SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  50
สื่อการสอนประกอบ
   วิชาภาษาไทย ท
       ๓๓๑๐๑
 เรือง ไตรภูมพระร่วง
    ่            ิ
  ตอน มนุสสภูมน์ เรืองจิร
จัดทำาโดย นางสุชารัต ิ
โรจน์ ครู อันดับ คศ.   ๓
           โรงเรียนอุดมดรุณี อำาเภอ
เมือง จังหวัดสุโขทัย
          สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ไตรภูมิ
         พระร่วง
    แก้ววรรณกรรม พระราชนิพนธ์
               ของ
พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พญาลิไท)
            นัดดา ของ
พ่อขุนรามคำาแหงมหาราช เมื่อครั้ง
ไตรภูมิ
พระร่วง
ตอน มนุ
 สสภูมิ
ไตรภูมิ คือ
      อะไร มิกถา
เดิม เรียก เตภู
คือ เรื่องราว
ของสามโลก หรือ สาม
ภูมิ ได้แก่
กามภูมิ
      รูปภูมิ

อรูปภูมิ
กาม
ภูมิ
โลกของผู้ยังติดอยู่ในกามกิเลส
 ๒ แดน มี ๑๑ ชั้น
๑. สุคติภูมิ ประกอบด้วย นุสสภูมิ และสวรรค์
 ภูมิ
   คือ ฉกามาพจร
   -   จาตุมหาราชิกา
   -   ดาวดึงส์
   -   ยามา
   -   ดุสต
          ิ
   -   นิมมานรดี
๒. อบายภูมิ (ทุคติภูม)
                     ิ
แดนฝ่ายเสือม
          ่
  ได้แก่
   - นรก
   - ดิรัจฉานภูมิ
  - เปรตภูมิ
รูป
ภูมิ
รูป
            ภูมิ
     ที่อยู่ของพรหมที่มีรูปมี
 ทั้งสิ้น   ๑๖ ชั้น
ต้องบำาเพ็ญสมาธิจนได้
อรูป
ภูมิ
อรูปภูมิ
แดนของพรหมไม่มีรูป มีแต่
 จิตหรือวิญญาณ
มีทั้งหมด ๔ ชั้น
ไตรภูมิพระร่วง
   สอนอะไร?
“ความเปลี่ยนแปรของ
 สรรพสิ่ง คือ อนิจ
จลักษณะ”
มนุสสภูมิ
  กำาเนิดแห่ง
     มนุษย์
 ในความเชื่อ
ของพญาลิไท?
เมือแรกเป็นเพียง “กลละ”
   ่
     หรือ Cell ขนาดเล็ก
ผิรปอันจะเกิดเป็นชายก็ดี หญิงก็ดี
   ู
        เกิดมีเป็น อาทิ
โดยใหญ่แต่ละ
     วัน
 แลน้อย ครั้น
   ๗ วัน
เรียกว่า อัมพุ
     ทะ
 ครัน ๗ วัน
     ้
       วันขึ้น
ดั่งตะกั่วเชื่อม
   อยู่ในหม้อ
เรียกว่า เปสิ
ฆนะ นันค่อยใหญ่ไปทุกวันครั้น ๗
        ้
วัน เป็นตุ่มออกห้าแห่ง
ดังหูดเรียกว่า เบญจสาขาหูด
เบญจหูดนั้นเป็นมือ   ๒ อัน เป็นตีน
            ๒ อัน
แลแต่นั้น
 ค่อยไป
เบื้องหน้า
ทุกวันครั้น
  ๗ วัน
เป็นฝ่ามือ
เป็นนิ้วมือ
  นิ้วตีน
คำารบ ๔๒ จึง
เป็นขน
เป็นเล็บตีน เล็บ
มือ
เป็นเครื่อง
สำาหรับมนุษย์
ถ้วนทุกอันแล
แลกุมารนั้น
นั่งกลางท้อง
     แม่
แลเอาหลังมา
 ต่อหลังท้อง
     แม่
เมื่อกุมารอยู่ใน
  ท้องแม่นั้น
ลำาบากนักหนา
ก็ชื้นและเหม็น
     กลิ่นตืด
แลเอือน ๘๐
   ครอก
อันว่าสายดือแห่งกุมารนัน กลวงดัง
                          ้
สายก้านบัว อันมีชื่อว่าอุบล จงอยไส้
ข้าวนำ้าอาหารใดอันแม่กินไสร้ แล
     โอชารสนันก็เป็นนำ้าชุม
               ้          ่
เข้าไปในไส้ดือนันแลเข้าไปในท้อง
                 ้
           กุมารนันแล
                   ้
เบื้องหลังกุมารนันต่อหลัง
                   ้
ท้องแม่ แลนั่งยองอยูในท้อง
                     ่
   แม่ แลกำามือทังสอง...
                 ้
กุมารนั้นอยูใน
              ่
ท้องแม่บ่ห่อนได้
หายใจเข้าออก
      เสียเลย
บ่ห่อนได้เหยียด
        ตีน
 เหยียดมือออก
  ดังเราท่านทั้ง
    ่
หลายนี้สักคาบ
        เลย
คนผู้ใดอยู่ในท้อง
 แม่ ๖ เดือน
แลคลอดบ่ห่อนจะ
 ได้สกคาบ
     ั
เมื่อจะออกจาก
 ท้องแม่ วันนั้น
       ไสร้
      จึงลม
 กรรมชวาต
 พัดให้หัวผู้
น้อยนั้นลงมา
 สู่ที่จะออก
 แลคับแคบ
   แอ่นยัน
ครั้นออกจากท้องแม่แต่นั้นไป เมื่อ
         หน้ากุมารนัน
                    ้
ผิแลคนผูมาแต่สวรรค์... ครั้น
         ้
      ว่าออกมาไสร้
ผิคนอันมาแต่นรกก็ดี แลมาแต่
 เปรตก็ดีมันคำานึงถึงความอัน
  ลำาบากนั้น ครั้นว่าออกมาก็
           ร้องไห้แล
น่าสังเกตไหมว่าเหตุใดผู้
แต่งจึงเข้าใจเรื่องกำาเนิด
มนุษย์อย่างความคิด
วิทยาศาสตร์ จนแทบไม่
น่าเชื่อว่านี่คอ
               ื
ผลงานกวีโบราณ
สรุปเนื้อหาไตรภูมิพระร่วง
ผูแต่ง
   ้
               ตอน มนุสสภูมิ
      – พระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไทย)เป็นกษัตริย์องค์ที่ 5
     ของสุโขทัย
ชื่อเดิม
      – เตภูมิกถา หรือ ไตรภูมิกถา
ความหมาย
      – เรื่องราวของสามโลก คือ กามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ
จุดมุ่งหมาย
     – ชี้ให้เห็นคุณและโทษของโลกทังสาม ทีมีแต่การแปรเปลี่ยนไม่
                                      ้      ่
     แน่นอน มีแต่อนิจจลักษณะ
     – ชี้ให้มนุษย์หาทางหลุดพ้นไปจากโลกทั้งสามเพื่อไปอยู่ในโลกุ
     ตรภูมิ หรือนิพพาน
     – เน้นเรื่องกฎแห่งกรรม โดยเริ่มเนื้อหาจากนรกภูมิ
ผลจากการฟัง – ทำาให้บรรลุนพพาน ิ
คุณค่า
ด้านวรรณคดี
 – เป็นหลักฐานแสดงให้เห็นว่าคนไทยรู้จักแต่งวรรณคดีตั้งแต่สมัย
   สุโขทัย
ด้านศาสนา
 – เป็นการนำาเสนอปรัชญาทางพุทธศาสนา
ด้านจริยธรรม
 – กำาหนดกรอบการปฏิบัติตนให้คนในสังคมทังผูปกครองและผูถูก
                                         ้ ้              ้
   ปกครอง ทำาให้สังคมสงบสุข
ด้านประเพณีและวัฒนธรรม
 – แสดงให้เห็นความเชื่อที่ตกทอดมาสู่ประเพณีและวัฒนธรรมใน
   ปัจจุบัน เช่น
 – การจัดดอกไม้ธปเทียนให้คนตายก่อนปิดฝาโลง เพื่อให้ผตายนำา
                  ู                                    ู้
   ดอกไม้นั้นไปสักการะพระจุฬามณีเจดียในสวรรค์
                                       ์
 – การเผาศพในเมรุเปรียบเสมือนการเดินทางขึ้นเขาพระสุเมรุไปสู่
   สวรรค์
ด้านศิลปะ
แนวคิด
    
– การเกิดในท้องมารดาเป็นทุกข์แบบหนึ่ง ไม่ใช่
   เรื่องน่ายินดีเลย
– กวีมความรู้เรื่องการกำาเนิดมนุษย์ตามแบบ
         ี
   วิทยาศาสตร์
การใช้ภาษา
– มีการใช้คำาเป็นจังหวะน่าฟัง
– มีการใช้คำาสัมผัสคล้องจอง
– มีการใช้โวหารภาพพจน์ โดยเฉพาะอุปมา
   โวหาร
การเกิดมนุษย์
• ปฏิสนธิ -> กัลละ (ขนาด เศษ 1 ส่วน256 ของ
  เส้นผม)
• 7 วัน     -> อัมพุทะ (นำ้าล้างเนื้อ)
• 14 วัน    -> เปสิ (ชิ้นเนื้อ)
• 21 วัน    -> ฆนะ (ก้อนเนื้อ, แท่งเนื้อ ขนาดเท่าไข่
  ไก่)
• 28 วัน    -> เบญจสาขาหูด (มีหว แขน2 ขา2) ครบ
                                      ั
  1 เดือน
• 35 วัน    -> มีฝ่ามือ นิ้วมือ ลายนิ้วมือ
• 42 วัน    -> มีขน เล็บมือ เล็บเท้า (เป็นมนุษย์ครบ
  สมบูรณ์)
• 50 วัน    -> ท่อนล่างสมบูรณ์
• 84 วัน    -> ท่อนบนสมบูรณ์
การคลอด/การเกิด

•   ท้อง 6 เดือนคลอด - >ไม่รอด
•   ท้อง 7 เดือนคลอด ->ไม่แข็งแรง
•   การเกิด
•   มาจากสวรรค์ -> ตัวเย็น ออกมาแล้วหัวเราะ
•   มาจากนรก -> ตัวร้อน ออกมาแล้วร้องไห้
•   *** ลมกรรมชวาต = ลมเกิดแต่กรรม ดันให้
    เด็กคลอดออกมา
กาลทั้ง 3 ของมนุษย์

• กาล 1 แรกเกิดในท้องแม่
• กาล 2 อยู่ในท้องแม่
• กาล 3 ออกจากในท้องแม่
• * คนธรรมดา ไม่รู้ตัว จำาไม่ได้ทั้ง 3 กาล
• * พระปัจเจกโพธิเจ้า/ พระอรหันตา
  ขีณาสพเจ้า / พระอัครสาวกเจ้า 2 กาลแรก
  รู้ตัว จำาได้ แต่ลืมกาลที่ 3
• *** ควรอิมสงสารแล = เกิดเป็นคนควรใช้
                ่
  ชีวิตให้คุ้มค่า
โวหารในไตรภูมิ
อุปมาโวหาร แสดงให้เห็นความทุกข์ของการเกิด
- เลือดแลนำ้าเหลืองย้อยลงเต็มตนทุกเมื่อแล ดุจดั่งลิงเมื่อฝน
   ตก แลนั่งกำามือเซาเจ่าอยู่ในโพรงไม้นั้นแล
- ในท้องแม่ร้อนนักหนา ดุจดังเราเอาใบตองเข้าจ่อตน แล
   ต้มในหม้อนั้นไซร้
- กุมารนั้นเจ็บเนื้อเจ็บตน ดั่งคนอันท่านขังไว้ในไหอันคับ
   แคบหนักหนา
- กุมารอยูในท้องแม่นั้นให้เจ็บเพียงจะตายแล ดุจดั่งลูก
             ่
   ทรายอันเพิ่งออกแล อยู่ธรห้อยผิบ่มิดุจดั่งคนอันเมาเหล้า(
   เหมือนลูกทรายโดนคนเมาเอาไปโยนเล่น) ผิบ่มดุจดั่งลูกงู
                                                   ิ
   อันหมองูเอาไปเล่น         นั้นแล
- เมื่อถึงจักคลอด ดุจดั่งฝูงนรกอันยมบาลกุมตีนแลหย่อนหัว
   ลงในขุมนรก อันลึกได้แลร้อยวา
- เมื่อกุมารคลอดออกจากท้องแม่ ออกแลไปบ่มพ้นตน ตน ิ
   เย็น(แม่)นั้นแลเจ็บเนื้อเจ็บตนนักหนา ดั่งช้างสารท่านชัก
ข้อสอบก่อนเรียน/หลังเรียน

1. ข้อใดแสดงให้เห็นว่าผู้แต่งเรื่องไตรภูมิพระร่วงเข้าใจเรื่อง
     กำาเนิดของมนุษย์อย่างความคิดทางวิทยาศาสตร์
   ก.  ฝูงตืดแลเอือนทั้งหลายนั้นคนกันอยู่ในท้องแม่ ตืดแลเอือน
     ฝูงนันเริมตัวกุมารนั้นไสร้
           ้
   ข.  ผิวรูปอันจะเกิดเป็นชายก็ดีเป็นหญิงก็ดี เกิดมีอาทิแต่เกิด
     เป็นกลละนันโดยใหญ่แต่ละวัน
                 ้
       แลน้อย
   ค.  เมื่อกุมารอยู่ในท้องแม่นนลำาบากหนักหนา พึงเกลียดพึง
                                ั้
     หน่ายพ้นประมาณนัก
       ก็ชื้นแลเหม็นกลินตืดแลเอือนอันได้ 80 ครอก
                        ่
   ง.  ด้วยอำานาจแห่งไฟธาตุอันร้อนนัน ส่วนตัวกุมารนั้นบ่มิไหม้
                                      ้
     เพราะว่าเป็นธรรมดาด้วยบุญ
       กุมารนั้นจะเป็นคนแล
2. ข้อใดคือจุดมุ่งหมายของเรื่อง “ไตรภูมิ
   พระร่วง”
    ก. เพื่อสะท้อนภาพชีวตของคนสมัยสุโขทัย
                           ิ
   ข. เพื่อสอนธรรมะของพระพุทธเจ้า
   ค. เพื่อสอนธรรมะแกประชาชนชาวสุโขทัยและ
   เป็นการเผยแผ่ทาง
       พระพุทธศาสนา
    ง. เพื่อชีนำาให้มนุษย์หาทางหลุดพ้นไปจากโลกทั้ง
              ้
   สามและไปอยู่ใน
       โลกและภพภูมิที่มีความสุขนิรันดร.
3. ข้อใดคือแนวคิดสำาคัญของไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ
   ก.  การเกิดเป็นมนุษย์เป็นความทุกข์อย่างยิ่ง
   ข.  การเกิดของมนุษย์ตามแนวคิดทางด้านวิทยาศาสตร์
   ค.  มนุษย์เกิดมาด้วยความยากลำาบากและมีทมาต่างๆ กัน
                                               ี่
   ง.  มนุษย์เมื่อแรกเกิดเป็นเพียง “กลละ” หรือเซลล์ที่มีขนาด
     เล็ก
4. ข้อใดรวมเรียกว่า “ไตรภูม”    ิ
  ก. สวรรคภูมิ มนุสสภูมิ นรกภูมิ
  ข. กามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ
  ค. โลกมนุษย์ สวรรค์ บาดาล
  ง. สุคติภูมิ ทุคติภูมิ ฉกามาพจร
5. สถานที่ใดจัดว่าเป็นดินแดนของผู้มีบุญ
  ก. อุตตรกุรุทวีป          ข. ชมพูทวีป
  ค. อมรโคยานทวีป ง. บุรพวิเทหทวีป
6. “......แต่กุมารนั้นอยู่ในท้องแม่ บ่ห่อนจะได้หายใจเข้าออก
  เสียเลย บ่ห่อนได้เหยียดตีนเหยียดมือออกดั่งเราท่านทั้ง
  หลายนี้สักคาบหนึ่งเลยแลกุมารนั้นเจ็บเนื้อเจ็บตนดั่งคนอัน
  ท่านขังไว้ในไหอันคับแคบหนักหนา แค้นเนื้อแค้นใจ แลเดือด
  เนื้อเดือดใจนักหนา.....”
  ลักษณะใดไม่ปรากฏในข้อความข้าง
  ก. การใช้โวหารภาพพจน์
  ข. การพรรณนาให้กลัวบาปกรรม
  ค. การใช้คำาทีเป็นจังหวะน่าฟัง
                ่
  ง. การซำ้าคำา ซ้อนคำาและการใช้วลีซำ้าๆ เพื่อเน้นความหมาย
7. ข้อใดเรียงลำาดับก่อน – หลัง เกี่ยวกับขั้นตอนการ
  เกิดของมนุษย์ได้ถกต้องู
  ก. กลละ ฆนะ เปสิ อัมพุทะ
  ข. อัมพุทะ เปสิ ฆนะ กลละ
  ค. กลละ อัมพุทะ เปสิ ฆนะ
  ง. อัมพุทะ ฆนะ กลละ เปสิ
8. “......เมือกุมารอยู่ในท้องแม่นั้นลำาบากนักหนา
             ่
  พึงเกลียดพึงหน่ายพ้นประมาณนัก ก็ชื้นแลเหม็น
  กลิ่นตืดแลเอือน.....”
         คำาว่า “เอือน” ในข้อความข้างต้นนี้ มีความ
  หมายตามข้อใด
          ก. พยาธิชนิดหนึ่ง        ข. นำ้าเหลือง
          ค. เลือด                 ง. สะอิดสะเอียน
9. ข้อใดเด่นที่สุดในการใช้คำาที่แสดงความเคลื่อนไหว เพื่อ
    สื่อให้เกิดจินตภาพ
  ก. ในท้องแม่นั้นร้อนนักหนา ดุจดั่งเราเอา ใบตองเข้าจ่อตน
    แลต้มในหม้อนั้นไสร้
  ข. มีปากอันแดงดั่งลูกฟักข้าวอันสุกนั้น แลมีลำาแข้งลำาขานัน  ้
    งามดังลำากล้วยทองฝาแฝด
          ่                                    นั้นแล
  ค. อีกฝูงเทวาฟ้าฝนนันก็ตกชอบฤดูกาล บ่มิน้อย บ่มิมาก ทัง
                       ้                                        ้
    ข้าวในนาทั้งปลาในนำ้าก็บ่ห่อน                  รู้ร่วงโรยเสีย
    ไปด้วยฝนแล้งเลย
  ง. ฝูงยมบาลเอาเชือกเหล็กแดงอันลุกเป็นไฟไล่ กระหวัดรัดตัว
    เขา แล้วตระบิดให้คอเขานัน ้                    ขาดออก
10.“.....แลมีฝูงผู้หญิงอันอยู่ในแผ่นดินนันงามทุกคน
                                         ้
   รูปทรงเขานั้นบ่มตำ่า บ่มิสูง บ่มพี
                      ิ             ิ          บ่มิผอม
   บ่มขาว บ่มิดำา สีสมบูรณ์ งามดั่งทองอันสุกเหลือง
       ิ
   เรืองเป็นทีพอใจฝูงชาย
               ่                   ทุกคนแลนิ้วตีนนิ้วมือ
   เขานั้น กลมงามนะแน่ง เล็บตีนเล็บมือเขานั้นแดงดัง       ่
   นำ้าครั่ง                    อันท่านแต่งแล้วแลแต้ม
   ไว้ แลสองแก้มเขานั้นไสร้ งามเป็นนวลดังแกล้งเอา
                                             ่
   แป้งผัด หน้าเขานันหมดเกลี้ยงปราศจากมลทินหา
                        ้
   ฝ้าหาไฝบ่มได้ แลเห็นดวงหน้าเขาไสร้
                 ิ                               ดุจดัง ่
   พระจันทร์วันเพ็งบูรณ์นั้น.....”
         “แผ่นดินนั้น” ในข้อความข้างต้นนี้หมายถึงแผ่น
   ดินใด
         ก. สวรรค์ชั้นดาวดึงส์          ข. สวรรค์ชน  ั้
   โสฬส
เฉลย
       ข้อสอบ
1. ข.                  6. ก.
2. ข.                7. ค.
3.ก.                   8. ก.
4.ข.                   9. ง.
5.ก.                  10. ค.
จบ
บริบูร

Contenu connexe

Tendances

จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
chonlataz
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราช
JulPcc CR
 
รังสีอัลตราไวโอเลต
รังสีอัลตราไวโอเลตรังสีอัลตราไวโอเลต
รังสีอัลตราไวโอเลต
Dashodragon KaoKaen
 
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
supatra2011
 
สมุดปกเหลือง
สมุดปกเหลืองสมุดปกเหลือง
สมุดปกเหลือง
Pimporn Ploy
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
Eyezz Alazy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
Padvee Academy
 

Tendances (20)

จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
 
ต่อมไทรอยด์
ต่อมไทรอยด์ต่อมไทรอยด์
ต่อมไทรอยด์
 
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐานอรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราช
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
 
รังสีอัลตราไวโอเลต
รังสีอัลตราไวโอเลตรังสีอัลตราไวโอเลต
รังสีอัลตราไวโอเลต
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๓ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๑)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๓ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๑)ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๓ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๑)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๓ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๑)
 
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิกใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
 
MDRO
MDROMDRO
MDRO
 
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
พระอนุรูทธเถระ
พระอนุรูทธเถระพระอนุรูทธเถระ
พระอนุรูทธเถระ
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
โลกธรรม ๘
โลกธรรม ๘โลกธรรม ๘
โลกธรรม ๘
 
สมุดปกเหลือง
สมุดปกเหลืองสมุดปกเหลือง
สมุดปกเหลือง
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโต
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 

Similaire à Tripoom

Power point คำราชาศัพท์
Power  point  คำราชาศัพท์Power  point  คำราชาศัพท์
Power point คำราชาศัพท์
Jazz Kanok-orn Busaparerk
 
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทรหยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
Panda Jing
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหน
Panda Jing
 
เฉลยข้อสอบ O net 53
เฉลยข้อสอบ O net 53เฉลยข้อสอบ O net 53
เฉลยข้อสอบ O net 53
monnawan
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
Padvee Academy
 
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
ปวริศา
 
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
Tongsamut vorasan
 
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
ปวริศา
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
panneem
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
panneem
 
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปดสำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
Tongsamut vorasan
 

Similaire à Tripoom (20)

ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
 
กำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลกำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาล
 
Power point คำราชาศัพท์
Power  point  คำราชาศัพท์Power  point  คำราชาศัพท์
Power point คำราชาศัพท์
 
Buddha
BuddhaBuddha
Buddha
 
มุตโตทัย
มุตโตทัยมุตโตทัย
มุตโตทัย
 
มนุษย์กับการสร้างสรรค์
มนุษย์กับการสร้างสรรค์มนุษย์กับการสร้างสรรค์
มนุษย์กับการสร้างสรรค์
 
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทรหยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหน
 
เฉลยข้อสอบ O net 53
เฉลยข้อสอบ O net 53เฉลยข้อสอบ O net 53
เฉลยข้อสอบ O net 53
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
 
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
 
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่อง จูเฬกสาฎก๑
แปลโดยพยัญชนะเรื่อง จูเฬกสาฎก๑แปลโดยพยัญชนะเรื่อง จูเฬกสาฎก๑
แปลโดยพยัญชนะเรื่อง จูเฬกสาฎก๑
 
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปดสำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O net
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
 

Plus de putchara

ประวัติส่วนตัวค่ะ
ประวัติส่วนตัวค่ะประวัติส่วนตัวค่ะ
ประวัติส่วนตัวค่ะ
putchara
 
ประวัติส่วนตัว11111
ประวัติส่วนตัว11111ประวัติส่วนตัว11111
ประวัติส่วนตัว11111
putchara
 
งานนำเสนอแบบฝึกอ่าน เขียน คำคล้องจอง
งานนำเสนอแบบฝึกอ่าน เขียน  คำคล้องจองงานนำเสนอแบบฝึกอ่าน เขียน  คำคล้องจอง
งานนำเสนอแบบฝึกอ่าน เขียน คำคล้องจอง
putchara
 
ภาษาไทย ป6 ทักษะการอ่านคำ
ภาษาไทย ป6 ทักษะการอ่านคำภาษาไทย ป6 ทักษะการอ่านคำ
ภาษาไทย ป6 ทักษะการอ่านคำ
putchara
 
วิชาภาษาไทย ช่วงชั้นที่ 4 เรื่องสำนวน
วิชาภาษาไทย ช่วงชั้นที่ 4 เรื่องสำนวนวิชาภาษาไทย ช่วงชั้นที่ 4 เรื่องสำนวน
วิชาภาษาไทย ช่วงชั้นที่ 4 เรื่องสำนวน
putchara
 
ภาษาไทยป.4 ช่วงชั้นที่2 แพนด้าน้อยท่องโลก
ภาษาไทยป.4 ช่วงชั้นที่2 แพนด้าน้อยท่องโลกภาษาไทยป.4 ช่วงชั้นที่2 แพนด้าน้อยท่องโลก
ภาษาไทยป.4 ช่วงชั้นที่2 แพนด้าน้อยท่องโลก
putchara
 
ภาษาไทย ป.3 การละเล่นของเด็กไทย
ภาษาไทย ป.3 การละเล่นของเด็กไทยภาษาไทย ป.3 การละเล่นของเด็กไทย
ภาษาไทย ป.3 การละเล่นของเด็กไทย
putchara
 
ภาษาไทย ป.2 เรื่องการเพิ่มคำศัพท์อักษร ร
ภาษาไทย ป.2 เรื่องการเพิ่มคำศัพท์อักษร รภาษาไทย ป.2 เรื่องการเพิ่มคำศัพท์อักษร ร
ภาษาไทย ป.2 เรื่องการเพิ่มคำศัพท์อักษร ร
putchara
 
ภาษาไทย ป.1 ผลไม้
ภาษาไทย ป.1 ผลไม้ภาษาไทย ป.1 ผลไม้
ภาษาไทย ป.1 ผลไม้
putchara
 
ภาษาไทย ชั้นป.4 การอ่าน(นิทานเรื่องดาวลูกไก่)
ภาษาไทย ชั้นป.4 การอ่าน(นิทานเรื่องดาวลูกไก่)ภาษาไทย ชั้นป.4 การอ่าน(นิทานเรื่องดาวลูกไก่)
ภาษาไทย ชั้นป.4 การอ่าน(นิทานเรื่องดาวลูกไก่)
putchara
 
ภาษามือไทย ป.4 เรื่องคำศัพท์ภาษามือ
ภาษามือไทย ป.4 เรื่องคำศัพท์ภาษามือภาษามือไทย ป.4 เรื่องคำศัพท์ภาษามือ
ภาษามือไทย ป.4 เรื่องคำศัพท์ภาษามือ
putchara
 
ภาษาไทย ไตรยางค์
ภาษาไทย ไตรยางค์ภาษาไทย ไตรยางค์
ภาษาไทย ไตรยางค์
putchara
 
ภาษาไทย ชั้นป.4 การอ่าน(นิทานเรื่องดาวลูกไก่)
ภาษาไทย ชั้นป.4 การอ่าน(นิทานเรื่องดาวลูกไก่)ภาษาไทย ชั้นป.4 การอ่าน(นิทานเรื่องดาวลูกไก่)
ภาษาไทย ชั้นป.4 การอ่าน(นิทานเรื่องดาวลูกไก่)
putchara
 

Plus de putchara (14)

ประวัติส่วนตัวค่ะ
ประวัติส่วนตัวค่ะประวัติส่วนตัวค่ะ
ประวัติส่วนตัวค่ะ
 
ประวัติส่วนตัว11111
ประวัติส่วนตัว11111ประวัติส่วนตัว11111
ประวัติส่วนตัว11111
 
งานนำเสนอแบบฝึกอ่าน เขียน คำคล้องจอง
งานนำเสนอแบบฝึกอ่าน เขียน  คำคล้องจองงานนำเสนอแบบฝึกอ่าน เขียน  คำคล้องจอง
งานนำเสนอแบบฝึกอ่าน เขียน คำคล้องจอง
 
Speak
SpeakSpeak
Speak
 
ภาษาไทย ป6 ทักษะการอ่านคำ
ภาษาไทย ป6 ทักษะการอ่านคำภาษาไทย ป6 ทักษะการอ่านคำ
ภาษาไทย ป6 ทักษะการอ่านคำ
 
วิชาภาษาไทย ช่วงชั้นที่ 4 เรื่องสำนวน
วิชาภาษาไทย ช่วงชั้นที่ 4 เรื่องสำนวนวิชาภาษาไทย ช่วงชั้นที่ 4 เรื่องสำนวน
วิชาภาษาไทย ช่วงชั้นที่ 4 เรื่องสำนวน
 
ภาษาไทยป.4 ช่วงชั้นที่2 แพนด้าน้อยท่องโลก
ภาษาไทยป.4 ช่วงชั้นที่2 แพนด้าน้อยท่องโลกภาษาไทยป.4 ช่วงชั้นที่2 แพนด้าน้อยท่องโลก
ภาษาไทยป.4 ช่วงชั้นที่2 แพนด้าน้อยท่องโลก
 
ภาษาไทย ป.3 การละเล่นของเด็กไทย
ภาษาไทย ป.3 การละเล่นของเด็กไทยภาษาไทย ป.3 การละเล่นของเด็กไทย
ภาษาไทย ป.3 การละเล่นของเด็กไทย
 
ภาษาไทย ป.2 เรื่องการเพิ่มคำศัพท์อักษร ร
ภาษาไทย ป.2 เรื่องการเพิ่มคำศัพท์อักษร รภาษาไทย ป.2 เรื่องการเพิ่มคำศัพท์อักษร ร
ภาษาไทย ป.2 เรื่องการเพิ่มคำศัพท์อักษร ร
 
ภาษาไทย ป.1 ผลไม้
ภาษาไทย ป.1 ผลไม้ภาษาไทย ป.1 ผลไม้
ภาษาไทย ป.1 ผลไม้
 
ภาษาไทย ชั้นป.4 การอ่าน(นิทานเรื่องดาวลูกไก่)
ภาษาไทย ชั้นป.4 การอ่าน(นิทานเรื่องดาวลูกไก่)ภาษาไทย ชั้นป.4 การอ่าน(นิทานเรื่องดาวลูกไก่)
ภาษาไทย ชั้นป.4 การอ่าน(นิทานเรื่องดาวลูกไก่)
 
ภาษามือไทย ป.4 เรื่องคำศัพท์ภาษามือ
ภาษามือไทย ป.4 เรื่องคำศัพท์ภาษามือภาษามือไทย ป.4 เรื่องคำศัพท์ภาษามือ
ภาษามือไทย ป.4 เรื่องคำศัพท์ภาษามือ
 
ภาษาไทย ไตรยางค์
ภาษาไทย ไตรยางค์ภาษาไทย ไตรยางค์
ภาษาไทย ไตรยางค์
 
ภาษาไทย ชั้นป.4 การอ่าน(นิทานเรื่องดาวลูกไก่)
ภาษาไทย ชั้นป.4 การอ่าน(นิทานเรื่องดาวลูกไก่)ภาษาไทย ชั้นป.4 การอ่าน(นิทานเรื่องดาวลูกไก่)
ภาษาไทย ชั้นป.4 การอ่าน(นิทานเรื่องดาวลูกไก่)
 

Tripoom

  • 1. สื่อการสอนประกอบ วิชาภาษาไทย ท ๓๓๑๐๑ เรือง ไตรภูมพระร่วง ่ ิ ตอน มนุสสภูมน์ เรืองจิร จัดทำาโดย นางสุชารัต ิ โรจน์ ครู อันดับ คศ. ๓ โรงเรียนอุดมดรุณี อำาเภอ เมือง จังหวัดสุโขทัย สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
  • 2. ไตรภูมิ พระร่วง แก้ววรรณกรรม พระราชนิพนธ์ ของ พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พญาลิไท) นัดดา ของ พ่อขุนรามคำาแหงมหาราช เมื่อครั้ง
  • 4. ไตรภูมิ คือ อะไร มิกถา เดิม เรียก เตภู คือ เรื่องราว ของสามโลก หรือ สาม ภูมิ ได้แก่
  • 5. กามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ
  • 7. โลกของผู้ยังติดอยู่ในกามกิเลส ๒ แดน มี ๑๑ ชั้น ๑. สุคติภูมิ ประกอบด้วย นุสสภูมิ และสวรรค์ ภูมิ คือ ฉกามาพจร - จาตุมหาราชิกา - ดาวดึงส์ - ยามา - ดุสต ิ - นิมมานรดี
  • 8. ๒. อบายภูมิ (ทุคติภูม) ิ แดนฝ่ายเสือม ่ ได้แก่ - นรก - ดิรัจฉานภูมิ - เปรตภูมิ
  • 10. รูป ภูมิ ที่อยู่ของพรหมที่มีรูปมี ทั้งสิ้น ๑๖ ชั้น ต้องบำาเพ็ญสมาธิจนได้
  • 13. ไตรภูมิพระร่วง สอนอะไร? “ความเปลี่ยนแปรของ สรรพสิ่ง คือ อนิจ จลักษณะ”
  • 14. มนุสสภูมิ กำาเนิดแห่ง มนุษย์ ในความเชื่อ ของพญาลิไท?
  • 15. เมือแรกเป็นเพียง “กลละ” ่ หรือ Cell ขนาดเล็ก
  • 17. โดยใหญ่แต่ละ วัน แลน้อย ครั้น ๗ วัน เรียกว่า อัมพุ ทะ ครัน ๗ วัน ้ วันขึ้น ดั่งตะกั่วเชื่อม อยู่ในหม้อ เรียกว่า เปสิ
  • 18. ฆนะ นันค่อยใหญ่ไปทุกวันครั้น ๗ ้ วัน เป็นตุ่มออกห้าแห่ง ดังหูดเรียกว่า เบญจสาขาหูด
  • 19. เบญจหูดนั้นเป็นมือ ๒ อัน เป็นตีน ๒ อัน
  • 20. แลแต่นั้น ค่อยไป เบื้องหน้า ทุกวันครั้น ๗ วัน เป็นฝ่ามือ เป็นนิ้วมือ นิ้วตีน
  • 21. คำารบ ๔๒ จึง เป็นขน เป็นเล็บตีน เล็บ มือ เป็นเครื่อง สำาหรับมนุษย์ ถ้วนทุกอันแล
  • 22. แลกุมารนั้น นั่งกลางท้อง แม่ แลเอาหลังมา ต่อหลังท้อง แม่
  • 24. อันว่าสายดือแห่งกุมารนัน กลวงดัง ้ สายก้านบัว อันมีชื่อว่าอุบล จงอยไส้
  • 25. ข้าวนำ้าอาหารใดอันแม่กินไสร้ แล โอชารสนันก็เป็นนำ้าชุม ้ ่ เข้าไปในไส้ดือนันแลเข้าไปในท้อง ้ กุมารนันแล ้
  • 26. เบื้องหลังกุมารนันต่อหลัง ้ ท้องแม่ แลนั่งยองอยูในท้อง ่ แม่ แลกำามือทังสอง... ้
  • 27. กุมารนั้นอยูใน ่ ท้องแม่บ่ห่อนได้ หายใจเข้าออก เสียเลย บ่ห่อนได้เหยียด ตีน เหยียดมือออก ดังเราท่านทั้ง ่ หลายนี้สักคาบ เลย
  • 28. คนผู้ใดอยู่ในท้อง แม่ ๖ เดือน แลคลอดบ่ห่อนจะ ได้สกคาบ ั
  • 29. เมื่อจะออกจาก ท้องแม่ วันนั้น ไสร้ จึงลม กรรมชวาต พัดให้หัวผู้ น้อยนั้นลงมา สู่ที่จะออก แลคับแคบ แอ่นยัน
  • 31.
  • 33. ผิคนอันมาแต่นรกก็ดี แลมาแต่ เปรตก็ดีมันคำานึงถึงความอัน ลำาบากนั้น ครั้นว่าออกมาก็ ร้องไห้แล
  • 35. สรุปเนื้อหาไตรภูมิพระร่วง ผูแต่ง ้ ตอน มนุสสภูมิ – พระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไทย)เป็นกษัตริย์องค์ที่ 5 ของสุโขทัย ชื่อเดิม – เตภูมิกถา หรือ ไตรภูมิกถา ความหมาย – เรื่องราวของสามโลก คือ กามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ จุดมุ่งหมาย – ชี้ให้เห็นคุณและโทษของโลกทังสาม ทีมีแต่การแปรเปลี่ยนไม่ ้ ่ แน่นอน มีแต่อนิจจลักษณะ – ชี้ให้มนุษย์หาทางหลุดพ้นไปจากโลกทั้งสามเพื่อไปอยู่ในโลกุ ตรภูมิ หรือนิพพาน – เน้นเรื่องกฎแห่งกรรม โดยเริ่มเนื้อหาจากนรกภูมิ ผลจากการฟัง – ทำาให้บรรลุนพพาน ิ
  • 36. คุณค่า ด้านวรรณคดี – เป็นหลักฐานแสดงให้เห็นว่าคนไทยรู้จักแต่งวรรณคดีตั้งแต่สมัย สุโขทัย ด้านศาสนา – เป็นการนำาเสนอปรัชญาทางพุทธศาสนา ด้านจริยธรรม – กำาหนดกรอบการปฏิบัติตนให้คนในสังคมทังผูปกครองและผูถูก ้ ้ ้ ปกครอง ทำาให้สังคมสงบสุข ด้านประเพณีและวัฒนธรรม – แสดงให้เห็นความเชื่อที่ตกทอดมาสู่ประเพณีและวัฒนธรรมใน ปัจจุบัน เช่น – การจัดดอกไม้ธปเทียนให้คนตายก่อนปิดฝาโลง เพื่อให้ผตายนำา ู ู้ ดอกไม้นั้นไปสักการะพระจุฬามณีเจดียในสวรรค์ ์ – การเผาศพในเมรุเปรียบเสมือนการเดินทางขึ้นเขาพระสุเมรุไปสู่ สวรรค์ ด้านศิลปะ
  • 37. แนวคิด      – การเกิดในท้องมารดาเป็นทุกข์แบบหนึ่ง ไม่ใช่ เรื่องน่ายินดีเลย – กวีมความรู้เรื่องการกำาเนิดมนุษย์ตามแบบ ี วิทยาศาสตร์ การใช้ภาษา – มีการใช้คำาเป็นจังหวะน่าฟัง – มีการใช้คำาสัมผัสคล้องจอง – มีการใช้โวหารภาพพจน์ โดยเฉพาะอุปมา โวหาร
  • 38. การเกิดมนุษย์ • ปฏิสนธิ -> กัลละ (ขนาด เศษ 1 ส่วน256 ของ เส้นผม) • 7 วัน -> อัมพุทะ (นำ้าล้างเนื้อ) • 14 วัน -> เปสิ (ชิ้นเนื้อ) • 21 วัน -> ฆนะ (ก้อนเนื้อ, แท่งเนื้อ ขนาดเท่าไข่ ไก่) • 28 วัน -> เบญจสาขาหูด (มีหว แขน2 ขา2) ครบ ั 1 เดือน • 35 วัน -> มีฝ่ามือ นิ้วมือ ลายนิ้วมือ • 42 วัน -> มีขน เล็บมือ เล็บเท้า (เป็นมนุษย์ครบ สมบูรณ์) • 50 วัน -> ท่อนล่างสมบูรณ์ • 84 วัน -> ท่อนบนสมบูรณ์
  • 39. การคลอด/การเกิด • ท้อง 6 เดือนคลอด - >ไม่รอด • ท้อง 7 เดือนคลอด ->ไม่แข็งแรง • การเกิด • มาจากสวรรค์ -> ตัวเย็น ออกมาแล้วหัวเราะ • มาจากนรก -> ตัวร้อน ออกมาแล้วร้องไห้ • *** ลมกรรมชวาต = ลมเกิดแต่กรรม ดันให้ เด็กคลอดออกมา
  • 40. กาลทั้ง 3 ของมนุษย์ • กาล 1 แรกเกิดในท้องแม่ • กาล 2 อยู่ในท้องแม่ • กาล 3 ออกจากในท้องแม่ • * คนธรรมดา ไม่รู้ตัว จำาไม่ได้ทั้ง 3 กาล • * พระปัจเจกโพธิเจ้า/ พระอรหันตา ขีณาสพเจ้า / พระอัครสาวกเจ้า 2 กาลแรก รู้ตัว จำาได้ แต่ลืมกาลที่ 3 • *** ควรอิมสงสารแล = เกิดเป็นคนควรใช้ ่ ชีวิตให้คุ้มค่า
  • 41. โวหารในไตรภูมิ อุปมาโวหาร แสดงให้เห็นความทุกข์ของการเกิด - เลือดแลนำ้าเหลืองย้อยลงเต็มตนทุกเมื่อแล ดุจดั่งลิงเมื่อฝน ตก แลนั่งกำามือเซาเจ่าอยู่ในโพรงไม้นั้นแล - ในท้องแม่ร้อนนักหนา ดุจดังเราเอาใบตองเข้าจ่อตน แล ต้มในหม้อนั้นไซร้ - กุมารนั้นเจ็บเนื้อเจ็บตน ดั่งคนอันท่านขังไว้ในไหอันคับ แคบหนักหนา - กุมารอยูในท้องแม่นั้นให้เจ็บเพียงจะตายแล ดุจดั่งลูก ่ ทรายอันเพิ่งออกแล อยู่ธรห้อยผิบ่มิดุจดั่งคนอันเมาเหล้า( เหมือนลูกทรายโดนคนเมาเอาไปโยนเล่น) ผิบ่มดุจดั่งลูกงู ิ อันหมองูเอาไปเล่น นั้นแล - เมื่อถึงจักคลอด ดุจดั่งฝูงนรกอันยมบาลกุมตีนแลหย่อนหัว ลงในขุมนรก อันลึกได้แลร้อยวา - เมื่อกุมารคลอดออกจากท้องแม่ ออกแลไปบ่มพ้นตน ตน ิ เย็น(แม่)นั้นแลเจ็บเนื้อเจ็บตนนักหนา ดั่งช้างสารท่านชัก
  • 42. ข้อสอบก่อนเรียน/หลังเรียน 1. ข้อใดแสดงให้เห็นว่าผู้แต่งเรื่องไตรภูมิพระร่วงเข้าใจเรื่อง กำาเนิดของมนุษย์อย่างความคิดทางวิทยาศาสตร์ ก.  ฝูงตืดแลเอือนทั้งหลายนั้นคนกันอยู่ในท้องแม่ ตืดแลเอือน ฝูงนันเริมตัวกุมารนั้นไสร้ ้ ข.  ผิวรูปอันจะเกิดเป็นชายก็ดีเป็นหญิงก็ดี เกิดมีอาทิแต่เกิด เป็นกลละนันโดยใหญ่แต่ละวัน ้ แลน้อย ค.  เมื่อกุมารอยู่ในท้องแม่นนลำาบากหนักหนา พึงเกลียดพึง ั้ หน่ายพ้นประมาณนัก ก็ชื้นแลเหม็นกลินตืดแลเอือนอันได้ 80 ครอก ่ ง.  ด้วยอำานาจแห่งไฟธาตุอันร้อนนัน ส่วนตัวกุมารนั้นบ่มิไหม้ ้ เพราะว่าเป็นธรรมดาด้วยบุญ กุมารนั้นจะเป็นคนแล
  • 43. 2. ข้อใดคือจุดมุ่งหมายของเรื่อง “ไตรภูมิ พระร่วง” ก. เพื่อสะท้อนภาพชีวตของคนสมัยสุโขทัย ิ ข. เพื่อสอนธรรมะของพระพุทธเจ้า ค. เพื่อสอนธรรมะแกประชาชนชาวสุโขทัยและ เป็นการเผยแผ่ทาง พระพุทธศาสนา ง. เพื่อชีนำาให้มนุษย์หาทางหลุดพ้นไปจากโลกทั้ง ้ สามและไปอยู่ใน โลกและภพภูมิที่มีความสุขนิรันดร.
  • 44. 3. ข้อใดคือแนวคิดสำาคัญของไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ ก.  การเกิดเป็นมนุษย์เป็นความทุกข์อย่างยิ่ง ข.  การเกิดของมนุษย์ตามแนวคิดทางด้านวิทยาศาสตร์ ค.  มนุษย์เกิดมาด้วยความยากลำาบากและมีทมาต่างๆ กัน ี่ ง.  มนุษย์เมื่อแรกเกิดเป็นเพียง “กลละ” หรือเซลล์ที่มีขนาด เล็ก 4. ข้อใดรวมเรียกว่า “ไตรภูม” ิ ก. สวรรคภูมิ มนุสสภูมิ นรกภูมิ ข. กามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ค. โลกมนุษย์ สวรรค์ บาดาล ง. สุคติภูมิ ทุคติภูมิ ฉกามาพจร
  • 45. 5. สถานที่ใดจัดว่าเป็นดินแดนของผู้มีบุญ ก. อุตตรกุรุทวีป ข. ชมพูทวีป ค. อมรโคยานทวีป ง. บุรพวิเทหทวีป 6. “......แต่กุมารนั้นอยู่ในท้องแม่ บ่ห่อนจะได้หายใจเข้าออก เสียเลย บ่ห่อนได้เหยียดตีนเหยียดมือออกดั่งเราท่านทั้ง หลายนี้สักคาบหนึ่งเลยแลกุมารนั้นเจ็บเนื้อเจ็บตนดั่งคนอัน ท่านขังไว้ในไหอันคับแคบหนักหนา แค้นเนื้อแค้นใจ แลเดือด เนื้อเดือดใจนักหนา.....” ลักษณะใดไม่ปรากฏในข้อความข้าง ก. การใช้โวหารภาพพจน์ ข. การพรรณนาให้กลัวบาปกรรม ค. การใช้คำาทีเป็นจังหวะน่าฟัง ่ ง. การซำ้าคำา ซ้อนคำาและการใช้วลีซำ้าๆ เพื่อเน้นความหมาย
  • 46. 7. ข้อใดเรียงลำาดับก่อน – หลัง เกี่ยวกับขั้นตอนการ เกิดของมนุษย์ได้ถกต้องู ก. กลละ ฆนะ เปสิ อัมพุทะ ข. อัมพุทะ เปสิ ฆนะ กลละ ค. กลละ อัมพุทะ เปสิ ฆนะ ง. อัมพุทะ ฆนะ กลละ เปสิ 8. “......เมือกุมารอยู่ในท้องแม่นั้นลำาบากนักหนา ่ พึงเกลียดพึงหน่ายพ้นประมาณนัก ก็ชื้นแลเหม็น กลิ่นตืดแลเอือน.....” คำาว่า “เอือน” ในข้อความข้างต้นนี้ มีความ หมายตามข้อใด ก. พยาธิชนิดหนึ่ง ข. นำ้าเหลือง ค. เลือด ง. สะอิดสะเอียน
  • 47. 9. ข้อใดเด่นที่สุดในการใช้คำาที่แสดงความเคลื่อนไหว เพื่อ สื่อให้เกิดจินตภาพ ก. ในท้องแม่นั้นร้อนนักหนา ดุจดั่งเราเอา ใบตองเข้าจ่อตน แลต้มในหม้อนั้นไสร้ ข. มีปากอันแดงดั่งลูกฟักข้าวอันสุกนั้น แลมีลำาแข้งลำาขานัน ้ งามดังลำากล้วยทองฝาแฝด ่ นั้นแล ค. อีกฝูงเทวาฟ้าฝนนันก็ตกชอบฤดูกาล บ่มิน้อย บ่มิมาก ทัง ้ ้ ข้าวในนาทั้งปลาในนำ้าก็บ่ห่อน รู้ร่วงโรยเสีย ไปด้วยฝนแล้งเลย ง. ฝูงยมบาลเอาเชือกเหล็กแดงอันลุกเป็นไฟไล่ กระหวัดรัดตัว เขา แล้วตระบิดให้คอเขานัน ้ ขาดออก
  • 48. 10.“.....แลมีฝูงผู้หญิงอันอยู่ในแผ่นดินนันงามทุกคน ้ รูปทรงเขานั้นบ่มตำ่า บ่มิสูง บ่มพี ิ ิ บ่มิผอม บ่มขาว บ่มิดำา สีสมบูรณ์ งามดั่งทองอันสุกเหลือง ิ เรืองเป็นทีพอใจฝูงชาย ่ ทุกคนแลนิ้วตีนนิ้วมือ เขานั้น กลมงามนะแน่ง เล็บตีนเล็บมือเขานั้นแดงดัง ่ นำ้าครั่ง อันท่านแต่งแล้วแลแต้ม ไว้ แลสองแก้มเขานั้นไสร้ งามเป็นนวลดังแกล้งเอา ่ แป้งผัด หน้าเขานันหมดเกลี้ยงปราศจากมลทินหา ้ ฝ้าหาไฝบ่มได้ แลเห็นดวงหน้าเขาไสร้ ิ ดุจดัง ่ พระจันทร์วันเพ็งบูรณ์นั้น.....” “แผ่นดินนั้น” ในข้อความข้างต้นนี้หมายถึงแผ่น ดินใด ก. สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ข. สวรรค์ชน ั้ โสฬส
  • 49. เฉลย ข้อสอบ 1. ข.          6. ก. 2. ข.                7. ค. 3.ก. 8. ก. 4.ข. 9. ง. 5.ก.        10. ค.