SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  66
การพูดอย่างเป็นทางการ หมาย
 ถึง การพูดที่เป็นกิจจะลักษณะและเป็น
พิธีการผูพูดต้องยึดถือและปฏิบัตตามหลัก
         ้                         ิ
    เกณฑ์การพูด เช่น ปาฐกถา การ
บรรยาย การอภิปราย การสัมภาษณ์หรือ
  การประชุม เป็นต้น การพูดอย่างเป็น
ทางการอาจมีทั้งทั้งทีพูดเดียวหรือพูดกลุ่ม
                       ่    ่
   ซึงมีจำานวนผู้ฟังตั้งแต่กลุ่มย่อย ๆ ไป
     ่
จนถึงการพูดในที่ชุมชน ดังนั้นการพูดใน
ขั้นวิเคราะห์
    การเตรียมเนื้อหา
   การเตรียมด้านภาษา
    การเตรียมตัวพูด
การเตรียมตัวพูดให้เหมาะสมกับสถานการณ์
การอภิปราย เป็นแบบการ
พูดซึ่งผู้พูดประกอบด้วยกลุมบุคคล
                             ่
 ทีมีเจตนาจะพิจารณาเรืองใดเรื่อง
   ่                     ่
 หนึ่ง ปรึกษาหารือกันออกความคิด
  เห็นเพื่อแก้ปัญหาที่มอยู่ หรือเพื่อ
                       ี
  เป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ ความ
คิดเห็น ถ่ายทอดประสบการณ์ทได้     ี่
รับมา ในทีสุดก็มการตัดสินใจว่าควร
            ่    ี
       จะทำาอย่างใดอย่างหนึ่ง
เพื่อเสนอปัญหาหรือเรื่อง
              บางอย่าง
       ให้คนกลุ่มหนึ่งมาร่วมแสดง
               ความคิดเห็น
       ผู้รวมอภิปรายเสนอข้อเท็จจริง ข้อเสนอ
       แนะ และแสวงหาข้อแก้ไขที่สด ุ
หาข้อยุตของปัญหา หรือเรื่องดังกล่าว
        ิ
        ให้ข้อคิดและเสนอแนวทางในการ
               แก้ปัญหาต่อไปที่ดี
ศึกษาจุดมุงหมายของการอภิปรายว่า
             ่
จัดขึ้นเพื่อเสนอข้อคิดเห็น หรือเพื่อลง
                  มติ
ศึกษาลักษณะอุปนิสัย พื้นความรู้ และ
 ความรู้สกนึกคิดของผู้รวมอภิปราย
           ึ            ่
               แต่ละคน
เตรียมหัวข้ออภิปราย

พิจารณาคุณสมบัตของผู้
                 ิ
     ร่วมอภิปราย
 ปัญหาเรื่องที่จะนำามา
     อภิปราย
เตรียมหัวข้ออภิปราย
จารณาเลือกหัวข้อสำาคัญสำาหรับการอภิปราย
 จัดลำาดับหัวข้อสำาคัญที่กำาหนดไว้

พิจารณาหัวข้อย่อยของหัวข้อสำาคัญที่พึงมี

ารณาปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากมติของการอภิปราย
ะการแก้ไขปัญหานันๆ
                ้
จารณาคุณสมบัตของผู้ร่วมอภิปราย
             ิ


านขีดความสามารถและทัศนคติ เพื่อกำาหนดหัวข้อ
หรือตังคำาถาม เพื่อให้ตอบได้อย่างเหมาะสม
      ้
ปัญหาเรื่องที่จะนำามาอภิปราย
 ไม่ควรเป็นปัญหาทีกว้างจนเกินไป
                  ่
   ควรเป็นปัญหาที่มสาระ
                   ี

วรเป็นปัญหาที่คนอื่นก็อาจประสบเช่นเดียวกัน

 ควรเป็นปัญหาที่พบกันเสมอๆ

รืองทีสังคมส่วนใหญ่เข้าใจยาก หรือยังเข้าใจไม่ถก
  ่   ่                                       ู
การโต้วาที หมายถึง การ
    พูดโต้แย้งกันในญัตติโดยใช้
วาทศิลป์และไหวพริบในการหักล้าง
  เหตุผลของฝ่ายตรงข้าม แล้วนำา
 เสนอข้อเท็จจริงให้เห็นว่าความคิด
  ของฝ่ายตนเป็นความจริงและถูก
                ต้อง
นการเสนอเหตุผลหรือแนวความคิดของตนเอง
การหักล้างเหตุผลหรือแนวความคิดของฝ่ายตรงข้า
  มีความเฉียบพลันในปฏิภาณ
มีการออกท่าออกทางประกอบการพูดมากเป็นพิเศษ
 าพูดแต่ละคำาแต่ละประโยคต้องหนักแน่น
 ใช้ถอยคำาสุภาพแต่แหลมคม
     ้
 แทรกอารมณ์ขันแบบสุภาพ
เพื่อหาข้อเท็จจริง
    เพื่อความสนุกสนาน
 เพื่อผลประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง
  เพื่อฝึกฝนการพูดอย่างมีเหตุผล
    เพื่อให้กล้าแสดงออก
อให้ได้เรียนรู้หลักเกณฑ์ในการโต้วาทีและหลักการ
เพื่อส่งเสริมการพูดในระบอบประชาธิปไตย
ประโยชน์ตอ่
   ผู้โต้
ประโยชน์ตอผู้
         ่
    ฟัง
ประโยชน์ต่อผู้โต้
            ส่งเสริมให้เป็น
            เป็นผู้รอบรูบปรุงแนวคิดให้กว้างไกล
                  การปรั้
                      และลึกซึงมากขึ้น
                                ้
ป็นการฝึกหัดหรือสร้างความชำานาญในการใช้เหตุผ
       เพิ่มทักษะทางการพูด
   สามารถวิเคราะห์หรือสังเคราะห์ปัญหา
     เสริมสร้างไหวพริบปฏิภาณ
รียนรู้ชองทางหรือวิธการในการเสนอความคิดไปยัง
        ่              ี
 เป็นการสร้าวลักษณะนิสยในการเข้าสังคมได้ดี
                            ั
ฝึกให้เป็นผู้มมารยาทที่ดทั้งในการพูดและการฟัง
                ี             ี
ประโยชน์ตอผู้ฟัง
         ่
         ทำาให้เกิดความเข้าใจในหลักการหรือ
                เหตุผลแนวคิดที่ผโต้วาที
                                  ู้
       ได้เาขึ้นมาอ้แงได้อย่างกว้างขวางยิ่งขึ้น
        นำ รียนรูวิธี า สดงเหตุผลแบบต่าง ๆ
                 ้
   เกิดประสบการณ์แปลก ้โต้ใหม่ ๆ
                   จากผู ๆ วาที
มีโอกาสเรียนรูการใช้ถ้อยคำาสำานวนมากขึ้น
              ้
มารถแยกแยะพิจารณาได้ว่า อะไรเป็นการแสดงเห
                อะไรเป็นข้อเท็จจริง
 เป็นการเสริมสร้างระบอบประชาธิปไตย
ญัตติ

   ประธาน

  ผู้โต้วาที

กรรมการตัดสินการโต้วาที

   ผู้ฟัง
ลักษณะของญัตติ
นญัตติที่สน ๆ และสะดุดใจ และมีการเปรียบเทียบอ
          ั้
   เป็นญัตติที่มนำ้าหนักพอ ๆ กัน
                ี
ป็นญัตติที่ไม่ขัดต่อกฎหมาย วัฒนธรรมหรือศีลธรร
                      อันดีงาม
เป็นญัตติที่ให้ความรู้ ความคิด หรือจรรโลงใจ
    ไม่ตงญัตติเป็นคำาถาม
        ั้
หน้าที่ของประธาน
   กล่าวเปิดการโต้วาที
   แนะนำาญัตติการโต้
แนะนำากรรมการ เจ้าหน้าที่ทเกียวข้อง
                           ี่ ่
 แนะนำากติกา แจ้งกำาหนดเวลา
  แนะนำาผู้โต้เป็นรายบุคคล
  พูดกระตุนให้ผู้ฟังสนใจ
            ้
เชิญผูโต้ขึ้นพูดตามลำาดับการโต้
      ้
หน้าที่ของประธาน
      วางตัวเป็นกลาง
 ควบคุมเวลาให้เป็นไปตามรายการทีกำาหนด
                                   ่
สรุปประเด็นสำาคัญของผู้โต้เป็นรายบุคคล และสรุป
              ประเด็นของคณะทีได้่
    รวบรวมคะแนนจากกรรมการ
       ประกาศผล
 กล่าวปิดรายการโต้วาทีเมือการโต้เสร็จสินลง
                         ่             ้
ฝ่ายเสนอ       ฝ่ายค้าน
 หัวหน้าฝ่าย    หัวหน้าฝ่าย
     เสนอ น
 ผู้สนับสนุ         ค้าน น
                ผูสนับสนุ
                  ้
 ฝ่ายเสนอ         ฝ่ายค้าน
 ผูคนทีสนุน
   ้สนับ ่ ๑     ผูคนทีสนุน
                   ้สนับ ่ ๑
 ฝ่ายเสนอ         ฝ่ายค้าน
 ผูคนที่สนุน
    ้สนับ ๒      ผูคนที่สนุน
                    สนับ ๒
                    ้
 ฝ่ายเสนอ         ฝ่ายค้าน
  คนที่ ๓         คนที่ ๓
ความรู้กว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งความรูในเรื่อง
                                        ้
ความสามารถในการใช้ภาษาพูดถ่ายทอดให้ผฟังเข ู้
    เตรียมตัวมาเป็นอย่างดี
        มีไหวพริบดี
     มีศลปะในการพูด
          ิ
       มีมารยาทดี
หัวหน้าฝ่ายเสนอ จะเป็นผู้พูดก่อนเพราะถือว่า
ป็นผู้ออกความคิดจะต้องเป็นผูเสนอญัตติ
                             ้
 หน้าฝ่ายค้าน จะเป็นผู้พูดต่อจากหัวหน้าฝ่ายเสนอ
 จะเป็นการโต้แย้งโดยใช้เท่ากับหัวหน้าฝ่ายเสนอ
 นับสนุนฝ่ายเสนอ จำานวนผู้สนับสนุนฝ่ายเสนอจะม
 อยู่กับประเภทของการโต้วาที ปกติแล้วมักจะมี ๓ ค
สนับสนุนฝ่ายค้าน จะมีจำานวนเท่ากับผู้สนับสนุน
 ยเสนอทำาหน้าที่เช่นเดียวกับผู้สนับสนุนฝ่ายเสนอ
กรรมการตัดสินการโต้วาที คือ ผู้
  ทำาหน้าที่ให้คะแนนผู้โต้ทั้ง ๒ ฝ่าย การตัง้
     กรรมการตัดสิน อาจตั้งเป็นคณะหรือเป็น
บุคคลก็ได้ตามความเหมาะสม ส่วนใหญ่มกจะ     ั
 ตังคณะหรือเป็นบุคคลก็ได้ความหมายเหมาะ
   ้
  สม ส่วนใหญ่มกจะตังกรรมการให้มจำานวน
                 ั   ้                ี
เป็นเลขคี่ คือ ๓ คน ๕ คน บางกรณีอาจไม่มี
 กรรมการตัดสินก็ได้ แต่ใช้วิธีให้ผู้ฟังตัดสิน
ด้วยการปรบมือเพื่อเป็นเครืองวัดว่าฝ่ายใดควร
                             ่
เป็นผู้มชื่อเสียงทีควรแก่การเชือถือ
        ี          ่           ่

กติกาและกฎเกณฑ์ในการโต้วาทีเป็นอย่างดี

 มีหน้าที่ให้คะแนนผูโต้แต่ละคน
                    ้
ผู้ฟัง คือ ผู้ที่เข้าร่วมฟัง
       การโต้วาที
มีมารยาทในการฟัง

ฟังด้วยความสนใจและใช้ความคิดติดตาม

สังเกตการพูด การใช้ภาษา ท่าทางของผูโต้
                                   ้
เพื่อนำาไปแก้ไขปรับปรุงกับตนเอง
ก่อนการโต้วาที

ดำาเนินการโต้วาที

การตัดสินการโต้วาที
เลือกญัตติ
กำาหนดวัน เวลา และสถานที่
     พิจารณาบุคคลที่จะโต้วาที รวมทั้ง
             กำาหนดบุคคลที่จะ
  ประชาสัมพัน่เธ์ นประธานและกรรมการ
     ทำาหน้าที ป็
 เตรียมสถานทีโต้วาที
             ่
ประธ
       าน


ฝ่าย            ฝ่าย
เสนอ            ค้าน
        แท่น
         พูด



       ผู้ฟัง
ประธกล่าวทักทายผู้ฟัง
 าน กล่าวเปิดรายการ
  แนะนำากรรมการและผู้โต้วาทีทั้งสองฝ่าย
     กล่าวเชิญผู้โต้ให้พูดทีละคน
เมือผู้โต้พูดครบแล้ว ประธานจะเชิญให้หวหน้าฝ่า
   ่                                 ั
พูดสรุปก่อน แล้วเชิญหัวหน้าฝ่ายเสนอพูดสรุปทีห
 กล่าวเสริมบรรยากาศหรือให้ข้อคิด แล้วขอใบคะแ
 จากกรรมการ
     ประกาศผลและกล่าวปิดรายการ
หัวหน้าฝ่ายเสนอ      หัวหน้าฝ่ายค้าน
       หัวหน้าฝ่าย     หัวหน้าฝ่าย
           เสนอ น
       ผู้สนับสนุ          ค้าน น
                       ผูสนับสนุ
                         ้
       ฝ่ายเสนอ          ฝ่ายค้าน
       ผูคนทีสนุน
         ้สนับ ่ ๑      ผูคนทีสนุน
                          ้สนับ ่ ๑
       ฝ่ายเสนอ          ฝ่ายค้าน
       ผูคนที่สนุน
          ้สนับ ๒       ผูคนที่สนุน
                           สนับ ๒
                           ้
       ฝ่ายเสนอ          ฝ่ายค้าน
        คนที่ ๓          คนที่ ๓
ฝ่ า ยเสนอ                                ฝ่ า ยค้ า น
ผู้โต้วาที         หั ว หน้ า ฝ่ า ยเสนอ :                   หั ว หน้ า ฝ่ า ยค้ า น :
                  -กล่ า วทั ก ทายผู ้ ฟ ั ง             -กล่ า วทั ก ทายผู ้ ฟ ั ง
                        -เสนอญั ต ติ                    -พยายามชี ้ ใ ห้ เ ห็ น ข้ อ
           -แปรญั ต ติ ห รื อ ให้ ค ำ า นิ ย าม     บกพร่ อ งในการให้ เ หตุ ผ ล
                     หรื อ ความหมาย                             ของฝ่ า ยเสนอ
          -ให้ เ หตุ ผ ลสนั บ สนุ น ญั ต ติ ด ั ง  -โต้ แ ย้ ง เป็ น ประเด็ น โดยยก
                            กล่ า ว                           เหตุ ผ ลประกอบ
          -อธิ บ ายรายละเอี ย ด ข้ อ ปลี ก -ชี ้ ใ ห้ เ ห็ น ข้ อ เท็ จ จริ ง เพื ่ อ หั ก
                              ย่ อ ย               ล้ า งให้ เ ห็ น ว่ า ไม่ เ ป็ น ไปตาม
           -ยกตั ว อย่ า ง อุ ท าหรณ์ คำ า                            ญั ต ติ
            กล่ า ว ฯลฯ ประกอบการ                 -เสนอแนะความดี ข องฝ่ า ยตน
                         สนั บ สนุ น                  -เน้ น สรุ ป ประเด็ น สำ า คั ญ
             -เน้ น สรุ ป ประเด็ น สำ า คั ญ        -กล่ า วสรุ ป รวบยอดในรอบ
           -กล่ า วสรุ ป รวบยอดในรอบ                                สุ ด ท้ า ย
                           สุ ด ท้ า ย                  ผู ้ ส นั บ สนุ น ฝ่ า ยค้ า น :
              ผู ้ ส นั บ สนุ น ฝ่ า ยเสนอ :             -กล่ า วทั ก ทายผู ้ ฟ ั ง
                  -กล่ า วทั ก ทายผู ้ ฟ ั ง           -หาเหตุ ผ ล ข้ อ เท็ จ จริ ง
         -อธิ บ ายสนั บ สนุ น หั ว หน้ า ฝ่ า ย              สนั บ สนุ น หั ว หน้ า
                            เสนอ                                   ฝ่ า ยค้ า น
            -อธิ บ ายข้ อ เสนอด้ ว ยการ             -พู ด โต้ แ ย้ ง ข้ อ เสนอของผู ้
การตัดสินการโต้วาที

         กรรมการตัดสินการโต้วาทีควรใช้
   จำานวนที่เป็นเลขคี่ และไม่ควรใช้คะแนน
   รวมทั้งหมดมาเป็นเกณฑ์ตดสิน ซึงอาจ
                              ั     ่
   ทำาให้เกิดการผิดพลาดได้ เพราะเกณฑ์
    การให้คะแนนของแต่ละบุคคลย่อมแตก
     ต่างกัน ควรสรุปที่กรรมการสรุปไว้ว่า
   ฝ่ายใดชนะเป็นเกณฑ์การตัดสิน โดยนับ
                 เป็น ๑ เสียง
การกล่าวสุนทรพจน์ หมายถึง
   การพูดด้วยถ้อยคำาไพเราะ มีสำานวน
โวหารน่าฟังเหมาะสมกับโอกาส ส่วนใหญ่
มักเป็นการพูดอย่างเป็นทางกสนสำาหรับผู้
มีชื่อเสียงหรือมีหน้าที่การงานสำาคัญ ๆ ใน
 สังคม เช่น การพูดของนายกรัฐมนตรี
การพูดในวาระเปิด – ปิด สมัยประชุม การ
 กล่าวคำาปราศรัย หรือการให้โอวาท ฯลฯ
การกล่าวสุนทรพจน์ใน
          ศาลพิพากษา
 การกล่าวสุนทรพจน์ในรัฐสภา


การกล่าวสุนทรพจน์ในโอกาสต่าง ๆ
เป็นการพูดต่อชุมชน
   เป็นการพูดแบบสั้น ๆ
 นการพูดปากเปล่าทีไม่ใช่อ่านจากต้นฉบับ
                     ่
ป็นการใช้ถ้อยคำาที่ไพเราะลึกซึงกินใจ
                               ้
นการพูดโน้มน้าวให้ผู้ฟังเห็นด้วยหรือคล้อยตาม
 การพูดทีมงให้ผู้ฟังเกิดความมั่นใจและยินดีรวมมือ
           ่ ุ่                            ่
การพูดทีมงแสดงความหนักแน่นเด็ดเดียวทางนำ้าเสีย
         ่ ุ่                        ่
นการพูดที่มพิธีรตองหรือพูดในโอกาสสำาคัญ ๆ
                ี ี
ารพูดทีมการเตรียมตัวล่วงหน้า มีการฝึกซ้อมมาเป็น
       ่ ี
แสดความรูสกนึกคิดบางประการเนื่องในโอกาสสำาค
         ้ ึ

ห้ผู้ฟังเข้าใจแบะเห็นความสำาคัญของโอกาสนั้น ๆ ย


อให้ข้อคิดหรือเสนอแนวทางให้ผู้ฟังนำาไปปฏิบัติ
กล่าวถึงความสำาคัญในโอกาสที่พูด
กล่าวแสดงความรู้สกที่มตอเรืองที่พูด
                 ึ     ี ่ ่
ให้ข้อคิดหรือแนวทางที่จะนำาไปปฏิบัติ
ช้ถอยคำาไพเราะสละสลวยและลึกซึงกินใจ
    ้                            ้
สร้างบรรยากาศให้น่าเลื่อมใสและศรัทธา
   จบด้วยการให้พร
การพูดปาฐกถา หมายถึง
 การพูดหรือการบรรยายที่แสดงถึง
 ความรู้ ความคิดอ่านของผู้พูดต่อ
 หน้าผู้ฟังจำานวนมาก และมีจุดมุง  ่
หมายอยู่ที่การให้ความรู้เพื่อประดับ
 สติปัญญา ผู้พูดเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ
 ทางวิชาการ ซึงไม่มีสวนเกี่ยวข้อง
                ่       ่
  กับผู้ฟัง และเรืองทีนำามาพูดก็ไม่
                  ่   ่
กำาหนดไว้ในหลักสูตร แต่เป็นเรืองที่
                                ่
การจัดในด้านวิชาการ

   การจัดในด้านความรู้

การจัดในการประชุมใหญ่ทีมการอภิปราย
                        ี
พื่อถ่ายทอดความรูความคิดเห็นของผู้พูดไปสูผู้ฟัง
                    ้                       ่
เพื่อให้ผู้ฟังเกิดความรูและเพิ่มพูนสติปัญญา
                        ้
            เพื่อให้เกิดความเขาใจในเรืองต่าง ๆ
                                         ่
                ได้อย่างถูี่ กต้อง
พื่อให้ผู้ฟังนำาความรู้ทได้รบไปใช้หรือไปปฏิบัติให้เก
                                ั
                         ประโยชน์
 อให้ผู้ฟังได้นำาความรูที่ได้รับไปถ่ายทอดหรือเผยแพ
                             ้
                      ให้แก่ผู้อื่นต่อไป
ล่าวคำาปฏิสนถารให้ถกต้องและไพเราะน่าฟัง
           ั       ู
 ม่กล่าวคำาออกตัว อวดตัวหรือถ่อมตัว
วคำาอารัมภบทให้น่าสนใจและเชื่อมโยงกับเรืองที่พูด
                                        ่
พูดให้ตรงหัวข้อและไม่พูดออกนอกเรื่อง
หาสาระทีมความรู้มากพอสมควร มีความชัดเจและม
         ่ ี
 เสนอความรูความคิดต้องไม่เคร่งเครียดจนเกินไป
             ้
 รกำาหนดเวลาพูดไม่ควรนานเกินกว่า ๑ ชัวโมง
                                      ่
พูดแบบสร้างสรรค์ เพื่อก่อให้เกิดการพัฒนามองโล
าษาพูดให้ชัดเจนทั้งเสียงและความหมายไม่ยากหร
                ง่ายจนเกนไป
พูดที่น่าสนใจและสามารถโน้มน้าวใจผู้ฟังให้อยากติด
ปฏิกิรยาของผู้ฟัง และสามารถสร้างบรรยากาศการ
      ิ
แสดงกิรยามารยาทได้อย่างเหมาะสม
         ิ
พูดมากหัวข้อ (ตามปกติไม่พูดมากเกิน ๔ หัวข้อ)
  ต้องมีมารยาท ไม่พูดเสียดสี
 าวบทสรุปให้ผฟังเข้าใจแจ่มแจ้งและประทับใจ
              ู้
ารพูดปาฐกถาเป็นการพูดเกี่ยวกับวิชาการ

องทีนำามาพูดควรเป็นเรื่องที่ผู้ฟังสนใจ ได้ความรู้
    ่

ผู้พูดควรคำานึงถึงมารยาทในการพูด

  ควรสังเกตปฏิกิรยาของผู้ฟัง
                 ิ
วรพูดด้วยนำ้าเสียงทีมีชวิตชีวาและเป็นธรรมชาติ
                    ่ ี
การสัมภาษณ์ เป็นการสื่อสารทีมี
                                    ่
ลักษณะเป็นทางการ มี              ผู้สัมภาษณ์และ
 ผู้ให้สัมภาษณ์ทำาหน้าที่ตามบทบาทของตนเอง
                    อย่างเด่นชัด
          พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
 พ.ศ.๒๕๒๕ ให้ความหมายของคำาสัมภาษณ์ว่า
  “คือการพบปะวิสาสะกันในลักษณะทีฝ่ายหนึ่ง
                                       ่
  ต้องการทราบเรืองจากอีกฝ่ายหนึ่ง หรือฝ่าย
                  ่
หนึ่งต้องการแถลงข่าวแก่อกฝ่ายหนึ่ง เพื่อนำาไป
                             ี
เป็นทางการ คือ การสัมภาษณ์ที่มเกณฑ์การปฏ
                              ี


ไม่เป็นทางการ คือ การสัมภาษณ์ที่ไม่มการเตร
                                    ี
กนัก เป็นแต่เพียงผู้สมภาษณ์มประเด็นหัวข้อคำาถา
                     ั      ี
      ล่วงหน้า เมือสบโอกาสก็ขอสัมภาษณ์
                  ่
เพื่อทดสอบ

  เพื่อเผยแพร่

เพื่อการศึกษาค้นคว้าวิจัย
ษณ์ควรเตรียมการเกี่ยวกับผู้ให้สัมภาษณ์เป็น ๒ ส
            การนัดหมายผู้ให้สมภาษณ์
                               ั
ารศึกษาชีวประวัติ ผลการทำางาน การศึกษาค้นคว้า
               ของผู้ให้สัมภาษณ์
หัวข้อและคำาถามที่ใช้สัมภาษณ์
นต้นให้สนุกสนาน (Entertainment)
คำาถามที่เป็นการชักนำา และได้คำาตอบสัน ๆ
                                     ้

   คำาถามที่เข้าใจอยาก


   คำาถามที่เปิดกว้างเกินไป
คำาถามเจาะจง

คำาถามเจาะใจ
ย. ประโยชน์

ย. อยาก

ย. อ่อนโยน

ย. อยู่ตว
        ั
“จงจำาทุกอย่างด้วยปากกา”
 หมายความว่า การจดบันทึกจะทำาให้เก็บ
   ความทรงจำาทุกอย่างไว้ได้ หากจำาด้วย
สมองเมือเนินนานไปหรือข้อมูลเพิ่มมากขึ้น
        ่
 ก็อาจทำาให้ลืมได้ การสัมภาษณ์กเช่นกัน
                                 ็
ผู้สัมภาษณ์ควรบันทึกผลการสัมภาษณ์ดวย  ้
ทุกครั้งทันทีที่สมภาษณ์จบ เพื่อกันการลืม
                 ั
 และเพื่อประโยชน์การอ้างอิงหรือเผยแพร่
                   ต่อไป
กผลการสัมภาษณ์ทันทีที่สัมภาษณ์จบ
มข้อเท็จจริงไม่ใช่บันทึกตามความคิดของผู้สมภาษ
                                         ั
กควรบันทึกลงในแบบบันทึกผลการสัมภาษณ์ที่จัดเต
งการบันทึกเทป ควรขออนุญาตผู้ให้สัมภาษณ์ก่อน
 ควรจดบันทึกขณะสัมภาษณ์
ป็นต้องจดบันทึกเพราะเป็นประเด็นที่นาสนใจ ควรบ
                                   ่
 ๆ
 ทึกลักษณะท่าทางทัว ๆ ไปของผู้ให้สัมภาษณ์
                  ่
มภาษณ์เรื่อง......................วัน เดือน ปี............
 และสกุลผู้ให้สัมภาษณ์.....................................
         คำาถามของผู้
            สัมภาษณ์
    คำาตอบของผู้ให้สัมภาษณ์
   ข้อเสนอแนะของผู้ให้สัมภาษณ์
อสังเกตเกียวกับความรูสึกและท่าทีของผู้ให้สัมภาษณ
          ่           ้
  ปัญหาและอุปสรรคในการสัมภาษณ์
อเสนอแนะเพื่อพัฒนาการสัมภาษณ์ในโอกาสต่อ ๆ ไ
มารยาท คือ กิริยาวาจาที่
   เรียบร้อย ถูกต้องงดงามตาม
 แบบแผนของสังคม มารยาทเป็น
คุณสมบัตประจำาตนทีทำาให้ผู้ฟังเกิด
          ิ         ่
             ศรัทธา
กิริยาท่าทางสง่าผ่าเผยและสำารวม
    แต่งกายสะอาดเรียบร้อย
 ใช้คำาพูดทีสุภาพ เหมาะสมกับเรื่องที่พูด
            ่

พูดให้เหมาะกับเวลาและพูดให้ดทสุดในทุกโอกาส
                            ี ี่
  รู้จกควบคุมอารมณ์ที่ไม่พึงประสงค์
      ั
 เปิดโอกาสและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
แบ่งกลุ่ม ๆ ดังนี้

  การพูดอภิปราย       ๕ คน ๒
  กลุม
     ่
  การพูดโต้วาที    ๗ คน
  การพูดสุนทรพจน์ ๓ คน
แสดงบทบาทสมมติ ๔กลุ่มละ ๑๐
  การพูดปาฐกถา       คน
  การพูดสัมภาษณ์บคคล ๒ คน ๒
นาที             ุ
  กลุม ่

Contenu connexe

Tendances

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานOOng Bkk
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอOOng Bkk
 
วิธีการพูด
วิธีการพูดวิธีการพูด
วิธีการพูดareemarketing
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปรายบทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปรายAj.Mallika Phongphaew
 
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูดกระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูดWilawun Wisanuvekin
 
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษรูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษAlis Sopa
 
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูงปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูงvru.ac.th
 
โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1Cedric Jakkapat
 
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)Nok Yaowaluck
 
วิเคราะห์จ๊า
วิเคราะห์จ๊าวิเคราะห์จ๊า
วิเคราะห์จ๊าNok Yaowaluck
 
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มบทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มAj.Mallika Phongphaew
 

Tendances (17)

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอ
 
การนำเสนอ
การนำเสนอการนำเสนอ
การนำเสนอ
 
วิธีการพูด
วิธีการพูดวิธีการพูด
วิธีการพูด
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนา
 
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปรายหน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
 
บทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปรายบทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปราย
 
การพูดประเภทต่าง ๆ
การพูดประเภทต่าง ๆการพูดประเภทต่าง ๆ
การพูดประเภทต่าง ๆ
 
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูดกระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
 
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษรูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
 
Consult
ConsultConsult
Consult
 
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูงปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1
 
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)
 
วิเคราะห์จ๊า
วิเคราะห์จ๊าวิเคราะห์จ๊า
วิเคราะห์จ๊า
 
Radiotype
RadiotypeRadiotype
Radiotype
 
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มบทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
 

En vedette

2013 sadi 인터랙션 신규커리큘럼
2013 sadi 인터랙션 신규커리큘럼2013 sadi 인터랙션 신규커리큘럼
2013 sadi 인터랙션 신규커리큘럼JongHo Lee
 
พระกู้เกียรติ กิตฺติโสภโณ
พระกู้เกียรติ  กิตฺติโสภโณพระกู้เกียรติ  กิตฺติโสภโณ
พระกู้เกียรติ กิตฺติโสภโณKiat Chaloemkiat
 
ผลไม้ต้าน..[1]
ผลไม้ต้าน..[1]ผลไม้ต้าน..[1]
ผลไม้ต้าน..[1]Prapasri Chuy-o
 
ใบงาน 1 แบบสำรวจและประวัติ
ใบงาน 1 แบบสำรวจและประวัติใบงาน 1 แบบสำรวจและประวัติ
ใบงาน 1 แบบสำรวจและประวัติberry green
 
Bansobpad2554 นำเสนอประเมินภายใน25สค54
Bansobpad2554  นำเสนอประเมินภายใน25สค54Bansobpad2554  นำเสนอประเมินภายใน25สค54
Bansobpad2554 นำเสนอประเมินภายใน25สค54Duangnapa Inyayot
 
งานที่ต้องส่งเดือนมิถุนายน 2557
งานที่ต้องส่งเดือนมิถุนายน  2557งานที่ต้องส่งเดือนมิถุนายน  2557
งานที่ต้องส่งเดือนมิถุนายน 2557Krookhuean Moonwan
 
FAIRLINE FAIRLINE TARGA 34, 2003, 175.000 € For Sale Yacht Brochure. Presente...
FAIRLINE FAIRLINE TARGA 34, 2003, 175.000 € For Sale Yacht Brochure. Presente...FAIRLINE FAIRLINE TARGA 34, 2003, 175.000 € For Sale Yacht Brochure. Presente...
FAIRLINE FAIRLINE TARGA 34, 2003, 175.000 € For Sale Yacht Brochure. Presente...Longitude 64 Switzerland
 
20120718 services offering nectecace
20120718 services offering nectecace20120718 services offering nectecace
20120718 services offering nectecacePisuth paiboonrat
 
Orthodontics orthodontist vienna virginia,usa
Orthodontics orthodontist vienna virginia,usaOrthodontics orthodontist vienna virginia,usa
Orthodontics orthodontist vienna virginia,usaIbrahim Y Alhussain, DMD
 

En vedette (20)

E risk ict_audit
E risk ict_auditE risk ict_audit
E risk ict_audit
 
Letg Ppt
Letg PptLetg Ppt
Letg Ppt
 
2013 sadi 인터랙션 신규커리큘럼
2013 sadi 인터랙션 신규커리큘럼2013 sadi 인터랙션 신규커리큘럼
2013 sadi 인터랙션 신규커리큘럼
 
พระกู้เกียรติ กิตฺติโสภโณ
พระกู้เกียรติ  กิตฺติโสภโณพระกู้เกียรติ  กิตฺติโสภโณ
พระกู้เกียรติ กิตฺติโสภโณ
 
My Bestest Friend <3
My Bestest Friend <3My Bestest Friend <3
My Bestest Friend <3
 
ผลไม้ต้าน..[1]
ผลไม้ต้าน..[1]ผลไม้ต้าน..[1]
ผลไม้ต้าน..[1]
 
Onet50
Onet50Onet50
Onet50
 
ใบงาน 1 แบบสำรวจและประวัติ
ใบงาน 1 แบบสำรวจและประวัติใบงาน 1 แบบสำรวจและประวัติ
ใบงาน 1 แบบสำรวจและประวัติ
 
งานนำเสนอ 6 27 มี.ค.57
งานนำเสนอ  6 27 มี.ค.57งานนำเสนอ  6 27 มี.ค.57
งานนำเสนอ 6 27 มี.ค.57
 
Bansobpad2554 นำเสนอประเมินภายใน25สค54
Bansobpad2554  นำเสนอประเมินภายใน25สค54Bansobpad2554  นำเสนอประเมินภายใน25สค54
Bansobpad2554 นำเสนอประเมินภายใน25สค54
 
Learn 2
Learn 2Learn 2
Learn 2
 
Apresentação AWS - TDC Floripa
Apresentação AWS - TDC FloripaApresentação AWS - TDC Floripa
Apresentação AWS - TDC Floripa
 
งานที่ต้องส่งเดือนมิถุนายน 2557
งานที่ต้องส่งเดือนมิถุนายน  2557งานที่ต้องส่งเดือนมิถุนายน  2557
งานที่ต้องส่งเดือนมิถุนายน 2557
 
Fotomail 124
Fotomail 124Fotomail 124
Fotomail 124
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
 
FAIRLINE FAIRLINE TARGA 34, 2003, 175.000 € For Sale Yacht Brochure. Presente...
FAIRLINE FAIRLINE TARGA 34, 2003, 175.000 € For Sale Yacht Brochure. Presente...FAIRLINE FAIRLINE TARGA 34, 2003, 175.000 € For Sale Yacht Brochure. Presente...
FAIRLINE FAIRLINE TARGA 34, 2003, 175.000 € For Sale Yacht Brochure. Presente...
 
20120718 services offering nectecace
20120718 services offering nectecace20120718 services offering nectecace
20120718 services offering nectecace
 
Orthodontics orthodontist vienna virginia,usa
Orthodontics orthodontist vienna virginia,usaOrthodontics orthodontist vienna virginia,usa
Orthodontics orthodontist vienna virginia,usa
 
Book2013 oct 04-social (o-net)
Book2013 oct 04-social (o-net)Book2013 oct 04-social (o-net)
Book2013 oct 04-social (o-net)
 
วิบากกรรม NGO
วิบากกรรม NGOวิบากกรรม NGO
วิบากกรรม NGO
 

Similaire à Speak

การพูดอย่างเป็นทางการ 5
การพูดอย่างเป็นทางการ 5การพูดอย่างเป็นทางการ 5
การพูดอย่างเป็นทางการ 5Yota Bhikkhu
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2krubuatoom
 
ถอดเทปโครงการศิลปะการพูด
ถอดเทปโครงการศิลปะการพูดถอดเทปโครงการศิลปะการพูด
ถอดเทปโครงการศิลปะการพูดpyopyo
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นJiraprapa Suwannajak
 
กระบวนการแลกเปลี่ยนCBLภาคใต้โดยคุณนันทโชค
กระบวนการแลกเปลี่ยนCBLภาคใต้โดยคุณนันทโชคกระบวนการแลกเปลี่ยนCBLภาคใต้โดยคุณนันทโชค
กระบวนการแลกเปลี่ยนCBLภาคใต้โดยคุณนันทโชคAraya Sripairoj
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7supap6259
 
การจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวการจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวkoy2514
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2krubuatoom
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาan1030
 
การพูดเพื่อนำเสนอ
การพูดเพื่อนำเสนอการพูดเพื่อนำเสนอ
การพูดเพื่อนำเสนอRattana Wongphu-nga
 
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพสรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพnunaka
 
Deliberative democracy public
Deliberative democracy publicDeliberative democracy public
Deliberative democracy publicKan Yuenyong
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Mickey Toon Luffy
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตรPat1803
 
กิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐานกิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐานwara
 
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขกลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขPornthip Tanamai
 
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียนUnit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียนKasem S. Mcu
 

Similaire à Speak (20)

การพูดอย่างเป็นทางการ 5
การพูดอย่างเป็นทางการ 5การพูดอย่างเป็นทางการ 5
การพูดอย่างเป็นทางการ 5
 
การโต้วาที
การโต้วาทีการโต้วาที
การโต้วาที
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2
 
ถอดเทปโครงการศิลปะการพูด
ถอดเทปโครงการศิลปะการพูดถอดเทปโครงการศิลปะการพูด
ถอดเทปโครงการศิลปะการพูด
 
การแนะแนว
การแนะแนวการแนะแนว
การแนะแนว
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็น
 
กระบวนการแลกเปลี่ยนCBLภาคใต้โดยคุณนันทโชค
กระบวนการแลกเปลี่ยนCBLภาคใต้โดยคุณนันทโชคกระบวนการแลกเปลี่ยนCBLภาคใต้โดยคุณนันทโชค
กระบวนการแลกเปลี่ยนCBLภาคใต้โดยคุณนันทโชค
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
 
การจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวการจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนว
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2
 
เรียงความ
เรียงความเรียงความ
เรียงความ
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษา
 
การพูดเพื่อนำเสนอ
การพูดเพื่อนำเสนอการพูดเพื่อนำเสนอ
การพูดเพื่อนำเสนอ
 
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพสรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
 
Deliberative democracy public
Deliberative democracy publicDeliberative democracy public
Deliberative democracy public
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
กิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐานกิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐาน
 
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขกลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
 
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียนUnit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
 

Plus de pui003

Unit10
Unit10Unit10
Unit10pui003
 
Original edu 1
Original edu 1Original edu 1
Original edu 1pui003
 
Onlinelearning
OnlinelearningOnlinelearning
Onlinelearningpui003
 
E education
E educationE education
E educationpui003
 
ภาษาไทย ไตรยางค์
ภาษาไทย ไตรยางค์ภาษาไทย ไตรยางค์
ภาษาไทย ไตรยางค์pui003
 
เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์pui003
 

Plus de pui003 (6)

Unit10
Unit10Unit10
Unit10
 
Original edu 1
Original edu 1Original edu 1
Original edu 1
 
Onlinelearning
OnlinelearningOnlinelearning
Onlinelearning
 
E education
E educationE education
E education
 
ภาษาไทย ไตรยางค์
ภาษาไทย ไตรยางค์ภาษาไทย ไตรยางค์
ภาษาไทย ไตรยางค์
 
เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
 

Speak

  • 1.
  • 2.
  • 3.
  • 4. การพูดอย่างเป็นทางการ หมาย ถึง การพูดที่เป็นกิจจะลักษณะและเป็น พิธีการผูพูดต้องยึดถือและปฏิบัตตามหลัก ้ ิ เกณฑ์การพูด เช่น ปาฐกถา การ บรรยาย การอภิปราย การสัมภาษณ์หรือ การประชุม เป็นต้น การพูดอย่างเป็น ทางการอาจมีทั้งทั้งทีพูดเดียวหรือพูดกลุ่ม ่ ่ ซึงมีจำานวนผู้ฟังตั้งแต่กลุ่มย่อย ๆ ไป ่ จนถึงการพูดในที่ชุมชน ดังนั้นการพูดใน
  • 5. ขั้นวิเคราะห์ การเตรียมเนื้อหา การเตรียมด้านภาษา การเตรียมตัวพูด การเตรียมตัวพูดให้เหมาะสมกับสถานการณ์
  • 6.
  • 7. การอภิปราย เป็นแบบการ พูดซึ่งผู้พูดประกอบด้วยกลุมบุคคล ่ ทีมีเจตนาจะพิจารณาเรืองใดเรื่อง ่ ่ หนึ่ง ปรึกษาหารือกันออกความคิด เห็นเพื่อแก้ปัญหาที่มอยู่ หรือเพื่อ ี เป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ ความ คิดเห็น ถ่ายทอดประสบการณ์ทได้ ี่ รับมา ในทีสุดก็มการตัดสินใจว่าควร ่ ี จะทำาอย่างใดอย่างหนึ่ง
  • 8. เพื่อเสนอปัญหาหรือเรื่อง บางอย่าง ให้คนกลุ่มหนึ่งมาร่วมแสดง ความคิดเห็น ผู้รวมอภิปรายเสนอข้อเท็จจริง ข้อเสนอ แนะ และแสวงหาข้อแก้ไขที่สด ุ หาข้อยุตของปัญหา หรือเรื่องดังกล่าว ิ ให้ข้อคิดและเสนอแนวทางในการ แก้ปัญหาต่อไปที่ดี
  • 9. ศึกษาจุดมุงหมายของการอภิปรายว่า ่ จัดขึ้นเพื่อเสนอข้อคิดเห็น หรือเพื่อลง มติ ศึกษาลักษณะอุปนิสัย พื้นความรู้ และ ความรู้สกนึกคิดของผู้รวมอภิปราย ึ ่ แต่ละคน
  • 10. เตรียมหัวข้ออภิปราย พิจารณาคุณสมบัตของผู้ ิ ร่วมอภิปราย ปัญหาเรื่องที่จะนำามา อภิปราย
  • 12. จารณาคุณสมบัตของผู้ร่วมอภิปราย ิ านขีดความสามารถและทัศนคติ เพื่อกำาหนดหัวข้อ หรือตังคำาถาม เพื่อให้ตอบได้อย่างเหมาะสม ้
  • 13. ปัญหาเรื่องที่จะนำามาอภิปราย ไม่ควรเป็นปัญหาทีกว้างจนเกินไป ่ ควรเป็นปัญหาที่มสาระ ี วรเป็นปัญหาที่คนอื่นก็อาจประสบเช่นเดียวกัน ควรเป็นปัญหาที่พบกันเสมอๆ รืองทีสังคมส่วนใหญ่เข้าใจยาก หรือยังเข้าใจไม่ถก ่ ่ ู
  • 14.
  • 15. การโต้วาที หมายถึง การ พูดโต้แย้งกันในญัตติโดยใช้ วาทศิลป์และไหวพริบในการหักล้าง เหตุผลของฝ่ายตรงข้าม แล้วนำา เสนอข้อเท็จจริงให้เห็นว่าความคิด ของฝ่ายตนเป็นความจริงและถูก ต้อง
  • 17. เพื่อหาข้อเท็จจริง เพื่อความสนุกสนาน เพื่อผลประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อฝึกฝนการพูดอย่างมีเหตุผล เพื่อให้กล้าแสดงออก อให้ได้เรียนรู้หลักเกณฑ์ในการโต้วาทีและหลักการ เพื่อส่งเสริมการพูดในระบอบประชาธิปไตย
  • 18. ประโยชน์ตอ่ ผู้โต้ ประโยชน์ตอผู้ ่ ฟัง
  • 19. ประโยชน์ต่อผู้โต้ ส่งเสริมให้เป็น เป็นผู้รอบรูบปรุงแนวคิดให้กว้างไกล การปรั้ และลึกซึงมากขึ้น ้ ป็นการฝึกหัดหรือสร้างความชำานาญในการใช้เหตุผ เพิ่มทักษะทางการพูด สามารถวิเคราะห์หรือสังเคราะห์ปัญหา เสริมสร้างไหวพริบปฏิภาณ รียนรู้ชองทางหรือวิธการในการเสนอความคิดไปยัง ่ ี เป็นการสร้าวลักษณะนิสยในการเข้าสังคมได้ดี ั ฝึกให้เป็นผู้มมารยาทที่ดทั้งในการพูดและการฟัง ี ี
  • 20. ประโยชน์ตอผู้ฟัง ่ ทำาให้เกิดความเข้าใจในหลักการหรือ เหตุผลแนวคิดที่ผโต้วาที ู้ ได้เาขึ้นมาอ้แงได้อย่างกว้างขวางยิ่งขึ้น นำ รียนรูวิธี า สดงเหตุผลแบบต่าง ๆ ้ เกิดประสบการณ์แปลก ้โต้ใหม่ ๆ จากผู ๆ วาที มีโอกาสเรียนรูการใช้ถ้อยคำาสำานวนมากขึ้น ้ มารถแยกแยะพิจารณาได้ว่า อะไรเป็นการแสดงเห อะไรเป็นข้อเท็จจริง เป็นการเสริมสร้างระบอบประชาธิปไตย
  • 21. ญัตติ ประธาน ผู้โต้วาที กรรมการตัดสินการโต้วาที ผู้ฟัง
  • 22. ลักษณะของญัตติ นญัตติที่สน ๆ และสะดุดใจ และมีการเปรียบเทียบอ ั้ เป็นญัตติที่มนำ้าหนักพอ ๆ กัน ี ป็นญัตติที่ไม่ขัดต่อกฎหมาย วัฒนธรรมหรือศีลธรร อันดีงาม เป็นญัตติที่ให้ความรู้ ความคิด หรือจรรโลงใจ ไม่ตงญัตติเป็นคำาถาม ั้
  • 23. หน้าที่ของประธาน กล่าวเปิดการโต้วาที แนะนำาญัตติการโต้ แนะนำากรรมการ เจ้าหน้าที่ทเกียวข้อง ี่ ่ แนะนำากติกา แจ้งกำาหนดเวลา แนะนำาผู้โต้เป็นรายบุคคล พูดกระตุนให้ผู้ฟังสนใจ ้ เชิญผูโต้ขึ้นพูดตามลำาดับการโต้ ้
  • 24. หน้าที่ของประธาน วางตัวเป็นกลาง ควบคุมเวลาให้เป็นไปตามรายการทีกำาหนด ่ สรุปประเด็นสำาคัญของผู้โต้เป็นรายบุคคล และสรุป ประเด็นของคณะทีได้่ รวบรวมคะแนนจากกรรมการ ประกาศผล กล่าวปิดรายการโต้วาทีเมือการโต้เสร็จสินลง ่ ้
  • 25. ฝ่ายเสนอ ฝ่ายค้าน หัวหน้าฝ่าย หัวหน้าฝ่าย เสนอ น ผู้สนับสนุ ค้าน น ผูสนับสนุ ้ ฝ่ายเสนอ ฝ่ายค้าน ผูคนทีสนุน ้สนับ ่ ๑ ผูคนทีสนุน ้สนับ ่ ๑ ฝ่ายเสนอ ฝ่ายค้าน ผูคนที่สนุน ้สนับ ๒ ผูคนที่สนุน สนับ ๒ ้ ฝ่ายเสนอ ฝ่ายค้าน คนที่ ๓ คนที่ ๓
  • 26. ความรู้กว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งความรูในเรื่อง ้ ความสามารถในการใช้ภาษาพูดถ่ายทอดให้ผฟังเข ู้ เตรียมตัวมาเป็นอย่างดี มีไหวพริบดี มีศลปะในการพูด ิ มีมารยาทดี
  • 27. หัวหน้าฝ่ายเสนอ จะเป็นผู้พูดก่อนเพราะถือว่า ป็นผู้ออกความคิดจะต้องเป็นผูเสนอญัตติ ้ หน้าฝ่ายค้าน จะเป็นผู้พูดต่อจากหัวหน้าฝ่ายเสนอ จะเป็นการโต้แย้งโดยใช้เท่ากับหัวหน้าฝ่ายเสนอ นับสนุนฝ่ายเสนอ จำานวนผู้สนับสนุนฝ่ายเสนอจะม อยู่กับประเภทของการโต้วาที ปกติแล้วมักจะมี ๓ ค สนับสนุนฝ่ายค้าน จะมีจำานวนเท่ากับผู้สนับสนุน ยเสนอทำาหน้าที่เช่นเดียวกับผู้สนับสนุนฝ่ายเสนอ
  • 28. กรรมการตัดสินการโต้วาที คือ ผู้ ทำาหน้าที่ให้คะแนนผู้โต้ทั้ง ๒ ฝ่าย การตัง้ กรรมการตัดสิน อาจตั้งเป็นคณะหรือเป็น บุคคลก็ได้ตามความเหมาะสม ส่วนใหญ่มกจะ ั ตังคณะหรือเป็นบุคคลก็ได้ความหมายเหมาะ ้ สม ส่วนใหญ่มกจะตังกรรมการให้มจำานวน ั ้ ี เป็นเลขคี่ คือ ๓ คน ๕ คน บางกรณีอาจไม่มี กรรมการตัดสินก็ได้ แต่ใช้วิธีให้ผู้ฟังตัดสิน ด้วยการปรบมือเพื่อเป็นเครืองวัดว่าฝ่ายใดควร ่
  • 29. เป็นผู้มชื่อเสียงทีควรแก่การเชือถือ ี ่ ่ กติกาและกฎเกณฑ์ในการโต้วาทีเป็นอย่างดี มีหน้าที่ให้คะแนนผูโต้แต่ละคน ้
  • 33. เลือกญัตติ กำาหนดวัน เวลา และสถานที่ พิจารณาบุคคลที่จะโต้วาที รวมทั้ง กำาหนดบุคคลที่จะ ประชาสัมพัน่เธ์ นประธานและกรรมการ ทำาหน้าที ป็ เตรียมสถานทีโต้วาที ่
  • 34. ประธ าน ฝ่าย ฝ่าย เสนอ ค้าน แท่น พูด ผู้ฟัง
  • 35. ประธกล่าวทักทายผู้ฟัง าน กล่าวเปิดรายการ แนะนำากรรมการและผู้โต้วาทีทั้งสองฝ่าย กล่าวเชิญผู้โต้ให้พูดทีละคน เมือผู้โต้พูดครบแล้ว ประธานจะเชิญให้หวหน้าฝ่า ่ ั พูดสรุปก่อน แล้วเชิญหัวหน้าฝ่ายเสนอพูดสรุปทีห กล่าวเสริมบรรยากาศหรือให้ข้อคิด แล้วขอใบคะแ จากกรรมการ ประกาศผลและกล่าวปิดรายการ
  • 36. หัวหน้าฝ่ายเสนอ หัวหน้าฝ่ายค้าน หัวหน้าฝ่าย หัวหน้าฝ่าย เสนอ น ผู้สนับสนุ ค้าน น ผูสนับสนุ ้ ฝ่ายเสนอ ฝ่ายค้าน ผูคนทีสนุน ้สนับ ่ ๑ ผูคนทีสนุน ้สนับ ่ ๑ ฝ่ายเสนอ ฝ่ายค้าน ผูคนที่สนุน ้สนับ ๒ ผูคนที่สนุน สนับ ๒ ้ ฝ่ายเสนอ ฝ่ายค้าน คนที่ ๓ คนที่ ๓
  • 37. ฝ่ า ยเสนอ ฝ่ า ยค้ า น ผู้โต้วาที หั ว หน้ า ฝ่ า ยเสนอ : หั ว หน้ า ฝ่ า ยค้ า น : -กล่ า วทั ก ทายผู ้ ฟ ั ง -กล่ า วทั ก ทายผู ้ ฟ ั ง -เสนอญั ต ติ -พยายามชี ้ ใ ห้ เ ห็ น ข้ อ -แปรญั ต ติ ห รื อ ให้ ค ำ า นิ ย าม บกพร่ อ งในการให้ เ หตุ ผ ล หรื อ ความหมาย ของฝ่ า ยเสนอ -ให้ เ หตุ ผ ลสนั บ สนุ น ญั ต ติ ด ั ง -โต้ แ ย้ ง เป็ น ประเด็ น โดยยก กล่ า ว เหตุ ผ ลประกอบ -อธิ บ ายรายละเอี ย ด ข้ อ ปลี ก -ชี ้ ใ ห้ เ ห็ น ข้ อ เท็ จ จริ ง เพื ่ อ หั ก ย่ อ ย ล้ า งให้ เ ห็ น ว่ า ไม่ เ ป็ น ไปตาม -ยกตั ว อย่ า ง อุ ท าหรณ์ คำ า ญั ต ติ กล่ า ว ฯลฯ ประกอบการ -เสนอแนะความดี ข องฝ่ า ยตน สนั บ สนุ น -เน้ น สรุ ป ประเด็ น สำ า คั ญ -เน้ น สรุ ป ประเด็ น สำ า คั ญ -กล่ า วสรุ ป รวบยอดในรอบ -กล่ า วสรุ ป รวบยอดในรอบ สุ ด ท้ า ย สุ ด ท้ า ย ผู ้ ส นั บ สนุ น ฝ่ า ยค้ า น : ผู ้ ส นั บ สนุ น ฝ่ า ยเสนอ : -กล่ า วทั ก ทายผู ้ ฟ ั ง -กล่ า วทั ก ทายผู ้ ฟ ั ง -หาเหตุ ผ ล ข้ อ เท็ จ จริ ง -อธิ บ ายสนั บ สนุ น หั ว หน้ า ฝ่ า ย สนั บ สนุ น หั ว หน้ า เสนอ ฝ่ า ยค้ า น -อธิ บ ายข้ อ เสนอด้ ว ยการ -พู ด โต้ แ ย้ ง ข้ อ เสนอของผู ้
  • 38. การตัดสินการโต้วาที กรรมการตัดสินการโต้วาทีควรใช้ จำานวนที่เป็นเลขคี่ และไม่ควรใช้คะแนน รวมทั้งหมดมาเป็นเกณฑ์ตดสิน ซึงอาจ ั ่ ทำาให้เกิดการผิดพลาดได้ เพราะเกณฑ์ การให้คะแนนของแต่ละบุคคลย่อมแตก ต่างกัน ควรสรุปที่กรรมการสรุปไว้ว่า ฝ่ายใดชนะเป็นเกณฑ์การตัดสิน โดยนับ เป็น ๑ เสียง
  • 39.
  • 40. การกล่าวสุนทรพจน์ หมายถึง การพูดด้วยถ้อยคำาไพเราะ มีสำานวน โวหารน่าฟังเหมาะสมกับโอกาส ส่วนใหญ่ มักเป็นการพูดอย่างเป็นทางกสนสำาหรับผู้ มีชื่อเสียงหรือมีหน้าที่การงานสำาคัญ ๆ ใน สังคม เช่น การพูดของนายกรัฐมนตรี การพูดในวาระเปิด – ปิด สมัยประชุม การ กล่าวคำาปราศรัย หรือการให้โอวาท ฯลฯ
  • 41. การกล่าวสุนทรพจน์ใน ศาลพิพากษา การกล่าวสุนทรพจน์ในรัฐสภา การกล่าวสุนทรพจน์ในโอกาสต่าง ๆ
  • 42. เป็นการพูดต่อชุมชน เป็นการพูดแบบสั้น ๆ นการพูดปากเปล่าทีไม่ใช่อ่านจากต้นฉบับ ่ ป็นการใช้ถ้อยคำาที่ไพเราะลึกซึงกินใจ ้ นการพูดโน้มน้าวให้ผู้ฟังเห็นด้วยหรือคล้อยตาม การพูดทีมงให้ผู้ฟังเกิดความมั่นใจและยินดีรวมมือ ่ ุ่ ่ การพูดทีมงแสดงความหนักแน่นเด็ดเดียวทางนำ้าเสีย ่ ุ่ ่ นการพูดที่มพิธีรตองหรือพูดในโอกาสสำาคัญ ๆ ี ี ารพูดทีมการเตรียมตัวล่วงหน้า มีการฝึกซ้อมมาเป็น ่ ี
  • 43. แสดความรูสกนึกคิดบางประการเนื่องในโอกาสสำาค ้ ึ ห้ผู้ฟังเข้าใจแบะเห็นความสำาคัญของโอกาสนั้น ๆ ย อให้ข้อคิดหรือเสนอแนวทางให้ผู้ฟังนำาไปปฏิบัติ
  • 44. กล่าวถึงความสำาคัญในโอกาสที่พูด กล่าวแสดงความรู้สกที่มตอเรืองที่พูด ึ ี ่ ่ ให้ข้อคิดหรือแนวทางที่จะนำาไปปฏิบัติ ช้ถอยคำาไพเราะสละสลวยและลึกซึงกินใจ ้ ้ สร้างบรรยากาศให้น่าเลื่อมใสและศรัทธา จบด้วยการให้พร
  • 45.
  • 46. การพูดปาฐกถา หมายถึง การพูดหรือการบรรยายที่แสดงถึง ความรู้ ความคิดอ่านของผู้พูดต่อ หน้าผู้ฟังจำานวนมาก และมีจุดมุง ่ หมายอยู่ที่การให้ความรู้เพื่อประดับ สติปัญญา ผู้พูดเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ ทางวิชาการ ซึงไม่มีสวนเกี่ยวข้อง ่ ่ กับผู้ฟัง และเรืองทีนำามาพูดก็ไม่ ่ ่ กำาหนดไว้ในหลักสูตร แต่เป็นเรืองที่ ่
  • 47. การจัดในด้านวิชาการ การจัดในด้านความรู้ การจัดในการประชุมใหญ่ทีมการอภิปราย ี
  • 48. พื่อถ่ายทอดความรูความคิดเห็นของผู้พูดไปสูผู้ฟัง ้ ่ เพื่อให้ผู้ฟังเกิดความรูและเพิ่มพูนสติปัญญา ้ เพื่อให้เกิดความเขาใจในเรืองต่าง ๆ ่ ได้อย่างถูี่ กต้อง พื่อให้ผู้ฟังนำาความรู้ทได้รบไปใช้หรือไปปฏิบัติให้เก ั ประโยชน์ อให้ผู้ฟังได้นำาความรูที่ได้รับไปถ่ายทอดหรือเผยแพ ้ ให้แก่ผู้อื่นต่อไป
  • 49. ล่าวคำาปฏิสนถารให้ถกต้องและไพเราะน่าฟัง ั ู ม่กล่าวคำาออกตัว อวดตัวหรือถ่อมตัว วคำาอารัมภบทให้น่าสนใจและเชื่อมโยงกับเรืองที่พูด ่ พูดให้ตรงหัวข้อและไม่พูดออกนอกเรื่อง หาสาระทีมความรู้มากพอสมควร มีความชัดเจและม ่ ี เสนอความรูความคิดต้องไม่เคร่งเครียดจนเกินไป ้ รกำาหนดเวลาพูดไม่ควรนานเกินกว่า ๑ ชัวโมง ่ พูดแบบสร้างสรรค์ เพื่อก่อให้เกิดการพัฒนามองโล
  • 50. าษาพูดให้ชัดเจนทั้งเสียงและความหมายไม่ยากหร ง่ายจนเกนไป พูดที่น่าสนใจและสามารถโน้มน้าวใจผู้ฟังให้อยากติด ปฏิกิรยาของผู้ฟัง และสามารถสร้างบรรยากาศการ ิ แสดงกิรยามารยาทได้อย่างเหมาะสม ิ พูดมากหัวข้อ (ตามปกติไม่พูดมากเกิน ๔ หัวข้อ) ต้องมีมารยาท ไม่พูดเสียดสี าวบทสรุปให้ผฟังเข้าใจแจ่มแจ้งและประทับใจ ู้
  • 51. ารพูดปาฐกถาเป็นการพูดเกี่ยวกับวิชาการ องทีนำามาพูดควรเป็นเรื่องที่ผู้ฟังสนใจ ได้ความรู้ ่ ผู้พูดควรคำานึงถึงมารยาทในการพูด ควรสังเกตปฏิกิรยาของผู้ฟัง ิ วรพูดด้วยนำ้าเสียงทีมีชวิตชีวาและเป็นธรรมชาติ ่ ี
  • 52.
  • 53. การสัมภาษณ์ เป็นการสื่อสารทีมี ่ ลักษณะเป็นทางการ มี ผู้สัมภาษณ์และ ผู้ให้สัมภาษณ์ทำาหน้าที่ตามบทบาทของตนเอง อย่างเด่นชัด พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๒๕ ให้ความหมายของคำาสัมภาษณ์ว่า “คือการพบปะวิสาสะกันในลักษณะทีฝ่ายหนึ่ง ่ ต้องการทราบเรืองจากอีกฝ่ายหนึ่ง หรือฝ่าย ่ หนึ่งต้องการแถลงข่าวแก่อกฝ่ายหนึ่ง เพื่อนำาไป ี
  • 54. เป็นทางการ คือ การสัมภาษณ์ที่มเกณฑ์การปฏ ี ไม่เป็นทางการ คือ การสัมภาษณ์ที่ไม่มการเตร ี กนัก เป็นแต่เพียงผู้สมภาษณ์มประเด็นหัวข้อคำาถา ั ี ล่วงหน้า เมือสบโอกาสก็ขอสัมภาษณ์ ่
  • 56. ษณ์ควรเตรียมการเกี่ยวกับผู้ให้สัมภาษณ์เป็น ๒ ส การนัดหมายผู้ให้สมภาษณ์ ั ารศึกษาชีวประวัติ ผลการทำางาน การศึกษาค้นคว้า ของผู้ให้สัมภาษณ์ หัวข้อและคำาถามที่ใช้สัมภาษณ์ นต้นให้สนุกสนาน (Entertainment)
  • 57. คำาถามที่เป็นการชักนำา และได้คำาตอบสัน ๆ ้ คำาถามที่เข้าใจอยาก คำาถามที่เปิดกว้างเกินไป
  • 59. ย. ประโยชน์ ย. อยาก ย. อ่อนโยน ย. อยู่ตว ั
  • 60. “จงจำาทุกอย่างด้วยปากกา” หมายความว่า การจดบันทึกจะทำาให้เก็บ ความทรงจำาทุกอย่างไว้ได้ หากจำาด้วย สมองเมือเนินนานไปหรือข้อมูลเพิ่มมากขึ้น ่ ก็อาจทำาให้ลืมได้ การสัมภาษณ์กเช่นกัน ็ ผู้สัมภาษณ์ควรบันทึกผลการสัมภาษณ์ดวย ้ ทุกครั้งทันทีที่สมภาษณ์จบ เพื่อกันการลืม ั และเพื่อประโยชน์การอ้างอิงหรือเผยแพร่ ต่อไป
  • 61. กผลการสัมภาษณ์ทันทีที่สัมภาษณ์จบ มข้อเท็จจริงไม่ใช่บันทึกตามความคิดของผู้สมภาษ ั กควรบันทึกลงในแบบบันทึกผลการสัมภาษณ์ที่จัดเต งการบันทึกเทป ควรขออนุญาตผู้ให้สัมภาษณ์ก่อน ควรจดบันทึกขณะสัมภาษณ์ ป็นต้องจดบันทึกเพราะเป็นประเด็นที่นาสนใจ ควรบ ่ ๆ ทึกลักษณะท่าทางทัว ๆ ไปของผู้ให้สัมภาษณ์ ่
  • 62. มภาษณ์เรื่อง......................วัน เดือน ปี............ และสกุลผู้ให้สัมภาษณ์..................................... คำาถามของผู้ สัมภาษณ์ คำาตอบของผู้ให้สัมภาษณ์ ข้อเสนอแนะของผู้ให้สัมภาษณ์ อสังเกตเกียวกับความรูสึกและท่าทีของผู้ให้สัมภาษณ ่ ้ ปัญหาและอุปสรรคในการสัมภาษณ์ อเสนอแนะเพื่อพัฒนาการสัมภาษณ์ในโอกาสต่อ ๆ ไ
  • 63.
  • 64. มารยาท คือ กิริยาวาจาที่ เรียบร้อย ถูกต้องงดงามตาม แบบแผนของสังคม มารยาทเป็น คุณสมบัตประจำาตนทีทำาให้ผู้ฟังเกิด ิ ่ ศรัทธา
  • 65. กิริยาท่าทางสง่าผ่าเผยและสำารวม แต่งกายสะอาดเรียบร้อย ใช้คำาพูดทีสุภาพ เหมาะสมกับเรื่องที่พูด ่ พูดให้เหมาะกับเวลาและพูดให้ดทสุดในทุกโอกาส ี ี่ รู้จกควบคุมอารมณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ั เปิดโอกาสและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
  • 66. แบ่งกลุ่ม ๆ ดังนี้ การพูดอภิปราย ๕ คน ๒ กลุม ่ การพูดโต้วาที ๗ คน การพูดสุนทรพจน์ ๓ คน แสดงบทบาทสมมติ ๔กลุ่มละ ๑๐ การพูดปาฐกถา คน การพูดสัมภาษณ์บคคล ๒ คน ๒ นาที ุ กลุม ่