SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  6
Télécharger pour lire hors ligne
การทดลองที่ 9
                             เพนดูลัมอยางงาย (Simple Pendulum)

วัตถุประสงค
        1. เพื่อหาความสัมพันธระหวางคาบกับความยาวของแขนแพนดูลัม
        2. หาความสัมพันธระหวางมุมเริ่มตนกับคาบ
        3. เพื่อคาความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงของโลก ณ ตําแหนงที่ทําการทดลอง

อุปกรณ
          1.   แหลงกําเนิดรังสีอินฟราเรด
          2.   เครื่องวัดเวลาแบบดิจิตอล
          3.   ลูกบอลเหล็ก ลูกบอลพลาสติก
          4.   เสนเชือก
          5.   ขาตั้งพรอมมือจับ
          6.   ไมเมตร
          7.   แหลงจายไฟขนาด 6V 5A
          8.   ครึ่งวงกลม

ทฤษฎี
        เพนดูลัมอยางงายหรือลูกตุมนาฬิกาอยางงาย คือ วัตถุที่แขวนจากจุดตรึงแขนของเพนดูลัม
ซึ่งอาจจะเปนดาย เชือก หรือแทงวัตถุเล็กๆก็ได เมื่อดึงวัตถุไปจากตําแหนงสมดุลแลวปลอยวัตถุ
เคลื่อนที่ผานตําแหนงนี้โดยระนาบการแกวงจะอยูในแนวดิ่ง และแขนของเพนดูลัมจะทํามุม θ กับ
                                                
แนวดิ่ง ดังภาพที่ 9.1 เนื่องจากแรงดึงเพนดูลัมจะมีทิศพุงเขาหาตําแหนงสมดุลเสมอ
ปฏิบัติการฟสิกส 1                                                                      2



                                         ภาพที่ 9.1 แสดงเพนดูลัมอยางงาย
ดังนั้น               F = −mg sin θ                                          ...(9.1)
เมื่อ                 m = มวลเพนดูลม
                                   ั
                      g = ความเรงเนืองจากแรงโนมถวงของโลก
                                     ่
ถา θ เปนมุมเล็กมาก ไมเกิน 5 องศา
                      sin θ ≅ θ ≈ tan θ                                      ...(9.2)
                      F = − mgθ                                              …(9.3)
                              x
                      F = mg                                                 ...(9.4)
                             L
แตในการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายของสปริง
                      F = − kx                                               …(9.5)
                            k
                      ω2 =                                                   ...(9.6)
                            m
หรือ                  k = ω 2m                                               ...(9.7)
ดังนั้น          F = −ω 2 mx                                                 …(9.8)
สมการ (9.4) เทากับสมการ (9.8) ดังนั้น
                           g
                      ω2                                                     ...(9.9)
                           L
                               g
                      ω=
                               L
                      2π           g                L
                         =             หรือ T = 2π                           ...(9.10)
                      T            L                g
                                                   L
          จากสมการ (9.10) จะได           g = 4π 2 2                         ...(9.11)
                                                  T
       สมการ (9.10) และ (9.11) แสดงใหเห็นวา คาบการแกวง (T ) ของเพนดูลัมขึ้นอยูกับความ
ยาวของแขนเพนดูลัม (L ) และความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงของโลก (g ) ณ ตําแหนงทีทดลอง่
โดยไมไดข้นกับมวลของเพนดูลัมอยางใด
           ึ
ปฏิบัติการฟสิกส 1                                                                      3



                            ภาพที่ 9.2 แสดงสวนประกอบชุดทดลอง
ตอนที่ 1 ความสัมพันธระหวางคาบ กับ ความยาวของแขนเพนดูลัม
        ใหจบลูกตุมเบนไปทางดานขางใหเชือกเอียงไปจากแนวดิ่ง หรือแนวตําแหนงสมดุลเปน
            ั
มุมเล็กๆ แลวปลอยใหลูกตุมแกวง บันทึกคาความยาวของแขนเพนดูลัม และความสัมพันธระหวาง
                          
คาบตอไปใหเปลี่ยนเปนความยาวของแขนเพนดูลัมหลายๆ คา แลวปฏิบัติเชนเดิม โดยใหมุมที่เบน
ไปของเสนเชือกเทากันทุกครั้ง นําคาที่ไดไปหาความสัมพันธกันตอ

ตอนที่ 2 ความสัมพันธระหวางมุมเริ่มตนกับคาบ
        ใหความยาวของแขนเพนดูลัมคงที่ เมื่อทําใหเสนเชือกหรือแขนของเพนดูลัมเบนไปเปน
มุมตางๆ กันแตละมุม ปลอยใหลูกตุมแกวง บันทึกคามุมแลคาบของการแกวงแตละครั้ง แลวนําคา
มุมและคาบไปหาความสัมพันธกันตอ เมือความยาวของแขนเพนดูลมคงที่
                                       ่                     ั

ตอนที่ 3 ความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงของโลก ณ สถานที่ที่ทดลอง
        นําผลที่ไดจากการทดลองตอนที่ 1 คือคาคาบและความยาวของแขนเพนดูลมไปเขียนกราฟ
                                                                      ั
ความสัมพันธระหวาง L และ T 2 แลวหาคา g จากความชันของกราฟซึ่งจะสอดคลองกับสมการ
(9.11)
ปฏิบัติการฟสิกส 1                                         4




                          แบบบันทึกผลการทดลองที่ 9
                      เพนดูลัมอยางงาย (Simple Pendulum)

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
ปฏิบัติการฟสิกส 1                   5

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
ปฏิบัติการฟสิกส 1                                                                     6


                                   บรรณานุกรม
กานตธิดา บุญมา. 2551. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ปฏิบัตการฟสิกส 1.
                                                                ิ
        มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี.
โปรแกรมวิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. 2545. คูมอปฏิบัติการฟสกส 1. สถาบัน
                                                              ื             ิ
        ราชภัฏสุราษฎรธานี.
ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร.2541. ปฏิบัติการฟสิกสทั่วไป 1. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม
        เกลาธนบุรี
ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร. ม.ป.ป. คูมือปฏิบติการฟสิกส 1. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
                                                ั
        วิทยาเขต หาดใหญ
สาขาฟสิกส สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. 2542. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับ
        การวัด. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี.
สมพงษ ใจดี. 2542. ฟสิกสมหาวิทยาลัย 1. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
โครงการ พวส. สํานักงานสภาสถาบันราชภัฎ. 2545. คูมือปฏิบัติการฟสิกส 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ
                                                   
        คุรุสภาลาดพราว.
โครงการ พวส. สํานักงานสภาสถาบันราชภัฎ. 2544. คูมือปฏิบัติการฟสิกส 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ
                                                     
        คุรุสภาลาดพราว.
โครงการ พวส. สํานักงานสภาสถาบันราชภัฎ. 2545. คูมือครู วิชาฟสกส. นครปฐม: เพชรเกษมการ
                                                                 ิ
        พิมพ.
อภิชาติ พัฒนวิริยะพิศาล. 2548. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาฟสิกส 1. มหาวิทยาลัย
        ราชภัฏสุราษฎรธานี.

Contenu connexe

Tendances

เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่menton00
 
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงบทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงkroosarisa
 
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133cD67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133ckamonwan66_
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์Garsiet Creus
 

Tendances (20)

Momentum
MomentumMomentum
Momentum
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
 
เฉลย08งานพลังงาน
เฉลย08งานพลังงานเฉลย08งานพลังงาน
เฉลย08งานพลังงาน
 
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงบทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
 
โมเมนตัม
โมเมนตัมโมเมนตัม
โมเมนตัม
 
บทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัมบทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัม
 
P12
P12P12
P12
 
โมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชนโมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชน
 
งานพลังงาน
งานพลังงานงานพลังงาน
งานพลังงาน
 
Lesson05
Lesson05Lesson05
Lesson05
 
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133cD67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์
 
ใบความรู้เรื่องโมเมนตัม
ใบความรู้เรื่องโมเมนตัมใบความรู้เรื่องโมเมนตัม
ใบความรู้เรื่องโมเมนตัม
 
P13
P13P13
P13
 
08งานและพลังงาน
08งานและพลังงาน08งานและพลังงาน
08งานและพลังงาน
 
12การชนและโมเมนตัม
12การชนและโมเมนตัม12การชนและโมเมนตัม
12การชนและโมเมนตัม
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
P05
P05P05
P05
 

Similaire à การเคลื่อนที่แบบแพนดูลัม

กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equationsกฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s EquationsThepsatri Rajabhat University
 
เรื่องที่ 13 แสง
เรื่องที่ 13  แสงเรื่องที่ 13  แสง
เรื่องที่ 13 แสงthanakit553
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3Wijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3Wijitta DevilTeacher
 
ใบงาน แผน 08
ใบงาน แผน 08ใบงาน แผน 08
ใบงาน แผน 08witthawat silad
 

Similaire à การเคลื่อนที่แบบแพนดูลัม (9)

Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equationsกฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
 
Elect01
Elect01Elect01
Elect01
 
13.แสง
13.แสง13.แสง
13.แสง
 
เรื่องที่ 13 แสง
เรื่องที่ 13  แสงเรื่องที่ 13  แสง
เรื่องที่ 13 แสง
 
13.แสง
13.แสง13.แสง
13.แสง
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
ใบงาน แผน 08
ใบงาน แผน 08ใบงาน แผน 08
ใบงาน แผน 08
 

Plus de สายฝน ต๊ะวันนา

ข้อบังคับคุรุสภา การทำผิดจรรยาบรรณ 2553
ข้อบังคับคุรุสภา การทำผิดจรรยาบรรณ 2553ข้อบังคับคุรุสภา การทำผิดจรรยาบรรณ 2553
ข้อบังคับคุรุสภา การทำผิดจรรยาบรรณ 2553สายฝน ต๊ะวันนา
 
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546สายฝน ต๊ะวันนา
 
พรบ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ 2551
พรบ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ 2551พรบ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ 2551
พรบ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ 2551สายฝน ต๊ะวันนา
 
พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษาพรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษาสายฝน ต๊ะวันนา
 
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2553
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2553พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2553
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2553สายฝน ต๊ะวันนา
 
2 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน2550
2 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน25502 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน2550
2 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน2550สายฝน ต๊ะวันนา
 
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้น
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้นพรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้น
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้นสายฝน ต๊ะวันนา
 

Plus de สายฝน ต๊ะวันนา (20)

Hb5
Hb5Hb5
Hb5
 
5ข้อสอบ ชีววิทยา2 (82 75)
5ข้อสอบ ชีววิทยา2 (82 75)5ข้อสอบ ชีววิทยา2 (82 75)
5ข้อสอบ ชีววิทยา2 (82 75)
 
4ข้อสอบ ชีววิทยา (1 71)
4ข้อสอบ ชีววิทยา (1 71)4ข้อสอบ ชีววิทยา (1 71)
4ข้อสอบ ชีววิทยา (1 71)
 
ข้อบังคับคุรุสภา การทำผิดจรรยาบรรณ 2553
ข้อบังคับคุรุสภา การทำผิดจรรยาบรรณ 2553ข้อบังคับคุรุสภา การทำผิดจรรยาบรรณ 2553
ข้อบังคับคุรุสภา การทำผิดจรรยาบรรณ 2553
 
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546
 
พรบ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ 2551
พรบ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ 2551พรบ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ 2551
พรบ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ 2551
 
พรบ.คุ้มครองเด็ก 2546
พรบ.คุ้มครองเด็ก 2546พรบ.คุ้มครองเด็ก 2546
พรบ.คุ้มครองเด็ก 2546
 
พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษาพรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
 
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2553
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2553พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2553
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2553
 
2 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน2550
2 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน25502 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน2550
2 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน2550
 
อัตราว่าง
อัตราว่างอัตราว่าง
อัตราว่าง
 
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้น
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้นพรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้น
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้น
 
โมเมนต์
โมเมนต์โมเมนต์
โมเมนต์
 
การเคลื่อนที่แบบแพนดูลัม
การเคลื่อนที่แบบแพนดูลัมการเคลื่อนที่แบบแพนดูลัม
การเคลื่อนที่แบบแพนดูลัม
 
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
Sb2
Sb2Sb2
Sb2
 
วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2553 ชุด d
วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2553 ชุด dวิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2553 ชุด d
วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2553 ชุด d
 

การเคลื่อนที่แบบแพนดูลัม

  • 1. การทดลองที่ 9 เพนดูลัมอยางงาย (Simple Pendulum) วัตถุประสงค 1. เพื่อหาความสัมพันธระหวางคาบกับความยาวของแขนแพนดูลัม 2. หาความสัมพันธระหวางมุมเริ่มตนกับคาบ 3. เพื่อคาความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงของโลก ณ ตําแหนงที่ทําการทดลอง อุปกรณ 1. แหลงกําเนิดรังสีอินฟราเรด 2. เครื่องวัดเวลาแบบดิจิตอล 3. ลูกบอลเหล็ก ลูกบอลพลาสติก 4. เสนเชือก 5. ขาตั้งพรอมมือจับ 6. ไมเมตร 7. แหลงจายไฟขนาด 6V 5A 8. ครึ่งวงกลม ทฤษฎี เพนดูลัมอยางงายหรือลูกตุมนาฬิกาอยางงาย คือ วัตถุที่แขวนจากจุดตรึงแขนของเพนดูลัม ซึ่งอาจจะเปนดาย เชือก หรือแทงวัตถุเล็กๆก็ได เมื่อดึงวัตถุไปจากตําแหนงสมดุลแลวปลอยวัตถุ เคลื่อนที่ผานตําแหนงนี้โดยระนาบการแกวงจะอยูในแนวดิ่ง และแขนของเพนดูลัมจะทํามุม θ กับ  แนวดิ่ง ดังภาพที่ 9.1 เนื่องจากแรงดึงเพนดูลัมจะมีทิศพุงเขาหาตําแหนงสมดุลเสมอ
  • 2. ปฏิบัติการฟสิกส 1 2 ภาพที่ 9.1 แสดงเพนดูลัมอยางงาย ดังนั้น F = −mg sin θ ...(9.1) เมื่อ m = มวลเพนดูลม ั g = ความเรงเนืองจากแรงโนมถวงของโลก ่ ถา θ เปนมุมเล็กมาก ไมเกิน 5 องศา sin θ ≅ θ ≈ tan θ ...(9.2) F = − mgθ …(9.3) x F = mg ...(9.4) L แตในการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายของสปริง F = − kx …(9.5) k ω2 = ...(9.6) m หรือ k = ω 2m ...(9.7) ดังนั้น F = −ω 2 mx …(9.8) สมการ (9.4) เทากับสมการ (9.8) ดังนั้น g ω2 ...(9.9) L g ω= L 2π g L = หรือ T = 2π ...(9.10) T L g L จากสมการ (9.10) จะได g = 4π 2 2 ...(9.11) T สมการ (9.10) และ (9.11) แสดงใหเห็นวา คาบการแกวง (T ) ของเพนดูลัมขึ้นอยูกับความ ยาวของแขนเพนดูลัม (L ) และความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงของโลก (g ) ณ ตําแหนงทีทดลอง่ โดยไมไดข้นกับมวลของเพนดูลัมอยางใด ึ
  • 3. ปฏิบัติการฟสิกส 1 3 ภาพที่ 9.2 แสดงสวนประกอบชุดทดลอง ตอนที่ 1 ความสัมพันธระหวางคาบ กับ ความยาวของแขนเพนดูลัม ใหจบลูกตุมเบนไปทางดานขางใหเชือกเอียงไปจากแนวดิ่ง หรือแนวตําแหนงสมดุลเปน ั มุมเล็กๆ แลวปลอยใหลูกตุมแกวง บันทึกคาความยาวของแขนเพนดูลัม และความสัมพันธระหวาง  คาบตอไปใหเปลี่ยนเปนความยาวของแขนเพนดูลัมหลายๆ คา แลวปฏิบัติเชนเดิม โดยใหมุมที่เบน ไปของเสนเชือกเทากันทุกครั้ง นําคาที่ไดไปหาความสัมพันธกันตอ ตอนที่ 2 ความสัมพันธระหวางมุมเริ่มตนกับคาบ ใหความยาวของแขนเพนดูลัมคงที่ เมื่อทําใหเสนเชือกหรือแขนของเพนดูลัมเบนไปเปน มุมตางๆ กันแตละมุม ปลอยใหลูกตุมแกวง บันทึกคามุมแลคาบของการแกวงแตละครั้ง แลวนําคา มุมและคาบไปหาความสัมพันธกันตอ เมือความยาวของแขนเพนดูลมคงที่ ่ ั ตอนที่ 3 ความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงของโลก ณ สถานที่ที่ทดลอง นําผลที่ไดจากการทดลองตอนที่ 1 คือคาคาบและความยาวของแขนเพนดูลมไปเขียนกราฟ ั ความสัมพันธระหวาง L และ T 2 แลวหาคา g จากความชันของกราฟซึ่งจะสอดคลองกับสมการ (9.11)
  • 4. ปฏิบัติการฟสิกส 1 4 แบบบันทึกผลการทดลองที่ 9 เพนดูลัมอยางงาย (Simple Pendulum) ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………
  • 5. ปฏิบัติการฟสิกส 1 5 ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………
  • 6. ปฏิบัติการฟสิกส 1 6 บรรณานุกรม กานตธิดา บุญมา. 2551. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ปฏิบัตการฟสิกส 1. ิ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี. โปรแกรมวิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. 2545. คูมอปฏิบัติการฟสกส 1. สถาบัน ื ิ ราชภัฏสุราษฎรธานี. ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร.2541. ปฏิบัติการฟสิกสทั่วไป 1. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เกลาธนบุรี ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร. ม.ป.ป. คูมือปฏิบติการฟสิกส 1. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ั วิทยาเขต หาดใหญ สาขาฟสิกส สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. 2542. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับ การวัด. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. สมพงษ ใจดี. 2542. ฟสิกสมหาวิทยาลัย 1. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. โครงการ พวส. สํานักงานสภาสถาบันราชภัฎ. 2545. คูมือปฏิบัติการฟสิกส 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ  คุรุสภาลาดพราว. โครงการ พวส. สํานักงานสภาสถาบันราชภัฎ. 2544. คูมือปฏิบัติการฟสิกส 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ  คุรุสภาลาดพราว. โครงการ พวส. สํานักงานสภาสถาบันราชภัฎ. 2545. คูมือครู วิชาฟสกส. นครปฐม: เพชรเกษมการ  ิ พิมพ. อภิชาติ พัฒนวิริยะพิศาล. 2548. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาฟสิกส 1. มหาวิทยาลัย ราชภัฏสุราษฎรธานี.