่อชุดควบคุมตําแหนงมอเตอรตรวจจับไดวามีสินคาในสายพานลําเลียงและ
ื่ ี่ ึ ี่ ี ิ ั้ ไ  ึ่  ี่ ีใ ี ิ  ั้ ็ ื่ ี่เคลือนทีมาถึงจุดทีมีการติดตังเซนเซอรไว ซึงมอเตอรทีมีใบมีดติดอยูนันก็จะเคลือนที
แปรผันตรงตามความเร็วของสายพานลําเลียงและก็จะหมุนไปตัดแผนพลาสติกใน
ํ  ี่ไ โป ไ    ี้ ึ่ ี ั ิ้ ี่ ั้ ไ ใ โปตําแหนงทีไดโปรแกรมไวกอนหนานีซึงเพียงพอกับขนาดชินงานทีตังไวในโปรแกรม
และสิ่งสําคัญประการหนึ่งของระบบนี้คือ พีแอลซี ซึ่งในที่นี้ทําหนาที่ติดตอกับผูใช
  ั ั ั ึ่ ใ  ใ ใ ํเพราะสามารถตอเขากับจอแบบสัมผัส (Touch screen) ซึงผูใชงานจะใชในการกําหนด
พารามิเตอรตางๆของระบบ เชน ความยาวของแผนพลาสติกที่ตัด เปนตน
Introduction to Mechatronics
-เครื่องตัดโลหะแบบอัตโนมัติโดยใชพลาสมา
สวนประกอบของระบบ
1. คอมพิวเตอรพีซี
2. มอเตอรและชุดควบคุม
3. โปรแกรมควบคุมการทํางาน
ของระบบ และไฟลชิ้นงาน(CAD)
4. เครื่องตัดโลหะดวยพลาสมา
5. เซนเซอรที่เปนลิมิตสวิทช (Limit
Switch) ใชเปนจุดอางอิงในการ
เคลื่อนที่ของระบบ
รปที่ 1 8 เครื่องตัดโลหะดวยพลาสมารูปท 1.8 เครองตดโลหะดวยพลาสมา
Introduction to Mechatronics
มอเตอร
X
มอเตอร
Y
โปรแกรมควบคุม
แกน X แกน Y
พอรตเครื่องพิมพ
ชุดควบคุม
และวงจรขับ
สเต็ปปงมอเตอรสเตปปงมอเตอร
ไฟลชิ้นงาน
สัญญาณควบคุม
ป /ป ั ั ส
สัญญาณจาก
ลิมิตสวิตช
ไฟลชนงาน
ที่ตองการตัด
เปด/ปดหัวตัดพลาสมา
เครื่องตัดโลหะ
ดวยพลาสมา
รูปที่ 1.9 โครงสรางระบบควบคุมเครื่องตัดโลหะดวยพลาสมา
Introduction to Mechatronics
รูปที่ 1.10 The components of CNC system [4] 18
Introduction to Mechatronics
รูปที่ 1.11 ยานพาหนะสองล้อและโครงสร้างระบบ 19
Introduction to Mechatronics
www kuka-robotics comwww.kuka robotics.com
รปที่ 1.12 ตัวอย่างแขนกลในงานอตสาหกรรมรูปท 1.12 ตวอยางแขนกลในงานอุตสาหกรรม
20
Introduction to Mechatronics
รูปที่ 1.13 ระบบควบคุมแขนกลในงานอุตสาหกรรม
21
Introduction to Mechatronics
รูปที่ 1.14 หุ่นยนต์เพื่อการซ้อมแบดมินตันู ุ
22
1 4 ้ ื้ ํ ั ิ ิ ์ [5]
Introduction to Mechatronics
1.4 ความรู้พืนฐานสาหรบสาขาวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส [5]
รูปที่ 1.15 องค์ความรู้ที่สําคัญในสาขา Mechatronics
23
ปัจจบันวงการอตสาหกรรมแล มหาวิทยาลัยทั่วโลกได้มีการใช้คําว่าเมคคาทรอนิกส์
Introduction to Mechatronics
ปจจุบนวงการอุตสาหกรรมและมหาวทยาลยทวโลกไดมการใชคาวาเมคคาทรอนกส
กันอย่างแพร่หลายและในมหาวิทยาลัยต่างๆทั่วโลกก็ได้เปิดสอนสาขาวิชานี้กันมากขึ้น
เรื่อยๆทั้งในระดับปริญญาตรี โทและปริญญาเอก สําหรับเนื้อหาวิชาหรือองค์ความร้ที่เรอยๆทงในระดบปรญญาตร, โทและปรญญาเอก สาหรบเนอหาวชาหรอองคความรูท
ถูกจัดให้เป็นวิชาที่วิศกรสาขาวิชาวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ต้องเรียนได้แก่
การควบคมการเคลื่อนที่ (M ti C t l)- การควบคุมการเคลอนท (Motion Control)
- หุ่นยนต์ (Robotics)
ระบบควบคมในรถยนต์ (A t ti S t )- ระบบควบคุมในรถยนต (Automotive Systems)
- ระบบควบคุมแบบฉลาด (Intelligent Control)
ตัวขับและอปกรณ์ตรวจจับ (Act ators and Sensors)- ตวขบและอุปกรณตรวจจบ (Actuators and Sensors)
- การจําลองและการออกแบบ (Modeling and Design)
การรวมระบบ (System Integration)- การรวมระบบ (System Integration)
- การผลิต (Manufacturing)
อปกรณ์ขนาดเล็กและอิเล็กทรอนิกส์เชิงแสง (Micro Devices and Optoelectronics)- อุปกรณขนาดเลกและอเลกทรอนกสเชงแสง (Micro Devices and Optoelectronics)
- การสั่นสะเทือนและการควบคุมเสียงรบกวน (Vibration and Noise Control) 24
Introduction to Mechatronics
่ ็ ์ ้และถ้าจะจัดหมวดหมู่วิชาตามสาขาย่อยทีมาประกอบกันเป็นเมคคาทรอนิกส์นัน
อาจแบ่งเป็นกลุ่มๆดังตัวอย่างต่อไปนี้
ความรู้ทางด้านวิศวกรรมเครื่องกล
- การออกแบบกลไกของเครื่องจักรกล
- กลศาสตร์เครื่องจักรกล
- เทคโนโลยีการผลิต
- ระบบนิวแมติกและไฮดรอลิคส์
- ระบบ CAD/CAM
ความรู้ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า/อิเล็กทรอนิกส์
- วงจรไฟฟ้าวงจรไฟฟา
- เครื่องจักรกลไฟฟ้าและการควบคุม
- การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ทั้งแบบอนาลอกและดิจิตอลการออกแบบวงจรอเลกทรอนกสทงแบบอนาลอกและดจตอล
- อิเล็กทรอนิกส์กําลัง 25
Introduction to Mechatronics
ความรู้ทางด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
- ไมโครโปรเซสเซอร์
- การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
- วิศวกรรมซอฟต์แวร์และการพัฒนาโปรแกรมเชิงวัตถุ
่- การสือสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
- การประมวลผลภาพ (Image processing)
ความรู้ทางด้านวิศวกรรมระบบควบคุม
- การวิเคราะห์และออกแบบระบบควบคุม
- ระบบการวัดและเซนเซอร์
- การควบคุมแบบดิจิตอล
- การควบคุมด้วยตัวควบคุมลอจิกแบบโปรแกรมได้
(Programmable Logic Controller)
26
- การควบคุมแบบฉลาด (Intelligent Control)
- วิศวกรรมหุ่นยนต์
แบบฝึกหัดท้ายบท
1 ให้ยกตัวอย่างระบบที่ถือว่าเป็นระบบเมคคาทรอนิกส์และวาดไดอะแกรมแสดง1. ใหยกตวอยางระบบทถอวาเปนระบบเมคคาทรอนกสและวาดไดอะแกรมแสดง
โครงสร้างระบบพร้อมทั้งอธิบายหลักการทํางานเบื้องต้น
2. ยกตัวอย่างของเซ็นเซอร์ที่ใช้ในระบบเมคคาทรอนิกส์สัก 2 ชนิดและบอกถึงประโยชน์
การใช้งานการใชงาน
3 ให้ค้นคว้าข้อมลจากอินเตอร์เน็ตในหัวข้อการประยกต์ใช้แขนกลในงานอตสาหกรรม3. ใหคนควาขอมูลจากอนเตอรเนตในหวขอการประยุกตใชแขนกลในงานอุตสาหกรรม
27
เอกสารอางอิง
[1] Kyura, Nobuhiro; Oho, H., "Mechatronics-an industrial perspective," Mechatronics,
IEEE/ASME Transactions on , vol.1, no.1, pp.10,15, March 1996, , , pp , ,
[2] Sabri Cetinkunt,'Mechatronics',John Wiley & Sons Inc., 2006
[3] Devas Shetty ,Richard A. Kolk, “Mechatronics System Design”, PWS Publishing,1997
[4] Suk-Hwan Suh, Seong Kyoon Kang, Dae-Hyuk Chung and Ian Stroud, "Theory and
Design of CNC Systems",(Springer Series in Advanced Manufacturing)
[5] ิ ิ ิ ิ ิ ี " ิ ส์ใ โ ส "[5] พสทธ วสุทธเมธกร,"เมคคาทรอนกสในโลกอุตสาหกรรม",MECHANICAL TECHNOLOGY MAGAZINE.
ปีที่ 2, ฉบับที่ 19 (พ.ค. 46), หน้า 96-102.

Contenu connexe

Tendances

การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชnokbiology
 
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อเอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อNurat Puankhamma
 
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
บทที่ 4 โครงสร้างอะตอม
บทที่ 4 โครงสร้างอะตอมบทที่ 4 โครงสร้างอะตอม
บทที่ 4 โครงสร้างอะตอมGawewat Dechaapinun
 
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการpop Jaturong
 
ตุ๊กตาล้มลุกจริง
ตุ๊กตาล้มลุกจริงตุ๊กตาล้มลุกจริง
ตุ๊กตาล้มลุกจริงMim Kaewsiri
 
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้างTeetut Tresirichod
 
บทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณ
บทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณบทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณ
บทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณChattichai
 
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรก
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรกบทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรก
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรกVisiene Lssbh
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น Wijitta DevilTeacher
 
แผนการจัดการเรียนรู้.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้.pdfแผนการจัดการเรียนรู้.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้.pdfPuttidaSuttiprapa
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัดกลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัดPongsa Pongsathorn
 
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญเล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญหรร 'ษๅ
 
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1dnavaroj
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานjirupi
 

Tendances (20)

การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อเอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
 
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 4 โครงสร้างอะตอม
บทที่ 4 โครงสร้างอะตอมบทที่ 4 โครงสร้างอะตอม
บทที่ 4 โครงสร้างอะตอม
 
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
 
ตุ๊กตาล้มลุกจริง
ตุ๊กตาล้มลุกจริงตุ๊กตาล้มลุกจริง
ตุ๊กตาล้มลุกจริง
 
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
บทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณ
บทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณบทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณ
บทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณ
 
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรก
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรกบทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรก
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรก
 
Matrix1
Matrix1Matrix1
Matrix1
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
แผนการจัดการเรียนรู้.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้.pdfแผนการจัดการเรียนรู้.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้.pdf
 
Leaf oui
Leaf ouiLeaf oui
Leaf oui
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัดกลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัด
 
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญเล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
 
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
 
stem
stemstem
stem
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
 

En vedette (6)

Mt2 3 56
Mt2 3 56Mt2 3 56
Mt2 3 56
 
Introduction to Weka: Application approach
Introduction to Weka: Application approachIntroduction to Weka: Application approach
Introduction to Weka: Application approach
 
Introduction to Feature (Attribute) Selection with RapidMiner Studio 6
Introduction to Feature (Attribute) Selection with RapidMiner Studio 6Introduction to Feature (Attribute) Selection with RapidMiner Studio 6
Introduction to Feature (Attribute) Selection with RapidMiner Studio 6
 
APQP. 2nd Edition
APQP. 2nd EditionAPQP. 2nd Edition
APQP. 2nd Edition
 
Search Twitter with RapidMiner Studio 6
Search Twitter with RapidMiner Studio 6Search Twitter with RapidMiner Studio 6
Search Twitter with RapidMiner Studio 6
 
Introduction to Data Analytics with RapidMiner Studio 6 (ภาษาไทย)
Introduction to Data Analytics with RapidMiner Studio 6 (ภาษาไทย)Introduction to Data Analytics with RapidMiner Studio 6 (ภาษาไทย)
Introduction to Data Analytics with RapidMiner Studio 6 (ภาษาไทย)
 

Similaire à Mt1 3 56

โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรมโครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรมMooAuan_Mini
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8Korakot Kaevwichian
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8Korakot Kaevwichian
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8Korakot Kaevwichian
 
ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8Patpeps
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์นพพร ตนสารี
 
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ใบงาน 3.1 นฤนาถ
ใบงาน 3.1 นฤนาถใบงาน 3.1 นฤนาถ
ใบงาน 3.1 นฤนาถNarunat Mahipan
 
ใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรSiriporn Narak
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์runjaun
 
ระบบคอมพิวเตอร์ส่ง
ระบบคอมพิวเตอร์ส่งระบบคอมพิวเตอร์ส่ง
ระบบคอมพิวเตอร์ส่งpanida21
 
ระบบคอมพิวเตอร์ส่ง
ระบบคอมพิวเตอร์ส่งระบบคอมพิวเตอร์ส่ง
ระบบคอมพิวเตอร์ส่งorawan34
 
2016-11-16--159.pdf
2016-11-16--159.pdf2016-11-16--159.pdf
2016-11-16--159.pdftachet
 
2016-11-16--159.pdf
2016-11-16--159.pdf2016-11-16--159.pdf
2016-11-16--159.pdftachet
 

Similaire à Mt1 3 56 (20)

Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรมโครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
 
แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1
แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1
แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1
 
Ch01 slide
Ch01 slideCh01 slide
Ch01 slide
 
Robot beginner
Robot beginner Robot beginner
Robot beginner
 
ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8
 
Basic of Microcontroller
Basic of MicrocontrollerBasic of Microcontroller
Basic of Microcontroller
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
ใบงาน 3.1 นฤนาถ
ใบงาน 3.1 นฤนาถใบงาน 3.1 นฤนาถ
ใบงาน 3.1 นฤนาถ
 
ใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพร
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์ส่ง
ระบบคอมพิวเตอร์ส่งระบบคอมพิวเตอร์ส่ง
ระบบคอมพิวเตอร์ส่ง
 
ระบบคอมพิวเตอร์ส่ง
ระบบคอมพิวเตอร์ส่งระบบคอมพิวเตอร์ส่ง
ระบบคอมพิวเตอร์ส่ง
 
2016-11-16--159.pdf
2016-11-16--159.pdf2016-11-16--159.pdf
2016-11-16--159.pdf
 
2016-11-16--159.pdf
2016-11-16--159.pdf2016-11-16--159.pdf
2016-11-16--159.pdf
 
I-Beam Robot From inex.co.th
I-Beam Robot From inex.co.thI-Beam Robot From inex.co.th
I-Beam Robot From inex.co.th
 

Mt1 3 56

  • 1. METR0360 Mechatronics System Design Ch1 : Introduction to Mechatronics เมคคาทรอนิกส์คืออะไรเมคคาทรอนกสคออะไร องค์ประกอบของระบบเมคคาทรอนิกส์ ตัวอย่างระบบเมคคาทรอนิกส์ตวอยางระบบเมคคาทรอนกส ความรู้พื้นฐานสาขาวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ วัตถุประสงค์ : ื่ ใ ้ ้ ใ ิ ื้ ิ ์เพือให้เข้าใจแนวคิดพืนฐานของระบบเมคคาทรอนิกส์ เพื่อให้เข้าใจองค์ประกอบของระบบเมคคาทรอนิกส์ 2/2556 by psw1999@yahoo.com
  • 2. Introduction to Mechatronics 1 1 ิ ส์ ื ไ1.1 เมคคาทรอนกสคออะไร เมคคาทรอนิกส์เป็นศาสตร์ที่นําความรู้หลากหลายสาขามาผสมผสานกันโดยคําว่า M h t i ี้ ิ ํ ํ ่ M h i El t i ื่ ั ึ่Mechatronics นเกดจากการนาเอาคาวา Mechanics และ Electronics เชอมกนซง ศาสตร์นี้ถือกําเนิดมาเมื่อประมาณปี ค.ศ. 1970 โดยวิศวกรบริษัท Yasakawa ในประเทศ ี่ป่ ซึ่ ใ ั้ ี ิ ่ ิ ส์ ็ ื ป ์ใช้ญปุน ซงในขณะนนมการนยามวาเมคคาทรอนกสกคอการประยุกตใช ไมโครโปรเซสเซอร์เพื่อการควบคุมเครื่องจักรกลหรือผลิตภัณฑ์ในแบบที่มีการผสมผสาน กันร หว่างร บบไฟฟ้าแล กลไก (El t M h i l P d t) แต่อย่างไรก็ตามคํากนระหวางระบบไฟฟาและกลไก (Electro-Mechanical Product) แตอยางไรกตามคา ว่าเมคคาทรอนิกส์ในปัจจุบันนั้นมีความหมายและการประยุกต์ใช้งานที่กว้างขวางมากกว่า นั้นมาก จากบทความวิชาการ [1] ”M h t i A I d t i l P ti ”นนมาก จากบทความวชาการ [1] ”Mechatronics – An Industrial Perspective” กล่าวถึงความหมายของคําว่า Mechatronics ไว้ดังนี้ “The synergistic integration f h i l i i ith l t i d i t lli t tof mechanical engineering with electronics and intelligent computer control in the design and manufacturing of industrial products and ” และนอกจากนั้นก็ยังมีผ้ให้คําจํากัดความไว้อีกหลายคนด้วยกันprocesses” และนอกจากนนกยงมผูใหคาจากดความไวอกหลายคนดวยกน
  • 3. Introduction to Mechatronics Takashi Yamaguchi วิศวกรบริษัทฮิตาชิที่ทํางานในหน่วยงานที่ชื่อว่า ่ ไ ้ ่Mechanical Engineering Laboratory กล่าวไว้ว่า Mechatronics is a methodology for designing products that exhibit fast, precise performance. ซึ่งการที่จะได้ผลิตภัณฑ์คุณสมบัติดังกล่าวทําไม่สามารถเกิดได้โดยการออกแบบ ี่ ี ่ ั้ ่ ้ ึ ิ ใ ่ระบบทางกลทีดีเท่านันแต่จะต้องรวมถึงการพิจารณาการออกแบบในส่วนของการ ควบคุมเซอร์โว, เซนเซอร์และวงจรอิเล็กทรอนิกส์ นอกจากนั้น Takashi ยังกล่าวอีกว่า ิ ์ไ ์ใ ื่ ิ ์ ื ่ ็ ั ่ ํ ็ ั ึ่ ์ใ ้ดิสค์ไดรว์ในเครืองคอมพิวเตอร์ถือว่าเป็นตัวอย่างความสําเร็จอันหนึงของการประยุกต์ใช้ ศาสตร์ที่เรียกว่า Mechatronics ลักษณะการทํางานของดิสค์ไดรว์นั้นต้องการให้ระบบ ํ ไ ้ ็ ํ ่ ่ ํ ใ ้ ึ ึ่ ้ ึ ีทํางานได้รวดเร็วและตําแหน่งแม่นยําในการเข้าถึงซึงข้อมูลรวมถึงมีความคงทน (Robust) ต่อสิ่งที่มารบกวนระบบจากภายนอก (Disturbances)
  • 4. ั ื ไ ้ ่ ไ ้ ่ ี ิ Introduction to Mechatronics จากหนังสือ Mechatronics (Sabri Cetikunt) [2] ได้กล่าวไว้ว่าทีมวิศวกรออกแบบ ผลิตภัณฑ์ที่เป็น Electromechanical Product จะประกอบด้วย 1. วิศวกรผู้ออกแบบส่วนประกอบทางกล ิ ้ ่ ป ไฟฟ้ ่2. วิศวกรผู้ออกแบบส่วนประกอบทางไฟฟ้า เช่น Sensor, Actuator, Amplifier ตลอดจน Algorithm ในการควบคุม เป็นต้น ิ ้ ่ ป ้ ิ ์ ั้ ์ ์ ฟ ์ ์3. วิศวกรผู้ออกแบบส่วนประกอบด้านคอมพิวเตอร์ทังฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ่ ํ ั ิ ิ ์ ้ ั้ ื่ ํ ้ ี่ ั้ ่ ใแต่สําหรับวิศวกรเมคคาทรอนิกส์แล้วนันจะถูกสอนมาเพือทําหน้าทีทังสามอย่างใน วิศวกรคนเดียวกัน ดังนั้นการออกแบบจะไม่ใช่เป็นการออกแบบที่เป็นลําดับขั้นเช่น เริ่ม ้ ้ ไฟฟ้ ปิ ้ ้จากระบบทางกล ตามด้วยการออกแบบระบบด้านไฟฟ้า และปิดท้ายด้วยการออกแบบ ระบบควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ แต่วิศวกรเมคคาทรอนิกส์จะต้องออกแบบระบบต่างๆ ไป ้ ั ื่ ใ ้ ิ ั ์ ป็ ไป ่ ี ี่ (O i l P dไปพรอมกันเพือใหการออกแบบผลิตภัณฑ์เป็นไปอยางดีทีสุด (Optimal Product Design)
  • 5. Introduction to Mechatronics Davor Hrovat พนักงานผู้เชี่ยวชาญอาวุโสของ Ford Research Laboratory ่ ่กล่าวว่า Mechatronics is mixture of technologies and techniques that together help in designing better products และสุดท้ายสําหรับตัวอย่างคําจํากัดความจากหนังสือ Mechatronics System ็ ืDesign [3] ก็คือ Mechartonics is a methodology used for the optimal design of electromechanical product. ซึ่งก็หมายความว่าเมคคาทรอนิกส์เป็น ิ ี ี่ใ ้ใ ่ ิ ั ์ ี่ ี ่ ั้วิธีการทีใช้ในการออกแบบอย่างเหมาะสมของผลิตภัณฑ์ทีมีส่วนประกอบทังระบบทาง กลและไฟฟ้า
  • 6. ์ ิ ์ Introduction to Mechatronics 1.2 องค์ประกอบระบบเมคคาทรอนิกส์ [3] องค์ประกอบระบบเมคคาทรอนิกส์ในมมมองของสิ่งที่มาประกอบกันให้เป็นระบบองคประกอบระบบเมคคาทรอนกสในมุมมองของสงทมาประกอบกนใหเปนระบบ เมคคาทรอนิกส์อาจพิจารณาได้ดังรูปที่ 1.1 องค์ประกอบด้านฮาร์ดแวร์ ได้แก่องคประกอบดานฮารดแวร ไดแก • ระบบทางกลและกลไกขับเคลื่อนเครื่องจักร (Mechanical systems) • ระบบขับเคลื่อนกลไกของเครื่องจักร (Actuator)• ระบบขบเคลอนกลไกของเครองจกร (Actuator) • อุปกรณ์ตรวจวัดสถานะของเครื่องจักร (Sensor) • วงจรอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเชื่อมต่อระหว่างเซ็นเซอร์ แอคทเอเตอร์เข้ากับตัวควบคม• วงจรอเลกทรอนกสเพอเชอมตอระหวางเซนเซอร,แอคทูเอเตอรเขากบตวควบคุม (Signal conditioning circuit & data conversion circuit) • ตัวควบคม (Controller) เช่น คอมพิวเตอร์ ไมโครคอนโทรลเลอร์บอร์ดหรือ PLC• ตวควบคุม (Controller) เชน คอมพวเตอร,ไมโครคอนโทรลเลอรบอรดหรอ PLC องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ทําหน้าที่เป็นตัวควบคมซอฟตแวรทาหนาทเปนตวควบคุม
  • 7. Introduction to Mechatronics รูปที่ 1.1 องค์ประกอบของระบบ Mechatronics จากหนังสือ Devdas Shetty and Richard A. Kolk, “Mechatronics System Design 2nd edition, Cengage-Learing, 2011
  • 8. Introduction to Mechatronics รปที่ 1 2 องค์ประกอบระบบขับเคลื่อนกลไกด้วยมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงรูปท 1.2 องคประกอบระบบขบเคลอนกลไกดวยมอเตอรไฟฟากระแสตรง จากหนังสือ Devdas Shetty and Richard A. Kolk, “Mechatronics System Design 2nd edition, Cengage-Learing, 2011
  • 9. Introduction to Mechatronics ั ่ ิ ์ จากเอกสารอ้างอิงตัวอย่างของระบบที่ถือว่าเป็นเมคคาทรอนิคส์ได้แก่ ระบบการ 1.3 ตัวอย่างระบบเมคคาทรอนิกส์ ควบคุมเครื่องบินและอากาศยาน (Flight Control),ระบบควบคุมในรถยนต์ เช่น ระบบ ป้องกันการสั่นสะเทือน, ระบบ ABS(Anti lock brake system), ระบบการผลิตแบบ อัตโนมัติ เช่น หุ่นยนต์, เครื่องจักรกลแบบ CNC และยังได้รวมไปถึงอุปกรณ์ เครื่องใช้ไฟฟ้าในครัวเรือนอย่างเช่น เครื่องซักผ้า เป็นต้น ) ื่ CNC b) ส รูปที่ 1.3 ตัวอยางระบบเมคคาทรอนิกส a) เครอง CNC b) แขนกลอุตสาหกรรม
  • 10. Introduction to Mechatronics - เครื่องซักผ้า มีความต้องการของระบบคือทราบขนาดของโหลด(จํานวนเสื้อผ้าที่ จะซัก)มีระบบควบคมการปั่นผ้า/การนําน้ําเข้าเพื่อซัก ล้างให้เหมาะสมกับปริมาณผ้าจะซก)มระบบควบคุมการปนผา/การนานาเขาเพอซก-ลางใหเหมาะสมกบปรมาณผา รปที่ 1 4 ตัวอย่างเครื่องซักผ้ารูปท 1.4 ตวอยางเครองซกผา
  • 11. Introduction to Mechatronics รูปที่1.5 ตัวอย่างโครงสร้างของเครื่องซักผ้าอัตโนมัติ
  • 12. Introduction to Mechatronics รปที่ 1 5 แสดงไดอะแกรมเครื่องซักผ้าแบบอัตโนมัติ ซึ่งพบว่าตัวควบคมที่เป็นหัวใจรูปท 1.5 แสดงไดอะแกรมเครองซกผาแบบอตโนมต ซงพบวาตวควบคุมทเปนหวใจ สําคัญของระบบก็คือ ไมโครโปรเซสเซอร์(MCU) และมีเซนเซอร์ทําหน้าที่ตรวจจับ สถานะต่างเช่น เซนเซอร์ตรวจวัดอณหภมิ ระดับน้ําในถัง เซนเซอร์ตรวจจับสถานะสถานะตางเชน เซนเซอรตรวจวดอุณหภูม, ระดบนาในถง,เซนเซอรตรวจจบสถานะ ของการเปิด-ปิดฝาเครื่อง, ส่วนตรวจจับความสกปรกของน้ําในตอนล้างผ้า เป็นต้น สําหรับส่วนที่เป็นอปกรณ์ที่ทําหน้าที่เป็น Actuator ในระบบนี้ได้แก่ มอเตอร์ โซลิสาหรบสวนทเปนอุปกรณททาหนาทเปน Actuator ในระบบนไดแก มอเตอร, โซล นอยด์ ,วาล์วควบคุม นอกจากนั้นยังมีส่วนติดต่อกับผู้ใช้งานอันได้แก่ จอแสดงผล ,และป่มกดเพื่อสั่งงาน เป็นต้น,และปุมกดเพอสงงาน เปนตน
  • 13. Introduction to Mechatronics รูปที่1.6 รถยนตและตัวควบคุมแบบอิเล็กทรอนิกส (ECU) - รถยนต ในรถยนตสมัยใหมจะมีอุปกรณคอมพิวเตอรที่ใชในการควบคุม ระบบเพื่อใหเปนไปตามความตองการคือควบคุมระบบยอยๆในรถยนต เชน ระบบหาม ลอและการเรงเครื่องยนต, Cruise Control และ ABS เปนตน ทําใหรถยนตใชงานไดงาย ้ขึ้นมีความนาเชื่อถือสูง
  • 14. Introduction to Mechatronics ป ี่ 1 7 ื่ ั ส ิ ั โ ั ิสํ ั ี รูปท 1.7 เครองตดพลาสตกอตโนมตสาหรบการบรรจุหบหอ
  • 15. Introduction to Mechatronics ในรูปที่ 1.7 ระบบประกอบดวยสายพานลําเลียงสินคาและมวนวัสดุที่เปน ิ ึ่ ี ี่ ื่  ิ    ี่ พลาสติกซึงมีการคลีออกมาเพือหอสินคาดวยการหมุนมอเตอรทีแกนของมวน พลาสติกนี้ และนอกจากนั้นระบบมีใบมีดที่ติดกับมอเตอรซึ่งถูกควบคุมตําแหนงดวย ํ   ื่ ใ ใ ั ิ  ั ิ ีชุดควบคุมตําแหนงมอเตอรเพือใชในการตัดพลาสติก สวนการตัดพลาสติกจะมี การสั่งตัดเมื่อชุดควบคุมตําแหนงมอเตอรตรวจจับไดวามีสินคาในสายพานลําเลียงและ ื่ ี่ ึ ี่ ี ิ ั้ ไ  ึ่  ี่ ีใ ี ิ  ั้ ็ ื่ ี่เคลือนทีมาถึงจุดทีมีการติดตังเซนเซอรไว ซึงมอเตอรทีมีใบมีดติดอยูนันก็จะเคลือนที แปรผันตรงตามความเร็วของสายพานลําเลียงและก็จะหมุนไปตัดแผนพลาสติกใน ํ  ี่ไ โป ไ    ี้ ึ่ ี ั ิ้ ี่ ั้ ไ ใ โปตําแหนงทีไดโปรแกรมไวกอนหนานีซึงเพียงพอกับขนาดชินงานทีตังไวในโปรแกรม และสิ่งสําคัญประการหนึ่งของระบบนี้คือ พีแอลซี ซึ่งในที่นี้ทําหนาที่ติดตอกับผูใช   ั ั ั ึ่ ใ  ใ ใ ํเพราะสามารถตอเขากับจอแบบสัมผัส (Touch screen) ซึงผูใชงานจะใชในการกําหนด พารามิเตอรตางๆของระบบ เชน ความยาวของแผนพลาสติกที่ตัด เปนตน
  • 16. Introduction to Mechatronics -เครื่องตัดโลหะแบบอัตโนมัติโดยใชพลาสมา สวนประกอบของระบบ 1. คอมพิวเตอรพีซี 2. มอเตอรและชุดควบคุม 3. โปรแกรมควบคุมการทํางาน ของระบบ และไฟลชิ้นงาน(CAD) 4. เครื่องตัดโลหะดวยพลาสมา 5. เซนเซอรที่เปนลิมิตสวิทช (Limit Switch) ใชเปนจุดอางอิงในการ เคลื่อนที่ของระบบ รปที่ 1 8 เครื่องตัดโลหะดวยพลาสมารูปท 1.8 เครองตดโลหะดวยพลาสมา
  • 17. Introduction to Mechatronics มอเตอร X มอเตอร Y โปรแกรมควบคุม แกน X แกน Y พอรตเครื่องพิมพ ชุดควบคุม และวงจรขับ สเต็ปปงมอเตอรสเตปปงมอเตอร ไฟลชิ้นงาน สัญญาณควบคุม ป /ป ั ั ส สัญญาณจาก ลิมิตสวิตช ไฟลชนงาน ที่ตองการตัด เปด/ปดหัวตัดพลาสมา เครื่องตัดโลหะ ดวยพลาสมา รูปที่ 1.9 โครงสรางระบบควบคุมเครื่องตัดโลหะดวยพลาสมา
  • 18. Introduction to Mechatronics รูปที่ 1.10 The components of CNC system [4] 18
  • 19. Introduction to Mechatronics รูปที่ 1.11 ยานพาหนะสองล้อและโครงสร้างระบบ 19
  • 20. Introduction to Mechatronics www kuka-robotics comwww.kuka robotics.com รปที่ 1.12 ตัวอย่างแขนกลในงานอตสาหกรรมรูปท 1.12 ตวอยางแขนกลในงานอุตสาหกรรม 20
  • 21. Introduction to Mechatronics รูปที่ 1.13 ระบบควบคุมแขนกลในงานอุตสาหกรรม 21
  • 22. Introduction to Mechatronics รูปที่ 1.14 หุ่นยนต์เพื่อการซ้อมแบดมินตันู ุ 22
  • 23. 1 4 ้ ื้ ํ ั ิ ิ ์ [5] Introduction to Mechatronics 1.4 ความรู้พืนฐานสาหรบสาขาวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส [5] รูปที่ 1.15 องค์ความรู้ที่สําคัญในสาขา Mechatronics 23
  • 24. ปัจจบันวงการอตสาหกรรมแล มหาวิทยาลัยทั่วโลกได้มีการใช้คําว่าเมคคาทรอนิกส์ Introduction to Mechatronics ปจจุบนวงการอุตสาหกรรมและมหาวทยาลยทวโลกไดมการใชคาวาเมคคาทรอนกส กันอย่างแพร่หลายและในมหาวิทยาลัยต่างๆทั่วโลกก็ได้เปิดสอนสาขาวิชานี้กันมากขึ้น เรื่อยๆทั้งในระดับปริญญาตรี โทและปริญญาเอก สําหรับเนื้อหาวิชาหรือองค์ความร้ที่เรอยๆทงในระดบปรญญาตร, โทและปรญญาเอก สาหรบเนอหาวชาหรอองคความรูท ถูกจัดให้เป็นวิชาที่วิศกรสาขาวิชาวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ต้องเรียนได้แก่ การควบคมการเคลื่อนที่ (M ti C t l)- การควบคุมการเคลอนท (Motion Control) - หุ่นยนต์ (Robotics) ระบบควบคมในรถยนต์ (A t ti S t )- ระบบควบคุมในรถยนต (Automotive Systems) - ระบบควบคุมแบบฉลาด (Intelligent Control) ตัวขับและอปกรณ์ตรวจจับ (Act ators and Sensors)- ตวขบและอุปกรณตรวจจบ (Actuators and Sensors) - การจําลองและการออกแบบ (Modeling and Design) การรวมระบบ (System Integration)- การรวมระบบ (System Integration) - การผลิต (Manufacturing) อปกรณ์ขนาดเล็กและอิเล็กทรอนิกส์เชิงแสง (Micro Devices and Optoelectronics)- อุปกรณขนาดเลกและอเลกทรอนกสเชงแสง (Micro Devices and Optoelectronics) - การสั่นสะเทือนและการควบคุมเสียงรบกวน (Vibration and Noise Control) 24
  • 25. Introduction to Mechatronics ่ ็ ์ ้และถ้าจะจัดหมวดหมู่วิชาตามสาขาย่อยทีมาประกอบกันเป็นเมคคาทรอนิกส์นัน อาจแบ่งเป็นกลุ่มๆดังตัวอย่างต่อไปนี้ ความรู้ทางด้านวิศวกรรมเครื่องกล - การออกแบบกลไกของเครื่องจักรกล - กลศาสตร์เครื่องจักรกล - เทคโนโลยีการผลิต - ระบบนิวแมติกและไฮดรอลิคส์ - ระบบ CAD/CAM ความรู้ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า/อิเล็กทรอนิกส์ - วงจรไฟฟ้าวงจรไฟฟา - เครื่องจักรกลไฟฟ้าและการควบคุม - การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ทั้งแบบอนาลอกและดิจิตอลการออกแบบวงจรอเลกทรอนกสทงแบบอนาลอกและดจตอล - อิเล็กทรอนิกส์กําลัง 25
  • 26. Introduction to Mechatronics ความรู้ทางด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ - ไมโครโปรเซสเซอร์ - การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ - วิศวกรรมซอฟต์แวร์และการพัฒนาโปรแกรมเชิงวัตถุ ่- การสือสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ - การประมวลผลภาพ (Image processing) ความรู้ทางด้านวิศวกรรมระบบควบคุม - การวิเคราะห์และออกแบบระบบควบคุม - ระบบการวัดและเซนเซอร์ - การควบคุมแบบดิจิตอล - การควบคุมด้วยตัวควบคุมลอจิกแบบโปรแกรมได้ (Programmable Logic Controller) 26 - การควบคุมแบบฉลาด (Intelligent Control) - วิศวกรรมหุ่นยนต์
  • 27. แบบฝึกหัดท้ายบท 1 ให้ยกตัวอย่างระบบที่ถือว่าเป็นระบบเมคคาทรอนิกส์และวาดไดอะแกรมแสดง1. ใหยกตวอยางระบบทถอวาเปนระบบเมคคาทรอนกสและวาดไดอะแกรมแสดง โครงสร้างระบบพร้อมทั้งอธิบายหลักการทํางานเบื้องต้น 2. ยกตัวอย่างของเซ็นเซอร์ที่ใช้ในระบบเมคคาทรอนิกส์สัก 2 ชนิดและบอกถึงประโยชน์ การใช้งานการใชงาน 3 ให้ค้นคว้าข้อมลจากอินเตอร์เน็ตในหัวข้อการประยกต์ใช้แขนกลในงานอตสาหกรรม3. ใหคนควาขอมูลจากอนเตอรเนตในหวขอการประยุกตใชแขนกลในงานอุตสาหกรรม 27
  • 28. เอกสารอางอิง [1] Kyura, Nobuhiro; Oho, H., "Mechatronics-an industrial perspective," Mechatronics, IEEE/ASME Transactions on , vol.1, no.1, pp.10,15, March 1996, , , pp , , [2] Sabri Cetinkunt,'Mechatronics',John Wiley & Sons Inc., 2006 [3] Devas Shetty ,Richard A. Kolk, “Mechatronics System Design”, PWS Publishing,1997 [4] Suk-Hwan Suh, Seong Kyoon Kang, Dae-Hyuk Chung and Ian Stroud, "Theory and Design of CNC Systems",(Springer Series in Advanced Manufacturing) [5] ิ ิ ิ ิ ิ ี " ิ ส์ใ โ ส "[5] พสทธ วสุทธเมธกร,"เมคคาทรอนกสในโลกอุตสาหกรรม",MECHANICAL TECHNOLOGY MAGAZINE. ปีที่ 2, ฉบับที่ 19 (พ.ค. 46), หน้า 96-102.