SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
สาระ หลัก - การใช้ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง
ชนิดของคา
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๔.๑
ตัวชี้วัด
วิเคราะห์ชนิด และหน้าที่ของคาในประโยค
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
๑. อธิบายชนิดและหน้าที่ของคาสรรพนาม (K)
๒. วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคาสรรพนามในประโยค ( P)
๓. เห็นความสาคัญของชนิดและหน้าที่ของคาสรรพนาม
ในประโยค (A)
กัมปนาทพูดกับสุรเชษฐ์ว่า
“กัมปนาทต้องการให้สุรเชษฐ์ไปเที่ยวที่บ้านของ
กัมปนาท”
ให้นักเรียนแก้ไขข้อความในประโยคข้างต้น
โดยใช้คาแทนชื่อผู้พูดและผู้ฟังให้สละสลวย
เธอ เรา
มันข้าพเจ้า
คุณ
โยม
ฉัน
อาตมา
คาสรรพนาม
คาที่ใช้แทนคานาม มักจะใช้ในการพูด
เพื่อหลีกเลี่ยงการใช้คานามนั้นซ้าอีก
ประเภทของคาสรรพนาม
๑.บุรุษสรรพนาม
๒.ประพันธสรรพนาม
๓.วิภาคสรรพนาม
๔.นิยมสรรพนาม
๕.อนิยมสรรพนาม
๖. ปฤจฉาสรรพนาม
๑.บุรุษสรรพนาม (บุ-หรุด-สับ-พะ-นาม) เป็นสรรพนามที่ใช้
เรียกแทนคน คือ แทนชื่อผู้พูด ผู้ที่พูดด้วย (ผู้ฟัง) และผู้ที่ถูก
กล่าวถึง แบ่งออกได้ ๓ ชนิด คือ
สรรพนามบุรุษที่ ๑ คาที่ใช้แทนตัวผู้พูด เช่น ผม ฉัน ดิฉัน
สรรพนามบุรุษที่ ๒ คาที่ใช้แทนตัวผู้ฟัง เช่น คุณ เธอ
สรรพนามบุรุษที่ ๓ คาที่ใช้แทนตัวผู้ที่ถูกกล่าวถึง เช่น
เขา มัน ท่าน
คาสรรพนามบางคาสามารถนาไปใช้แทนได้ทั้งตัวผู้พูด ผู้ฟัง
และผู้ที่ถูกกล่าวถึง เช่น
“ท่าน” (ใช้แทนผู้ฟัง) ท่านพูดอภิปรายได้ดีมากค่ะ
“ท่าน” (ที่ใช้แทนผู้ที่ถูกกล่าวถึง)
พวกเราต้องช่วยกันส่งกาลังใจไปให้ท่าน
“เธอ” (ใช้แทนผู้ฟัง) เธออย่าขึ้นรถเมล์คันนั้นนะ
“เธอ” (ใช้แทนผู้ที่ถูกกล่าวถึง) คุณเคยเห็นน้องแพรไหม เธอ น่ารักมากๆ
๒.ประพันธสรรพนาม (ประ-พัน-ทะ-สับ-พะ-นาม) เป็น
สรรพนามที่ใช้แทนนามหรือสรรพนามที่กล่าวมาแล้วเพื่อย้า
ความ ได้แก่คาว่า ที่ ซึ่ง อัน
คนที่เป็นผู้พิพากษาต้องมีความยุติธรรม
หนังสือซึ่งวางอยู่ในห้องหายไปไหน
คุณได้ให้ของขวัญอันล้าค่ากับฉัน
๓.วิภาคสรรพนาม (วิ-พาก-สับ-พะ-นาม)
เป็นสรรพนาม ที่ใช้แยกนามหรือสรรพนามออกเป็นส่วนๆ
ได้แก่คาว่า ต่าง บ้าง กัน
นักเรียนต่างก็ขนของขึ้นรถโดยสาร
เด็กๆ บ้างก็อ่านหนังสือ บ้างก็วาดรูป
เราต้องช่วยเหลือกัน
๔.นิยมสรรพนาม (นิ-ยะ-มะ-สับ-พะ-นาม)
เป็นสรรพนามชี้เฉพาะเพื่อบอกความหมายเฉพาะเจาะจงและ
ชัดเจน ได้แก่คาว่า นี่ นั่น โน่น นู่น นู้น นั้น นี้ โน้น ฯลฯ
ตัวอย่าง
นี่ของใคร
นั่นคือเจ้าของร้าน
โน่นคือสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน
๕.อนิยมสรรพนาม (อะ-นิ-ยะ-มะ-สับ-พะ-นาม)
เป็นสรรพนามที่ใช้แทนนามทั่วๆไป ไม่ชี้เฉพาะเจาะจง และไม่
เป็นคาถามได้แก่คาว่า ใคร อะไร ไหน ใด ๆ ฯลฯ
ตัวอย่าง
ใครๆ ก็ไม่รักผม
ฉันไม่รู้ว่าอะไรทาให้เธอเปลี่ยนไป
ใดๆ ในโลกล้วนอนิจจัง
๖.ปฤจฉาสรรพนาม (ปริด-ฉา-สับ-พะ-นาม)
เป็นสรรพนามที่ใช้แทนนามแต่เป็นคาถาม หรือเรียกว่า
“สรรพนามที่ใช้เป็นคาถาม” ได้แก่คาว่า ใคร อะไร ไหน
ตัวอย่าง
ใครหยิบนาฬิกาของฉันไป
เธอต้องการอะไร
กระเป๋ าของฉันอยู่ไหน
หน้าที่ของคาสรรพนาม
๑. ทาหน้าที่เป็นประธานของประโยค เช่น
ใครมา นั่นเสื้อของใคร เขาเป็นคนดี
๒. ทาหน้าที่เป็นกรรมของประโยค เช่น
เธอดูนี่สิสวยไหม แม่ใช้ฉันไปตลาด
๓.ทาหน้าที่เป็นส่วนเติมเต็ม เช่น
ถ้าฉันเป็นเขานะฉันจะขยันมากกว่านี้
น้องนิดหน้าตาเหมือนเธอมาก
๔.ทาหน้าที่ตามหลังบุพบท เช่น
เธอเรียนที่ไหน
๕.ทาหน้าที่เป็นคาขยาย เช่น
สุดาหยิบกระเป๋ าใบนั้นให้หน่อย เธอเรียนที่ไหน
กิจกรรมที่ ๑ให้นักเรียนเติมคาสรรพนามลงในช่องว่างต่อไปนี้โดยคา
สรรพนามนั้นต้องเป็นคาสรรพนามที่ระบุไว้ในวงเล็บ
๑.ปากกา....................ฉันวางไว้หายไปไหน (สรรพนามเชื่อมประโยค)
๒. ..............................บอกว่าให้คอยสักครู่ (สรรพนามบุรุษที่ ๓)
๓. ..............................ในโลกไม่มีอะไรแน่นอน
(สรรพนามบอกความไม่เฉพาะเจาะจง)
๔. เด็กผู้หญิงเล่นตุ๊กตา.................................อย่างสนุกสนาน
(สรรพนามบอกความชี้ซ้า)
๕. .....................ต้องการกระดาษเช็ดหน้าบ้าง (สรรพนามใช้ถาม)
กิจกรรมที่ ๒ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว
๑. “เขาไม่เข้าใจในสิ่งที่เธอกาลังพูดอธิบายเกี่ยวกับลักษณะของเขาเลย”
ข้อความนี้มีคาสรรพนามกี่คา (นับคาซ้า)
ก. ๑ คา ข. ๒ คา ค. ๓ คา ง. ๔ คา
๒. “คนซึ่งฉันเคารพจากไปแล้ว” คาที่เป็นคาสรรพนามคือข้อใด
ก. คน, ซึ่ง ข. ซึ่ง, ฉัน
ค. คน, ฉัน ง. ฉัน, มาก
๓. ประโยคข้อใดมีการใช้คาสรรพนาม
ก. มนุษย์ย่อมไม่เบียดเบียนผู้อื่น ข. นักเรียนบ้างขยันบ้างขี้เกียจ
ค. คุณยายรู้สึกเวียนศีรษะมาก ง. ถนนช่วงนี้ขรุขระมากกว่าช่วงอื่น
๔. “ใคร” ในข้อใดเป็นคาสรรพนามไม่ชี้เฉพาะ
ก. ใครล่ะบอกเธอ ข. ใครจะไปกับฉันก็ได้
ค. ใครไม่ได้ส่งการบ้าน ง. เธอจะไปบ้านใคร
๕. คาสรรพนามในข้อใดทาหน้าที่เป็นกรรม
ก. คุณสมชายเขาไม่ค่อยตรงเวลาเลย
ข. คุณย่าท่านไม่ใคร่ได้พักผ่อน
ค. พระคุณเจ้าไปไหนมาคะ
ง. คุณพ่อตีมันเสียงดังสนั่น

More Related Content

What's hot

การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยbambookruble
 
โวหารภาพพจน์ครูอรุณศรี
โวหารภาพพจน์ครูอรุณศรีโวหารภาพพจน์ครูอรุณศรี
โวหารภาพพจน์ครูอรุณศรีKornnicha Wonglai
 
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศ
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศหน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศ
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศWilawun Wisanuvekin
 
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯนันทนา วงศ์สมิตกุล
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1Vorramon1
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยLilrat Witsawachatkun
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางNattha Namm
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒Manas Panjai
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 

What's hot (20)

การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
โวหารภาพพจน์ครูอรุณศรี
โวหารภาพพจน์ครูอรุณศรีโวหารภาพพจน์ครูอรุณศรี
โวหารภาพพจน์ครูอรุณศรี
 
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศ
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศหน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศ
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศ
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
คำอุทาน
คำอุทานคำอุทาน
คำอุทาน
 
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
คำไทยแท้
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทย
 
คำอุทาน
คำอุทานคำอุทาน
คำอุทาน
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
สถิติ
สถิติสถิติ
สถิติ
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 

Similar to คำสรรพนาม

งานนำเสนอคำสันธาน
งานนำเสนอคำสันธานงานนำเสนอคำสันธาน
งานนำเสนอคำสันธานKu'kab Ratthakiat
 
งานนำเสนอคำบุพบท
งานนำเสนอคำบุพบทงานนำเสนอคำบุพบท
งานนำเสนอคำบุพบทKu'kab Ratthakiat
 
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพการแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพพัน พัน
 
การแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรองการแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรองManee Prakmanon
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 

Similar to คำสรรพนาม (20)

คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
คำสันธาน 2
คำสันธาน 2คำสันธาน 2
คำสันธาน 2
 
งานนำเสนอคำสันธาน
งานนำเสนอคำสันธานงานนำเสนอคำสันธาน
งานนำเสนอคำสันธาน
 
คำอุทาน
คำอุทาน คำอุทาน
คำอุทาน
 
คำอุทาน
คำอุทานคำอุทาน
คำอุทาน
 
คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
 
คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
 
คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
 
คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
 
งานนำเสนอคำบุพบท
งานนำเสนอคำบุพบทงานนำเสนอคำบุพบท
งานนำเสนอคำบุพบท
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
18 พระบรมราโชวาท 2
18 พระบรมราโชวาท 218 พระบรมราโชวาท 2
18 พระบรมราโชวาท 2
 
คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์
 
คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์
 
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพการแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
 
การแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรองการแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรอง
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์
 

More from Ku'kab Ratthakiat

เฉลยแบบฝึก
เฉลยแบบฝึกเฉลยแบบฝึก
เฉลยแบบฝึกKu'kab Ratthakiat
 
เฉลยแบบฝึก
เฉลยแบบฝึกเฉลยแบบฝึก
เฉลยแบบฝึกKu'kab Ratthakiat
 
แบบทดสอบหลังเรียน
 แบบทดสอบหลังเรียน แบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียนKu'kab Ratthakiat
 
แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียนแบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียนKu'kab Ratthakiat
 
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำKu'kab Ratthakiat
 

More from Ku'kab Ratthakiat (9)

เฉลยแบบฝึก
เฉลยแบบฝึกเฉลยแบบฝึก
เฉลยแบบฝึก
 
เฉลยแบบฝึก
เฉลยแบบฝึกเฉลยแบบฝึก
เฉลยแบบฝึก
 
แบบทดสอบหลังเรียน
 แบบทดสอบหลังเรียน แบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียน
 
แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียนแบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน
 
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 

คำสรรพนาม