SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  30
โครงงานประเภทการทดลอง
ทฤษฎี
เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลองการ
ทดลองของสาขาต่างๆ ซึ่งเป็นงานที่ไม่สามารถทดลอง
ด้วยสถานการณ์จริงได้ เช่น การจุดระเบิด เป็นต้น และ
เป็นโครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ
ข้อเท็จจริง และแนวคิดต่างๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่
ต้องการศึกษาแล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจาลอง
หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสูตร สมการ หรือ
คาอธิบาย พร้อมทั้งการจาลองทฤษฏีด้วยคอมพิวเตอร์
ให้ออกมาเป็น โครงงานประเภทนี้มีจุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทา
ต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างดี
ขั้นตอนการทา
โครงงาน
๑ การคิดและการเลือกหัวเรื่อง ผู้เรียนจะต้องคิด และเลือกหัว
เรื่องของโครงงานด้วยตนเองว่าอยากจะศึกษาอะไร ทาไมจึง
อยากศึกษา หัวเรื่องของโครงงานมักจะได้มาจากปัญหา
คาถามหรือความอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ของ
ผู้เรียนเอง หัวเรื่องของโครงงานควรเฉพาะเจาะจงและชัดเจน
เมื่อใครได้อ่านชื่อเรื่องแล้วควรเข้าใจและรู้เรื่องว่าโครงงานนี้ทา
จากอะไร การกาหนดหัวเรื่องของโครงงานนั้นมีแหล่งที่จะช่วย
กระตุ้นให้เกิดความคิดและความสนใจหลายแหล่งด้วยกัน เช่น
จากการอ่านหนังสือ เอกสาร บทความ การเยี่ยมชมสถานที่
ต่างๆ การฟังบรรยายทางวิชาการ การเข้าชมนิทรรศการหรือ
งานประกวดโครงงานทางวิทยาศาสตร์ การสนทนากับบุคคล
ต่างๆ หรือจาการสังเกตปรากฏการณ์ต่างๆ รอบตัว เป็นต้น
นอกจากนี้ควรคานึงถึงประเด็นต่อไปนี้
-ความเหมาะสมของระดับความรู้ ความสามารถของ
ผู้เรียน
- วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้
- งบประมาณ
- ระยะเวลา
- ความปลอดภัย
- แหล่งความรู้
๒ การวางแผน
การวางแผนการทาโครงงาน จะรวมถึงการเขียนเค้าโครง
ของโครงงาน ซึ่งต้องมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า เพื่อให้การ
ดาเนินการเป็นไปอย่างรัดกุมและรอบคอบ ไม่สับสน แล้ว
นาเสนอต่อผู้สอนหรือครูที่ปรึกษาเพื่อขอความเห็นชอบก่อน
ดาเนินการขั้นต่อไป การเขียนเค้าโครงของโครงงาน โดยทั่วไป
เขียนเพื่อแสดงแนวคิด แผนงาน และขั้นตอนการทาโครงงาน
ซึ่งควรประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้
๑) ชื่อโครงงาน ควรเป็นข้อความที่กะทัดรัด ชัดเจน สื่อ
ความหมายได้ตรง
๒) ชื่อผู้ทาโครงงาน
๓) ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน
๔) หลักการและเหตุผลของโครงงาน เป็นการอธิบายว่าเหตุ
ใดจึงเลือกทาโครงงานเรื่องนี้มีความสาคัญอย่างไร มีหลักการ
หรือทฤษฎีอะไรที่เกี่ยวข้อง เรื่องที่ทาเป็นเรื่องใหม่หรือมีผู้อื่น
ได้ศึกษาค้นคว้าเรื่องนี้ไว้บ้างแล้ว ถ้ามีได้ผลอย่างไร เรื่องที่ทา
ได้ขยายเพิ่มเติม ปรับปรุงจากเรื่องที่ผู้อื่นทาไว้อย่างไร หรือ
เป็นการทาซ้าเพื่อตรวจสอบผล
๕) จุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ควรมีความเฉพาะเจาะจง
และสามารถวัดได้ เป็นการบอกขอบเขตของงานที่จะทาได้
ชัดเจนขึ้น
๖) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี) สมมติฐานเป็น
คาตอบหรือคาอธิบายที่คาดไว้ล่วงหน้า ซึ่งอาจจะถูกหรือไม่ก็ได้
การเขียนสมมติฐานควรมีเหตุมีผลมีทฤษฎีหรือหลักการรองรับ
และที่สาคัญ คือ เป็นข้อความที่มองเห็นแนวทางในการ
ดาเนินการทดสอบได้ นอกจากนี้ควรมีความสัมพันธ์ระหว่างตัว
แปรอิสระและตัวแปรตามด้วย
๗) วิธีดาเนินงานและขั้นตอนการดาเนินงาน จะต้องอธิบายว่า
จะออกแบบการทดลองอะไรอย่างไร จะเก็บข้อมูลอะไรบ้าง
รวมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็นต้องใช้ มีอะไรบ้าง
๘) แผนปฏิบัติงาน อธิบายเกี่ยวกับกาหนดเวลาตั้งแต่เริ่มต้น
จนเสร็จสิ้นการดาเนินงานในแต่ละขั้นตอน
๙) ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑๐) เอกสารอ้างอิง
๓ การดาเนินงาน เมื่อที่ปรึกษาโครงงานให้ความเห็นชอบเค้าโครง
ของโครงงานแล้ว ต่อไปก็เป็นขั้นลงมือปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ระบุ
ไว้ ผู้เรียนต้องพยายามทาตามแผนงานที่วางไว้ เตรียมวัสดุอุปกรณ์
และสถานที่ให้พร้อมปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ
คานึงถึงความประหยัดและปลอดภัยในการทางาน ตลอดจนการ
บันทึกข้อมูลต่างๆ ว่าได้ทาอะไรไปบ้าง ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและ
ข้อคิดเห็นอย่างไร พยายามบันทึกให้เป็นระเบียบและครบถ้วน
๔ การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานเกี่ยวกับโครงงาน เป็นวิธีสื่อความหมาย
วิธีหนึ่งที่จะให้ผู้อื่นได้เข้าใจถึงแนวคิด วิธีการดาเนินงาน
ผลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ ที่เกี่ยวกับ
โครงงานนั้น การเขียนโครงงานควรใช้ภาษาที่อ่านแล้ว
เข้าใจง่าย ชัดเจนและครอบคลุมประเด็นสาคัญๆ ทั้งหมด
ของโครงงาน
๕ การนาเสนอผลงาน
การนาเสนอผลงาน เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการทาโครงงานและ
เข้าใจถึงผลงานนั้น การนาเสนอผลงานอาจทาได้หลายรูปแบบ
ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมต่อประเภทของโครงงาน เนื้อหา เวลา
ระดับของผู้เรียน เช่น การแสดงบทบาทสมมติ การเล่าเรื่อง การ
เขียนรายงาน สถานการณ์จาลอง การสาธิต การจัดนิทรรศการ ซึ่ง
อาจมีทั้งการจัดแสดงและการอธิบายด้วยคาพูด หรือการรายงาน
ปากเปล่า การบรรยาย สิ่งสาคัญคือ พยายามทาให้การแสดงผล
งานนั้นดึงดูดความสนใจของผู้ชม มีความชัดเจน เข้าใจง่าย และมี
ความถูกต้องของเนื้อหา
๓. การเขียนรายงานโครงงาน
การเขียนรายงานโครงงานเป็นรูปแบบหนึ่งของการ
นาเสนอผลงานของโครงงานที่ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้า
ตั้งแต่ต้นจนจบ การกาหนดหัวข้อในการเขียน
รายงานโครงงานอาจไม่ระบุตายตัวเหมือนกันทุก
โครงงาน ส่วนประกอบของหัวข้อในรายงานต้อง
เหมาะสมกับประเภทของโครงงานและระดับชั้นของ
ผู้เรียน องค์ประกอบของการเขียนรายงานโครงงาน
แบ่งกว้างๆ เป็น ๓ ส่วน ดังนี้
๑. ส่วนปกและส่วนต้น ส่วนปกและส่วนต้น
ประกอบด้วย
๑) ชื่อโครงงาน
๒) ชื่อผู้ทาโครงงาน ชั้น โรงเรียน และวัน
เดือนปีที่จัดทา
๓) ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
๔) คานา
๕) สารบัญ
๖) สารบัญตาราง หรือภาพประกอบ (ถ้ามี)
๗) บทคัดย่อสั้นๆ ที่บอกเค้าโครงอย่างย่อๆ
ซึ่งประกอบด้วย เรื่อง วัตถุประสงค์ วิธี
การศึกษา ระยะเวลา
สรุปผล
๘) กิตติกรรมประกาศ เพื่อแสดงความขอบคุณ
บุคคล หรือหน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือหรือมีส่วน
เกี่ยวข้อง
๒. ส่วนเนื้อเรื่อง ประกอบด้วย
๑) บทนา บอกความเป็นมา ความสาคัญของ
โครงงาน บอกเหตุผล หรือเหตุจูงใจในการเลือกหัวข้อ
โครงงาน
๒) วัตถุประสงค์ของโครงงาน
๓) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า
๔) การดาเนินงาน อาจเขียนเป็นตาราง แผนผังโครงงานเพื่อให้การ
ดาเนินงานเป็นไปตามหัวข้อเรื่อง ตรงตามวัตถุประสงค์ของ
โครงงาน และพิสูจน์คาตอบ (สมมติฐาน) ตามประเด็นที่กาหนด
ดังตัวอย่างการเขียนแผนผังโครงงานต่อไปนี้
ในแผนผังโครงงานทาให้เห็นระบบการทางานอย่างมีเป้ าหมาย
มีการวางแผนการทางาน จะเห็นได้ว่าสิ่งที่ต้องการทราบ คือ หัวข้อ
ย่อย หรือคาถามย่อยของหัวข้อโครงงาน ถ้ามีมาก ๑ ข้อ ก็จะ
เรียงลาดับทีละหัวข้อ พร้อมทั้งบอกสมมติฐาน วิธีศึกษา และแหล่ง
ศึกษาค้นคว้าตามแผนผังให้ครบทุกข้อ สิ่งที่ต้องการทราบ
สมมติฐาน วิธีการศึกษา แหล่งศึกษา/แหล่งข้อมูล หัวข้อย่อยจาก
หัวข้อเรื่องของโครงงานที่ต้องการหาคาตอบ การตอบคาถาม
ล่วงหน้า ค้นคว้า สอบถาม สัมภาษณ์ สังเกต ศึกษาโดยการดู-ฟัง
จากสื่อชนิดต่างๆ -เอกสาร หนังสือ - สถานที่ บุคคล
๕) สรุปผลการศึกษา เป็นการอธิบายคาตอบที่ได้
จากการศึกษาค้นคว้า ตามหัวข้อย่อยที่ต้องการทราบ
ว่าเป็นไปตามสมมติฐานหรือไม่
๖) อภิปรายผล บอกประโยชน์ หรือคุณค่าของผลงาน
ที่ได้ และบอกข้อจากัดหรือปัญหา อุปสรรค (ถ้ามี)
พร้อมทั้งบอกข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้า โครงงาน
ลักษณะใกล้เคียงกัน
๓. ส่วนท้าย ประกอบด้วย
๑) บรรณานุกรม หรือ เอกสารอ้างอิง หรือเอกสาร
ที่ใช้ค้นคว้า ซึ่งมีหลายประเภท เช่น หนังสือ ตารา
บทความ หรือคอลัมน์ ซึ่งจะมีวิธีการเขียน
บรรณานุกรมต่างกัน เช่น
หนังสือ ชื่อ นามสกุล. ชื่อหนังสือ. สถานที่พิมพ์ :
สานักพิมพ์, ปีที่พิมพ์
บทความในวารสาร ชื่อผู้เขียน "ชื่อบทความ," ชื่อ
วารสาร. ปีที่หรือเล่มที่ : หน้า ;วัน เดือน ปี.
คอลัมน์จากหนังสือพิมพ์ ์์ชื่อผู้เขียน "ชื่อคอลัมน์
: ชื่อเรื่องในคอลัมน์"ชื่อหนังสือพิมพ์.วัน เดือน ปี.
หน้า.
๒) ภาคผนวก เช่น โครงร่างโครงงาน ภาพกิจกรรม
แบบสอบถาม บทสัมภาษณ์
ในการทาโครงงานประเภททดลอง ต้องมีการจัดการ
กับตัวแปรที่จะมีผลต่อการทดลอง ซึ่งจะมี 4 ชนิด คือ
• ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระหมายถึง เหตุของการ
ทดลองนั้นๆ
• ตัวแปรตาม ซึ่งจะเป็นผลที่เกิดจากการ
เปลี่ยนแปลงตัวแปรต้น
• ตัวแปรควบคุม หมายถึง สิ่งที่ต้องควบคุมให้
เหมือนๆกัน มิฉะนั้นจะมีผลทาให้ตัวแปรตาม
เปลี่ยนไป
• ตัวแปรแทรกซ้อน ซึ่งจริงๆแล้วก็คือ ตัวแปรควบคุม
นั่นเอง แต่บางครั้งเราจะควบคุมไม่ได้ ซึ่งจะมีผล
แทรกซ้อน ทาให้ผลการทดลองผิดไป แต่แก้ไขได้โดย
ตัวอย่างของ
โครงงาน
A MAGIC SWITCH
โรงเรียนจิรประวัติวิทยาคม อาเภอเมือง นครสวรรค์ 2543
โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสวิทซ์ไฟฟ้ าที่สามารถเปิด
ปิดไฟได้โดยอัตโนมัติ เมื่อไม่มีคนอยู่ อุปกรณ์ที่ใช้ได้แก่
เครื่องวัดระดับเสียง วงจรสวิทซ์แสง วิธีดาเนินการทดลองคือ
ทาการวัดระดับความดังของเสียงในขณะที่มีคนอยู่ในห้องและ
ไม่มีคนอยู่ บันทึกไว้ต่อมาเปรียบเทียบแรงไฟและแสงสว่าง
ระหว่างเวลากลางวันและกลางคืน ทาการบันทึก แล้วนาความ
แตกต่างของเสียงและแสงสว่างที่วัดได้ไปตั้งค่ากับเครื่องมือ
เชื่อมต่อกับปลั๊กไฟฟ้ าที่ทาการจ่ายกระแสไฟให้กับหลอดไฟ
จากผลการทดลองพบว่า เครื่องมือดังกล่าวสามารถทางานได้ดี
คือเมื่อห้องว่างไม่มีนักเรียนอยู่ในห้อง เครื่องมือจะทาการดับ
ไฟ และไม่มีเสียงดังเกินค่าที่ตั้งไว้ เครื่องมือก็จะทาการปิดไฟ
ได้อย่างถูกต้อง โดยอาจมีความผิดพลาดบ้างเมื่อมีเสียงออด
MyInjet
โรงเรียนนิยมศิลป์ อนุสรณ์ จ.เพชรบูรณ์ 2546
ศึกการนาส่วนต่างๆของพืชที่ให้สีต่างกัน มาผสมตามหลัก
ทฤษฎีสีเพื่อให้เกิดสีดา โดยทดลองเปรียบเทียบวิธีสกัดสีจาก
พืช พบว่าวิธีที่เหมาะสมที่สุดคือการสกัดด้วยเมธานอล จากนั้น
สกัดสีจากส่วนต่างๆของพืช โดยสีแดงสกัดได้จากใบประดับ
เฟื่องฟ้ า สีเหลืองได้จากขมิ้น และสีน้าเงินได้จากดอกอัญชัน นา
น้าสีที่สกัดได้ไปอบด้วยความร้อน 60 องศาเซลเซียส
นาน24 ชั่วโมง เพื่อให้ได้ตัวสีที่เข้มข้น จากนั้นนาตัวสีแต่ละ
สีมา 0.5กรัม นาแต่ละสีไปผสมน้าอย่างละ 5ลูกบาศก์
เซนติเมตร
ในอัตราส่วนระหว่าง สีแดง :สีเหลือง :สีน้าเงิน เท่ากับ 3: 1:
4จะได้สีดาที่สุดแล้วนาไปอบด้วยความร้อน 60องศาเซลเซียส
นาน 24 ชั่วโมง เมื่อได้สารสีดาที่เข้มข้นแล้วนาไปผสมเอทา
นอล 50% ที่อัตราส่วนคือ หมึก 1 กรัม : เอทานอล 3ลูกบาศก์
เซนติเมตร จากนั้นเติมน้ายาล้างจาน 0.1ลูกบาศก์เซนติเมตร
เพื่อลดแรงตึงผิว แล้วนาไปปั่นให้ตกตะกอน 3 ครั้ง นาหมึกบรรจุ
ในคาร์ทริดจ์แล้วสั่งพิมพ์ พบว่าสามารถพิมพ์ได้แต่สีดายังดาไม่
สนิท เนื่องจากเป็นสีจากธรรมชาติจึงไม่เข้มเหมือนกับหมึก
สังเคราะห์
Wallpaper จากเศษวัสดุธรรมชาติช่วยลดความร้อน
ภายในบ้าน
โรงเรียนเรยีนาเชลีวิทยาลัย อ.เมือง จ.เชียงใหม่2545
ทางคณะผู้จัดทาได้แนวคิดที่จะลดขยะโดยนามาทาเป็น
กระดาษบุผนังหรือ Wallpaper ซึ่งสามารถดูดความร้อนได้ จึง
แบ่งการทดลองออกเป็น 2ตอน ตอนที่ 1นาชานอ้อยมาทา
Wallpaper ขั้นแรกเติมโซดาไฟเพื่อให้ชานอ้อยนิ่ม นาไปต้ม
เพื่อให้แยกออกเป็นเส้นๆ หลังจากนั้นบดให้ละเอียด และนา
เยื่อของชานอ้อยที่ได้ไปตากแห้งให้เป็นแผ่น และทาแชลแลค
ในขั้นตอนสุดท้าย เพื่อความแข็งทนทานและเป็นมันวาว ตอน
ที่ 2ทาบ้านจาลองโดยใช้กล่อง 2ใบซึ่งมีขนาดและความหนา
เท่ากัน และติด Wallpaperจากชานอ้อย หนึ่งใบ วัดอุณหภูมิ
ของกล่องทั้งสองใบ จากการทดลองตอนที่ 1พบว่า เยื่อของ
สามารถเกาะติดกันเป็นแผ่นเดียวกัน แต่ไม่สวยสมบูรณ์มาก
นักเนื่องจากการทดลองครั้งนี้ทาเพื่อให้เห็นถึงการยึดเกาะของ
เยื่อจากชานอ้อย แต่ไม่ได้พิถีพิถันตกแต่งให้เกิดความ
สวยงาม และตอนที่ 2พบว่า กล่องที่ติดWallpaper จากชาน
อ้อยจะมีอุณหภูมิต่ากว่ากล่องที่ไม่ติด Wallpaper สรุปได้ว่า
เยื่อของชานอ้อยมีคุณสมบัติในการดูดความร้อนได้จริง
VISUALIZER(เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสง)
โรงเรียนอัสสัมชัญลาปาง จังหวัดลาปาง 2549
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง VISUALIZER (เครื่องฉายภาพวัตถุทึบ
แสง)จัดทาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการนาหลักการทางด้าน
วิทยาศาสตร์เรื่องแสงตกกระทบวัตถุ แสงจะสะท้อนวัตถุออกมา เพื่อ
เป็นการผลิตเครื่องมือและอุปกรณ์การเรียนการสอนในชั้นเรียน ซึ่ง
ขั้นตอนการทาก็เริ่มจากดาเนินการศึกษาจากอุปกรณ์จริง คือ
เครื่อง VISUALIZER ในห้องปฏิบัติการว่ามีคุณสมบัติ และวิธีการ
ทางานอย่างไร ผลที่ได้คือ หลักการสะท้อนของแสง เมื่อมีแสงมาตก
กระทบวัตถุ แสงจะสะท้อนวัตถุนั้นและเกิดภาพหรือลักษณะของวัตถุ
นั้นออกมา ในลักษณะของการสมมาตรคือ การตกกระทบเท่ากับการ
สะท้อน
และถ้าเรานาฉากไปรับสามารถเกิดภาพได้ จึงนาหลักการ
ดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ และเราได้ใช้เลนส์นูนร่วมกับการ
ประดิษฐ์เนื่องจากมีคุณสมบัติรวมแสง แต่ภาพที่เกิดภาพหัว
กลับ เราจึงใช้กระจกเงาราบแผ่นหนึ่งสะท้อนไปยังฉากเพื่อให้
ได้ภาพหัวตั้ง จากการนาโครงงานทาให้เราสามารถผลิตสื่อ
อุปกรณ์ ที่เกิดจากวัสดุที่ราคาไม่แพงและมีคุณสมบัติที่
สามารถใช้ได้เช่นเดียวกับอุปกรณ์ที่ทางคณะผู้จัดทาต้องการ
ศึกษา และได้ทาการทดลองใช้งานพร้อมกับทาการทดลองหา
ความชัด โดยพบว่าถ้าเราใช้แสงไฟที่เข้มเพียงพอ และขนาด
เลนส์ที่ใหญ่เราก็จะสามารถฉายภาพที่ขนาดใหญ่ได้แล้วภาพ
ที่ได้ก็จะชัดเจนมากกว่าการใช้ความเข้มแสงน้อย และเลนส์
ขนาดเล็ก นอกจากนี้เราต้องอาศัยปัจจัยภายนอกเข้ามาช่วย
ด้วย คือ ความสว่างของบริเวณภายในห้องที่เราใช้ต้องมีน้อย
นั้นคือความสามารถเกิดภาพที่ชัดเจนได้ในที่มืด เพราะฉะนั้น
การผลิตเครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสง (VISUALIZER)นี้ก็เป็น
การที่สามารถทาให้เกิดแนวทางในการนาไปพัฒนาในต่อๆ ไป
MOTERSPRAYERIV
โรงเรียนจิรประวัติวิทยาคม อาเภอเมือง นครสวรรค์ 2542
โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการลดการใช้แรงงานและเพิ่ม
ประสิทธิภาพของเครื่องมือในการทาการเกษตร อุปกรณ์ที่ใช้ทาการ
ทดลอง ได้แก่ Motor SprayerIV ซึ่งเป็นเครื่องมือทาสเปรย์ที่ใช้ใน
การพ่นสารเคมี หรือสารสกัดจากพืชเพื่อกาจัดแมลงศัตรูพืช ให้ปุ๋ ย
ฮอร์โมน ซึ่งประดิษฐ์ขึ้นจากการพัฒนามาจาก Motor Sprayer
3ซึ่ง Motor Sprayer 3ต้องใช้แบตเตอรี่ขนาด 6โวลต์ ทาให้
เกษตรกรต้องแบกเป็นเวลานานและไม่สะดวกต่อการใช้งาน เมื่อ
Motor ส่วนท้ายชารุดจะมีผลทาให้ Motor หมุนช้าลงและละออง
น้ายาที่ฉีดพ่นกระจายตัวไม่สม่าเสมอ จึงได้มีการปรับปรุง โดยการ
เพิ่มประสิทธิภาพ Motor ให้ใช้ไฟเลี้ยงแรงดันไฟเพียง4.8โวลต์
เปลี่ยนแม่เหล็กเป็นแบบความเข้มข้นของสนามแม่เหล็กสูง เพื่อ
ลดการใช้พลังงานพลังงานไฟฟ้ า เปลี่ยนแกนหมุนเป็นแบบลูกปืน
เพื่อลดการเสียดทาน ลดอัตราการไหลของน้ายาลงทาให้ปริมาณ
ยาฉีดพ่นและเพิ่มประสิทธิการกระจายตัวของยาที่ฉีดพ่น ลด
ขนาดถังน้ายาและใช้แบตเตอรี่เลียนแบบถ่านนิเกิล แคดเมียม
สรุปแล้วพบว่าเครื่อง Motor Sprayer 4 ที่ทาการปรับปรุงนี้
สามารถใช้งานได้ดีมีประสิทธิภาพมากขึ้นกว่ารุ่นก่อนเป็นอย่าง
มาก
แหล่งอ้างอิง
http://www.thaigoodview.com/node/170
30?page=0%2C7
http://www.banprak-
nfe.com/webboard/index.php?topic=24.0
http://scienceproject.makewebeasy.com/
Thank You

Contenu connexe

Tendances

Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2
Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2
Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2Phaspra Pramokchon
 
โครงงานที่6
โครงงานที่6โครงงานที่6
โครงงานที่6nay220
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำsliderubtumproject.com
 
9789740335795
97897403357959789740335795
9789740335795CUPress
 
แนะแนวการหาหัวข้อ เทคนิคขั้นสูงในการสืบค้นข้อมูล แหล่งหาข้อมูลเกี่ยวกับการทำว...
แนะแนวการหาหัวข้อ เทคนิคขั้นสูงในการสืบค้นข้อมูล แหล่งหาข้อมูลเกี่ยวกับการทำว...แนะแนวการหาหัวข้อ เทคนิคขั้นสูงในการสืบค้นข้อมูล แหล่งหาข้อมูลเกี่ยวกับการทำว...
แนะแนวการหาหัวข้อ เทคนิคขั้นสูงในการสืบค้นข้อมูล แหล่งหาข้อมูลเกี่ยวกับการทำว...ประพันธ์ เวารัมย์
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
กิจกรรม4
กิจกรรม4กิจกรรม4
กิจกรรม4hazama02
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถาม แบบสอบถาม
แบบสอบถาม khanidthakpt
 
โครงงานคอม ใบที่ 6
โครงงานคอม ใบที่  6โครงงานคอม ใบที่  6
โครงงานคอม ใบที่ 6StampPamika
 

Tendances (19)

Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2
Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2
Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2
 
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
 
Review literature in nursing
Review literature in nursingReview literature in nursing
Review literature in nursing
 
วิจัย
วิจัย วิจัย
วิจัย
 
Chapter2 literaturereview
Chapter2 literaturereviewChapter2 literaturereview
Chapter2 literaturereview
 
โครงงานที่6
โครงงานที่6โครงงานที่6
โครงงานที่6
 
Week 1 intro[1]
Week 1 intro[1]Week 1 intro[1]
Week 1 intro[1]
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 
Research1
Research1Research1
Research1
 
9789740335795
97897403357959789740335795
9789740335795
 
แนะแนวการหาหัวข้อ เทคนิคขั้นสูงในการสืบค้นข้อมูล แหล่งหาข้อมูลเกี่ยวกับการทำว...
แนะแนวการหาหัวข้อ เทคนิคขั้นสูงในการสืบค้นข้อมูล แหล่งหาข้อมูลเกี่ยวกับการทำว...แนะแนวการหาหัวข้อ เทคนิคขั้นสูงในการสืบค้นข้อมูล แหล่งหาข้อมูลเกี่ยวกับการทำว...
แนะแนวการหาหัวข้อ เทคนิคขั้นสูงในการสืบค้นข้อมูล แหล่งหาข้อมูลเกี่ยวกับการทำว...
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
 
Academic article
Academic articleAcademic article
Academic article
 
กิจกรรม4
กิจกรรม4กิจกรรม4
กิจกรรม4
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถาม แบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
ใบงานที่6
ใบงานที่6ใบงานที่6
ใบงานที่6
 
โครงงานคอม ใบที่ 6
โครงงานคอม ใบที่  6โครงงานคอม ใบที่  6
โครงงานคอม ใบที่ 6
 

Similaire à โครงงานคอม ใบท 6

ใบงานที่ 6 แก้
ใบงานที่ 6 แก้ใบงานที่ 6 แก้
ใบงานที่ 6 แก้pompameiei
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานMoo Mild
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นPongtong Kannacham
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีkorakate
 
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมด
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมดบทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมด
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมดChowwalit Chookhampaeng
 
Computer project
Computer project Computer project
Computer project PondPoPZa
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPatchara Pussadee
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2powe1234
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่ 6  เรื่อง โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎีใบงานที่ 6  เรื่อง โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎีmansupotyrc
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8Narut Keatnima
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์kornvipa
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานwichaya222
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานAoy Amm Mee
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานAoy Amm Mee
 

Similaire à โครงงานคอม ใบท 6 (20)

ใบงานที่ 6 แก้
ใบงานที่ 6 แก้ใบงานที่ 6 แก้
ใบงานที่ 6 แก้
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้น
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดี
 
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมด
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมดบทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมด
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมด
 
Computer project
Computer project Computer project
Computer project
 
K6
K6K6
K6
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Commm
CommmCommm
Commm
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
K6222
K6222K6222
K6222
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่ 6  เรื่อง โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎีใบงานที่ 6  เรื่อง โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎี
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
presentation 3
presentation 3presentation 3
presentation 3
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 

Plus de ไอ่ฝ้าย ผีบ้า

ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.6 ชุด 1ไอ่ฝ้าย ผีบ้า
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๖ ชุด ๑
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๖ ชุด ๑ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๖ ชุด ๑
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๖ ชุด ๑ไอ่ฝ้าย ผีบ้า
 

Plus de ไอ่ฝ้าย ผีบ้า (16)

ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8
 
ใบงานที่7
ใบงานที่7ใบงานที่7
ใบงานที่7
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
โครงงานคอม ใบท 8
โครงงานคอม ใบท  8โครงงานคอม ใบท  8
โครงงานคอม ใบท 8
 
โครงงานคอม ใบท 7
โครงงานคอม ใบท  7โครงงานคอม ใบท  7
โครงงานคอม ใบท 7
 
ใบงานท 5
ใบงานท   5ใบงานท   5
ใบงานท 5
 
ใบงานท 4
ใบงานท   4ใบงานท   4
ใบงานท 4
 
ใบงานท 3
ใบงานท   3ใบงานท   3
ใบงานท 3
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.6 ชุด 1
 
ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๖ ชุด ๑
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๖ ชุด ๑ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๖ ชุด ๑
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๖ ชุด ๑
 
ใบงานสำรวจตัวเอง
ใบงานสำรวจตัวเองใบงานสำรวจตัวเอง
ใบงานสำรวจตัวเอง
 

โครงงานคอม ใบท 6

  • 2. เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลองการ ทดลองของสาขาต่างๆ ซึ่งเป็นงานที่ไม่สามารถทดลอง ด้วยสถานการณ์จริงได้ เช่น การจุดระเบิด เป็นต้น และ เป็นโครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริง และแนวคิดต่างๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ ต้องการศึกษาแล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสูตร สมการ หรือ คาอธิบาย พร้อมทั้งการจาลองทฤษฏีด้วยคอมพิวเตอร์ ให้ออกมาเป็น โครงงานประเภทนี้มีจุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทา ต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างดี
  • 4. ๑ การคิดและการเลือกหัวเรื่อง ผู้เรียนจะต้องคิด และเลือกหัว เรื่องของโครงงานด้วยตนเองว่าอยากจะศึกษาอะไร ทาไมจึง อยากศึกษา หัวเรื่องของโครงงานมักจะได้มาจากปัญหา คาถามหรือความอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ของ ผู้เรียนเอง หัวเรื่องของโครงงานควรเฉพาะเจาะจงและชัดเจน เมื่อใครได้อ่านชื่อเรื่องแล้วควรเข้าใจและรู้เรื่องว่าโครงงานนี้ทา จากอะไร การกาหนดหัวเรื่องของโครงงานนั้นมีแหล่งที่จะช่วย กระตุ้นให้เกิดความคิดและความสนใจหลายแหล่งด้วยกัน เช่น จากการอ่านหนังสือ เอกสาร บทความ การเยี่ยมชมสถานที่ ต่างๆ การฟังบรรยายทางวิชาการ การเข้าชมนิทรรศการหรือ งานประกวดโครงงานทางวิทยาศาสตร์ การสนทนากับบุคคล ต่างๆ หรือจาการสังเกตปรากฏการณ์ต่างๆ รอบตัว เป็นต้น นอกจากนี้ควรคานึงถึงประเด็นต่อไปนี้
  • 5. -ความเหมาะสมของระดับความรู้ ความสามารถของ ผู้เรียน - วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ - งบประมาณ - ระยะเวลา - ความปลอดภัย - แหล่งความรู้
  • 6. ๒ การวางแผน การวางแผนการทาโครงงาน จะรวมถึงการเขียนเค้าโครง ของโครงงาน ซึ่งต้องมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า เพื่อให้การ ดาเนินการเป็นไปอย่างรัดกุมและรอบคอบ ไม่สับสน แล้ว นาเสนอต่อผู้สอนหรือครูที่ปรึกษาเพื่อขอความเห็นชอบก่อน ดาเนินการขั้นต่อไป การเขียนเค้าโครงของโครงงาน โดยทั่วไป เขียนเพื่อแสดงแนวคิด แผนงาน และขั้นตอนการทาโครงงาน ซึ่งควรประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้ ๑) ชื่อโครงงาน ควรเป็นข้อความที่กะทัดรัด ชัดเจน สื่อ ความหมายได้ตรง ๒) ชื่อผู้ทาโครงงาน
  • 7. ๓) ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน ๔) หลักการและเหตุผลของโครงงาน เป็นการอธิบายว่าเหตุ ใดจึงเลือกทาโครงงานเรื่องนี้มีความสาคัญอย่างไร มีหลักการ หรือทฤษฎีอะไรที่เกี่ยวข้อง เรื่องที่ทาเป็นเรื่องใหม่หรือมีผู้อื่น ได้ศึกษาค้นคว้าเรื่องนี้ไว้บ้างแล้ว ถ้ามีได้ผลอย่างไร เรื่องที่ทา ได้ขยายเพิ่มเติม ปรับปรุงจากเรื่องที่ผู้อื่นทาไว้อย่างไร หรือ เป็นการทาซ้าเพื่อตรวจสอบผล ๕) จุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ควรมีความเฉพาะเจาะจง และสามารถวัดได้ เป็นการบอกขอบเขตของงานที่จะทาได้ ชัดเจนขึ้น
  • 8. ๖) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี) สมมติฐานเป็น คาตอบหรือคาอธิบายที่คาดไว้ล่วงหน้า ซึ่งอาจจะถูกหรือไม่ก็ได้ การเขียนสมมติฐานควรมีเหตุมีผลมีทฤษฎีหรือหลักการรองรับ และที่สาคัญ คือ เป็นข้อความที่มองเห็นแนวทางในการ ดาเนินการทดสอบได้ นอกจากนี้ควรมีความสัมพันธ์ระหว่างตัว แปรอิสระและตัวแปรตามด้วย ๗) วิธีดาเนินงานและขั้นตอนการดาเนินงาน จะต้องอธิบายว่า จะออกแบบการทดลองอะไรอย่างไร จะเก็บข้อมูลอะไรบ้าง รวมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็นต้องใช้ มีอะไรบ้าง ๘) แผนปฏิบัติงาน อธิบายเกี่ยวกับกาหนดเวลาตั้งแต่เริ่มต้น จนเสร็จสิ้นการดาเนินงานในแต่ละขั้นตอน ๙) ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑๐) เอกสารอ้างอิง
  • 9. ๓ การดาเนินงาน เมื่อที่ปรึกษาโครงงานให้ความเห็นชอบเค้าโครง ของโครงงานแล้ว ต่อไปก็เป็นขั้นลงมือปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ระบุ ไว้ ผู้เรียนต้องพยายามทาตามแผนงานที่วางไว้ เตรียมวัสดุอุปกรณ์ และสถานที่ให้พร้อมปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ คานึงถึงความประหยัดและปลอดภัยในการทางาน ตลอดจนการ บันทึกข้อมูลต่างๆ ว่าได้ทาอะไรไปบ้าง ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและ ข้อคิดเห็นอย่างไร พยายามบันทึกให้เป็นระเบียบและครบถ้วน
  • 10. ๔ การเขียนรายงาน การเขียนรายงานเกี่ยวกับโครงงาน เป็นวิธีสื่อความหมาย วิธีหนึ่งที่จะให้ผู้อื่นได้เข้าใจถึงแนวคิด วิธีการดาเนินงาน ผลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ ที่เกี่ยวกับ โครงงานนั้น การเขียนโครงงานควรใช้ภาษาที่อ่านแล้ว เข้าใจง่าย ชัดเจนและครอบคลุมประเด็นสาคัญๆ ทั้งหมด ของโครงงาน
  • 11. ๕ การนาเสนอผลงาน การนาเสนอผลงาน เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการทาโครงงานและ เข้าใจถึงผลงานนั้น การนาเสนอผลงานอาจทาได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมต่อประเภทของโครงงาน เนื้อหา เวลา ระดับของผู้เรียน เช่น การแสดงบทบาทสมมติ การเล่าเรื่อง การ เขียนรายงาน สถานการณ์จาลอง การสาธิต การจัดนิทรรศการ ซึ่ง อาจมีทั้งการจัดแสดงและการอธิบายด้วยคาพูด หรือการรายงาน ปากเปล่า การบรรยาย สิ่งสาคัญคือ พยายามทาให้การแสดงผล งานนั้นดึงดูดความสนใจของผู้ชม มีความชัดเจน เข้าใจง่าย และมี ความถูกต้องของเนื้อหา
  • 12. ๓. การเขียนรายงานโครงงาน การเขียนรายงานโครงงานเป็นรูปแบบหนึ่งของการ นาเสนอผลงานของโครงงานที่ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้า ตั้งแต่ต้นจนจบ การกาหนดหัวข้อในการเขียน รายงานโครงงานอาจไม่ระบุตายตัวเหมือนกันทุก โครงงาน ส่วนประกอบของหัวข้อในรายงานต้อง เหมาะสมกับประเภทของโครงงานและระดับชั้นของ ผู้เรียน องค์ประกอบของการเขียนรายงานโครงงาน แบ่งกว้างๆ เป็น ๓ ส่วน ดังนี้
  • 13. ๑. ส่วนปกและส่วนต้น ส่วนปกและส่วนต้น ประกอบด้วย ๑) ชื่อโครงงาน ๒) ชื่อผู้ทาโครงงาน ชั้น โรงเรียน และวัน เดือนปีที่จัดทา ๓) ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ๔) คานา ๕) สารบัญ ๖) สารบัญตาราง หรือภาพประกอบ (ถ้ามี) ๗) บทคัดย่อสั้นๆ ที่บอกเค้าโครงอย่างย่อๆ ซึ่งประกอบด้วย เรื่อง วัตถุประสงค์ วิธี การศึกษา ระยะเวลา
  • 14. สรุปผล ๘) กิตติกรรมประกาศ เพื่อแสดงความขอบคุณ บุคคล หรือหน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือหรือมีส่วน เกี่ยวข้อง ๒. ส่วนเนื้อเรื่อง ประกอบด้วย ๑) บทนา บอกความเป็นมา ความสาคัญของ โครงงาน บอกเหตุผล หรือเหตุจูงใจในการเลือกหัวข้อ โครงงาน ๒) วัตถุประสงค์ของโครงงาน ๓) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า
  • 15. ๔) การดาเนินงาน อาจเขียนเป็นตาราง แผนผังโครงงานเพื่อให้การ ดาเนินงานเป็นไปตามหัวข้อเรื่อง ตรงตามวัตถุประสงค์ของ โครงงาน และพิสูจน์คาตอบ (สมมติฐาน) ตามประเด็นที่กาหนด ดังตัวอย่างการเขียนแผนผังโครงงานต่อไปนี้ ในแผนผังโครงงานทาให้เห็นระบบการทางานอย่างมีเป้ าหมาย มีการวางแผนการทางาน จะเห็นได้ว่าสิ่งที่ต้องการทราบ คือ หัวข้อ ย่อย หรือคาถามย่อยของหัวข้อโครงงาน ถ้ามีมาก ๑ ข้อ ก็จะ เรียงลาดับทีละหัวข้อ พร้อมทั้งบอกสมมติฐาน วิธีศึกษา และแหล่ง ศึกษาค้นคว้าตามแผนผังให้ครบทุกข้อ สิ่งที่ต้องการทราบ สมมติฐาน วิธีการศึกษา แหล่งศึกษา/แหล่งข้อมูล หัวข้อย่อยจาก หัวข้อเรื่องของโครงงานที่ต้องการหาคาตอบ การตอบคาถาม ล่วงหน้า ค้นคว้า สอบถาม สัมภาษณ์ สังเกต ศึกษาโดยการดู-ฟัง จากสื่อชนิดต่างๆ -เอกสาร หนังสือ - สถานที่ บุคคล
  • 16. ๕) สรุปผลการศึกษา เป็นการอธิบายคาตอบที่ได้ จากการศึกษาค้นคว้า ตามหัวข้อย่อยที่ต้องการทราบ ว่าเป็นไปตามสมมติฐานหรือไม่ ๖) อภิปรายผล บอกประโยชน์ หรือคุณค่าของผลงาน ที่ได้ และบอกข้อจากัดหรือปัญหา อุปสรรค (ถ้ามี) พร้อมทั้งบอกข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้า โครงงาน ลักษณะใกล้เคียงกัน
  • 17. ๓. ส่วนท้าย ประกอบด้วย ๑) บรรณานุกรม หรือ เอกสารอ้างอิง หรือเอกสาร ที่ใช้ค้นคว้า ซึ่งมีหลายประเภท เช่น หนังสือ ตารา บทความ หรือคอลัมน์ ซึ่งจะมีวิธีการเขียน บรรณานุกรมต่างกัน เช่น หนังสือ ชื่อ นามสกุล. ชื่อหนังสือ. สถานที่พิมพ์ : สานักพิมพ์, ปีที่พิมพ์ บทความในวารสาร ชื่อผู้เขียน "ชื่อบทความ," ชื่อ วารสาร. ปีที่หรือเล่มที่ : หน้า ;วัน เดือน ปี. คอลัมน์จากหนังสือพิมพ์ ์์ชื่อผู้เขียน "ชื่อคอลัมน์ : ชื่อเรื่องในคอลัมน์"ชื่อหนังสือพิมพ์.วัน เดือน ปี. หน้า.
  • 18. ๒) ภาคผนวก เช่น โครงร่างโครงงาน ภาพกิจกรรม แบบสอบถาม บทสัมภาษณ์ ในการทาโครงงานประเภททดลอง ต้องมีการจัดการ กับตัวแปรที่จะมีผลต่อการทดลอง ซึ่งจะมี 4 ชนิด คือ • ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระหมายถึง เหตุของการ ทดลองนั้นๆ • ตัวแปรตาม ซึ่งจะเป็นผลที่เกิดจากการ เปลี่ยนแปลงตัวแปรต้น • ตัวแปรควบคุม หมายถึง สิ่งที่ต้องควบคุมให้ เหมือนๆกัน มิฉะนั้นจะมีผลทาให้ตัวแปรตาม เปลี่ยนไป • ตัวแปรแทรกซ้อน ซึ่งจริงๆแล้วก็คือ ตัวแปรควบคุม นั่นเอง แต่บางครั้งเราจะควบคุมไม่ได้ ซึ่งจะมีผล แทรกซ้อน ทาให้ผลการทดลองผิดไป แต่แก้ไขได้โดย
  • 20. A MAGIC SWITCH โรงเรียนจิรประวัติวิทยาคม อาเภอเมือง นครสวรรค์ 2543 โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสวิทซ์ไฟฟ้ าที่สามารถเปิด ปิดไฟได้โดยอัตโนมัติ เมื่อไม่มีคนอยู่ อุปกรณ์ที่ใช้ได้แก่ เครื่องวัดระดับเสียง วงจรสวิทซ์แสง วิธีดาเนินการทดลองคือ ทาการวัดระดับความดังของเสียงในขณะที่มีคนอยู่ในห้องและ ไม่มีคนอยู่ บันทึกไว้ต่อมาเปรียบเทียบแรงไฟและแสงสว่าง ระหว่างเวลากลางวันและกลางคืน ทาการบันทึก แล้วนาความ แตกต่างของเสียงและแสงสว่างที่วัดได้ไปตั้งค่ากับเครื่องมือ เชื่อมต่อกับปลั๊กไฟฟ้ าที่ทาการจ่ายกระแสไฟให้กับหลอดไฟ จากผลการทดลองพบว่า เครื่องมือดังกล่าวสามารถทางานได้ดี คือเมื่อห้องว่างไม่มีนักเรียนอยู่ในห้อง เครื่องมือจะทาการดับ ไฟ และไม่มีเสียงดังเกินค่าที่ตั้งไว้ เครื่องมือก็จะทาการปิดไฟ ได้อย่างถูกต้อง โดยอาจมีความผิดพลาดบ้างเมื่อมีเสียงออด
  • 21. MyInjet โรงเรียนนิยมศิลป์ อนุสรณ์ จ.เพชรบูรณ์ 2546 ศึกการนาส่วนต่างๆของพืชที่ให้สีต่างกัน มาผสมตามหลัก ทฤษฎีสีเพื่อให้เกิดสีดา โดยทดลองเปรียบเทียบวิธีสกัดสีจาก พืช พบว่าวิธีที่เหมาะสมที่สุดคือการสกัดด้วยเมธานอล จากนั้น สกัดสีจากส่วนต่างๆของพืช โดยสีแดงสกัดได้จากใบประดับ เฟื่องฟ้ า สีเหลืองได้จากขมิ้น และสีน้าเงินได้จากดอกอัญชัน นา น้าสีที่สกัดได้ไปอบด้วยความร้อน 60 องศาเซลเซียส นาน24 ชั่วโมง เพื่อให้ได้ตัวสีที่เข้มข้น จากนั้นนาตัวสีแต่ละ สีมา 0.5กรัม นาแต่ละสีไปผสมน้าอย่างละ 5ลูกบาศก์ เซนติเมตร
  • 22. ในอัตราส่วนระหว่าง สีแดง :สีเหลือง :สีน้าเงิน เท่ากับ 3: 1: 4จะได้สีดาที่สุดแล้วนาไปอบด้วยความร้อน 60องศาเซลเซียส นาน 24 ชั่วโมง เมื่อได้สารสีดาที่เข้มข้นแล้วนาไปผสมเอทา นอล 50% ที่อัตราส่วนคือ หมึก 1 กรัม : เอทานอล 3ลูกบาศก์ เซนติเมตร จากนั้นเติมน้ายาล้างจาน 0.1ลูกบาศก์เซนติเมตร เพื่อลดแรงตึงผิว แล้วนาไปปั่นให้ตกตะกอน 3 ครั้ง นาหมึกบรรจุ ในคาร์ทริดจ์แล้วสั่งพิมพ์ พบว่าสามารถพิมพ์ได้แต่สีดายังดาไม่ สนิท เนื่องจากเป็นสีจากธรรมชาติจึงไม่เข้มเหมือนกับหมึก สังเคราะห์
  • 23. Wallpaper จากเศษวัสดุธรรมชาติช่วยลดความร้อน ภายในบ้าน โรงเรียนเรยีนาเชลีวิทยาลัย อ.เมือง จ.เชียงใหม่2545 ทางคณะผู้จัดทาได้แนวคิดที่จะลดขยะโดยนามาทาเป็น กระดาษบุผนังหรือ Wallpaper ซึ่งสามารถดูดความร้อนได้ จึง แบ่งการทดลองออกเป็น 2ตอน ตอนที่ 1นาชานอ้อยมาทา Wallpaper ขั้นแรกเติมโซดาไฟเพื่อให้ชานอ้อยนิ่ม นาไปต้ม เพื่อให้แยกออกเป็นเส้นๆ หลังจากนั้นบดให้ละเอียด และนา เยื่อของชานอ้อยที่ได้ไปตากแห้งให้เป็นแผ่น และทาแชลแลค ในขั้นตอนสุดท้าย เพื่อความแข็งทนทานและเป็นมันวาว ตอน ที่ 2ทาบ้านจาลองโดยใช้กล่อง 2ใบซึ่งมีขนาดและความหนา เท่ากัน และติด Wallpaperจากชานอ้อย หนึ่งใบ วัดอุณหภูมิ ของกล่องทั้งสองใบ จากการทดลองตอนที่ 1พบว่า เยื่อของ
  • 24. สามารถเกาะติดกันเป็นแผ่นเดียวกัน แต่ไม่สวยสมบูรณ์มาก นักเนื่องจากการทดลองครั้งนี้ทาเพื่อให้เห็นถึงการยึดเกาะของ เยื่อจากชานอ้อย แต่ไม่ได้พิถีพิถันตกแต่งให้เกิดความ สวยงาม และตอนที่ 2พบว่า กล่องที่ติดWallpaper จากชาน อ้อยจะมีอุณหภูมิต่ากว่ากล่องที่ไม่ติด Wallpaper สรุปได้ว่า เยื่อของชานอ้อยมีคุณสมบัติในการดูดความร้อนได้จริง
  • 25. VISUALIZER(เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสง) โรงเรียนอัสสัมชัญลาปาง จังหวัดลาปาง 2549 โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง VISUALIZER (เครื่องฉายภาพวัตถุทึบ แสง)จัดทาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการนาหลักการทางด้าน วิทยาศาสตร์เรื่องแสงตกกระทบวัตถุ แสงจะสะท้อนวัตถุออกมา เพื่อ เป็นการผลิตเครื่องมือและอุปกรณ์การเรียนการสอนในชั้นเรียน ซึ่ง ขั้นตอนการทาก็เริ่มจากดาเนินการศึกษาจากอุปกรณ์จริง คือ เครื่อง VISUALIZER ในห้องปฏิบัติการว่ามีคุณสมบัติ และวิธีการ ทางานอย่างไร ผลที่ได้คือ หลักการสะท้อนของแสง เมื่อมีแสงมาตก กระทบวัตถุ แสงจะสะท้อนวัตถุนั้นและเกิดภาพหรือลักษณะของวัตถุ นั้นออกมา ในลักษณะของการสมมาตรคือ การตกกระทบเท่ากับการ สะท้อน
  • 26. และถ้าเรานาฉากไปรับสามารถเกิดภาพได้ จึงนาหลักการ ดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ และเราได้ใช้เลนส์นูนร่วมกับการ ประดิษฐ์เนื่องจากมีคุณสมบัติรวมแสง แต่ภาพที่เกิดภาพหัว กลับ เราจึงใช้กระจกเงาราบแผ่นหนึ่งสะท้อนไปยังฉากเพื่อให้ ได้ภาพหัวตั้ง จากการนาโครงงานทาให้เราสามารถผลิตสื่อ อุปกรณ์ ที่เกิดจากวัสดุที่ราคาไม่แพงและมีคุณสมบัติที่ สามารถใช้ได้เช่นเดียวกับอุปกรณ์ที่ทางคณะผู้จัดทาต้องการ ศึกษา และได้ทาการทดลองใช้งานพร้อมกับทาการทดลองหา ความชัด โดยพบว่าถ้าเราใช้แสงไฟที่เข้มเพียงพอ และขนาด เลนส์ที่ใหญ่เราก็จะสามารถฉายภาพที่ขนาดใหญ่ได้แล้วภาพ ที่ได้ก็จะชัดเจนมากกว่าการใช้ความเข้มแสงน้อย และเลนส์ ขนาดเล็ก นอกจากนี้เราต้องอาศัยปัจจัยภายนอกเข้ามาช่วย ด้วย คือ ความสว่างของบริเวณภายในห้องที่เราใช้ต้องมีน้อย นั้นคือความสามารถเกิดภาพที่ชัดเจนได้ในที่มืด เพราะฉะนั้น การผลิตเครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสง (VISUALIZER)นี้ก็เป็น การที่สามารถทาให้เกิดแนวทางในการนาไปพัฒนาในต่อๆ ไป
  • 27. MOTERSPRAYERIV โรงเรียนจิรประวัติวิทยาคม อาเภอเมือง นครสวรรค์ 2542 โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการลดการใช้แรงงานและเพิ่ม ประสิทธิภาพของเครื่องมือในการทาการเกษตร อุปกรณ์ที่ใช้ทาการ ทดลอง ได้แก่ Motor SprayerIV ซึ่งเป็นเครื่องมือทาสเปรย์ที่ใช้ใน การพ่นสารเคมี หรือสารสกัดจากพืชเพื่อกาจัดแมลงศัตรูพืช ให้ปุ๋ ย ฮอร์โมน ซึ่งประดิษฐ์ขึ้นจากการพัฒนามาจาก Motor Sprayer 3ซึ่ง Motor Sprayer 3ต้องใช้แบตเตอรี่ขนาด 6โวลต์ ทาให้ เกษตรกรต้องแบกเป็นเวลานานและไม่สะดวกต่อการใช้งาน เมื่อ Motor ส่วนท้ายชารุดจะมีผลทาให้ Motor หมุนช้าลงและละออง น้ายาที่ฉีดพ่นกระจายตัวไม่สม่าเสมอ จึงได้มีการปรับปรุง โดยการ เพิ่มประสิทธิภาพ Motor ให้ใช้ไฟเลี้ยงแรงดันไฟเพียง4.8โวลต์
  • 28. เปลี่ยนแม่เหล็กเป็นแบบความเข้มข้นของสนามแม่เหล็กสูง เพื่อ ลดการใช้พลังงานพลังงานไฟฟ้ า เปลี่ยนแกนหมุนเป็นแบบลูกปืน เพื่อลดการเสียดทาน ลดอัตราการไหลของน้ายาลงทาให้ปริมาณ ยาฉีดพ่นและเพิ่มประสิทธิการกระจายตัวของยาที่ฉีดพ่น ลด ขนาดถังน้ายาและใช้แบตเตอรี่เลียนแบบถ่านนิเกิล แคดเมียม สรุปแล้วพบว่าเครื่อง Motor Sprayer 4 ที่ทาการปรับปรุงนี้ สามารถใช้งานได้ดีมีประสิทธิภาพมากขึ้นกว่ารุ่นก่อนเป็นอย่าง มาก