SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
ระดับชั้ นการศึกษาปี ที่ 4 โรงเรียนชลราษฎรอารุง
จังหวัดชลบุรี
ชื่อเรื่อง ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหารภายใน
โรงเรียน ของนักเรียนโรงเรียนชลราษฎรอารุงจังหวัดชลบุรี ปีการศึกษา 2556
ครูที่ปรึกษา นายคณพศ อินทเคหะ
ก ฤ ต ภ า ส ค ง ป ร ะ ส ม 4 0 9 0 8
จิ ร า ภ า วุ ฒิ เ ก ตุ 4 4 2 4 6
ชุ ติ ม า สุ ด ส วัส ดิ์ 4 4 3 2 3
ว ริ ฬ ฆ ะ สั น ต์ 4 0 8 9 6
นิ รุ ต ติ์ เ รื อ ง ศ รี 4 1 0 4 3
น ว พ ล พัน ธุ์ ว ร 4 0 9 3 8
ภัท ทิ ย ะ ภู มิ ภัท ร กุ ล 4 1 2 1 2
ภ า นุ พ ง ศ์ อุ ด ม รั ต น์ 4 1 1 6 2
สุ มิ ต ต า ป า น เ ด ย์ 4 4 2 5 3
อ ริ ส า ก า ร จ น เ จ ริ ญ สุ ข 4 4 2 5 4
 การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนโรงเรียนชลราษฎร-อารุงต่อการให้บริการโรงอาหาร
ทั้งหมด4 ด้าน ดังนี้ ด้านคุณภาพและการบริการด้านพ่อค้า-แม่ค้าผู้ให้บริการด้านราคา และด้านสิ่งแวดล้อม
 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนโรงเรียนชลราษฎรอารุงจานวน 200 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา2556โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนโรงเรียนชลราษฎรอารุงที่มีต่อการให้บริการโรงอาหาร
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือค่าร้อยละและค่าเฉลี่ย
 ผลจากการศึกษาพบว่านักเรียนที่ใช้บริการโรงอาหารภายในโรงเรียนชลราษฎรอารุงความพึงพอใจโดยภาพรวมและ
หลายด้าน ได้แก่ ด้านคุณภาพและการบริการด้านพ่อค้าแม่ค้าผู้ให้บริการด้านสถานที่และสิ่งแวดล้อม ด้านการส่งเสริม
การตลาด ภาพรวม อยู่ในระดับความพึงพอใจปานกลางเมื่อพิจารณาด้านคุณภาพและการบริการ ด้านพ่อค้าแม่ค้าผู้ให้บริการ
ด้านสถานที่และสิ่งแวดล้อมมีความพึงพอใจ อยู่ในระดับปานกลางส่วนด้านราคา มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
โครงงานฉบับนี้สาเร็จลงได้ด้วยดี เนื่องด้วยความกรุณาของ อาจารย์คณพศ อินทเคหะ และ อาจารย์อาภากร
โพธิ์แก้ว ที่ปรึกษาโครงงาน IS ที่กรุณาให้คาปรึกษา แนะนาและตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ของ
โครงงานจนกระทั่งโครงงานฉบับนี้สาเร็จ ขอบพระคุณไว้ณ โอกาสนี้ด้วย
ขอขอบคุณนักเรียนของโรงเรียนชลราษฎรอารุง ที่ให้ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถามในการทาโครงงาน
ในครั้งนี้
ขอบคุณเพื่อนนักเรียนทุกท่าน ที่ให้คาแนะนาและเป็นกาลังใจในการทาโครงงาน ฉบับนี้จนสาเร็จ ขอกราบ
ขอบพระคุณ คุณพ่อ คุณแม่ พี่ๆ และน้อง ที่อยู่เบื้องหลังคอยให้กาลังใจ และสนับสนุน ในการทาโครงงานนี้จน
สาเร็จ
คณะผู้จัดทา
25 กุมภาพันธ์ 2557
ที่มาและความสาคัญของปัญหา
โรงเรียนชลราษฎรอารุง เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในอาเภอเมือง จังหวัดชลบุรี โดยมีชื่อที่เรียกกันติดปากของชาว
ชลบุรีว่า “ชลชาย” โรงเรียนชลราษฎรอารุง ตั้งอยู่เลขที่ 215 หมู่ที่ 3 ถนนพระยาสัจจา ตาบลบ้านสวน อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัด
ชลบุรี สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ มีเนื้อที่ 67 ไร่ 2 งาน 69.7 ตารางวา เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (มัธยมศึกษาปีที่ 1– มัธยมศึกษาปี
ที่ 3) เปิดสอนเฉพาะนักเรียนชายเท่านั้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (มัธยมศึกษาปีที่ 4 – มัธยมศึกษาปีที่ 6) เปิดสอน
แบบสหศึกษา โรงเรียนชลราษฎรอารุง มีประวัติและความเป็นมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันน่าศึกษาและน่าภาคภูมิใจได้พยายาม
ค้นคว้า และรวบรวม จากคาบอกเล่า หนังสืออนุสรณ์โรงเรียนชลราษฎรอารุง จากหอสมุดแห่งหนึ่งซึ่งเขียนไว้โดย อาจารย์
เรวัต ชื่นสาราญ เป็นหลัก โรงเรียนนี้มีกาเนิดมาจากโรงเรียนวัด ซึ่งถือเป็นโรงเรียนดั้งเดิมของการจัดชั้นมัธยมศึกษาระดับ
จังหวัดหรือที่ เรียกว่า โรงเรียนประจาจังหวัดสมัยเก่า
เริ่มก่อตั้ง พ.ศ. 2411 โดย หลวงพินิจบุรพการ ได้อุทิศเรือนหลังหนึ่งสร้างเป็นโรงเรียนขึ้นที่วัดต้นสนเรียกว่า
โรงเรียนพินิจบุรพการ พระวินัยธรเข้ม พ.เป็นครูใหญ่ ต่อมาได้ยกฐานะเป็นโรงเรียนประจาจังหวัดชลบุรี เมื่อปีพ.ศ.
2453 3 มิถุนายน 2484 เป็นวันแรกที่ย้ายโรงเรียน และนักเรียนจากสถานที่เดิม ซึ่งเรียนกันมาตั้งแต่ พ.ศ. 2460 มา
เปิดใหม่ ณ สถานที่โรงเรียนริมถนนสุขุมวิท(สาย 27) บนเนื้อที่ประมาณ 13 ไร่ ซึ่งเป็นที่ดินของวัดอรัญญิกาวาส
เพื่อขยายโรงเรียนให้กว้างขวางขึ้นหลังจากนั้นโรงเรียนได้พัฒนาการเรียนการสอนโดยเปิดสอนระดับเตรียม
อุดมศึกษา และเปลี่ยนชื่อโรงเรียนใหม่ เป็น“โรงเรียนชลราษฎรอารุง” ในปัจจุบันชาวส้มฟ้า จึงถือว่า วันที่ 3
มิถุนายน ของทุกปี เป็นวันเกิดของโรงเรียน
อาคาร 1 มี 3 ชั้น ตึกอานวยการ ธุรการ และกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นที่ 3 มีห้องอัจฉริยภาพภาษาต่างประเทศ
อาคาร 2 มี 4 ชั้น กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้น 1,2 และ 3 มีสะพานเชื่อมต่อกับ อาคาร 5 ชั้นล่างเป็น
ห้องพักครูกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และส่วนที่ติดกับ อาคาร 2 (ห้องน้าชาย)เป็นห้องพักครูกลุ่มสาระการ
เรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นที่ 2 มีห้องศูนย์การเรียนรู้อาเซียน ชั้นที่ 3 มีห้องจริยศึกษา ชั้นที่ 4 มีห้องภูมิปัญญาไทย
อาคาร 3 มี 3 ชั้น กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
อาคาร 4 มี 6 ชั้นและดาดฟ้า(ปิด) ของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โครงการห้องเรียนสีเขียว พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ ห้องประชุม
ห้องโสดและห้องชุมชน
อาคาร 5 มี 4 ชั้น ชั้นที่ 1 และชั้นที่ 2 เป็นของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ส่วนชั้นที่ 3 ชั้นที่ 4 เป็นของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
อาคาร 7 อบจ.อุทิศ ห้องประชุมสารภี
อาคาร 8 พระยาสัจจาภิรมย์หอประชุม/ โรงอาหาร/ ห้องสมุด/ ห้องคอมพิวเตอร์
และยังมีอาคารและพื้นที่อื่นๆอีก ได้แก่ อาคารแนะแนว ,อาคารฝ่ายปกครองนักเรียน ,อาคารฝ่ายประชาสัมพันธ์ ,หอพระพุทธมงคลชล
ประชานาถ ,อนามัยโรงเรียน ,ธนาคารโรงเรียน ,ลานรวมใจส้ม-ฟ้า ,โรงฝึกงาน 1-4 ,อาคารเกษตร ,โรงยิมเนเซียม ,อาคารอเนกประสงค์
ศูนย์กีฬา ,สนามบาสเกตบอล ,สนามฟุตซอล ,ศาลาจัตุรมุข ,สนามฟุตบอล และเขตบ้านพักครู-บุคลากร
บริเวณชั้น1 ของอาคาร 8 มีร้านอาหารมากมายให้นักเรียนสามารถเลือกรับประทานได้ตาม
ความชอบ ภายในโรงอาหารของโรงเรียนได้มีร้านอาหารไว้บริการ ในราคาที่ประหยัดและรสชาติที่
อร่อย ซึ่งจะมีบริการด้านอาหาร และเครื่องดื่ม ร้านอาหารภายในโรงเรียนได้แก่ ร้านข้าวแกง ร้าน
ก๋วยเตี๋ยว ร้านสเต็ก และ ร้านเครื่องดื่มเป็นต้น
เรื่องอาหารนั้นถือเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ของคนไทย ซึ่งในปัจจุบันนี้การรับประทานอาหาร
นั้นต้อง ให้ถูกต้องตามหลักของโภชนาการและถูกสุขอนามัยตามนโยบาย อาหารปลอดภัย ในสถานที่
ศึกษาที่มี มาตรฐาน และเพื่อสุขภาพพลานามัยของผู้ใช้บริการ จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่งานโภชนาการ
จาเป็นต้องให้บริการแก่ผู้รับบริการอย่างดี
ด้วยเหตุผลดังกล่าวนี้ผู้จัดทาโครงงานจึงสนใจที่จะทาการสารวจความพึงพอใจผู้ใช้บริการโรงอาหาร
ของโรงเรียนเพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุง พัฒนางานบริการโภชนาการให้ดี ยิ่งขึ้นต่อไป
1.เพื่อศึกษาถึงระดับความพึงพอใจในการใช้บริการโรง
อาหารภายในโรงเรียนชลราษฎรอารุง
2. เพื่อศึกษาถึงปัจจัยส่วนบุคคลเกี่ยวกับผู้ตอบ
แบบสอบถาม
3. เพื่อปรับปรุงโรงอาหาร ความสะอาด และ
สภาพแวดล้อมของโรงอาหาร
1. นักเรียนมีความพึงพอใจในการใช้บริการโรงอาหารภายใน
โรงเรียนชลราษฎรอารุง
2.นักเรียนที่มีชั้นปีแตกต่างกันมีความพึงพอใจในการใช้บริการ
โรงอาหารภายในโรงเรียนชลราษฎรอารุง
3.นักเรียนที่มีจานวนวันที่เข้าใช้บริการโรงอาหารต่อสัปดาห์
ต่างกันมีความพึงพอใจในการใช้บริการโรงอาหารภายในโรงเรียนชล
ราษฎรอารุง
ขอบเขตการศึกษา
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาผู้จัดทาได้สารวจนักเรียนที่ใช้บริการโรงอาหารภายในโรงเรียนชลราษฎรอารุงซึ่ง
จานวนนักเรียนในโรงเรียนชลราษฎร-อารุงมีทั้งหมด 3,938 คน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา
กลุ่มตัวอย่างเพื่อการศึกษาครั้งนี้เป็นนักเรียนโรงเรียนชลราษฎรอารุงกาหนดขนาดกลุ่มด้วยอย่างตามสัดส่วน
ชองประชากรโดยใช้สตรูคานวณ N/n =(จานวนประชากรทั้งหมด (3,938 คน))/(จานวนกลุ่มตัวอย่าง (200) )
เนื้อหา
เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนโรงเรียนชลราษฎรอารุงที่ใช้บริการโรงอาหาร
ระยะเวลา
ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ดาเนินการใน เดือนมกราคม พ.ศ.2557 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
นิยามศัพท์
นักเรียน หมายความ ผู้เรียนในโรงเรียนระดับอนุบาล ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา (บางครั้ง
อาจใช้ในความหมายกว้างหมายถึง ผู้ศึกษาในสถานศึกษาทั้งหมดก็ได้)
โรงอาหาร หมายถึง สถานที่จาหน่ายอาหารและเครื่องดื่ม
ความพึงพอใจในการใช้บริการของโรงอาหาร หมายถึง การแสดงความรู้สึกในทางบวก ต่อสิ่ง
ที่ได้รับการตอบสนองตามความต้องการหรือตามความคาดหวังของผู้รับบริการหรือมีความรู้สึก ชอบ พอใจ
ที่ได้รับการบริการของโรงอาหารอาหาร แบ่งเป็น 5 ด้าน ดังนี้
1.ด้านคุณภาพและการบริการ
2.ด้านพ่อค้าแม่ค้าผู้ให้บริการ
3.ด้านราคา
4.ด้านสถานที่และสภาพแวดล้อม
5. ด้านการส่งเสริมการตลาด
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.ได้รับทราบถึงระดับความพึงพอใจของนักเรียนที่ใช้บริการ
โรงอาหารภายในโรงเรียนชลราษฎรอารุง
2.ได้รับทราบเกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรคในการใช้บริการโรง
อาหารของนักเรียนโรงเรียนชลราษฎรอารุง
3.ผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถนาข้อเสนอแนะต่างๆของผู้ใช้บริการไป
ปรับปรุงแก้ไขให้ดียิ่งขึ้น
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ในการศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึกษาได้ศึกษาเอกสารงานที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจของนักเรียนที่ใช้
บริการ โรงอาหารภายในโรงเรียนชลราษฎรอารุง และเพื่อให้ทราบถึงแนวคิด ทฤษฎี หลักการที่เกี่ยวข้องกับ
การ ค้นคว้า และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
ทฤษฎีและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจในการบริการ
1. ความหมายของความพึงพอใจ
2. ความหมายของการบริการ
3. ทฤษฎีความพึงพอใจในการบริการ
บทที่3
วิธีดาเนินการศึกษา
ในการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาและการเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักเรียนในการใช้
บริการโรง อาหารภายในโรงเรียนชลราษฎรอารุงได้ดาเนินการตามขั้นตอนดังนี้
ระบบวิธีการที่ใช้ในการศึกษา
ในการศึกษาใช้รู้แบบการสารวจ สืบค้นข้อมูล จากหนังสือ อินเตอร์เน็ต และตอบ
แบบสอบถาม
ประชากรที่ใช้ในการศึกษา
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นนักเรียนโรงเรียนชลราษฎรอารุง จานวน 3,938 คน
กลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่นักเรียนโรงเรียนชลราษฎรอารุง ทั้งสิ้น 3,938
คน ได้มาโดยสุ่มอย่างง่าย จานวน 200 คน เพื่อตอบแบบสอบถามที่สร้างขึ้น
ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา
ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา เดือนมกราคม พ.ศ. 2557 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
วิธีการดาเนินงาน
ผู้ศึกษาได้ดาเนินการตามขั้นตอนดังนี้กาหนดเรื่องที่จะศึกษา โดยสมาชิกทั้งหมด 10 คน
ประชุมร่วมกัน และร่วมกันคิด และ กาหนดเรื่องที่จะศึกษา โดยสมาชิกทั้งหมด 10 คน ประชุมร่วมกัน
และร่วมกันคิดและวางแผนว่าจะศึกษาเรื่องใด สารวจปัญหาที่พบในโรงเรียน ซึ่งมีปัญหาด้านภาพลักษณ์
สิ่งแวดล้อม สุขลักษณะในโรงอาหารของโรงเรียนชลราษฎรอารุง
เลือกเรื่องที่จะศึกษา โดยเลือกเรื่องที่สมาชิกมีความสนใจมากที่สุด เพื่อเป็นแรงจูงใจใน
การค้นหาคาตอบศึกษาแนวคิดในการแก้ปัญหา(ในข้อนี้ยังไม่สามารถดาเนินการได้เนื่องจากการเรียนวิชา
IS 2 เวลามีจากัด ผู้ศึกษาจึงทาได้แต่สารวจความคิดเห็นและสร้างแบบสอบถาม ศึกษาเพียงเพื่อให้
ความรู้ ความเข้าใจเรื่องกระบวนการวิจัยเท่านั้น
ตั้งชื่อเรื่อง
สมาชิกทั้ง 10 คน พบครูผู้สอนเพื่อปรึกษา วางแผนและรับฟังความคิดเห็น ปรับปรุง แก้ไขเขียน
ความสาคัญของปัญหา วัตถุประสงค์สมมุติฐาน ขอบเขตการวิจัยและ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
โดยศึกษาข้อมูลจากหนังสือ วิทยาพนธ์ และสืบค้นข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต และจดบันทึกในโครง
ร่างรายงานเชิงวิชาการสร้างเครื่องมือ ที่เป็นแบบสอบถามจานวน 22 ข้อนาเครื่องมือที่ปรับปรุง
แล้วไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ แบบสอบถาม(หรือแบบประเมินความพึงพอใจ)
1ฉบับซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
ออกแบบสอบถาม เรื่อง ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหารภายในโรงเรียนของนักเรียน
โรงเรียนชลราษฎรอารุงจังหวัดชลบุรี โดยคาแนะนาจาก อาจารย์คณพศ อินทเคหะ และ อาจารย์อาภากร โพธิ์แก้ว
โดยเตรียมร่างข้อคาถาม มีลักษณะเป็นข้อคาถามจานวน 22 ข้อ เป็นแบบมาตราส่วนประมาณ 5 ระดับ คือ
5 คะแนน หมายถึง มีความพึงพอใจในการใช้บริการมากที่สุด
4 คะแนน หมายถึง มีความพึงพอใจในการใช้บริการมาก
3 คะแนน หมายถึง มีความพึงพอใจในการใช้บริการปานกลาง
2 คะแนน หมายถึง มีความพึงพอใจในการใช้บริการน้อย
1 คะแนน หมายถึง มีความพึงพอใจในการใช้บริการน้อยที่สุด
ค่าเฉลี่ย 4.50 - 5.00 หมายถึง ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด
ค่าเฉลี่ย 3.50 - 4.49 หมายถึง ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
ค่าเฉลี่ย 2.50 - 3.49 หมายถึง ความพึงพอใจอยู่ในระดับปลานกลาง
ค่าเฉลี่ย 1.50 - 2.49 หมายถึง ความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อย
ค่าเฉลี่ย 1.00 - 1.49 หมายถึง ความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อยที่สุด
สร้างแบบสอบถามเรื่อง ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหารภายในโรงเรียนของนักเรียน
โรงเรียนชลราษฎรอารุงจังหวัดชลบุรี โดยคาแนะนาจาก อาจารย์คณพศ อินทเคหะ และ อาจารย์อาภากร โพธิ์
แก้ว จากนั้นนามาปรับปรุงแก้ไขแล้วนาไปตรวจสอบความเหมาะสมนาแบบสอบถามเรื่อง ความพึ่งพอใจใน
การใช้บริการโรงอาหารภายในโรงเรียน ของนักเรียนโรงเรียนชลราษฎรอารุงจังหวัดชลบุรี ที่แก้ไขปรับปรุง
แล้วให้กลุ่มตัวอย่างประเมิน หลังจากนั้นนาผลที่ได้มาหาค่าเฉลี่ย
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การศึกษาครั้งนี้ได้ดาเนินการโดยนาแบบสอบถามที่สร้างขึ้นให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างตอบ
จานวน 200 คน และเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักเรียน ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างโดยผู้ศึกษาทั้ง 10 คน ดาเนินการเก็บ
รวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง
วิเคราะห์ข้อมูล
ในการวิเคราะห์ข้อมูลผู้ศึกษาได้วิเคราะห์ข้อมูลดังนี้ นาแบบสอบถามทั้งหมดที่ตอบโดยนักเรียน
กลุ่มตัวอย่าง มาหาค่าคะแนนรวมนาผลรวมมาคิดค่าร้อยละ
สถิติที่ใช้ในการศึกษา
สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ การหาค่าเฉลี่ยคิดเป็น ร้อยละ
บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์และการนาเสนอผลของการศึกษาเรื่องความพึงพอใจในการใช้บริการ
โรงอาหาร ภายในโรงเรียนชลราษฎรอารุง จังหวัดชลบุรี นาเสนอในรูปตารางประกอบคาโดยแบ่ง
การนาเสนอเป็น ดังนี้
1.ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม
2.ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการโรงอาหารภายใน
โรงเรียนชลราษฎรอารุง
3.ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของความพึงพอใจของผู้ใช้บริการโรงอาหาร
จาแนกตาม ปัจจัยส่วนบุคคลได้แก่ เพศช่วงชั้นการศึกษา และจานวนวันที่ใช้บริการโรงอาหารต่อ
สัปดาห์
4.ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆของผู้ใช้บริการโรงอาหารจากแบบสอบถาม
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม แบบสอบถามมี
จานวน 3 ข้อ ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามในด้านเพศผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับ
ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามในด้านเพศ ปรากฏผลดัง
าพที่ 1 ร้อยละของปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามในด้านเพศ
จากตารางที่ 1 และภาพที่ 1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่ได้แก่ เพศหญิง คิดเป็น
ร้อยละ 58 % ที่เหลือได้แก่ เพศชาย คิดเป็นร้อยละ 42%
เพศ
ชาย
หญิง
58%
42%
ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามในด้านระดับชั้น
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามในด้านระดับชั้น
ปรากฏผล ดัง
ตารางที่ 2 และภาพที่ 2
ตารางที่2 จานวนและค่าร้อยละของปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามในด้านชั้นปี
ระดับชั้น จานวน ร้อยละ
มัธยมศึกษาตอนต้น 42 21
มัธยมศึกษาตอนปลาย 158 79
าพที่ 2 ร้อยละของปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามในด้านระดับชั้น
จากตารางที่ 2 และภาพที่ 2 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วน
ใหญ่เป็นนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย คิดเป็นร้อย ละ 79 และน้อยที่สุด
คือ มัธยมศึกษาตอนต้น คิดเป็นร้อยละ 21
ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามในด้านจานวนวันที่เข้าใช้บริการโรงอาหารต่อสัปดาห์
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามในด้านจานวน
วันที่ใช้ บริการโรงอาหารต่อสัปดาห์ปรากฏผลดัง
ตารางที่ 3 และภาพที่ 3
ตารางที่3จานวนและค่าร้อยละของปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามในด้านจานวนวันที่ใช้
บริการโรงอาหารต่อสัปดาห์
จานวนวันที่ใช้บริการโรง-
อาหารต่อสัปดาห์
จานวน ร้อยละ
น้อยกว่า 3 วัน 9 4.5
3-5 วัน 188 94
มากกว่า 5 วัน 3 1.5
รวม 200 100
าพที่3 ร้อยละของปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามในด้านจานวนวันที่ใช้บริการ
โรงอาหารต่อสัปดาห์
จากตารางที่ 3และภาพที่ 3 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีจานวน
วันใช้บริการโรงอาหาร น้อยกว่า 3 วันต่อสัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 4.5% รองลงมาคือ 3-5
วันต่อสัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 94% และ น้อยที่สุดคือ มากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์ คิดเป็น
ร้อยละ 1.5%
2. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการโรงอาหาร
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการโรง
อาหารภายในโรงเรียนชลราษฎรอารุง ทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ ด้านคุณภาพและการบริการ
ด้านพ่อค้าแม่ค้าผู้ให้บริการ ด้านราคา ด้านสถานที่ และสิ่งแวดล้อม และด้านการ
ส่งเสริมการตลาด
ด้านคุ าพและการบริการ
รายการประเมิน
ด้านความพึงพอใจของนักเรียนที่ใช้
บริการโรงอาหาร
ระดับคะแนนความพึงพอใจ
มากที่สุด
5
มาก
4
ปานกลาง
3
น้อย
2
น้อยที่สุด
1
ผล ระดับ
1.รสชาติของอาหารและเครื่องดื่ม 25.5 10.5 16.3 23.5 24 2.9
2.ความเป็นมาตรฐานของอาหารและ
เครื่องดื่ม
34.5 6 39 11 9.5 3.5
3. ความหลากหลายของอาหาร 18.5 29 21 26.5 5 3.3
4.ความสะอาดของอาหารและ
เครื่องดื่ม
22.5 5.5 28.5 26 17.5 2.9
5.ความสะอาดของภาชนะบรรจุ
อาหาร
39 40.5 4.5 9.5 6.5 4
6.มีหม้อน้าร้อนสาหรับล้างช้อน-ส้อม 5 6.5 23.5 34 31 3.9
7.ความสด ความใหม่ ความร้อนของ
อาหาร
46 39. 5 7 3.5 4 4.2
รวมผล 2.47 น้อย
ตารางที่ 4 ระดับความพึงพอใจของนักเรียนที่ใช้บริการโรงอาหารภายในโรงเรียนชลราษฎรอารุง
ด้านคุณภาพและบริการ มีความพึงพอใจ ความเป็นมาตรฐานของอาหารและเครื่องดื่ม ความ
สะอาดของภาชนะบรรจุอาหาร หม้อน้าร้อนสาหรับล้างช้อน-ส้อม ความสด ความใหม่ ความร้อนของ
อาหารอยู่ในอันดับมาก และมีความพอใจใน รสชาติของอาหารและเครื่องดื่มความหลากหลายของอาหาร
ความสะอาดของอาหารและเครื่องดื่มอยู่ในระดับปานกลาง
ตารางที่ 5 ระดับความพึงพอใจของนักเรียนที่ใช้บริการโรงอาหารภายในโรงเรียนชลราษฎรอารุง
ด้านพ่อค้า – แม่ค้า ผู้ให้บริการ
รายการประเมิน
ด้านความพึงพอใจของนักเรียนที่ใช้
บริการโรงอาหาร
ระดับคะแนนความพึงพอใจ
มากที่สุด
5
มาก
4
ปานกลาง
3
น้อย
2
น้อยที่สุด
1
ผล ระดับ
1. แต่งกายสะอาด และสุภาพ 54 30.5 6 2.5 7 4.2 ปานกลาง
2.มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี 72.5 8.5 5.5 8.5 5 4.4 มาก
3.ใช้วาจาสุภาพ 36.5 48 6 5 4.5 4.07 มาก
4.มีความเอาใจใส่ต่อลูกค้า 50.5 9 36 1 3.5 4.04 มาก
5.ให้บริการด้วยความเต็มใจ 44.5 26.5 4 19.5 5.5 3.8 มาก
รวมผล 2.051 น้อย
ด้านพ่อค้า–แม่ค้า ผู้ให้บริการ นักเรียนมีความพึงพอใจใน การมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี ใช้วาจา
สุภาพ มีความเอาใจใส่ต่อลูกค้า ให้บริการด้วยความเต็มใจ ของพ่อค้า–แม่ค้า ผู้ให้บริการอยู่ในระดับ
มาก และมีความพึงพอใจในการแต่งกายสะอาด และสุภาพของพ่อค้า-แม่ค้า ผู้ให้บริการ อยู่ใน
ระดับปานกลาง
ตารางที่ 6 ระดับความพึงพอใจของนักเรียนที่ใช้บริการโรงอาหารภายในโรงเรียนชลราษฎรอารุง
ด้านราคา
รายการประเมิน
ด้านความพึงพอใจของนักเรียนที่ใช้
บริการโรงอาหาร
ระดับคะแนนความพึงพอใจ
มากที่สุด
5
มาก
4
ปานกลาง
3
น้อย
2
น้อยที่สุด
1
ผล ระดับ
1.ความเหมาะสมของราคาอาหารเมื่อ
เทียบกับปริมาณอาหาร
75.5 6.5 8.5 2.5 7 4.4 มาก
2.ราคาอาหารมีความเหมาะสมเมื่อ
เทียบกับคุณภาพ
16 16.5 30.5 24 13 3 ปานกลาง
3.มีป้ายบอกราคาที่เห็นได้ชัดเจน 8.5 12 19 29.5 35 2.4 น้อย
4.เครื่องดื่มมีหลายราคา 25.5 34 12 17.5 11 3.5 มาก
5.อาหารมีหลายราคา 37 25.5 17 19 11.5 3.9 มาก
รวมผล 1.72 น้อยที่สุด
ด้านราคา นักเรียนมีความพึงพอใจใน ความเหมาะสมของราคาอาหารเมื่อเทียบกับปริมาณ
อาหาร เครื่องดื่มมีหลายราคา อาหารมีหลายราคา อยู่ในระดับมาก มีความพึงพอใจในราคาอาหารมี
ความเหมาะสมเมื่อเทียบกับคุณภาพ อยู่ในระดับปานกลาง และ มีความพึงพอใจใน มีป้ายบอกราคา
ที่เห็นได้ชัดเจน อยู่ในระดับ น้อย
ตารางที่ 7 ระดับความพึงพอใจของนักเรียนที่ใช้บริการโรงอาหารภายในโรงเรียนชลราษฎรอารุง
ด้านสถานที่และสิ่งแวดล้อม
รายการประเมิน
ด้านความพึงพอใจของนักเรียนที่ใช้
บริการโรงอาหาร
ระดับคะแนนความพึงพอใจ
มากที่สุด
5
มาก
4
ปานกลาง
3
น้อย
2
น้อยที่สุด
1
ผล ระดับ
1.สถานที่สะอาดถูกสุขลักษณะ 47.5 41.5 3.5 4 3.5 4.6 มากที่สุด
2.ความสะอาดของโตะเก้าอี้สาหรับนั่ง
รับประทานอาหาร
7 11.5 28.5 42.5 10.5 2.6 ปานกลาง
3.ความเพียงพอของจานวนโตะเก้าอี้
สาหรับนั่งรับประทานอาหาร
15.5 24.5 40.5 11.5 8 3.2 ปานกลาง
4.การจัดโตะเก้าอี้สาหรับนั่งรับประทาน
อาหารเหมาะสมกับพื้นที่ ไม่แออัด
14 24.5 2 21 38.5 2.5 ปานกลาง
5.บรรยากาศของโรงอาหารเหมาะ
สาหรับนั่งรับประทานอาหาร
18 39 21.5 18.5 3 3.5 มาก
รวมผล 3.89 มาก
ด้านสถานที่และสิ่งแวดล้อม นักเรียนมีความพึงพอใจใน สถานที่สะอาดถูกสุขลักษณะอยู่
ในระดับ มากที่สุด มีความพอใจใน บรรยากาศของโรงอาหารเหมาะสาหรับนั่งรับประทานอาหาร
อยู่ในระดับมาก และ ความพึงพอใจใน ความสะอาดของโตะ เก้าอี้สาหรับนั่งรับประทานอาหาร
ความเพียงพอของจานวนโตะเก้าอี้สาหรับนั่งรับประทานอาหาร การจัดโตะเก้าอี้สาหรับนั่ง
รับประทานอาหารเหมาะสมกับพื้นที่ ไม่แออัด อยู่ในระดับ ปานกลาง
จากตารางความพึงพอใจของนักเรียนที่ใช้บริการโรงอาหารภายในโรงเรียนชลราษฎร-
อารุงโดย ภาพรวม อยู่ในระดับความพึงพอใจปานกลาง เมื่อพิจารณาด้านคุณภาพและการบริการ
ด้านพ่อค้าแม่ค้าผู้ให้บริการ ด้านสถานที่และสิ่งแวดล้อม และด้านการส่งเสริมการตลาด มีความพึง
พอใจ อยู่ในระดับปานกลาง ส่วนด้านราคาเครื่องดื่ม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
บทที่ 5
บทสรุปและข้อเสนอแนะ
การศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบระดับความ พึงพอใจของนักเรียน
ที่ใช้บริการโรงอาหารภายในโรงเรียนชลราษฎรอารุง สรุปผลดังนี้ อภิปรายผล และ
ข้อเสนอแนะได้ดังนี้
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาถึงระดับความพึงพอใจในการใช้บริการโรงอาหารภายใน
โรงเรียนชลราษฎร-อารุง
2. เพื่อศึกษาถึงปัจจัยส่วนบุคคลเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม
3. เพื่อปรับปรุงโรงอาหาร ความสะอาด และ สภาพแวดล้อมของโรงอาหาร
สมมุติฐานของการศึกษา
1. นักเรียนมีความพึงพอใจในการใช้บริการโรงอาหารภายในโรงเรียนชลราษฎรอารุง
2.นักเรียนที่มีชั้นปีแตกต่างกันมีความพึงพอใจในการใช้บริการโรงอาหารภายในโรงเรียนชล
ราษฎรอารุง
3.นักเรียนที่มีจานวนวันที่เข้าใช้บริการโรงอาหารต่อสัปดาห์ต่างกันมีความพึงพอใจในการใช้
บริการโรงอาหารภายในโรงเรียนชลราษฎรอารุง
ขอบเขตการศึกษา
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาผู้จัดทาได้สารวจนักเรียนที่ใช้บริการโรงอาหารภายในโรงเรียน
ชลราษฎรอารุงซึ่งจานวนนักเรียนในโรงเรียนชลราษฎร-อารุงมีทั้งหมด3,938 คน
ประชากรที่ใช้ในการศึกษา
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นนักเรียนโรงเรียนชลราษฎรอารุง จานวน 3,938 คน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่นักเรียนโรงเรียนชลราษฎรอารุงทั้งสิ้น 3,938
คน ได้มาโดยสุ่มอย่างง่ายจานวน 200 คน เพื่อตอบแบบสอบถามที่สร้างขึ้น
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วยแบบสอบถามจานวน1ฉบับ เรื่องความพึง
พอใจที่มีต้อโรงอาหารของโรงเรียนชลราษฎรอารุงจ.ชลบุรี จานวน 25 ข้อ
การวิเคราะห์ข้อมูล
ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ศึกษาได้วิเคราะห์ข้อมูลของนักเรียนที่มีต่อ ความพึงพอใจในการ
ใช้บริการโรงอาหารภายในโรงเรียนชลราษฎรอารุง เช่น ความสะอาดของโตะอาหารราคาของอาหาร
โดยการคิดคะแนนแบบเฉลี่ย เป็นร้อยละ
สรุปผลการศึกษา
ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่ใช้บริการโรงอาหารภายในโรงเรียนชลราษฎร
อารุง ครั้งนี้สามารถ สรุปผลการวิจัยได้ดังนี้
1.นักเรียนเป็นกลุ่มตัวอย่าง ทั้งสิ้น200 คน นักเรียนที่ใช้บริการโรงอาหารภายในโรงเรียน
ชลราษฎรอารุงส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จานวน116 คน คิดเป็นร้อยละ 58 นักเรียนชาย 84 คน คิดเป็นร้อย
ละ 42
2.นักเรียนที่ใช้บริการโรงอาหารภายในโรงเรียนชลราษฎรอารุง ความพึงพอใจโดย
ภาพรวมและหลายด้านได้แก่ ด้านคุณภาพและการบริการ ด้านพ่อค้าแม่ค้าผู้ให้บริการ
อ ิปรายผล
จากการวิศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจของนักเรียนที่ใช้บริการโรงอาหารภายในโรงเรียนชลราษฎรอารุง
นักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง ทั้งสิ้น200 คน นักเรียนที่ใช้บริการโรงอาหารภายในโรงเรียนชลราษฎรอารุง ส่วน ใหญ่เป็นเพศ
หญิง จานวน 116 คน นักเรียนที่เข้าใช้บริการน้อยกว่า 3 วันต่อสัปดาห์ จานวน 9 คน
นักเรียนมีความ พึงพอใจกับการบริการของพ่อค้าแม่ค้าที่มีการแต่งกายที่สะอาด มีความเหมาะสม และเมื่อนักเรียนใช้บริการ มี
การให้บริการอย่างเป็นกันเอง ด้วยมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี มีการใช้วาจาที่สุภาพ ด้านราคา นักเรียนที่ใช้บริการโรงอาหารภายใน
โรงเรียนชลราษฎรอารุง มีความพึงพอใจด้านราคา โดยรวมและรายข้อ ได้แก่ ป้ ายบอกราคาที่เห็นได้ชัดเจน อยู่ในระดับมาก
ส่วนข้อ ความเหมาะสมของ ราคาอาหารเมื่อเทียบกับปริมาณอาหาร ราคาอาหารมีความเหมาะสมเมื่อเทียบกับคุณภาพ เครื่องดื่ม
มี หลายราคา และอาหารมีหลายราคา มีความพึงพอใจปานกลาง นักเรียนมีความพึงพอใจกับราคากับราคาที่ กาหนดและมีความ
เหมาะสมเมื่อเทียบกับคุณภาพอาหารที่หลากหลายราคาให้เลือก ที่ได้รับในการมาใช้ บริการแต่ละครั้ง และนักเรียนมีความพึง
พอใจกับและมีป้ ายราคาบอกอย่างชัดเจน ซึ่งผลิตภัณฑ์และการบริการจะต้องมีคุณภาพ มีราคาที่เหมาะสม และผู้ให้บริการ
จะต้องแสดงพฤติกรรม การบริการที่ลูกค้าหรือผู้บริโภคต้องการ ด้วยความเอาใจใส่อย่างเต็มที่ และด้วยจิตสานึกของการบริการ
ด้านสถานที่และสิ่งแวดล้อม นักเรียนที่ใช้บริการโรงอาหารภายในโรงเรียนชลราษฎร-อารุง มีความ พึงพอใจด้านสถานที่และ
สิ่งแวดล้อมสถานที่ สะอาดถูกสุขลักษณะ และข้อความสะอาดของโตะ เก้าอี้สาหรับนั่งรับประทานอาหาร มีความพึงพอใจ
ระดับมาก ทั้งนี้เป็นเพราะนักเรียนพอใจในความสะอาดบริเวณพื้นทางเดินศูนย์อาหาร ความสะอาดของโตะ เก้าอี้สาหรับนั่ง
รับประทานอาหาร ความเพียงพอของจานวนร้านค้า บรรยากาศของโรงอาหารเหมาะ สาหรับการนั่งรับประทานอาหาร และมี
การตกแต่งร้านค้า สะอาด สวยงาม น่าสนใจ สามารถทาให้นักเรียน หรือผู้ใช้บริการประทับใจและพึงพอใจได้เช่นกัน
ข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอแนะในการศึกษาในครั้งนี้
สามารถใช้เพื่อเป็นแนวทาง ในการปรับปรุงและพัฒนาโรงอาหาร ของ โรงเรียนชลราษฎรอารุง ให้มีประสิทธิภาพ
ในการบริการมากยิ่งขึ้น ใน ทั้งนี้เพื่อให้เป็นโรงอาหารที่มีมาตรฐานสากลจึงควรที่จะมีการปรับปรุงทุกด้าน ดังนี้
1.ด้านคุณภาพและการบริการ ควรจัดให้ หม้อน้าร้อนที่ใช้ทาความสะอาดช้อน มากขึ้น เพื่อให้มีความเพียงพอต่อ
จานวนนักเรียนที่ ใช้บริการ
2.ด้านพ่อค้าแม่ค้าผู้บริการ ควรมีอัธยาศัย การต้อนรับลูกค้าที่ดีมากกว่านี้
3.ด้านราคา ต้องตั้งราคาขายไม่เกินราคาที่โรงเรียนกาหนด ราคาอาหารเหมาะสมกับปริมาณอาหารและควรกาหนด
ราคาขายในราคายุติธรรม
4.ด้านสถานที่และสิ่งแวดล้อม ควรจัดให้มีโตะนั่งรับประทานอาหารเพิ่มขึ้น ในเรื่องห้องน้า ให้มีการทาความสะอาด
ตลอดเวลา และดูแลในเรื่องชารุดของประตูซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้
5.ด้านการส่งเสริมการตลาด ควรมีการแนะนารายการอาหารที่น่าสนใจมากกว่านี้
ควรศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อโรงอาหารในโรงเรียนอื่นอื่น เพื่อจะได้นามาปรับปรุง แก้ไขให้โรงอาหารของโรงเรียนชล
ราษฎรอารุง เป็นโรงอาหารที่มีได้ตามมาตรฐานและเพื่อสุขอนามัยที่ดีของ นักเรียนที่มาใช้บริการ
บรร านุกรม
วิกิพีเดียสารานุกรมเสรี “ความหมายของคาว่านักเรียน”
เข้าถึงได้จาก:http://th.wikipedia.org/wiki สืบค้น 25 มกราคม 2557
เว็บไซต์โรงเรียนชลราษฎรอารุง เข้าถึงได้จาก: http://www.cru.ac.th/cru_web/
สืบค้น 25 มกราคม 2557
เว็บไซต์ โรงเรียนชลราษฎรอารุง“จานวนนักเรียนของโรงเรียนชลราษฎรอารุง ” [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก :
http://www.cru.ac.th/cru_web/page/amountpersonel.php. สืบค้น 26 มกราคม 2557
วิกิพีเดียสารานุกรมเสรี. “ความพึงพอใจ” [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก: http://th.wikipedia.org/wiki/ความ
พึงพอใจ สืบค้น 26 มกราคม 2557
วิกิพีเดียสารานุกรมเสรี. “รายชื่อสาขาวิชา”[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก: http://th.wikipedia.org/wiki/
รายชื่อสาขาวิชา 2556. สืบค้น 26 กุมภาพันธ์ 2557.

More Related Content

What's hot

โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนมChok Ke
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465YingZaa TK
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5Nontagan Lertkachensri
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
ตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการjustymew
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3สุภาพร สิทธิการ
 
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจลโครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจลjellyjel
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความnurmedia
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดkrisdika
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนKruthai Kidsdee
 

What's hot (20)

โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
ตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการ
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจลโครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 

Similar to ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร

หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23mariamsamadeng
 
หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23mariamsamadeng
 
แผนปฏิบัติปี 2558-ร.ร.ตูมพิทยานุสรณ์
แผนปฏิบัติปี 2558-ร.ร.ตูมพิทยานุสรณ์แผนปฏิบัติปี 2558-ร.ร.ตูมพิทยานุสรณ์
แผนปฏิบัติปี 2558-ร.ร.ตูมพิทยานุสรณ์Ozzy Ozone
 
สัมภาษณ์หลักสูตรโรงเรียนบ้านน้ำกระจาย
สัมภาษณ์หลักสูตรโรงเรียนบ้านน้ำกระจายสัมภาษณ์หลักสูตรโรงเรียนบ้านน้ำกระจาย
สัมภาษณ์หลักสูตรโรงเรียนบ้านน้ำกระจายshaimat
 
สัมภาษณ์รร.บ้านน้ำกระจาย
สัมภาษณ์รร.บ้านน้ำกระจายสัมภาษณ์รร.บ้านน้ำกระจาย
สัมภาษณ์รร.บ้านน้ำกระจายshaimat
 
การพัฒนาหลักสูตร2
การพัฒนาหลักสูตร2การพัฒนาหลักสูตร2
การพัฒนาหลักสูตร2shaimat
 
สัมภาษณ์โรงเรียนบ้านน้ำกระจาย
สัมภาษณ์โรงเรียนบ้านน้ำกระจายสัมภาษณ์โรงเรียนบ้านน้ำกระจาย
สัมภาษณ์โรงเรียนบ้านน้ำกระจายshaimat
 
ประวัติโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม
ประวัติโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคมประวัติโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม
ประวัติโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคมKiiKz Krittiya
 
การพัฒนาหลักสูตร ร.ร.อนุบาลสงขลา
การพัฒนาหลักสูตร ร.ร.อนุบาลสงขลาการพัฒนาหลักสูตร ร.ร.อนุบาลสงขลา
การพัฒนาหลักสูตร ร.ร.อนุบาลสงขลาpanatda2225
 
ThaphosriBotany
ThaphosriBotanyThaphosriBotany
ThaphosriBotanypitsamai
 
ThaphosripitayaBotany
ThaphosripitayaBotanyThaphosripitayaBotany
ThaphosripitayaBotanymananchaya
 
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี นายจักราวุธ คำทวี
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556oraneehussem
 
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555waranyuati
 

Similar to ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร (20)

หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23
 
หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23
 
แผนปฏิบัติปี 2558-ร.ร.ตูมพิทยานุสรณ์
แผนปฏิบัติปี 2558-ร.ร.ตูมพิทยานุสรณ์แผนปฏิบัติปี 2558-ร.ร.ตูมพิทยานุสรณ์
แผนปฏิบัติปี 2558-ร.ร.ตูมพิทยานุสรณ์
 
สัมภาษณ์หลักสูตรโรงเรียนบ้านน้ำกระจาย
สัมภาษณ์หลักสูตรโรงเรียนบ้านน้ำกระจายสัมภาษณ์หลักสูตรโรงเรียนบ้านน้ำกระจาย
สัมภาษณ์หลักสูตรโรงเรียนบ้านน้ำกระจาย
 
สัมภาษณ์รร.บ้านน้ำกระจาย
สัมภาษณ์รร.บ้านน้ำกระจายสัมภาษณ์รร.บ้านน้ำกระจาย
สัมภาษณ์รร.บ้านน้ำกระจาย
 
การพัฒนาหลักสูตร2
การพัฒนาหลักสูตร2การพัฒนาหลักสูตร2
การพัฒนาหลักสูตร2
 
สัมภาษณ์โรงเรียนบ้านน้ำกระจาย
สัมภาษณ์โรงเรียนบ้านน้ำกระจายสัมภาษณ์โรงเรียนบ้านน้ำกระจาย
สัมภาษณ์โรงเรียนบ้านน้ำกระจาย
 
ประวัติโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม
ประวัติโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคมประวัติโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม
ประวัติโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม
 
โรงเรียนอนุบาลสงขลา
โรงเรียนอนุบาลสงขลาโรงเรียนอนุบาลสงขลา
โรงเรียนอนุบาลสงขลา
 
โรงเรียนอนุบาลสงขลา
โรงเรียนอนุบาลสงขลาโรงเรียนอนุบาลสงขลา
โรงเรียนอนุบาลสงขลา
 
โรงเรียนอนุบาลสงขลา
โรงเรียนอนุบาลสงขลาโรงเรียนอนุบาลสงขลา
โรงเรียนอนุบาลสงขลา
 
การพัฒนาหลักสูตร ร.ร.อนุบาลสงขลา
การพัฒนาหลักสูตร ร.ร.อนุบาลสงขลาการพัฒนาหลักสูตร ร.ร.อนุบาลสงขลา
การพัฒนาหลักสูตร ร.ร.อนุบาลสงขลา
 
Rub 2
Rub 2Rub 2
Rub 2
 
ThaphosriBotany
ThaphosriBotanyThaphosriBotany
ThaphosriBotany
 
ThaphosripitayaBotany
ThaphosripitayaBotanyThaphosripitayaBotany
ThaphosripitayaBotany
 
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
 
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556
 
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
 
1
11
1
 

ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร