SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  16
CG and APPLICATION
CG ? ประเภทของภาพกราฟฟิกส์ การสร้างภาพกราฟฟิกส์ด้วยคอมพิวเตอร์ มีวิธีการสร้าง  2  แบบ คือ แบบบิตแมป (Bit Mapped)  และแบบเวกเตอร์ ( Vector) กราฟฟิกส์แบบบิตแมป กราฟฟิกส์แบบบิตแมปจะมีลักษณะเป็นช่อง ๆ เหมือนตาราง โดยแต่ละบิตก็คือส่วนหนึ่งของข้อมูล
VECTOR  CG จะต่างจากบิตแมปตรงที่บิตแมปนั้นประกอบไปด้วย จุดต่าง ๆ  แต่แบบเวกเตอร์จะใช้สูตรทางคณิตศาสตร์เป็นตัวสร้างภาพ โดยหลักก็คือ  การรวมคำสั่งทางคอมพิวเตอร์และสูตรทางคณิตศาสตร์เพื่ออธิบายเกี่ยวกับ  Object  ซึ่งจะปล่อยให้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์เป็นตัวกำหนดเองว่าจะวางจุดจริง ๆ ที่ตำแหน่งใดในการสร้างภาพ  คุณลักษณะเด่นเหล่านี้ทำให้กราฟฟิกส์แบบเวกเตอร์มีข้อได้เปรียบและข้อเสียเปรียบมากมายเมื่อเทียบกับแบบบิตแมป
APPLIED FROM CG  CG  กับการออกแบบ โปรแกรมการออกแบบเกี่ยวกับ  CG  ที่เราน่าจะรู้จักกันดีก็คือ  AUTO CAD  ซึ่งเป็นโปรแกรมการออกแบบทางวิศวกรรมที่เป็นที่นิยมมาก  เนื่องจากมีฟังก์ชันต่างๆที่สะดวกมากมาย
นอกจากนี้ถ้าเราออกแบบโครงสร้างใด ๆ ทางวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม  เราก็จะใช้  CAD  ช่วยในการออกแบบ และเมื่อเราออกแบบ  2  มิติ  เสร็จแล้ว ระบบก็จะสามารถจัดการให้เป็นภาพ  3  มิติ และยังสามารถ แสดงภาพที่มุมมองต่างๆกัน ได้ตามที่ผู้ออกแบบต้องการ
CG  กับภาพเคลื่อนไหว (animation) ปัจจุบันการนำเอา  CG  มาใช้กับภาพยนตร์การ์ตูนและภาพยนตร์ประเภทวิทยาศาสตร์มากขึ้น โดยเฉพาะการสร้างเกมคอมพิวเตอร์ต่างๆ เพราะเนื่องจากจะได้ภาพที่สมจริงและยังสะดวกกว่าการที่เราไปนั่งวาดเองมาก
ตัวอย่างของ  CG  ที่นำมาใช้ในเกม  WINNIG ELEVEN
CG  กับ ภาพยนตร์ ภาพยนตร์เรื่อง  Star War  ในปี ค . ศ . 1979  ได้มีการนำคอมพิวเตอร์ไปใช้สร้างเทคนิคพิเศษหลายด้าน โดยเฉพาะเทคนิคควบคุมการเคลื่อนกล้องด้วยคอมพิวเตอร์  ซึ่งเหตุนี้เองจึงทำให้ผู้สร้างภาพยนตร์เล็งเห็นความสำคัญของการนำคอมพิวเตอร์กราฟฟิกส์มาใช้ต่อมาเพิ่มมากขึ้นจนถึงปัจจุบัน
ต่อมาในปี    ค . ศ . 1991  บริษัทพิคซาร์และวอลดิสนีย์ได้ร่วมกันสร้างภาพยนตร์คอมพิวเตอร์  CG  เรื่องยาวเป็นเรื่องแรก    คือ    ทอยสตอรี่      (Toy Story)       จากนั้นก็มีหนังแนวนี้ออกมาเรื่อยๆ ทั้ง  Ant  ,  A  Bug Life , Shrek  ฯลฯ
นี่เป็นตัวอย่างภาพจากหนังเรื่อง  Space Jam  ซึ่งได้นำ ตัวการ์ตูนและมนุษย์มาเป็นตัวดำเนินเรื่อง   ซึ่งก็สามารถทำออกมา ได้น่าสนใจเลยทีเดียว
ด้านเทคนิคพิเศษทางภาพยนตร์ ที่ได้สร้างจุดเปลี่ยนแก่วงการภาพยนตร์นั้น  มาจากหนังเรื่อง  STAR TREK 2   ซึ่งมีฉากหนึ่งในเรื่องที่ชื่อว่า โครงการ  GENESIS  ซึ่งเกี่ยวกับการสร้างโลกใหม่ของมนุษย์  มี จุดเด่นคือ  เทคนิคที่แสดงภาพการระเบิดเป็นฝุ่นและกำแพงไฟที่ผิวดาวเคราะห์และขยายตัวไปอย่างรวดเร็ว จนทั่วทั้งดวงดาว
CG  กับทันตกรรม ได้มีระบบกราฟฟิกได้เข้ามาช่วยในการทำงานมากขึ้น เช่น ระบบ CEREC   อาศัยระบบ  CAD/CAM  เพื่อการออกแบบและสั่งกลึงชิ้นงานเซรามิกให้ได้ชิ้นงานสำหรับบูรณะฟันที่ พร้อมจะใส่ให้ผู้ป่วยได้ทันที
NobelGuide   เป็นระบบ  soft ware  ที่ทำงานร่วมกันอย่างกับภาพถ่ายกระดูก  3  มิติในระบบ  DIGITAL  CT  SCAN  เป็นแนวความคิดใหม่ที่ปฎิวัติวงการรากเทียมด้วยวิธีการใหม่ในการ วางแผนการรักษาและการผ่าตัด
Procera®System     โดยการสแกนแบบฟันที่ต้องการทำด้วยเครื่อง  Scanner  ออกแบบรูปร่างด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์  3  มิติ ส่งผ่านข้อมูลทาง  Internet  ไปยังศูนย์การผลิต และผลิตโดยใช้หุ่นยนตร์ ซึ่งทำให้เห็นได้ว่ามีการนำ ระบบ CG   มาใช้ในงานทันตกรรมมากขึ้น และต่อไปในอนาคตก็คงจะมี การพัฒนานำ  CG  มาใช้เพื่อให้งาน  ทันตกรรมมีประสิทธิภาพในการรักษาและให้บริการมากขึ้น
จบการนำเสนอครับ พีรพัฒน์  เจียรนันทะ 07500633
แหล่งอ้างอิง http :// www . geocities . com / http :// www . vcharkarn . com / www.google.co.th

Contenu connexe

Similaire à Cg

01 intro computergraphic
01 intro computergraphic01 intro computergraphic
01 intro computergraphicpisandesign
 
ประเภทของภาพกราฟฟิค
ประเภทของภาพกราฟฟิคประเภทของภาพกราฟฟิค
ประเภทของภาพกราฟฟิคwattikorn_080
 
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิกใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิกวาสนา ใจสุยะ
 
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิกการจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิกprimpatcha
 
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิกการจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิกprimpatcha
 
ใบงานท 7
ใบงานท   7ใบงานท   7
ใบงานท 7Winwin Nim
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection MappingJump' Kmutt
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection MappingJump' Kmutt
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection MappingJump' Kmutt
 
ใบงานที่ 6 -11
ใบงานที่ 6 -11ใบงานที่ 6 -11
ใบงานที่ 6 -11Panit Jaijareun
 
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกjumjim2012
 
ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8Patpeps
 

Similaire à Cg (17)

01 intro computergraphic
01 intro computergraphic01 intro computergraphic
01 intro computergraphic
 
ประเภท
ประเภทประเภท
ประเภท
 
ประเภทของภาพกราฟฟิค
ประเภทของภาพกราฟฟิคประเภทของภาพกราฟฟิค
ประเภทของภาพกราฟฟิค
 
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิกใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
 
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิกการจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
 
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิกการจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
 
Mindmap2graphic
Mindmap2graphicMindmap2graphic
Mindmap2graphic
 
ใบงานท 7
ใบงานท   7ใบงานท   7
ใบงานท 7
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection Mapping
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection Mapping
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection Mapping
 
3 d virtual studio present
3 d virtual studio present3 d virtual studio present
3 d virtual studio present
 
ใบงานที่ 6 -11
ใบงานที่ 6 -11ใบงานที่ 6 -11
ใบงานที่ 6 -11
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
Mapping
MappingMapping
Mapping
 
ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8
 

Cg

  • 2. CG ? ประเภทของภาพกราฟฟิกส์ การสร้างภาพกราฟฟิกส์ด้วยคอมพิวเตอร์ มีวิธีการสร้าง 2 แบบ คือ แบบบิตแมป (Bit Mapped) และแบบเวกเตอร์ ( Vector) กราฟฟิกส์แบบบิตแมป กราฟฟิกส์แบบบิตแมปจะมีลักษณะเป็นช่อง ๆ เหมือนตาราง โดยแต่ละบิตก็คือส่วนหนึ่งของข้อมูล
  • 3. VECTOR CG จะต่างจากบิตแมปตรงที่บิตแมปนั้นประกอบไปด้วย จุดต่าง ๆ แต่แบบเวกเตอร์จะใช้สูตรทางคณิตศาสตร์เป็นตัวสร้างภาพ โดยหลักก็คือ การรวมคำสั่งทางคอมพิวเตอร์และสูตรทางคณิตศาสตร์เพื่ออธิบายเกี่ยวกับ Object ซึ่งจะปล่อยให้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์เป็นตัวกำหนดเองว่าจะวางจุดจริง ๆ ที่ตำแหน่งใดในการสร้างภาพ คุณลักษณะเด่นเหล่านี้ทำให้กราฟฟิกส์แบบเวกเตอร์มีข้อได้เปรียบและข้อเสียเปรียบมากมายเมื่อเทียบกับแบบบิตแมป
  • 4. APPLIED FROM CG CG กับการออกแบบ โปรแกรมการออกแบบเกี่ยวกับ CG ที่เราน่าจะรู้จักกันดีก็คือ AUTO CAD ซึ่งเป็นโปรแกรมการออกแบบทางวิศวกรรมที่เป็นที่นิยมมาก เนื่องจากมีฟังก์ชันต่างๆที่สะดวกมากมาย
  • 5. นอกจากนี้ถ้าเราออกแบบโครงสร้างใด ๆ ทางวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม เราก็จะใช้ CAD ช่วยในการออกแบบ และเมื่อเราออกแบบ 2 มิติ เสร็จแล้ว ระบบก็จะสามารถจัดการให้เป็นภาพ 3 มิติ และยังสามารถ แสดงภาพที่มุมมองต่างๆกัน ได้ตามที่ผู้ออกแบบต้องการ
  • 6. CG กับภาพเคลื่อนไหว (animation) ปัจจุบันการนำเอา CG มาใช้กับภาพยนตร์การ์ตูนและภาพยนตร์ประเภทวิทยาศาสตร์มากขึ้น โดยเฉพาะการสร้างเกมคอมพิวเตอร์ต่างๆ เพราะเนื่องจากจะได้ภาพที่สมจริงและยังสะดวกกว่าการที่เราไปนั่งวาดเองมาก
  • 7. ตัวอย่างของ CG ที่นำมาใช้ในเกม WINNIG ELEVEN
  • 8. CG กับ ภาพยนตร์ ภาพยนตร์เรื่อง Star War ในปี ค . ศ . 1979 ได้มีการนำคอมพิวเตอร์ไปใช้สร้างเทคนิคพิเศษหลายด้าน โดยเฉพาะเทคนิคควบคุมการเคลื่อนกล้องด้วยคอมพิวเตอร์ ซึ่งเหตุนี้เองจึงทำให้ผู้สร้างภาพยนตร์เล็งเห็นความสำคัญของการนำคอมพิวเตอร์กราฟฟิกส์มาใช้ต่อมาเพิ่มมากขึ้นจนถึงปัจจุบัน
  • 9. ต่อมาในปี   ค . ศ . 1991 บริษัทพิคซาร์และวอลดิสนีย์ได้ร่วมกันสร้างภาพยนตร์คอมพิวเตอร์ CG เรื่องยาวเป็นเรื่องแรก   คือ   ทอยสตอรี่    (Toy Story)     จากนั้นก็มีหนังแนวนี้ออกมาเรื่อยๆ ทั้ง Ant , A Bug Life , Shrek ฯลฯ
  • 10. นี่เป็นตัวอย่างภาพจากหนังเรื่อง Space Jam ซึ่งได้นำ ตัวการ์ตูนและมนุษย์มาเป็นตัวดำเนินเรื่อง ซึ่งก็สามารถทำออกมา ได้น่าสนใจเลยทีเดียว
  • 11. ด้านเทคนิคพิเศษทางภาพยนตร์ ที่ได้สร้างจุดเปลี่ยนแก่วงการภาพยนตร์นั้น มาจากหนังเรื่อง STAR TREK 2 ซึ่งมีฉากหนึ่งในเรื่องที่ชื่อว่า โครงการ GENESIS ซึ่งเกี่ยวกับการสร้างโลกใหม่ของมนุษย์ มี จุดเด่นคือ เทคนิคที่แสดงภาพการระเบิดเป็นฝุ่นและกำแพงไฟที่ผิวดาวเคราะห์และขยายตัวไปอย่างรวดเร็ว จนทั่วทั้งดวงดาว
  • 12. CG กับทันตกรรม ได้มีระบบกราฟฟิกได้เข้ามาช่วยในการทำงานมากขึ้น เช่น ระบบ CEREC อาศัยระบบ CAD/CAM เพื่อการออกแบบและสั่งกลึงชิ้นงานเซรามิกให้ได้ชิ้นงานสำหรับบูรณะฟันที่ พร้อมจะใส่ให้ผู้ป่วยได้ทันที
  • 13. NobelGuide เป็นระบบ soft ware ที่ทำงานร่วมกันอย่างกับภาพถ่ายกระดูก 3 มิติในระบบ DIGITAL CT SCAN เป็นแนวความคิดใหม่ที่ปฎิวัติวงการรากเทียมด้วยวิธีการใหม่ในการ วางแผนการรักษาและการผ่าตัด
  • 14. Procera®System โดยการสแกนแบบฟันที่ต้องการทำด้วยเครื่อง Scanner ออกแบบรูปร่างด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3 มิติ ส่งผ่านข้อมูลทาง Internet ไปยังศูนย์การผลิต และผลิตโดยใช้หุ่นยนตร์ ซึ่งทำให้เห็นได้ว่ามีการนำ ระบบ CG มาใช้ในงานทันตกรรมมากขึ้น และต่อไปในอนาคตก็คงจะมี การพัฒนานำ CG มาใช้เพื่อให้งาน ทันตกรรมมีประสิทธิภาพในการรักษาและให้บริการมากขึ้น
  • 16. แหล่งอ้างอิง http :// www . geocities . com / http :// www . vcharkarn . com / www.google.co.th