SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  72
เทคนิคการสื่อสารงานสุขภาพจิต
       ผ่านสือสิงพิมพ์
             ่ ่




                            อาจารย์ณัฏฐกรณ์ ปะพาน
 รองคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
                          nattakorn65@yahoo.com 1
TOPIC




การสื่อสาร

สื่อสิ่งพิมพ์

เทคนิคการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์

การประเมินสื่อสิ่งพิมพ์
                               2
TOPIC




การสื่อสาร (Communication)
                             3
การสือสาร (Communication)
                    ่


                          การสื่อสารคือ.....?

วอร์เรน ดับเบิลยู วีเวอร์ (Worren W. Weaver)
การสื่อสารมีความหมายกว้าง ครอบคลุมถึงกระบวนการทุกอย่าง
ที่จิตใจของคนๆ หนึ่ง อาจมีผลต่อจิตใจของอีกคนหนึ่งไม่ใช่
เพียงการพูดและการเขียนเท่านั้น แต่รวมถึง ดนตรี ภาพ
การแสดง และพฤติกรรมอื่นๆ ของมนุษย์


                                                      4
การสือสาร (Communication)
                    ่


                          การสื่อสารคือ.....?
Webster Dictionary (1978 : 98)

การถ่ายทอดหรือการแลกเปลี่ยนข่าวสาร ความรู้ ความคิด

วิลเบอร์ ชแรมม์ (Wilber Schramm)
การสื่อสาร คือการมีความเข้าใจร่วมกัน ต่อเครืองหมายที่แสดง
                                            ่
ข่าวสาร

                                                      5
การสือสาร (Communication)
                     ่


                            การสื่อสารคือ.....?

กล่าวโดยสรุป “การสื่อสาร” คือ........
การที่มนุษย์ถ่ายทอดความรู้ ความคิด หรือประสบการณ์ของตน
ไปยังบุคคลอื่น และการรับความรู้ความคิดจากบุคคลอื่น มาปรับ
พฤติกรรมของตนเอง โดยกระบวนการของการสื่อสาร ซึ่งการ
ถ่ายทอด และการรับความรู้ ความคิดมีอยู่ 3 ลักษณะ ได้แก่


                                                     6
การสือสาร (Communication)
                    ่


                          การสื่อสารคือ.....?


                   ลักษณะของ
             กระบวนการของการสื่อสาร


การให้รหัสสัญญาณ                        การถ่ายทอดโดย
    โดยตรง                            กระบวนการทางสังคม
                   การใช้เครื่องมือ
                    การถ่ายทอด
                                                          7
การสือสาร (Communication)
                  ่

              การสื่อสารสำาคัญกับชีวิตเราอย่างไร.....?


ด้านชีวิตประจำาวัน
ด้านสังคม
ด้านธุรกิจอุตสาหกรรม
ด้านการเมืองการปกครอง

ด้านการเมืองระหว่างประเทศ
                                                    8
การสือสาร (Communication)
                   ่


                     วัตถุประสงค์ของการสื่อสาร


เพื่อแจ้งให้ทราบ (to inform)
เพื่อให้ข้อมูลเพิ่มเติม (to educate)
เพื่อโน้มน้าวให้มีความคิดเห็นคล้อยตาม (to persuade)
เพื่อให้เกิดความบันเทิง (to entertain)


                                                      9
การสือสาร (Communication)
                     ่


                            องค์ประกอบของการสื่อสาร

     S             M                  C             R
 ผู้สงสาร
     ่           สาร               ช่องทาง      ผู้รับสาร
 (sender)      (message)          (channel)    (receiver)
   ทักษะ          เนื้อหา          มองเห็น       ทักษะ
 การสื่อสาร                                    การสื่อสาร
               สัญลักษณ์            ได้ยิน
  ทัศนคติ       หรือรหัส                        ทัศนคติ
                                   ได้กลิ่น
ระดับความรู้   วิธีการส่งสาร                   ระดับความรู้
                                    ลิ้มรส
 ระดับสังคม                                    ระดับสังคม
                                    สัมผัส
และวัฒนธรรม                                   และวัฒนธรรม10
การสือสาร (Communication)
                        ่


                          การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ

       การสื่อสารที่ผู้ส่งสามารถส่งสารผ่านสื่อได้อย่างเหมาะสมกับ
ผู้รับ สามารถบรรลุเป้าหมายที่กำาหนดไว้ โดยผู้ส่งควรมีความรู้
ความเข้าใจในเรื่องต่างๆ ต่อไปนี้

      วัตถุประสงค์ในการสื่อสาร          รายละเอียดเกี่ยวกับผู้รบ
                                                               ั
      เนื้อหาสาระที่ต้องการส่ง          ศักยภาพของผู้ส่งสาร
      ประเภท และคุณสมบัติ               จิตวิทยาการสื่อสาร
      ของสื่อ
                                                             11
การสือสาร (Communication)
                      ่


                       การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ

     วัตถุประสงค์ในการสื่อสาร
     การทราบถึงวัตถุประสงค์ที่แท้จริงของการสื่อสาร โดย
เฉพาะการสื่อสารกับคนจำานวนมากๆ หรือการทำางานเป็นทีมจะ
สามารถปฏิบัติงานอย่างรู้จุดหมาย และมีทศทางเดียวกัน
                                      ิ

    เช่น การสื่อสารงานประชาสัมพันธ์ การสื่อสารงาน
โฆษณา

                                                     12
การสือสาร (Communication)
                  ่


                    การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ

เนื้อหารสารที่ต้องการส่ง

  ปริมาณ                             คุณภาพ
ปริมาณพอดี        เนื้อหาสาระ
   เวลา                            ความชัดเจน
  เนื้อที่                         ความถูกตอง
ความสนใจ                           ความยากง่าย
 ของผู้รับ                           ของสาร
  ความถี่                                        13
การสือสาร (Communication)
                ่


                   การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ

ประเภทและคุณสมบัติของสื่อ

   สื่อที่เป็นพาหะนำาสาร

   ภาษา (Language)
   • ภาษาพูด (Verbal Language)
   • ภาษาที่ไม่ใช่ภาษาพูด (Non-verbal Language)
     เช่น ภาษาเขียน ภาษาท่าทาง รูปภาพ วัตถุ ฯลฯ
                                                14
การสือสาร (Communication)
                ่


                   การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ

ประเภทและคุณสมบัติของสื่อ

   สื่อที่เป็นพาหะนำาสาร

   เทคโนโลยีการสื่อสารทั้งหลาย ที่ช่วยนำาสารไปได้
   อย่างรวดเร็ว และจำานวนมากและชัดเจน เพราะ
   นับเป็นพาหะในการนำาสารเคลื่อนด้วยเช่นกัน

                                                    15
การสือสาร (Communication)
                 ่


                   การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ

ประเภทและคุณสมบัติของสื่อ

   สื่อที่เป็นพาหะนำาสาร
   ช่องทางให้สารผ่านไปสู่ผู้รับ
   • การเห็น = ตา
   • ได้ยิน = หู
   • ได้กลิ่น = จมูก
   • ลิ้มรส = ลิ้น
                                                16
   • สัมผัส = ผิวหนัง
การสือสาร (Communication)
                 ่


                    การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ

ประเภทและคุณสมบัติของสื่อ
       สื่อที่ใช้ในการสื่อสารกับคนจำานวนมาก :
                      สื่อมวลชน
   วิทยุกระจายเสียง
   วิทยุโทรทัศน์
   สื่อสิ่งพิมพ์ เช่น นิตยสาร หนังสือพิมพ์
   ภาพยนตร์
   อินเตอร์เน็ต                                  17
การสือสาร (Communication)
                 ่


                   การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ

รายละเอียดเกี่ยวกับผู้รบสาร
                       ั
   ทักษะในการสื่อสาร (Communication Skills)
   ทัศนะคติ (Attitude)
   ความรู้ (Knowledge)
   ระบบสังคม (Social System)
   พื้นฐานทางวัฒนธรรม (Culture)
                                                18
การสือสาร (Communication)
                  ่


                     การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ

ศักยภาพของผู้ส่งสาร
   “รู้เขา” และ “รู้เราแล้ว”
   สำารวจตนเอง ว่ามีความรู้ในเรืองที่จะส่งหรือไม่
                                ่
   สำารวจเวลาในการทำางานว่ามีมากน้อยเพียงใด
   สำารวจกำาลังคน อุปกรณ์ และงบประมาณ
                                                    19
การสือสาร (Communication)
                 ่


                     การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ

จิตวิทยาการสื่อสาร

   ควรศึกษาจิตวิทยาที่เกี่ยวข้อง เช่น จิตวิทยาการเรียนรู้
   จิตวิทยาการรับรู้
   เพื่อสามารถเข้าใจพฤติกรรมของผู้รบสาร และสามารถ
                                   ั
   วางแผนการสื่อสารให้มีประสิทธิภาพ


                                                      20
การสือสาร (Communication)
                    ่


                   การสื่อสารงานสุขภาพไปยังผู้ฟง
                                               ั
คำานึงถึง กระบวบการสื่อสารแบบมีการสนองกลับ
          (Two-way Communication)
                       ผู้ดำาเนินรายการ
                   S   นักสื่อสารสุขภาพ
                                                  คำานึงถึง
                                              วัตถุประสงค์ใน

                                          +
                       ข้อมูลข่าวสาร
  การสื่อสาร       M   ด้านสุขภาพ
                                                 การสื่อสาร
 งานสุขภาพ                                       คำานึงถึง
                   C   วิทยุกระจายเสียง
                                               ประสิทธิภาพ
                        ผู้ฟัง                ของการสื่อสาร
                   R    ผู้รับสาร                        21
การสือสาร (Communication)
                 ่


                    การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ

ประเภทและคุณสมบัติของสื่อ
       สื่อที่ใช้ในการสื่อสารกับคนจำานวนมาก :
                      สื่อมวลชน
   วิทยุกระจายเสียง
   วิทยุโทรทัศน์
   สื่อสิ่งพิมพ์ เช่น นิตยสาร หนังสือพิมพ์
   ภาพยนตร์
   อินเตอร์เน็ต                                  22
การสือสาร (Communication)
                     ่


                    การสื่อสารงานสุขภาพไปยังผู้ฟง
                                                ั

ด้านวัตถุประสงค์ของการสื่อสาร

เน้นแจ้งข้อมูล ข่าวสาร และสาระความรูที่จะเป็นสำาหรับพื้นฐาน
                                    ้
ในการพัฒนามนุษย์ทั้ง 4 ด้าน
      ด้านการส่งเสริมสุขภาพ
      ด้านการป้องกันโรค
      ด้านการรักษาพยาบาล
      ด้านการฟื้นฟูสภาพ                                 23
การสือสาร (Communication)
                      ่


                      การสื่อสารงานสุขภาพไปยังผู้ฟง
                                                  ั

 ด้านการสื่อสารให้เกิดประสิทธิภาพ
ใช้แนวทางการสื่อสารข่าวสาร และสาระความรูด้านสุขภาพ
                                        ้

     คำานึงถึงวัตถุประสงค์ของการสือสาร
                                  ่
     คำานึงถึงเนือหาสาระ
                 ้
     คุณสมบัติของ
     รายละเอียดของชม
     จิตวิทยาการสือสาร
                  ่
                                                      24
TOPIC




สือสิงพิมพ์
  ่ ่
              25
สือสิ่งพิมพ์
                                               ่

           ข้อได้เปรียบ

1. เข้าถึงกลุมเป้าหมายได้อย่างกว้างขวาง
                ่
2. เลือกกลุมเป้าหมายได้
            ่
3. รวดเร็วทันสมัย ทันเวลา
4. ค่าใช้จ่ายถูก
5. เป็นสื่อทีมีความน่าเชื่อถือ
              ่
6. สามารถส่งข่าวสารถึงกลุมเป้าหมาย หลายกลุมได้ในเวลาที่
                             ่            ่
พร้อมกัน




                                                          26
สือสิ่งพิมพ์
                                                   ่


                                  ข้อได้เปรียบ


7. สามารถออกแบบรูปแบบสื่อได้เต็มที่ เพราะไม่มีขีดจำากัดด้าน
เนื้อที่ ขนาด
8. สื่อมีอายุยาวนาน
9. มีความคงทนถาวร
10. มีความยืดหยุ่นสูง เพราะอาจเปลียนแปลงเนื้อหา และงบ
                                  ่
ประมาณของสถาบันได้งาย   ่


                                                              27
สือสิ่งพิมพ์
                                                    ่

                   ข้อจำากัด
1. ไม่สามารถเข้าถึงผูอ่านทีอ่านหนังสือไม่ออก หรือผูสูงอายุที่
                     ้     ่                       ้
สายตาไม่ดี
2. ผูอานจะเลือกอ่านเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับเขา
     ้ ่
3. งบประมาณเป็นอุปสรรคในการจัดทำา
4. ยุบหรือเลิกง่าย
5. มีวัตถุประสงค์ไม่แน่นอน หรือขาดความรู้ทนาสนใจ
                                           ี่ ่
6. การเผยแพร่อยู่ในวงจำากัดเฉพาะกลุ่ม




                                                                28
หลักการผลิตสือสิงพิมพ์ให้มีประสิทธิภาพ
               ่ ่

หลักการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์


                           Program Analysis

  Design                                         Conceptual Design
                              สื่อสิ่งพิมพ์


                                              Case Study
Preliminary Design


                                                              29
สือสิงพิมพ์
                              ่ ่

              ความพึงพอใจ
             ในการออกแบบ




ความสวยงาม                  มีแนวความคิด
                              ในการออก
                               แบบที่ดี
               มีประโยชน์
                 ใช้สอย




                                       30
หลักในการออกแบบ
การตังคำาถามเพื่อการออกแบบทีดี
     ้                      ่
 *   อะไรคือจุดมุ่งหมาย
 *   ใครเป็นกลุ่มเป้าหมาย
 *   ต้องการจะพูดหรือสื่อความใด
 *   มีวิธในการเสนอข่าวสารอย่างไร
          ี

การออกแบบจะต้องเริมต้นที่คำาถาม
                  ่
 *   ต้องการผลสัมฤทธิ์อะไร
 *   ใครเป็นกลุ่มเป้าหมาย
 *   ต้องการจะพูดอะไร
 *   ใช้วิธีการเสนอข่าวอย่างไร
 *   ค่าใช้จ่ายหรืองบประมาณที่ใช้
                                                31
หลักในการออกแบบ

• WHAT/WHY - เป็นคำาถามเพื่อหาวัตถุประสงค์ในการทำางาน
  ทำาอะไร ? ทำาไมต้องทำา ? ทำาอย่างอื่นได้หรือไม่
  WHEN - เป็นคำาถามเพื่อหาลำาดับขั้นตอนการทำางานที่เหมาะสม
  ทำาเมื่อไหร่ ? ทำาไมต้องทำาตอนนัน ? ทำาตอนอื่นได้หรือไม่
                                   ้
  WHERE - เป็นคำาถามเพื่อหาสถานที่ทำางานที่เหมาะสม
  ทำาทีไหน ? ทำาไมต้องทำาที่นน ? ทำาที่อื่นได้หรือไม่ ?
       ่                      ั่
  WHO - เป็นคำาถามเพื่อหาบุคคลที่เหมาะสมในการทำางาน
  ใครเป็นคนทำา ? ทำาไมต้องเป็นคนนั้นทำา ? คนอื่นทำาได้หรือไม่ ?
  HOW - เป็นคำาถามเพื่อหาวิธการทำางานที่เหมาะสม
                                 ี
  ทำาอย่างไร ? ทำาไมต้องทำาอย่างนั้น ? ทำาวิธอื่นได้หรือไม่ ?
                                              ี



                                                             32
การจัดวางองค์ประกอบสื่อสิ่งพิมพ์
มีหลักการสำาคัญที่ใช้เป็นเกณฑ์ ในการพิจารณาอยู่ 6 ประการ
1. สัดส่วน
2. ความสมดุล
3. ความแตกต่าง
4. ลีลาจังหวะ

 5. ความมีเอกภาพ

 6. ความผสมกลมกลืน

                                                   33
การใช้สีกบสื่อสิงพิมพ์
                                     ั      ่

  • ความเข้าใจในเรื่องของสีเป็นส่วนสำาคัญที่จะช่วยให้งาน
  ออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์มีความสดใส สวยงาม น่าสนใจ และมี
บทบาทในการสื่อความหมายได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมและมี
คุณภาพอีกด้วย ดังนั้น การเลือกใช้สีควรจะได้ศึกษาให้มีความ
 รู้ความเข้าใจ เพื่อที่จะได้นำาสีไปใช้ประกอบในงานออกแบบ
  สื่อสิ่งพิมพ์ เพื่อให้งานนั้นสามารถตอบสนองได้ตรงตามจุด
                         ประสงค์มากที่สุด




                                                    34
การใช้สีกับสื่อสิ่งพิมพ์

1.ใช้ในการจำาแนกสิ่งต่าง ๆ เพื่อให้เห็นชัดเจน
2.ใช้ในการจัดองค์ประกอบของสิ่งต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความสวยงาม
   กลมกลืน เช่น การแต่งกาย
3.ใช้ในการจัดกลุม พวก คณะ ด้วยการใช้สีต่าง ๆ เช่น คณะสี
                 ่
   เครื่องแบบต่าง ๆ
4.ใช้ในการสื่อความหมาย เป็นสัญลักษณ์ หรือใช้บอกเล่าเรื่องราว




                                                           35
การใช้สีกับสื่อสิ่งพิมพ์

5.ใช้ในการสร้างสรรค์งานศิลปะ เพื่อให้เกิดความสวยงาม
สร้างบรรยากาศ สมจริงและน่าสนใจ
6.เป็นองค์ประกอบในการมองเห็นสิ่งต่าง ๆ ของมนุษย์




                                                  36
การใช้สีกับสื่อสิ่งพิมพ์


• ทฤษฎีของสี

  โทนของสี
  จิตวิทยาในการเลือกใช้สี
  หลักการพิจารณา
ในการเลือกใช้สี

                                       37
การใช้สีกับสื่อสิ่งพิมพ์




                    38
หน้าทีของภาพประกอบ
                              ่

• ดึงดูดความสนใจ

 ประกอบการอธิบายความรู้
  อธิบายความคิดรวบยอด
  อ้างอิงสิ่งที่ปรากฏ
  ประกอบข้อมูลทางสถิติ



                                       39
หน้าทีของภาพประกอบ
                          ่


                       ภาพทำาให้เกิดความรู้สกที่
                                               ึ
                คล้อยตาม สามารถบ่งบอกเรื่อง
                ราวได้เป็นขั้นเป็นตอน แสดงถึง
                ความรู้สกนึกคิดและเหตุการณ์ที่
                         ึ
               ยังดำาเนินอยู่ชวยให้ผู้รับสารเข้าใจ
                              ่
                      ได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น

       ภาพหนึ่งภาพท่านคิดว่าแทนคำาพูดพันคำา
ท่านคิดว่าถ้าใช้กับงานการส่งเสริมสุขภาพจิตควร
                   เป็นเช่นไร
                                            40
เนื้อหาสาระของสือสิงพิมพ์
                                 ่ ่



                      ลักษณะของเนื้อหา


เนื้อหารายการสำาหรับผู้อ่านทั่วไปทั่วไป

เนื้อหารายการสำาหรับผู้ฟังเฉพาะกลุ่ม



                                          41
เนื้อหาสาระของสือสิงพิมพ์
                                      ่ ่


                            ประเภทของเนื้อหา

  เนื้อหาประเภทของเท็จจริง
  เนื้อหาประเภทนี้ต้องมีความถูกต้อง และมีแหล่งอ้างอิงที่น่า
เชื่อถือ และเป็นหลักฐานได้

  เนื้อหารายการประเภทความคิดเห็น
  เนื้อหาประเภทนี้ ต้องทันต่อเหตุการณ์ มีหลายหลายความคิด
เห็น และมีอสระ
           ิ                                         42
เนื้อหาสาระของสือสิงพิมพ์
                                       ่ ่


                             การนำาเสนอเนื้อหา


• การกำาหนดเนื้อหาสื่อสิ่งพิมพ์ต้องคำานึงถึง
  1. วัตถุประสงค์ของสิ่งที่จะนำาเสนอ
  2. กลุ่มผู้อาน (ความสนใจ และความต้องการรับสารของ
              ่
  บุคคล)
  3. ประเภทของสื่อ แผ่นพับ โปสเตอร์ ฯลฯ
• การจัดลำาดับเนื้อหาของสื่อสิ่งพิมพ์ (ตามลักษณะแต่ละ
                                                        43
ประเภท)
เป็นทั่วไป/เฉพาะ
กลุ่ม


เป็นข้อเท็จจริง/
แสดงความคิดเห็น



                   44
การเขียนในงานพิมพ์


              • เขียนเพื่อเล่าเรื่อง : ถ่ายทอดประสบการณ์
                 ความรู้ โดยต้องเรียงลำาดับเหตุการณ์และข้อมูล
                 ที่ถูกต้อง
• เขียนเพื่ออธิบาย : บอกวิธีกระทำา เพื่อชี้แจง อธิบาย
   เรื่องที่เข้าใจยาก
• เขียนเพื่อแสดงความคิดเห็น : เสนอความเห็นหรือให้
   ข้อเสนอแนะ ข้อเตือนใจ หรือปลุกใจร่วมด้วย
• เขียนเพื่อชักจูงหรือโน้มน้าวใจ : จูงใจ ปลุกใจ ปลอบ
   ประโลมหรือเชิญชวนให้กระทำาตามหรือไม่ทำาสิ่งใด
                                                        45
การเขียนในงานพิมพ์

               • เขียนเพื่อสร้างจินตนาการและให้
                 ความบันเทิง : เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน
                  เพลิดเพลิน เป็นการเขียนถ่ายทอดความรูสึก
                                                      ้
                  ทำาให้ผู้อานมองเห็นภาพเกิดจินตนาการ
                            ่

• เขียนเพื่อล้อเลียนเสียดสี : มีจุดประสงค์เพื่อตำาหนิสิ่งใด
   สิ่งหนึ่งอย่างนุ่มนวล แต่เป็นการติเพื่อก่อ

• เขียนเพื่อกิจธุระ : มีจุดประสงค์ทางการงาน โดยมีรูปแบบ
   และลักษณะการใช้ภาษาแตกต่างกันไปตามประเภทของงาน

                                                              46
หน้าที่ของภาษา

                       การสื่อสาร
                     ทางสื่อสิ่งพิมพ์


                       one way
                     communication


ทำาหน้าที่บอกกล่าว ให้ขอเท็จจริง ให้เหตุผล
                       ้
ทำาหน้าที่สร้างอารมณ์ และความรู้สึก
                                             47
เป็นการ
เขียนแบบใด


         48
TOPIC




เทคนิคผลิตสื่อสิงพิมพ์
                ่
                         49
สื่อสิ่งพิมพ์เพื่อเผยแพร่ขาวสาร
                                        ่

• หนังสือพิมพ์                  สิงพิมพ์มีค่า เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่เน้นการนำาไป
                                  ่
                                ใช้เป็นหลักฐานสำาคัญต่าง ๆ ซึงเป็นกำาหนด
                                                                ่
• วารสาร, นิตยสาร               ตามกฎหมาย เช่น ธนาณัต, บัตรเครดิต, เช็ค
                                                             ิ
                                ธนาคาร, ตั๋วแลกเงิน, หนังสือเดินทาง, โฉนด
• จุลสาร
                                เป็นต้น
• สิ่งพิมพ์โฆษณา
                                สิงพิมพ์ลกษณะพิเศษ เป็นสื่อสิ่งพิมพ์มีการ
                                  ่         ั
• โบร์ชัวร์ (Brochure)          ผลิตขึ้นตามลักษณะพิเศษแล้วแต่การใช้งาน
                                ได้แก่ นามบัตร, บัตรอวยพร, ปฎิทน,บัตร
                                                                  ิ
• ใบปลิว (Leaflet, Handbill)
                                เชิญ,ใบส่งของ,ใบเสร็จรับเงิน,สิ่งพิมพ์บน
• แผ่นพับ (Folder)              แก้ว ,สิ่งพิมพ์บนผ้า เป็นต้น

• ใบปิด (Poster)                สิงพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่
                                  ่
                                ผลิตขึ้นเพื่อใช้งานในคอมพิวเตอร์ หรือระบบ
• สิ่งพิมพ์เพื่อการบรรจุภัณฑ์   เครือข่ายอินเตอร์เน็ต ได้แก่ Document
                                Formats, E-book for Palm/PDA เป็นต้น

                                                                              50
การใช้งานสิเงพิมพ์เฉพาะกิจ
     สื่อสิ่งพิมพ์ ่ พื่อเผยแพร่ข่าวสาร

แผ่นปลิว   ใช้เพื่อการประกาศ แจ้งความ
           จัดทำาง่าย ต้นทุนตำ่า
           เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้รวดเร็วถึงตัว
           อายุการใช้งานสั้น 1-3 วัน/ 1 สัปดาห์

โปสเตอร์   ใช้เพื่อการประกาศ แจ้งโฆษณา
           เน้นการนำาเสนอที่ดงดูดความสนใจ
                             ึ
           ติดตามฝาผนัง กำาแพง ที่สาธารณะ
           อายุการใช้งาน 1 – 4 สัปดาห์
           ไม่ควรใส่เนือหา/ข้อความมาก/แน่นเกินไป
                       ้


                                                   51
การใช้งานสิเงพิมพ์เฉพาะกิจ
    สื่อสิ่งพิมพ์ ่ พื่อเผยแพร่ข่าวสาร
แผ่นพับ    นิยมใช้ในการประชาสัมพันธ์
           บรรจุข้อมูลได้มาก อายุการใช้งานยาวนาน
           เข้าถึงตัวบุคคลเป้าหมายได้โดยตรง
           เหมาะกับงานทีมีเนื้อหาเยอะ
                          ่
           ควรคำานึงถึงการออกแบบการพับ/ การอ่าน
โบรชัวร์   เป็นแผ่นปลิว / แผ่นพับก็ได้
           บรรจุข้อมูลได้มาก อายุการใช้งานยาวนาน
           เน้นความประณีตสวยงาม
           อายุการใช้งานขึ้นอยู่กบอายุของข้อมูลที่จัดทำา
                                 ั



                                                           52
การใช้งานสิเงพิมพ์เฉพาะกิจ
    สื่อสิ่งพิมพ์ ่ พื่อเผยแพร่ข่าวสาร

จดหมายข่าว นิยมใช้ในการประชาสัมพันธ์องค์กร เพื่อ
           เผยแพร่ข่าวสาร + กิจกรรมขององค์กรให้
           กลุมเป้าหมายรับทราบบรรจุข้อมูลได้มาก จัดทำา
              ่
           ได้หลายรูปแบบมีวาระการเผยแพร่ที่แน่นอน

จุลสาร/อนุสาร เป็นหนังสือเล่มเล็ก ความหนา 5 – 50 หน้า
            ใช้เสนอข้อมูลที่เป็นการเฉพาะ มีรายละเอียดมาก
             ผลิตได้ง่าย ต้นทุนตำ่า อายุการใช้งานขึ้นอยู่กับ
             อายุของข้อมูลที่จัดทำา



                                                         53
องค์ประกอบของโปสเตอร์



       1. หัวเรื่อง


         3. ภาพประกอบ



2. ข้อความ

                        54
องค์ประกอบของแผ่นพับ



                      1. หัวเรือง heading
                               ่




                       3. ภาพประกอบ
                         subheading
           4. หน่วยงานรับผิดชอบ
2. ข้อความ copy                             55
การออกแบบแผ่นพับ

•   1.   พับหนึ่งคือพับกลางหน้ากระดาษ
•   2.   พับบานประตูพบกระดาษให้เป็น 3 ส่วน
                       ั
•   3.   พับแบบบานประตูได้ 4 ส่วน 8 หน้า
•   4.   พับแบบสมุดใบลานพับไปมา
•   5.   พับพิเศษขึ้นอยู่กับการออกแบบ




                                             56
องค์ประกอบของแผ่นพับ




1. เป็นแบบใด      3. เป็นแบบใด




               2. เป็นแบบใด
                                 57
กลยุทธ์ในการออกแบบโปสเตอร์

• การใช้บคคลอ้างอิง ผู้มีชอเสียง ดารา ผู้
          ุ               ื่
  เชียวชาญด้านนันๆ
     ่             ้
• การใช้ความรู้สกึ
  ค่านิยมรักชาติ
  นึกถึงผลที่จะเกิด(ช้าหมดอดแน่)
  คล้อยตาม (บุ๋มเลือกใช้.....)
  อ้างความเป็นหนึง แป๊บซี.......
                     ่       ่

                                            58
กลยุทธ์ในการออกแบบโปสเตอร์

•   เป็นพวกเดียวกัน ก้าวไปพร้อมกับ......ซิครับ
•   การอำาพรางบางส่วน เคล็ดลับของความสวยผู้หญิง
•   การให้รางวัล
•   ท้าทาย ไม่ลองไม่รู้
•   การเปรียบเทียบด้านคุณภาพ
•   การให้คำามัน เราขอสัญญา
               ่
•   การอาสารับใช้ กับการติดต่อที่ไม่ขาดสาย
•   การใช้ภาพสวยงาม ดอกไม่ ทิวทัศน์ ผู้หญิง
                                              59
กลยุทธ์ในการออกแบบโปสเตอร์

•   สาธิต
•   เปรียบเปรย สะอาดจนดมความสะอาดได้
•   การแสดงถึงประโยชน์สารพัด
•   สร้างจินตนาการ ให้รู้สึกมีความสุข
•   การสร้างภาพช่วงหนึ่งของชีวิต
•   ใช้สถิติ
•   การใช้การ์ตูน
•   ใช้สงดึงดูดใจ เช่นเพศตรงข้าม
        ิ่
                                        60
หลักการออกแบบโปสเตอร์

• ควรนำาเสนอแนวคิดเพียงเรื่องเดียว
• ควรนำาเสนอรูปแบบง่ายๆไม่ซับซ้อน เนือหา
                                       ้
  กระชับ ภาพบ่งบอกได้ชัดเจน
• ใช้ตัวอักษรเด่นสะดุดตา อ่านง่าย เน้นจุดสำาคัญ
• ใช้หลักจิตวิทยาเกี่ยวกับสี




                                              61
หลักการออกแบบโปสเตอร์

ควรคำานึงถึงหลักศิลปะ องค์ประกอบศิลป์
ความสมดุล


              กฎสามส่วน

                                        เส้นนำาสายตา

                               กรอบภาพ
                                                  62
สื่อสิงพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์
                              ่

     “อีบุ๊ค” (e-book, e-Book, eBook, EBook,) เป็น
คำาภาษาต่างประเทศ ย่อมาจากคำาว่า electronic book
หมายถึง หนังสือที่สร้างขึ้นด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์มี
ลักษณะเป็นเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ โดยปกติมักจะเป็น
   แฟ้มข้อมูลที่สามารถอ่านเอกสารผ่านทางหน้าจอ
    คอมพิวเตอร์ ทั้งในระบบออฟไลน์และออนไลน์




                                                      63
สื่อสิงพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์
                                  ่




• 1. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาพนิ่ง (Static Picture
Books) :

• 2. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาพเคลื่อนไหว
(Moving Picture Book)

 • 3. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย (Multi –
 Media Books)
                                                    64
เทคโนโลยียุคดิจิตอลกับสื่อสิงพิมพ์
                                        ่

แนวโน้มสื่อสิ่งพิมพ์
พื้นที่ใช้งานมีขนาดลดลง
บุคลากรมีความรู้ด้านเทคโนโลยีมากขึ้น สูงขึ้น
ทุกคนทำางานได้หลายหน้าที่
การติดต่อภายในและภายนอกมีเป็นเครือข่าย




              สื่อสิ่งพิมพ์ออนไลน์             65
สือสิงพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์
                             ่ ่

• โปรแกรมที่นยมใช้สร้าง E-Book มีอยู่หลายโปรแกรมแต่ที่นยม
                ิ                                      ิ
  ใช้กันมาในปัจจุบันได้แก่
  1. โปรแกรมชุด Flip Album
  2. โปรแกรม Desktop Author
  3. โปรแกรม Flash Album Deluxe
• ชุดโปรแกรมทั้ง 3 จะต้องติดตังโปรแกรมสำาหรับอ่าน e-Book
                               ้
  ด้วย มิฉะนั้น แล้วจะเปิดเอกสารไม่ได้ ประกอบด้วย
  1.1 โปรแกรมชุด Flip Album ตัวอ่านคือ Flip Viewer
  1.2 โปรแกรมชุด Desktop Author ตัวอ่านคือ DNL Reader
  1.3 โปรแกรมชุด Flash Album Deluxe ตัวอ่านคือ Flash
  Player


                                                            66
สือสิงพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์
                ่ ่

e-book จะเป็นอีกสื่อสิ่งพิมพ์ที่มี
ผลต่อการสื่อสารในระดับสูงต่อไป
         ในอนาคต




                                    67
โปรแกรมที่ใช้ในการผลิตสื่อสิงพิมพ์
                                  ่

1. โปรแกรม Microsoft Word)
2. โปรแกรมAdobe Photoshop
3. โปรแกรมCorel Draw
4. โปรแกรม Page Maker
5. โปรแกรม Microsoft Publisher
6. โปรแกรม Adobe Illustrator
7. โปรแกรม Adobe Indesign



                                    68
การประเมินผลงานสือสิงพิมพ์
                                ่ ่

          การออกแบบจึงมุ่งหวังถึงผลสัมฤทธิ์ของ
กระบวนการในการที่จะสื่อความหมาย หรือการถ่ายทอด
  เนื้อหาสาระให้ผรับหรือผูดูได้ชดเจนให้ผดูเกิดความ
                  ู้        ้    ั       ู้
เข้าใจอันดีมีทัศนคติที่ดีตอข้อมูล และรูปแบบของสื่อสิ่ง
                          ่
พิมพ์ ตลอดจดการยอมรับและพร้อมที่จะกระทำาตาม ใน
                 กระบวนการสุดท้าย




                                                    69
การประเมินผลงานสือสิงพิมพ์
                           ่ ่


• การประเมินผลงานในเบื้องต้น
   การประเมินผลงานจากต้นฉบับ
จริง
   การประเมินผลงานก่อนนำาไปใช้จริง
  การประเมินผลงานหลังการนำาไปใช้



                                     70
Q&A

      71
เกี่ยวกับผู้บรรยาย
• อาจารย์ณัฏฐกรณ์ ปะพาน
  e-mail : nattakorn65@yahoo.com

 รองคณบดีคณะศึกษาศาสตร์
 มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

 โทร. 029426900 ต่อ 2037
 และ 0897185195




                                   72

Contenu connexe

Tendances

วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒Jiraprapa Noinoo
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57AJ Por
 
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ดความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ดrungtip boontiengtam
 
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยJanchai Pokmoonphon
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำแบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2krubuatoom
 
แผ่นพับวันเข้าพรรษา
แผ่นพับวันเข้าพรรษาแผ่นพับวันเข้าพรรษา
แผ่นพับวันเข้าพรรษาstudentkc3 TKC
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์Noo Suthina
 
หินอัคนี.pdf
หินอัคนี.pdfหินอัคนี.pdf
หินอัคนี.pdfKru Bio Hazad
 
อารยธรรมโรมัน.ppt
อารยธรรมโรมัน.pptอารยธรรมโรมัน.ppt
อารยธรรมโรมัน.pptssuseradaad2
 
กาพย์เห่เรือ เห่ชมปลา
กาพย์เห่เรือ เห่ชมปลากาพย์เห่เรือ เห่ชมปลา
กาพย์เห่เรือ เห่ชมปลาSmile Petsuk
 
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์tabparid
 
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง KruBowbaro
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒ Padvee Academy
 
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยบทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยairja
 

Tendances (20)

วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
 
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ดความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
 
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
 
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำแบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2
 
แผ่นพับวันเข้าพรรษา
แผ่นพับวันเข้าพรรษาแผ่นพับวันเข้าพรรษา
แผ่นพับวันเข้าพรรษา
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
หินอัคนี.pdf
หินอัคนี.pdfหินอัคนี.pdf
หินอัคนี.pdf
 
อารยธรรมโรมัน.ppt
อารยธรรมโรมัน.pptอารยธรรมโรมัน.ppt
อารยธรรมโรมัน.ppt
 
วรรณศิลป์
วรรณศิลป์วรรณศิลป์
วรรณศิลป์
 
กาพย์เห่เรือ เห่ชมปลา
กาพย์เห่เรือ เห่ชมปลากาพย์เห่เรือ เห่ชมปลา
กาพย์เห่เรือ เห่ชมปลา
 
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
 
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยบทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
 

Similaire à เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
9789740328926
97897403289269789740328926
9789740328926CUPress
 
ความหมายของการสื่อสาร
ความหมายของการสื่อสารความหมายของการสื่อสาร
ความหมายของการสื่อสารpeter dontoom
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพสรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพnunaka
 
การสื่อสารในองค์กร
การสื่อสารในองค์กรการสื่อสารในองค์กร
การสื่อสารในองค์กรtanongsak
 
Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.peter dontoom
 
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาดบทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาดetcenterrbru
 
อาชีพด้านสื่อการสื่อสาร
อาชีพด้านสื่อการสื่อสารอาชีพด้านสื่อการสื่อสาร
อาชีพด้านสื่อการสื่อสารDenimgift005
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
Presentation technique เทคนิคการนำเสนอทางธุรกิจ
Presentation technique เทคนิคการนำเสนอทางธุรกิจPresentation technique เทคนิคการนำเสนอทางธุรกิจ
Presentation technique เทคนิคการนำเสนอทางธุรกิจSystem Stone Co., Ltd.
 
Organization communication
Organization communicationOrganization communication
Organization communicationKan Yuenyong
 
นำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตนำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตjd18122505
 

Similaire à เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ (20)

Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
 
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
 
9789740328926
97897403289269789740328926
9789740328926
 
ความหมายของการสื่อสาร
ความหมายของการสื่อสารความหมายของการสื่อสาร
ความหมายของการสื่อสาร
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพสรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศ
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศ
 
การสื่อสารในองค์กร
การสื่อสารในองค์กรการสื่อสารในองค์กร
การสื่อสารในองค์กร
 
Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
 
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาดบทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
 
อาชีพด้านสื่อการสื่อสาร
อาชีพด้านสื่อการสื่อสารอาชีพด้านสื่อการสื่อสาร
อาชีพด้านสื่อการสื่อสาร
 
Atittaya
AtittayaAtittaya
Atittaya
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
Presentation technique เทคนิคการนำเสนอทางธุรกิจ
Presentation technique เทคนิคการนำเสนอทางธุรกิจPresentation technique เทคนิคการนำเสนอทางธุรกิจ
Presentation technique เทคนิคการนำเสนอทางธุรกิจ
 
E3
E3E3
E3
 
Communication skill
Communication skillCommunication skill
Communication skill
 
Organization communication
Organization communicationOrganization communication
Organization communication
 
นำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตนำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขต
 

Plus de pui003

Unit10
Unit10Unit10
Unit10pui003
 
Original edu 1
Original edu 1Original edu 1
Original edu 1pui003
 
Onlinelearning
OnlinelearningOnlinelearning
Onlinelearningpui003
 
E education
E educationE education
E educationpui003
 
ภาษาไทย ไตรยางค์
ภาษาไทย ไตรยางค์ภาษาไทย ไตรยางค์
ภาษาไทย ไตรยางค์pui003
 

Plus de pui003 (6)

Unit10
Unit10Unit10
Unit10
 
Original edu 1
Original edu 1Original edu 1
Original edu 1
 
Onlinelearning
OnlinelearningOnlinelearning
Onlinelearning
 
E education
E educationE education
E education
 
ภาษาไทย ไตรยางค์
ภาษาไทย ไตรยางค์ภาษาไทย ไตรยางค์
ภาษาไทย ไตรยางค์
 
Speak
SpeakSpeak
Speak
 

เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

  • 1. เทคนิคการสื่อสารงานสุขภาพจิต ผ่านสือสิงพิมพ์ ่ ่ อาจารย์ณัฏฐกรณ์ ปะพาน รองคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม nattakorn65@yahoo.com 1
  • 4. การสือสาร (Communication) ่ การสื่อสารคือ.....? วอร์เรน ดับเบิลยู วีเวอร์ (Worren W. Weaver) การสื่อสารมีความหมายกว้าง ครอบคลุมถึงกระบวนการทุกอย่าง ที่จิตใจของคนๆ หนึ่ง อาจมีผลต่อจิตใจของอีกคนหนึ่งไม่ใช่ เพียงการพูดและการเขียนเท่านั้น แต่รวมถึง ดนตรี ภาพ การแสดง และพฤติกรรมอื่นๆ ของมนุษย์ 4
  • 5. การสือสาร (Communication) ่ การสื่อสารคือ.....? Webster Dictionary (1978 : 98) การถ่ายทอดหรือการแลกเปลี่ยนข่าวสาร ความรู้ ความคิด วิลเบอร์ ชแรมม์ (Wilber Schramm) การสื่อสาร คือการมีความเข้าใจร่วมกัน ต่อเครืองหมายที่แสดง ่ ข่าวสาร 5
  • 6. การสือสาร (Communication) ่ การสื่อสารคือ.....? กล่าวโดยสรุป “การสื่อสาร” คือ........ การที่มนุษย์ถ่ายทอดความรู้ ความคิด หรือประสบการณ์ของตน ไปยังบุคคลอื่น และการรับความรู้ความคิดจากบุคคลอื่น มาปรับ พฤติกรรมของตนเอง โดยกระบวนการของการสื่อสาร ซึ่งการ ถ่ายทอด และการรับความรู้ ความคิดมีอยู่ 3 ลักษณะ ได้แก่ 6
  • 7. การสือสาร (Communication) ่ การสื่อสารคือ.....? ลักษณะของ กระบวนการของการสื่อสาร การให้รหัสสัญญาณ การถ่ายทอดโดย โดยตรง กระบวนการทางสังคม การใช้เครื่องมือ การถ่ายทอด 7
  • 8. การสือสาร (Communication) ่ การสื่อสารสำาคัญกับชีวิตเราอย่างไร.....? ด้านชีวิตประจำาวัน ด้านสังคม ด้านธุรกิจอุตสาหกรรม ด้านการเมืองการปกครอง ด้านการเมืองระหว่างประเทศ 8
  • 9. การสือสาร (Communication) ่ วัตถุประสงค์ของการสื่อสาร เพื่อแจ้งให้ทราบ (to inform) เพื่อให้ข้อมูลเพิ่มเติม (to educate) เพื่อโน้มน้าวให้มีความคิดเห็นคล้อยตาม (to persuade) เพื่อให้เกิดความบันเทิง (to entertain) 9
  • 10. การสือสาร (Communication) ่ องค์ประกอบของการสื่อสาร S M C R ผู้สงสาร ่ สาร ช่องทาง ผู้รับสาร (sender) (message) (channel) (receiver) ทักษะ เนื้อหา มองเห็น ทักษะ การสื่อสาร การสื่อสาร สัญลักษณ์ ได้ยิน ทัศนคติ หรือรหัส ทัศนคติ ได้กลิ่น ระดับความรู้ วิธีการส่งสาร ระดับความรู้ ลิ้มรส ระดับสังคม ระดับสังคม สัมผัส และวัฒนธรรม และวัฒนธรรม10
  • 11. การสือสาร (Communication) ่ การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ การสื่อสารที่ผู้ส่งสามารถส่งสารผ่านสื่อได้อย่างเหมาะสมกับ ผู้รับ สามารถบรรลุเป้าหมายที่กำาหนดไว้ โดยผู้ส่งควรมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องต่างๆ ต่อไปนี้ วัตถุประสงค์ในการสื่อสาร รายละเอียดเกี่ยวกับผู้รบ ั เนื้อหาสาระที่ต้องการส่ง ศักยภาพของผู้ส่งสาร ประเภท และคุณสมบัติ จิตวิทยาการสื่อสาร ของสื่อ 11
  • 12. การสือสาร (Communication) ่ การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์ในการสื่อสาร การทราบถึงวัตถุประสงค์ที่แท้จริงของการสื่อสาร โดย เฉพาะการสื่อสารกับคนจำานวนมากๆ หรือการทำางานเป็นทีมจะ สามารถปฏิบัติงานอย่างรู้จุดหมาย และมีทศทางเดียวกัน ิ เช่น การสื่อสารงานประชาสัมพันธ์ การสื่อสารงาน โฆษณา 12
  • 13. การสือสาร (Communication) ่ การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ เนื้อหารสารที่ต้องการส่ง ปริมาณ คุณภาพ ปริมาณพอดี เนื้อหาสาระ เวลา ความชัดเจน เนื้อที่ ความถูกตอง ความสนใจ ความยากง่าย ของผู้รับ ของสาร ความถี่ 13
  • 14. การสือสาร (Communication) ่ การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ประเภทและคุณสมบัติของสื่อ สื่อที่เป็นพาหะนำาสาร ภาษา (Language) • ภาษาพูด (Verbal Language) • ภาษาที่ไม่ใช่ภาษาพูด (Non-verbal Language) เช่น ภาษาเขียน ภาษาท่าทาง รูปภาพ วัตถุ ฯลฯ 14
  • 15. การสือสาร (Communication) ่ การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ประเภทและคุณสมบัติของสื่อ สื่อที่เป็นพาหะนำาสาร เทคโนโลยีการสื่อสารทั้งหลาย ที่ช่วยนำาสารไปได้ อย่างรวดเร็ว และจำานวนมากและชัดเจน เพราะ นับเป็นพาหะในการนำาสารเคลื่อนด้วยเช่นกัน 15
  • 16. การสือสาร (Communication) ่ การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ประเภทและคุณสมบัติของสื่อ สื่อที่เป็นพาหะนำาสาร ช่องทางให้สารผ่านไปสู่ผู้รับ • การเห็น = ตา • ได้ยิน = หู • ได้กลิ่น = จมูก • ลิ้มรส = ลิ้น 16 • สัมผัส = ผิวหนัง
  • 17. การสือสาร (Communication) ่ การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ประเภทและคุณสมบัติของสื่อ สื่อที่ใช้ในการสื่อสารกับคนจำานวนมาก : สื่อมวลชน วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ สื่อสิ่งพิมพ์ เช่น นิตยสาร หนังสือพิมพ์ ภาพยนตร์ อินเตอร์เน็ต 17
  • 18. การสือสาร (Communication) ่ การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ รายละเอียดเกี่ยวกับผู้รบสาร ั ทักษะในการสื่อสาร (Communication Skills) ทัศนะคติ (Attitude) ความรู้ (Knowledge) ระบบสังคม (Social System) พื้นฐานทางวัฒนธรรม (Culture) 18
  • 19. การสือสาร (Communication) ่ การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ศักยภาพของผู้ส่งสาร “รู้เขา” และ “รู้เราแล้ว” สำารวจตนเอง ว่ามีความรู้ในเรืองที่จะส่งหรือไม่ ่ สำารวจเวลาในการทำางานว่ามีมากน้อยเพียงใด สำารวจกำาลังคน อุปกรณ์ และงบประมาณ 19
  • 20. การสือสาร (Communication) ่ การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ จิตวิทยาการสื่อสาร ควรศึกษาจิตวิทยาที่เกี่ยวข้อง เช่น จิตวิทยาการเรียนรู้ จิตวิทยาการรับรู้ เพื่อสามารถเข้าใจพฤติกรรมของผู้รบสาร และสามารถ ั วางแผนการสื่อสารให้มีประสิทธิภาพ 20
  • 21. การสือสาร (Communication) ่ การสื่อสารงานสุขภาพไปยังผู้ฟง ั คำานึงถึง กระบวบการสื่อสารแบบมีการสนองกลับ (Two-way Communication) ผู้ดำาเนินรายการ S นักสื่อสารสุขภาพ คำานึงถึง วัตถุประสงค์ใน + ข้อมูลข่าวสาร การสื่อสาร M ด้านสุขภาพ การสื่อสาร งานสุขภาพ คำานึงถึง C วิทยุกระจายเสียง ประสิทธิภาพ ผู้ฟัง ของการสื่อสาร R ผู้รับสาร 21
  • 22. การสือสาร (Communication) ่ การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ประเภทและคุณสมบัติของสื่อ สื่อที่ใช้ในการสื่อสารกับคนจำานวนมาก : สื่อมวลชน วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ สื่อสิ่งพิมพ์ เช่น นิตยสาร หนังสือพิมพ์ ภาพยนตร์ อินเตอร์เน็ต 22
  • 23. การสือสาร (Communication) ่ การสื่อสารงานสุขภาพไปยังผู้ฟง ั ด้านวัตถุประสงค์ของการสื่อสาร เน้นแจ้งข้อมูล ข่าวสาร และสาระความรูที่จะเป็นสำาหรับพื้นฐาน ้ ในการพัฒนามนุษย์ทั้ง 4 ด้าน ด้านการส่งเสริมสุขภาพ ด้านการป้องกันโรค ด้านการรักษาพยาบาล ด้านการฟื้นฟูสภาพ 23
  • 24. การสือสาร (Communication) ่ การสื่อสารงานสุขภาพไปยังผู้ฟง ั ด้านการสื่อสารให้เกิดประสิทธิภาพ ใช้แนวทางการสื่อสารข่าวสาร และสาระความรูด้านสุขภาพ ้ คำานึงถึงวัตถุประสงค์ของการสือสาร ่ คำานึงถึงเนือหาสาระ ้ คุณสมบัติของ รายละเอียดของชม จิตวิทยาการสือสาร ่ 24
  • 26. สือสิ่งพิมพ์ ่ ข้อได้เปรียบ 1. เข้าถึงกลุมเป้าหมายได้อย่างกว้างขวาง ่ 2. เลือกกลุมเป้าหมายได้ ่ 3. รวดเร็วทันสมัย ทันเวลา 4. ค่าใช้จ่ายถูก 5. เป็นสื่อทีมีความน่าเชื่อถือ ่ 6. สามารถส่งข่าวสารถึงกลุมเป้าหมาย หลายกลุมได้ในเวลาที่ ่ ่ พร้อมกัน 26
  • 27. สือสิ่งพิมพ์ ่ ข้อได้เปรียบ 7. สามารถออกแบบรูปแบบสื่อได้เต็มที่ เพราะไม่มีขีดจำากัดด้าน เนื้อที่ ขนาด 8. สื่อมีอายุยาวนาน 9. มีความคงทนถาวร 10. มีความยืดหยุ่นสูง เพราะอาจเปลียนแปลงเนื้อหา และงบ ่ ประมาณของสถาบันได้งาย ่ 27
  • 28. สือสิ่งพิมพ์ ่ ข้อจำากัด 1. ไม่สามารถเข้าถึงผูอ่านทีอ่านหนังสือไม่ออก หรือผูสูงอายุที่ ้ ่ ้ สายตาไม่ดี 2. ผูอานจะเลือกอ่านเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับเขา ้ ่ 3. งบประมาณเป็นอุปสรรคในการจัดทำา 4. ยุบหรือเลิกง่าย 5. มีวัตถุประสงค์ไม่แน่นอน หรือขาดความรู้ทนาสนใจ ี่ ่ 6. การเผยแพร่อยู่ในวงจำากัดเฉพาะกลุ่ม 28
  • 29. หลักการผลิตสือสิงพิมพ์ให้มีประสิทธิภาพ ่ ่ หลักการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ Program Analysis Design Conceptual Design สื่อสิ่งพิมพ์ Case Study Preliminary Design 29
  • 30. สือสิงพิมพ์ ่ ่ ความพึงพอใจ ในการออกแบบ ความสวยงาม มีแนวความคิด ในการออก แบบที่ดี มีประโยชน์ ใช้สอย 30
  • 31. หลักในการออกแบบ การตังคำาถามเพื่อการออกแบบทีดี ้ ่ * อะไรคือจุดมุ่งหมาย * ใครเป็นกลุ่มเป้าหมาย * ต้องการจะพูดหรือสื่อความใด * มีวิธในการเสนอข่าวสารอย่างไร ี การออกแบบจะต้องเริมต้นที่คำาถาม ่ * ต้องการผลสัมฤทธิ์อะไร * ใครเป็นกลุ่มเป้าหมาย * ต้องการจะพูดอะไร * ใช้วิธีการเสนอข่าวอย่างไร * ค่าใช้จ่ายหรืองบประมาณที่ใช้ 31
  • 32. หลักในการออกแบบ • WHAT/WHY - เป็นคำาถามเพื่อหาวัตถุประสงค์ในการทำางาน ทำาอะไร ? ทำาไมต้องทำา ? ทำาอย่างอื่นได้หรือไม่ WHEN - เป็นคำาถามเพื่อหาลำาดับขั้นตอนการทำางานที่เหมาะสม ทำาเมื่อไหร่ ? ทำาไมต้องทำาตอนนัน ? ทำาตอนอื่นได้หรือไม่ ้ WHERE - เป็นคำาถามเพื่อหาสถานที่ทำางานที่เหมาะสม ทำาทีไหน ? ทำาไมต้องทำาที่นน ? ทำาที่อื่นได้หรือไม่ ? ่ ั่ WHO - เป็นคำาถามเพื่อหาบุคคลที่เหมาะสมในการทำางาน ใครเป็นคนทำา ? ทำาไมต้องเป็นคนนั้นทำา ? คนอื่นทำาได้หรือไม่ ? HOW - เป็นคำาถามเพื่อหาวิธการทำางานที่เหมาะสม ี ทำาอย่างไร ? ทำาไมต้องทำาอย่างนั้น ? ทำาวิธอื่นได้หรือไม่ ? ี 32
  • 33. การจัดวางองค์ประกอบสื่อสิ่งพิมพ์ มีหลักการสำาคัญที่ใช้เป็นเกณฑ์ ในการพิจารณาอยู่ 6 ประการ 1. สัดส่วน 2. ความสมดุล 3. ความแตกต่าง 4. ลีลาจังหวะ 5. ความมีเอกภาพ 6. ความผสมกลมกลืน 33
  • 34. การใช้สีกบสื่อสิงพิมพ์ ั ่ • ความเข้าใจในเรื่องของสีเป็นส่วนสำาคัญที่จะช่วยให้งาน ออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์มีความสดใส สวยงาม น่าสนใจ และมี บทบาทในการสื่อความหมายได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมและมี คุณภาพอีกด้วย ดังนั้น การเลือกใช้สีควรจะได้ศึกษาให้มีความ รู้ความเข้าใจ เพื่อที่จะได้นำาสีไปใช้ประกอบในงานออกแบบ สื่อสิ่งพิมพ์ เพื่อให้งานนั้นสามารถตอบสนองได้ตรงตามจุด ประสงค์มากที่สุด 34
  • 35. การใช้สีกับสื่อสิ่งพิมพ์ 1.ใช้ในการจำาแนกสิ่งต่าง ๆ เพื่อให้เห็นชัดเจน 2.ใช้ในการจัดองค์ประกอบของสิ่งต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความสวยงาม กลมกลืน เช่น การแต่งกาย 3.ใช้ในการจัดกลุม พวก คณะ ด้วยการใช้สีต่าง ๆ เช่น คณะสี ่ เครื่องแบบต่าง ๆ 4.ใช้ในการสื่อความหมาย เป็นสัญลักษณ์ หรือใช้บอกเล่าเรื่องราว 35
  • 37. การใช้สีกับสื่อสิ่งพิมพ์ • ทฤษฎีของสี โทนของสี จิตวิทยาในการเลือกใช้สี หลักการพิจารณา ในการเลือกใช้สี 37
  • 39. หน้าทีของภาพประกอบ ่ • ดึงดูดความสนใจ ประกอบการอธิบายความรู้ อธิบายความคิดรวบยอด อ้างอิงสิ่งที่ปรากฏ ประกอบข้อมูลทางสถิติ 39
  • 40. หน้าทีของภาพประกอบ ่ ภาพทำาให้เกิดความรู้สกที่ ึ คล้อยตาม สามารถบ่งบอกเรื่อง ราวได้เป็นขั้นเป็นตอน แสดงถึง ความรู้สกนึกคิดและเหตุการณ์ที่ ึ ยังดำาเนินอยู่ชวยให้ผู้รับสารเข้าใจ ่ ได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น ภาพหนึ่งภาพท่านคิดว่าแทนคำาพูดพันคำา ท่านคิดว่าถ้าใช้กับงานการส่งเสริมสุขภาพจิตควร เป็นเช่นไร 40
  • 41. เนื้อหาสาระของสือสิงพิมพ์ ่ ่ ลักษณะของเนื้อหา เนื้อหารายการสำาหรับผู้อ่านทั่วไปทั่วไป เนื้อหารายการสำาหรับผู้ฟังเฉพาะกลุ่ม 41
  • 42. เนื้อหาสาระของสือสิงพิมพ์ ่ ่ ประเภทของเนื้อหา เนื้อหาประเภทของเท็จจริง เนื้อหาประเภทนี้ต้องมีความถูกต้อง และมีแหล่งอ้างอิงที่น่า เชื่อถือ และเป็นหลักฐานได้ เนื้อหารายการประเภทความคิดเห็น เนื้อหาประเภทนี้ ต้องทันต่อเหตุการณ์ มีหลายหลายความคิด เห็น และมีอสระ ิ 42
  • 43. เนื้อหาสาระของสือสิงพิมพ์ ่ ่ การนำาเสนอเนื้อหา • การกำาหนดเนื้อหาสื่อสิ่งพิมพ์ต้องคำานึงถึง 1. วัตถุประสงค์ของสิ่งที่จะนำาเสนอ 2. กลุ่มผู้อาน (ความสนใจ และความต้องการรับสารของ ่ บุคคล) 3. ประเภทของสื่อ แผ่นพับ โปสเตอร์ ฯลฯ • การจัดลำาดับเนื้อหาของสื่อสิ่งพิมพ์ (ตามลักษณะแต่ละ 43 ประเภท)
  • 45. การเขียนในงานพิมพ์ • เขียนเพื่อเล่าเรื่อง : ถ่ายทอดประสบการณ์ ความรู้ โดยต้องเรียงลำาดับเหตุการณ์และข้อมูล ที่ถูกต้อง • เขียนเพื่ออธิบาย : บอกวิธีกระทำา เพื่อชี้แจง อธิบาย เรื่องที่เข้าใจยาก • เขียนเพื่อแสดงความคิดเห็น : เสนอความเห็นหรือให้ ข้อเสนอแนะ ข้อเตือนใจ หรือปลุกใจร่วมด้วย • เขียนเพื่อชักจูงหรือโน้มน้าวใจ : จูงใจ ปลุกใจ ปลอบ ประโลมหรือเชิญชวนให้กระทำาตามหรือไม่ทำาสิ่งใด 45
  • 46. การเขียนในงานพิมพ์ • เขียนเพื่อสร้างจินตนาการและให้ ความบันเทิง : เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน เป็นการเขียนถ่ายทอดความรูสึก ้ ทำาให้ผู้อานมองเห็นภาพเกิดจินตนาการ ่ • เขียนเพื่อล้อเลียนเสียดสี : มีจุดประสงค์เพื่อตำาหนิสิ่งใด สิ่งหนึ่งอย่างนุ่มนวล แต่เป็นการติเพื่อก่อ • เขียนเพื่อกิจธุระ : มีจุดประสงค์ทางการงาน โดยมีรูปแบบ และลักษณะการใช้ภาษาแตกต่างกันไปตามประเภทของงาน 46
  • 47. หน้าที่ของภาษา การสื่อสาร ทางสื่อสิ่งพิมพ์ one way communication ทำาหน้าที่บอกกล่าว ให้ขอเท็จจริง ให้เหตุผล ้ ทำาหน้าที่สร้างอารมณ์ และความรู้สึก 47
  • 50. สื่อสิ่งพิมพ์เพื่อเผยแพร่ขาวสาร ่ • หนังสือพิมพ์ สิงพิมพ์มีค่า เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่เน้นการนำาไป ่ ใช้เป็นหลักฐานสำาคัญต่าง ๆ ซึงเป็นกำาหนด ่ • วารสาร, นิตยสาร ตามกฎหมาย เช่น ธนาณัต, บัตรเครดิต, เช็ค ิ ธนาคาร, ตั๋วแลกเงิน, หนังสือเดินทาง, โฉนด • จุลสาร เป็นต้น • สิ่งพิมพ์โฆษณา สิงพิมพ์ลกษณะพิเศษ เป็นสื่อสิ่งพิมพ์มีการ ่ ั • โบร์ชัวร์ (Brochure) ผลิตขึ้นตามลักษณะพิเศษแล้วแต่การใช้งาน ได้แก่ นามบัตร, บัตรอวยพร, ปฎิทน,บัตร ิ • ใบปลิว (Leaflet, Handbill) เชิญ,ใบส่งของ,ใบเสร็จรับเงิน,สิ่งพิมพ์บน • แผ่นพับ (Folder) แก้ว ,สิ่งพิมพ์บนผ้า เป็นต้น • ใบปิด (Poster) สิงพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่ ่ ผลิตขึ้นเพื่อใช้งานในคอมพิวเตอร์ หรือระบบ • สิ่งพิมพ์เพื่อการบรรจุภัณฑ์ เครือข่ายอินเตอร์เน็ต ได้แก่ Document Formats, E-book for Palm/PDA เป็นต้น 50
  • 51. การใช้งานสิเงพิมพ์เฉพาะกิจ สื่อสิ่งพิมพ์ ่ พื่อเผยแพร่ข่าวสาร แผ่นปลิว ใช้เพื่อการประกาศ แจ้งความ จัดทำาง่าย ต้นทุนตำ่า เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้รวดเร็วถึงตัว อายุการใช้งานสั้น 1-3 วัน/ 1 สัปดาห์ โปสเตอร์ ใช้เพื่อการประกาศ แจ้งโฆษณา เน้นการนำาเสนอที่ดงดูดความสนใจ ึ ติดตามฝาผนัง กำาแพง ที่สาธารณะ อายุการใช้งาน 1 – 4 สัปดาห์ ไม่ควรใส่เนือหา/ข้อความมาก/แน่นเกินไป ้ 51
  • 52. การใช้งานสิเงพิมพ์เฉพาะกิจ สื่อสิ่งพิมพ์ ่ พื่อเผยแพร่ข่าวสาร แผ่นพับ นิยมใช้ในการประชาสัมพันธ์ บรรจุข้อมูลได้มาก อายุการใช้งานยาวนาน เข้าถึงตัวบุคคลเป้าหมายได้โดยตรง เหมาะกับงานทีมีเนื้อหาเยอะ ่ ควรคำานึงถึงการออกแบบการพับ/ การอ่าน โบรชัวร์ เป็นแผ่นปลิว / แผ่นพับก็ได้ บรรจุข้อมูลได้มาก อายุการใช้งานยาวนาน เน้นความประณีตสวยงาม อายุการใช้งานขึ้นอยู่กบอายุของข้อมูลที่จัดทำา ั 52
  • 53. การใช้งานสิเงพิมพ์เฉพาะกิจ สื่อสิ่งพิมพ์ ่ พื่อเผยแพร่ข่าวสาร จดหมายข่าว นิยมใช้ในการประชาสัมพันธ์องค์กร เพื่อ เผยแพร่ข่าวสาร + กิจกรรมขององค์กรให้ กลุมเป้าหมายรับทราบบรรจุข้อมูลได้มาก จัดทำา ่ ได้หลายรูปแบบมีวาระการเผยแพร่ที่แน่นอน จุลสาร/อนุสาร เป็นหนังสือเล่มเล็ก ความหนา 5 – 50 หน้า ใช้เสนอข้อมูลที่เป็นการเฉพาะ มีรายละเอียดมาก ผลิตได้ง่าย ต้นทุนตำ่า อายุการใช้งานขึ้นอยู่กับ อายุของข้อมูลที่จัดทำา 53
  • 54. องค์ประกอบของโปสเตอร์ 1. หัวเรื่อง 3. ภาพประกอบ 2. ข้อความ 54
  • 55. องค์ประกอบของแผ่นพับ 1. หัวเรือง heading ่ 3. ภาพประกอบ subheading 4. หน่วยงานรับผิดชอบ 2. ข้อความ copy 55
  • 56. การออกแบบแผ่นพับ • 1. พับหนึ่งคือพับกลางหน้ากระดาษ • 2. พับบานประตูพบกระดาษให้เป็น 3 ส่วน ั • 3. พับแบบบานประตูได้ 4 ส่วน 8 หน้า • 4. พับแบบสมุดใบลานพับไปมา • 5. พับพิเศษขึ้นอยู่กับการออกแบบ 56
  • 57. องค์ประกอบของแผ่นพับ 1. เป็นแบบใด 3. เป็นแบบใด 2. เป็นแบบใด 57
  • 58. กลยุทธ์ในการออกแบบโปสเตอร์ • การใช้บคคลอ้างอิง ผู้มีชอเสียง ดารา ผู้ ุ ื่ เชียวชาญด้านนันๆ ่ ้ • การใช้ความรู้สกึ ค่านิยมรักชาติ นึกถึงผลที่จะเกิด(ช้าหมดอดแน่) คล้อยตาม (บุ๋มเลือกใช้.....) อ้างความเป็นหนึง แป๊บซี....... ่ ่ 58
  • 59. กลยุทธ์ในการออกแบบโปสเตอร์ • เป็นพวกเดียวกัน ก้าวไปพร้อมกับ......ซิครับ • การอำาพรางบางส่วน เคล็ดลับของความสวยผู้หญิง • การให้รางวัล • ท้าทาย ไม่ลองไม่รู้ • การเปรียบเทียบด้านคุณภาพ • การให้คำามัน เราขอสัญญา ่ • การอาสารับใช้ กับการติดต่อที่ไม่ขาดสาย • การใช้ภาพสวยงาม ดอกไม่ ทิวทัศน์ ผู้หญิง 59
  • 60. กลยุทธ์ในการออกแบบโปสเตอร์ • สาธิต • เปรียบเปรย สะอาดจนดมความสะอาดได้ • การแสดงถึงประโยชน์สารพัด • สร้างจินตนาการ ให้รู้สึกมีความสุข • การสร้างภาพช่วงหนึ่งของชีวิต • ใช้สถิติ • การใช้การ์ตูน • ใช้สงดึงดูดใจ เช่นเพศตรงข้าม ิ่ 60
  • 61. หลักการออกแบบโปสเตอร์ • ควรนำาเสนอแนวคิดเพียงเรื่องเดียว • ควรนำาเสนอรูปแบบง่ายๆไม่ซับซ้อน เนือหา ้ กระชับ ภาพบ่งบอกได้ชัดเจน • ใช้ตัวอักษรเด่นสะดุดตา อ่านง่าย เน้นจุดสำาคัญ • ใช้หลักจิตวิทยาเกี่ยวกับสี 61
  • 63. สื่อสิงพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ ่ “อีบุ๊ค” (e-book, e-Book, eBook, EBook,) เป็น คำาภาษาต่างประเทศ ย่อมาจากคำาว่า electronic book หมายถึง หนังสือที่สร้างขึ้นด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์มี ลักษณะเป็นเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ โดยปกติมักจะเป็น แฟ้มข้อมูลที่สามารถอ่านเอกสารผ่านทางหน้าจอ คอมพิวเตอร์ ทั้งในระบบออฟไลน์และออนไลน์ 63
  • 64. สื่อสิงพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ ่ • 1. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาพนิ่ง (Static Picture Books) : • 2. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาพเคลื่อนไหว (Moving Picture Book) • 3. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย (Multi – Media Books) 64
  • 65. เทคโนโลยียุคดิจิตอลกับสื่อสิงพิมพ์ ่ แนวโน้มสื่อสิ่งพิมพ์ พื้นที่ใช้งานมีขนาดลดลง บุคลากรมีความรู้ด้านเทคโนโลยีมากขึ้น สูงขึ้น ทุกคนทำางานได้หลายหน้าที่ การติดต่อภายในและภายนอกมีเป็นเครือข่าย สื่อสิ่งพิมพ์ออนไลน์ 65
  • 66. สือสิงพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ ่ ่ • โปรแกรมที่นยมใช้สร้าง E-Book มีอยู่หลายโปรแกรมแต่ที่นยม ิ ิ ใช้กันมาในปัจจุบันได้แก่ 1. โปรแกรมชุด Flip Album 2. โปรแกรม Desktop Author 3. โปรแกรม Flash Album Deluxe • ชุดโปรแกรมทั้ง 3 จะต้องติดตังโปรแกรมสำาหรับอ่าน e-Book ้ ด้วย มิฉะนั้น แล้วจะเปิดเอกสารไม่ได้ ประกอบด้วย 1.1 โปรแกรมชุด Flip Album ตัวอ่านคือ Flip Viewer 1.2 โปรแกรมชุด Desktop Author ตัวอ่านคือ DNL Reader 1.3 โปรแกรมชุด Flash Album Deluxe ตัวอ่านคือ Flash Player 66
  • 67. สือสิงพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ ่ ่ e-book จะเป็นอีกสื่อสิ่งพิมพ์ที่มี ผลต่อการสื่อสารในระดับสูงต่อไป ในอนาคต 67
  • 68. โปรแกรมที่ใช้ในการผลิตสื่อสิงพิมพ์ ่ 1. โปรแกรม Microsoft Word) 2. โปรแกรมAdobe Photoshop 3. โปรแกรมCorel Draw 4. โปรแกรม Page Maker 5. โปรแกรม Microsoft Publisher 6. โปรแกรม Adobe Illustrator 7. โปรแกรม Adobe Indesign 68
  • 69. การประเมินผลงานสือสิงพิมพ์ ่ ่ การออกแบบจึงมุ่งหวังถึงผลสัมฤทธิ์ของ กระบวนการในการที่จะสื่อความหมาย หรือการถ่ายทอด เนื้อหาสาระให้ผรับหรือผูดูได้ชดเจนให้ผดูเกิดความ ู้ ้ ั ู้ เข้าใจอันดีมีทัศนคติที่ดีตอข้อมูล และรูปแบบของสื่อสิ่ง ่ พิมพ์ ตลอดจดการยอมรับและพร้อมที่จะกระทำาตาม ใน กระบวนการสุดท้าย 69
  • 70. การประเมินผลงานสือสิงพิมพ์ ่ ่ • การประเมินผลงานในเบื้องต้น การประเมินผลงานจากต้นฉบับ จริง การประเมินผลงานก่อนนำาไปใช้จริง การประเมินผลงานหลังการนำาไปใช้ 70
  • 71. Q&A 71
  • 72. เกี่ยวกับผู้บรรยาย • อาจารย์ณัฏฐกรณ์ ปะพาน e-mail : nattakorn65@yahoo.com รองคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม โทร. 029426900 ต่อ 2037 และ 0897185195 72