SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  28
(probability)
โดย . . . ครูปราณี เสียงสนั่น โรงเรียนฤทธิณรงค์รอน
2.1 ความน่าจะเป็น
ในชีวิตประจาวันเราอยู่กับเหตุการณ์ต่าง ๆ และมี
คาถามอยู่ในใจตลอดเวลา เช่น
    - พรุงนี้ฝนจะตกหรือไม่
          ่
    - ซื้อหวยทีไร ไม่ถูกซักที
    - ทีมฟุตบอลทีมใดจะได้เป็นแชมป์โลก
ในทางคณิตศาสตร์อาจหาจานวนจานวนหนึ่งที่บอกถึง
โอกาส มากหรือน้อยที่จะเกิดเหตุการณ์นั้นๆ เรียก
จานวนนั้นว่า “ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ “
"ค่าของความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ ซึ่งไม่ทราบ
แน่ว่าจะเกิดหรือไม่ " พิจารณา “น้าหนัก” ที่เหตุการณ์
นั้นๆ จะเกิด ถ้ากาหนดให้
 - น้าหนักของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไม่ได้มีค่าเป็น 0
 - น้าหนัก ของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแน่มีค่าเป็น 1

เรียกค่าของน้าหนักนี้ว่า "ค่าของความน่าจะเป็น"
พิจารณาการโยนเหรียญสิบบาทหนึ่งเหรียญ ถ้าเหรียญ
นั้นไม่ได้มีการถ่วง ก็เชื่อว่า “ น้าหนัก “ ของการที่
เหรียญจะหงายหน้าใดหน้าหนึ่งย่อมเท่ากัน




ความน่าจะเป็นของเหรียญที่จะออกหัวหรือก้อย = 0.5
2.2 การทดลองสุ่มและเหตุการณ์
การทดลองสุ่ม (Random Experiment)
    คือ การทดลองซึ่งทราบว่าผลลัพธ์จะเป็นอะไรได้บ้าง
แต่ไม่สามารถบอกได้อย่างถูกต้องแน่นอนว่าในแต่ละครั้ง
ที่ทดลองผลที่เกิดขึ้นจะเป็นอะไร ตัวอย่างเช่น
    - การโยนเหรียญบาทหนึ่งเหรียญหนึ่งครั้ง ผลที่
เกิดขึ้นได้ คือ ขึ้นหัว หรือ ขึ้นก้อย
     - ในการทอดลูกเต๋าหนึ่งลูก หนึ่งครั้งผลลัพธ์ทั้งหมด
ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ คือ แต้ม 1,2,3,4,5 หรือ 6
นักเรียนพิจารณาการกระทาต่อไปนี้ว่า
   เป็นการทดลองสุ่ม หรือไม่
 เป็น 1. การออกรางวัลสลากกินแบ่งของรัฐบาล
 เป็น 2. การเสี่ยงเซียมซี
ไม่เป็น 3. การเดินทางไปโรงเรียน
 เป็น 4. การแข่งขันฟุตบอลกีฬาสีของโรงเรียน
 เป็น 5. การสารวจเพศของบุตรในครอบครัว
เหตุการณ์ (Events) คือ ผลลัพธ์ที่เราสนใจจากการ
ทดลองสุ่ม ตัวอย่างเช่น


  - โยนเหรียญบาทหนึ่งเหรียญ 2 ครั้ง จงหาผลลัพธ์ของ
 เหตุการณ์ที่จะออกหัวอย่างน้อย 1 ครั้ง ( ให้ H แทนหัว
 และให้ T แทนก้อย )
วิธีหาผลลัพธ์จากการโยนเหรียญบาท 1 เหรียญ 2 ครั้ง
 เหตุการณ์ที่จะออกหัวอย่างน้อย 1 ครั้ง
    ( ให้ H แทนหัวและให้ T แทนก้อย )
                    โยนเหรียญ                    - ผลลัพธ์ทั้งหมด
โยนเหรียญ                                ผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้นจากการ
 ครั้งที่ 1          ครั้งที่ 2
                      H                   HH      ทดลองสุ่ม มี 4
   H                                              แบบ คือ HH,
                       T                  HT
                                                 HT, TH และ
                       H                  TH            TT
   T
                        T                  TT
                    - ผลลัพธ์ของ เหตุการณ์ที่จะออกหัวอย่างน้อย 1
                      ครั้ง มี 3 แบบ คือ HH, HT และ TH
แบบฝึกหัด 2.2
1). จงเขียนผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นจาก
    การทดลองสุ่ม ต่อไปนี้
      1) สารวจเพศของบุตรในครอบครัวที่มีบุตรสองคน
      2) หยิบขนม 2 ถุง พร้อมกันจากตระกร้าที่มีขนม 4 ถุง
          คือ ขนมเต้าส่วน บัวลอย ถั่วดาและกล้วยบวชชี
      3) จัดคู่การแข่งขันฟุตบอลเยาวชนชิงแชมป์อาเซี่ยน
          ซึ่งจัดการแข่งขันแบบพบกันหมด เมื่อมีทีมส่งเข้า
          แข่งขัน 5 ทีม คือ ไทย พม่า ลาว บรูไน และ
          มาเลเซีย
1). จงเขียนผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นจากการทดลองสุ่ม
     1.1) สารวจเพศของบุตรในครอบครัวที่มีบุตรสองคน

   ผลลัพธ์จากมี          ผลลัพธ์จากการ           ผลลัพธ์ทั้งหมด
    บุตรคนที่ 1           มีบุตรคนที่ 2          ถ้ามีบุตร 2 คน
                                                    มี 4 แบบ

                        ชาย                 ชาย และ ชาย
  ชาย                                       ชาย และ หญิง
                        หญิง
                        ชาย                 หญิง และ ชาย
 หญิง                                       หญิง และ หญิง
                        หญิง
2).จงเขียนผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นจากการโยนเหรียญ 1 เหรียญ
  3 ครั้งและเขียนผลลัพธ์ของเหตุการณ์ต่อไปนี้(H แทนหัวและTแทนก้อย )
             ครั้งที่ 2   ครั้งที่ 3   ผลลัพธ์
ครั้งที่ 1                                        1) ออกก้อย 1 ครั้ง
                            H           HHH
              H             T           HHT                 = 3 เหตุการณ์
 H
               T             H          HTH       2) ออกหัวน้อยกว่าออกก้อย
                             T          HTT
                                                             = 3 เหตุการณ์
              H
                           H           THH        3) ออกก้อยมากกว่า 2 ครั้ง
                           T           THT
 T                         H           TTH                   = 1 เหตุการณ์
              T            T           TTT


   4) ออกหัวและออกก้อยจานวนครั้งเท่าๆ กัน        = 0 เหตุการณ์
3). จงเขียนผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นจากการหมุนแป้นพร้อมกัน ดัง
รูปและเขียนผลลัพธ์ของเหตุการณ์ตอไปนี้
                                  ่




  ผลลัพธ์ทั้งหมด คือ (-1,-4) , (-1,+5) , (-1,+6) ,(+2,-4) , (+2,+5) , (+2,+6) ,
  (-3,-4) , (-3,+5) และ (-3,+6) มีผลลัพธ์ทั้งหมด 9 ชุด
 1) ผลบวกเป็นจานวนลบ มีกี่เหตุการณ์
                             มี 3 เหตุการณ์ คือ (-1,-4) , (+2,-4) และ (-3,-4)
  2) ผลบวกเป็น 8             มี 1 เหตุการณ์ คือ (+2,+6)
  3) ผลบวกเป็น 1             ไม่มีเหตุการณ์ที่ผลบวกเป็น 1
4). แก้วสุ่มหยิบลูกอม 2 เม็ดแจกเพื่อน จากกล่องที่บรรจุลูกอม 4 เม็ด
    มีรสต่างๆ กัน คือ รสนม รสส้ม รสองุ่น และรสสละ
    จงหาว่าเพื่อนจะได้ลูกอมรสใดได้บ้าง
                                   เหตุการณ์ทั้งหมด
              รสส้ม                รสนม + รสส้ม
รสนม          รสองุ่น              รสนม + รสองุ่น        มีเหตุการณ์
              รสสละ                รสนม + รสสละ           ทั้งหมด 6
                                                              แบบ
              รสองุ่น              รสส้ม + รสองุ่น
รสส้ม
              รสสละ                รสส้ม + รสสละ
รสองุ่น        รสสละ                รสองุ่น + รสสละ
2.3 ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
     เป็นการหาว่าโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ต่างๆ เท่ากับเท่าใด
 หรือเหตุการณ์ต่างๆ มีโอกาสที่จะเกิดขึ้นกี่เปอร์เซ็นต์ เช่น
   ในการทอดลูกเต๋า 1 ลูกโอกาสที่ลูกเต๋าจะหงายแต้มเป็น
 จานวนคู่ มีค่าเท่ากับเท่าใดเป็นต้น
สูตรความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ คือ

 ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ = จานวนผลลัพธ์ของเหตุการณ์
                             จานวนผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจเกิดขึนได้
                                                            ้
ตัวอย่าง จงหาความน่าจะเป็นในการโยนเหรียญที่สมดุล
         2 เหรียญ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่จะได้
      หัวอย่างน้อย 1 เหรียญ
วิธีทา เหตุการณ์ทั้งหมดในการโยนเหรียญที่สมดุล 2 เหรียญ
       คือ HH, HT, TH, TT ( มี 4 แบบ )
        เหตุการณ์ที่จะได้หัวอย่างน้อย 1 ครั้ง มี 3 แบบ
        คือ HH, HT และ TH
  ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ = จานวนผลลัพธ์ของเหตุการณ์
                              จานวนผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจเกิดขึ้นได้
  ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ = 3
                              4
ตัวอย่าง ในการทอดลูกเต๋าหนึ่งลูกหนึงครั้งจงหาความน่าจะเป็น
                                    ่
         ของเหตุการณ์
           1) ที่จะได้แต้มบนหน้าลูกเต๋าเป็นจานวนคู่
           2) ที่จะได้แต้มบนหน้าลูกเต๋าน้อยกว่า 5


 เหตุการณ์ทั้งหมดที่จะได้จากการทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง มี 6 แบบ
  ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ = จานวนผลลัพธ์ของเหตุการณ์
                              จานวนผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจเกิดขึ้นได้
                                                                      3
1) ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่จะได้แต้มบนหน้าลูกเต๋าเป็นจานวนคู่ =   6
                                                                      4
2) ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่จะได้แต้มบนหน้าลูกเต๋าน้อยกว่า 5 =     6
ไพ่ป๊อก 1 ชุด มี 52 ใบ
ตัวอย่าง หยิบไพ่ 2 ใบ จากไพ่ 4 ใบ ซึ่งประกอบด้วย
         K โพดา , K โพแดง , K ดอกจิก และ K ข้าวหลามตัด
          จงหาค่าความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ต่อไปนี้
            1. หยิบไพ่ 2 ใบพร้อมกันให้ได้ไพ่สีเดียวกัน
            2. หยิบไพ่ทีละใบ 2 ครั้ง โดยไม่ใส่คืนก่อนที่จะหยิบใบที่สอง
              เพื่อให้ได้ไพ่ใบใดใบหนึ่งเป็น K โพดา
วิธีทา
    เหตุการณ์ทั้งหมดที่หยิบไพ่ 2 ใบพร้อมกันให้ได้ไพ่สีเดียวกันมี 6 แบบ
           K             K     K
                                        ค่าความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
                         K     K
K          K                            หยิบไพ่ 2 ใบพร้อมกันให้ได้
           K             K     K
                                        ไพ่สีเดียวกัน = 2
           K             K     K                         6
K
           K             K     K                    =1
                                                     3
K          K             K     K
K   K   K
2. หยิบไพ่ทีละใบ 2 ครั้ง
                               K   K   K   K
  โดยไม่ใส่คืนก่อนที่จะ
                                   K   K   K
  หยิบใบที่สอง เพื่อให้
  ได้ไพ่ใบใดใบหนึงเป็น
                   ่               K   K   K
                               K
  K โพดา                           K   K   K
เหตุการณ์ทั้งหมดที่หยิบไพ่         K   K   K
ทีละใบ 2 ครั้งโดยไม่ใส่คืนมี       K   K   K
12 แบบ                         K   K   K   K
ค่าความน่าจะเป็นของ                K   K   K
เหตุการณ์ที่ได้
                                   K   K   K
ไพ่ใบใดใบหนึ่งเป็น K โพดา
                               K   K   K   K
     = 6       = 1                 K   K   K
        12         2
ทาแบบฝึกหัด 2.3
  หน้า 54 - 55
แบบฝึกหัด 2.3
ข้อ 1) ทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ต่อไปนี้
วิธีทา

             ทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง มีเหตุการณ์ทั้งหมด 6 เหตุการณ์
                                        1
         1.1 ) เหตุการณ์ทออกแต้ม 3 =
                         ี่
                                        6
                                                   3 1
         1.2 ) เหตุการณ์ทออกแต้มเป็นจานวนคู่ =
                         ี่                         
                                                   6 2
                                              3 1
         1.3 ) ออกแต้มเป็นจานวนเฉพาะ =         
                                              6 2
                                                  4 2
         1.4 ) ออกแต้มเป็นจานวนที่ไม่นอยกว่า 3
                                      ้          = 
                                                  6 3
ข้อ 4) ทอดลูกเต๋า 2 ลูก 1 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ต่อไปนี้
วิธีทา     ทอดลูกเต๋า 2 ลูก 1 ครั้ง มีเหตุการณ์ทั้งหมด 36 เหตุการณ์
                                                                                       6 1
                                 1) ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ได้แต้มรวมเป็น 7 =      
                                                                                      36 6
                                                                                      8 2
                                  2) ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ได้แต้มต่างกัน 2 =     
                                                                                      36 9


                                  3) ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ได้แต้มรวมกันไม่น้อยกว่า 2
                                                                                    36
                                                                                      1
                                                                                    36
                                                            30 5
     4) ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ได้แต้มรวมกันไม่เกิน 9  
                                                            36 6
                                                                             6 1
     5) ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ได้แต้มบนหน้าลูกเต๋าทั้งสองเหมือนกัน      
                                                                             36 6
ข้อ 5) โต้งรับประทานอาหารที่โรงอาหารของโรงเรียน แม่ค้าขายข้าวราดแกง
       มีกับข้าว 4 อย่าง คือ ไข่เจียว แกงส้ม ยาวุ้นเส้น และไก่ผัดขิง
       มีขนม 2 อย่าง คือ แกงบวดฟักทอง และรวมมิตร
       โต้งชอบกับข้าวและขนมทุกอย่าง ตัดสินใจเลือกไม่ได้
      จึงสั่งให้แม่ค้าตักกับข้าวราดข้าวมา 2 อย่าง และตักขนมมา 1 ถ้วย
      จงหาความน่าจะเป็นที่โต้งจะได้รับประทานกับข้าวเป็น
             - ไข่เจียว กับ แกงส้ม และขนมรวมมิตร
        หรือได้รับประทาน
           - ยาวุ้นเส้น กับ ไก่ผัดขิง และขนมแกงบวดฟักทอง
กับข้าว 4 อย่าง คือ ไข่เจียว แกงส้ม ยาวุ้นเส้น และไก่ผัดขิง ( เลือก 2 อย่าง )
 มีขนม 2 อย่าง คือ แกงบวดฟักทอง และรวมมิตร ( เลือก 1 อย่าง )
                                 ขนม 1 อย่าง          กับข้าว 2 อย่าง + ขนม 1 อย่าง
   กับข้าว 2 อย่าง
                                 แกงบวดฟักทอง         ไข่เจียว+แกงส้ม + แกงบวดฟักทอง
                 แกงส้ม           รวมมิตร             ไข่เจียว+แกงส้ม + รวมมิตร
                                 แกงบวดฟักทอง          ไข่เจียว+ยาวุ้นเส้น + แกงบวดฟักทอง
ไข่เจียว         ยาวุ้นเส้น
                                  รวมมิตร              ไข่เจียว+ยาวุ้นเส้น + รวมมิตร
                 ไก่ผัดขิง       แกงบวดฟักทอง          ไข่เจียว+ไก่ผัดขิง + แกงบวดฟักทอง
                                  รวมมิตร              ไข่เจียว+ไก่ผัดขิง + รวมมิตร

                                 แกงบวดฟักทอง          แกงส้ม + ยาวุ้นเส้น+ แกงบวดฟักทอง
               ยาวุ้นเส้น
แกงส้ม                            รวมมิตร              แกงส้ม + ยาวุ้นเส้น + รวมมิตร

                 ไก่ผัดขิง       แกงบวดฟักทอง          แกงส้ม + ไก่ผัดขิง+ แกงบวดฟักทอง
                                  รวมมิตร              แกงส้ม + ไก่ผัดขิง + รวมมิตร

                                 แกงบวดฟักทอง          ยาวุ้นเส้น+ ไก่ผักขิง + แกงบวดฟักทอง
ยาวุ้นเส้น           ไก่ผัดขิง
                                  รวมมิตร              ยาวุ้นเส้น + ไก่ผัดขิง + รวมมิตร
                                                        รวม 12 เหตุการณ์
จงหาความน่าจะเป็นที่โต้งจะได้รับประทานกับข้าวเป็น
              - ไข่เจียว กับ แกงส้ม และขนมรวมมิตร
         หรือได้รับประทาน
            - ยาวุ้นเส้น กับ ไก่ผัดขิง และขนมแกงบวดฟักทอง
เหตุการณ์ทั้งหมดที่ตักกับข้าวราดข้าวมา 2 อย่าง และตักขนมมา 1 ถ้วย = 12 แบบ

เหตุการณ์ที่รับประทานไข่เจียว+แกงส้ม+ขนมรวมมิตร หรือ       มี 2 เหตุการณ์
ได้รับประทาน ยาวุ้นเส้น กับ ไก่ผัดขิง และขนมแกงบวดฟักทอง
                                                    2 1
 ดังนั้น ความน่าจะเป็นที่ได้กับข้าวทีโต้งต้องการ =
                                     ่               
                                                   12 6
2.4 ความน่าจะเป็นกับการตัดสินใจ
    นอกจาก “ ค่าความน่าจะเป็น “ แล้ว องค์ประกอบที่ช่วยในการตัดสินใจคือ
ผลตอบแทนของเหตุการณ์นั้น ซึ่งทางสถิติพิจารณาร่วมกันเป็น “ ค่าความคาดหมาย “
   ผลตอบแทนของเหตุการณ์อาจหมายถึง ผลตอบแทนที่ได้ หรือ ผลตอบแทนที่เสีย

ค่าคาดหมาย
 = ( ผลตอบแทนที่ได้ x ความน่าจะเป็นที่เลือก) + (ผลตอบแทนที่เสีย x ความน่าจะเป็นที่ไม่เลือก)
เช่น การโยนเหรียญ 2 เหรียญ พร้อมกัน 1 ครั้ง
ถ้าเหรียญที่โยนออกหัวทั้งคูแล้ว อาพลจะได้เงิน 2 บาท ซึ่งจะแทนด้วย + 2 (ผลตอบแทนที่ได้)
                           ่
แต่ถ้าเหรียญออกเป็นอย่างอื่น อาพลต้องจ่าย 1 บาท ซึ่งจะแทนด้วย -1 (ผลตอบแทนที่เสีย)
พิจารณา ดังนี้
  ผลลัพท์ทั้งหมดในการโยนเหรียญ 2 เหรียญ พร้อมกัน มี 4 แบบ คือ HH , HT , TH และ TT
                                                              1
               ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ได้ หัวทั้งคู่ =
                                                              4
               ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ไม่ได้หัวทั้งคู่ = 3
ค่าคาดหมาย                                                        4

 = ( ผลตอบแทนที่ได้ x ความน่าจะเป็นที่ได้หัวทังคู่) + (ผลตอบแทนที่เสีย x ความน่าจะเป็นที่ไม่เลือก)
                                              ้
         1                  3
 =(2x          ) + ( -1 x     )  2  3   1  0.25
         4                  4     4 4       4

 นั่นคือ ค่าคาดหมายที่ อาพล มีแนวโน้มจะเสียเงินโดยเฉลี่ยครั้งละ 0.25 บาทไปเรื่อยๆ

Contenu connexe

Tendances

แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
Ngamsiri Prasertkul
 
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
atunya2530
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
kroojaja
 
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
ทับทิม เจริญตา
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
คุณครูพี่อั๋น
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
Beer Aksornsart
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
Jiraprapa Suwannajak
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
kroojaja
 

Tendances (20)

เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
ชุดที่ 7 สัดส่วน
ชุดที่ 7 สัดส่วนชุดที่ 7 สัดส่วน
ชุดที่ 7 สัดส่วน
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
 
แบบประเม น
แบบประเม นแบบประเม น
แบบประเม น
 

Similaire à ความน่าจะเป็น (15)

5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
5.สูตรการหาความน่าจะเป็น5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
 
สูตรการหาความน่าจะเป็น
สูตรการหาความน่าจะเป็นสูตรการหาความน่าจะเป็น
สูตรการหาความน่าจะเป็น
 
Probability
ProbabilityProbability
Probability
 
ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Ht 1
Ht 1Ht 1
Ht 1
 
Event
EventEvent
Event
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็นแบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็น
 
Probability
ProbabilityProbability
Probability
 
Probability[1]
Probability[1]Probability[1]
Probability[1]
 
122121
122121122121
122121
 
Probability
ProbabilityProbability
Probability
 

Plus de Ritthinarongron School

อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
Ritthinarongron School
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
Ritthinarongron School
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
Ritthinarongron School
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนาม
Ritthinarongron School
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
Ritthinarongron School
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสอง
Ritthinarongron School
 

Plus de Ritthinarongron School (11)

อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
กราฟ
กราฟกราฟ
กราฟ
 
สถิติ
สถิติสถิติ
สถิติ
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนาม
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสอง
 
พาราโบลา
 พาราโบลา พาราโบลา
พาราโบลา
 
ดัชนีมวลกาย
ดัชนีมวลกายดัชนีมวลกาย
ดัชนีมวลกาย
 

ความน่าจะเป็น

  • 1. (probability) โดย . . . ครูปราณี เสียงสนั่น โรงเรียนฤทธิณรงค์รอน
  • 2. 2.1 ความน่าจะเป็น ในชีวิตประจาวันเราอยู่กับเหตุการณ์ต่าง ๆ และมี คาถามอยู่ในใจตลอดเวลา เช่น - พรุงนี้ฝนจะตกหรือไม่ ่ - ซื้อหวยทีไร ไม่ถูกซักที - ทีมฟุตบอลทีมใดจะได้เป็นแชมป์โลก ในทางคณิตศาสตร์อาจหาจานวนจานวนหนึ่งที่บอกถึง โอกาส มากหรือน้อยที่จะเกิดเหตุการณ์นั้นๆ เรียก จานวนนั้นว่า “ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ “
  • 3. "ค่าของความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ ซึ่งไม่ทราบ แน่ว่าจะเกิดหรือไม่ " พิจารณา “น้าหนัก” ที่เหตุการณ์ นั้นๆ จะเกิด ถ้ากาหนดให้ - น้าหนักของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไม่ได้มีค่าเป็น 0 - น้าหนัก ของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแน่มีค่าเป็น 1 เรียกค่าของน้าหนักนี้ว่า "ค่าของความน่าจะเป็น"
  • 4. พิจารณาการโยนเหรียญสิบบาทหนึ่งเหรียญ ถ้าเหรียญ นั้นไม่ได้มีการถ่วง ก็เชื่อว่า “ น้าหนัก “ ของการที่ เหรียญจะหงายหน้าใดหน้าหนึ่งย่อมเท่ากัน ความน่าจะเป็นของเหรียญที่จะออกหัวหรือก้อย = 0.5
  • 5. 2.2 การทดลองสุ่มและเหตุการณ์ การทดลองสุ่ม (Random Experiment) คือ การทดลองซึ่งทราบว่าผลลัพธ์จะเป็นอะไรได้บ้าง แต่ไม่สามารถบอกได้อย่างถูกต้องแน่นอนว่าในแต่ละครั้ง ที่ทดลองผลที่เกิดขึ้นจะเป็นอะไร ตัวอย่างเช่น - การโยนเหรียญบาทหนึ่งเหรียญหนึ่งครั้ง ผลที่ เกิดขึ้นได้ คือ ขึ้นหัว หรือ ขึ้นก้อย - ในการทอดลูกเต๋าหนึ่งลูก หนึ่งครั้งผลลัพธ์ทั้งหมด ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ คือ แต้ม 1,2,3,4,5 หรือ 6
  • 6. นักเรียนพิจารณาการกระทาต่อไปนี้ว่า เป็นการทดลองสุ่ม หรือไม่ เป็น 1. การออกรางวัลสลากกินแบ่งของรัฐบาล เป็น 2. การเสี่ยงเซียมซี ไม่เป็น 3. การเดินทางไปโรงเรียน เป็น 4. การแข่งขันฟุตบอลกีฬาสีของโรงเรียน เป็น 5. การสารวจเพศของบุตรในครอบครัว
  • 7. เหตุการณ์ (Events) คือ ผลลัพธ์ที่เราสนใจจากการ ทดลองสุ่ม ตัวอย่างเช่น - โยนเหรียญบาทหนึ่งเหรียญ 2 ครั้ง จงหาผลลัพธ์ของ เหตุการณ์ที่จะออกหัวอย่างน้อย 1 ครั้ง ( ให้ H แทนหัว และให้ T แทนก้อย )
  • 8. วิธีหาผลลัพธ์จากการโยนเหรียญบาท 1 เหรียญ 2 ครั้ง เหตุการณ์ที่จะออกหัวอย่างน้อย 1 ครั้ง ( ให้ H แทนหัวและให้ T แทนก้อย ) โยนเหรียญ - ผลลัพธ์ทั้งหมด โยนเหรียญ ผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้นจากการ ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 H HH ทดลองสุ่ม มี 4 H แบบ คือ HH, T HT HT, TH และ H TH TT T T TT - ผลลัพธ์ของ เหตุการณ์ที่จะออกหัวอย่างน้อย 1 ครั้ง มี 3 แบบ คือ HH, HT และ TH
  • 9.
  • 10. แบบฝึกหัด 2.2 1). จงเขียนผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นจาก การทดลองสุ่ม ต่อไปนี้ 1) สารวจเพศของบุตรในครอบครัวที่มีบุตรสองคน 2) หยิบขนม 2 ถุง พร้อมกันจากตระกร้าที่มีขนม 4 ถุง คือ ขนมเต้าส่วน บัวลอย ถั่วดาและกล้วยบวชชี 3) จัดคู่การแข่งขันฟุตบอลเยาวชนชิงแชมป์อาเซี่ยน ซึ่งจัดการแข่งขันแบบพบกันหมด เมื่อมีทีมส่งเข้า แข่งขัน 5 ทีม คือ ไทย พม่า ลาว บรูไน และ มาเลเซีย
  • 11. 1). จงเขียนผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นจากการทดลองสุ่ม 1.1) สารวจเพศของบุตรในครอบครัวที่มีบุตรสองคน ผลลัพธ์จากมี ผลลัพธ์จากการ ผลลัพธ์ทั้งหมด บุตรคนที่ 1 มีบุตรคนที่ 2 ถ้ามีบุตร 2 คน มี 4 แบบ ชาย ชาย และ ชาย ชาย ชาย และ หญิง หญิง ชาย หญิง และ ชาย หญิง หญิง และ หญิง หญิง
  • 12. 2).จงเขียนผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นจากการโยนเหรียญ 1 เหรียญ 3 ครั้งและเขียนผลลัพธ์ของเหตุการณ์ต่อไปนี้(H แทนหัวและTแทนก้อย ) ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ผลลัพธ์ ครั้งที่ 1 1) ออกก้อย 1 ครั้ง H HHH H T HHT = 3 เหตุการณ์ H T H HTH 2) ออกหัวน้อยกว่าออกก้อย T HTT = 3 เหตุการณ์ H H THH 3) ออกก้อยมากกว่า 2 ครั้ง T THT T H TTH = 1 เหตุการณ์ T T TTT 4) ออกหัวและออกก้อยจานวนครั้งเท่าๆ กัน = 0 เหตุการณ์
  • 13. 3). จงเขียนผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นจากการหมุนแป้นพร้อมกัน ดัง รูปและเขียนผลลัพธ์ของเหตุการณ์ตอไปนี้ ่ ผลลัพธ์ทั้งหมด คือ (-1,-4) , (-1,+5) , (-1,+6) ,(+2,-4) , (+2,+5) , (+2,+6) , (-3,-4) , (-3,+5) และ (-3,+6) มีผลลัพธ์ทั้งหมด 9 ชุด 1) ผลบวกเป็นจานวนลบ มีกี่เหตุการณ์ มี 3 เหตุการณ์ คือ (-1,-4) , (+2,-4) และ (-3,-4) 2) ผลบวกเป็น 8 มี 1 เหตุการณ์ คือ (+2,+6) 3) ผลบวกเป็น 1 ไม่มีเหตุการณ์ที่ผลบวกเป็น 1
  • 14. 4). แก้วสุ่มหยิบลูกอม 2 เม็ดแจกเพื่อน จากกล่องที่บรรจุลูกอม 4 เม็ด มีรสต่างๆ กัน คือ รสนม รสส้ม รสองุ่น และรสสละ จงหาว่าเพื่อนจะได้ลูกอมรสใดได้บ้าง เหตุการณ์ทั้งหมด รสส้ม รสนม + รสส้ม รสนม รสองุ่น รสนม + รสองุ่น มีเหตุการณ์ รสสละ รสนม + รสสละ ทั้งหมด 6 แบบ รสองุ่น รสส้ม + รสองุ่น รสส้ม รสสละ รสส้ม + รสสละ รสองุ่น รสสละ รสองุ่น + รสสละ
  • 15. 2.3 ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ เป็นการหาว่าโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ต่างๆ เท่ากับเท่าใด หรือเหตุการณ์ต่างๆ มีโอกาสที่จะเกิดขึ้นกี่เปอร์เซ็นต์ เช่น ในการทอดลูกเต๋า 1 ลูกโอกาสที่ลูกเต๋าจะหงายแต้มเป็น จานวนคู่ มีค่าเท่ากับเท่าใดเป็นต้น สูตรความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ คือ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ = จานวนผลลัพธ์ของเหตุการณ์ จานวนผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจเกิดขึนได้ ้
  • 16. ตัวอย่าง จงหาความน่าจะเป็นในการโยนเหรียญที่สมดุล 2 เหรียญ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่จะได้ หัวอย่างน้อย 1 เหรียญ วิธีทา เหตุการณ์ทั้งหมดในการโยนเหรียญที่สมดุล 2 เหรียญ คือ HH, HT, TH, TT ( มี 4 แบบ ) เหตุการณ์ที่จะได้หัวอย่างน้อย 1 ครั้ง มี 3 แบบ คือ HH, HT และ TH ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ = จานวนผลลัพธ์ของเหตุการณ์ จานวนผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจเกิดขึ้นได้ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ = 3 4
  • 17. ตัวอย่าง ในการทอดลูกเต๋าหนึ่งลูกหนึงครั้งจงหาความน่าจะเป็น ่ ของเหตุการณ์ 1) ที่จะได้แต้มบนหน้าลูกเต๋าเป็นจานวนคู่ 2) ที่จะได้แต้มบนหน้าลูกเต๋าน้อยกว่า 5 เหตุการณ์ทั้งหมดที่จะได้จากการทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง มี 6 แบบ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ = จานวนผลลัพธ์ของเหตุการณ์ จานวนผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจเกิดขึ้นได้ 3 1) ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่จะได้แต้มบนหน้าลูกเต๋าเป็นจานวนคู่ = 6 4 2) ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่จะได้แต้มบนหน้าลูกเต๋าน้อยกว่า 5 = 6
  • 19. ตัวอย่าง หยิบไพ่ 2 ใบ จากไพ่ 4 ใบ ซึ่งประกอบด้วย K โพดา , K โพแดง , K ดอกจิก และ K ข้าวหลามตัด จงหาค่าความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ต่อไปนี้ 1. หยิบไพ่ 2 ใบพร้อมกันให้ได้ไพ่สีเดียวกัน 2. หยิบไพ่ทีละใบ 2 ครั้ง โดยไม่ใส่คืนก่อนที่จะหยิบใบที่สอง เพื่อให้ได้ไพ่ใบใดใบหนึ่งเป็น K โพดา วิธีทา เหตุการณ์ทั้งหมดที่หยิบไพ่ 2 ใบพร้อมกันให้ได้ไพ่สีเดียวกันมี 6 แบบ K K K ค่าความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ K K K K หยิบไพ่ 2 ใบพร้อมกันให้ได้ K K K ไพ่สีเดียวกัน = 2 K K K 6 K K K K =1 3 K K K K
  • 20. K K K 2. หยิบไพ่ทีละใบ 2 ครั้ง K K K K โดยไม่ใส่คืนก่อนที่จะ K K K หยิบใบที่สอง เพื่อให้ ได้ไพ่ใบใดใบหนึงเป็น ่ K K K K K โพดา K K K เหตุการณ์ทั้งหมดที่หยิบไพ่ K K K ทีละใบ 2 ครั้งโดยไม่ใส่คืนมี K K K 12 แบบ K K K K ค่าความน่าจะเป็นของ K K K เหตุการณ์ที่ได้ K K K ไพ่ใบใดใบหนึ่งเป็น K โพดา K K K K = 6 = 1 K K K 12 2
  • 22. แบบฝึกหัด 2.3 ข้อ 1) ทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ต่อไปนี้ วิธีทา ทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง มีเหตุการณ์ทั้งหมด 6 เหตุการณ์ 1 1.1 ) เหตุการณ์ทออกแต้ม 3 = ี่ 6 3 1 1.2 ) เหตุการณ์ทออกแต้มเป็นจานวนคู่ = ี่  6 2 3 1 1.3 ) ออกแต้มเป็นจานวนเฉพาะ =  6 2 4 2 1.4 ) ออกแต้มเป็นจานวนที่ไม่นอยกว่า 3 ้ =  6 3
  • 23. ข้อ 4) ทอดลูกเต๋า 2 ลูก 1 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ต่อไปนี้ วิธีทา ทอดลูกเต๋า 2 ลูก 1 ครั้ง มีเหตุการณ์ทั้งหมด 36 เหตุการณ์ 6 1 1) ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ได้แต้มรวมเป็น 7 =  36 6 8 2 2) ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ได้แต้มต่างกัน 2 =  36 9 3) ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ได้แต้มรวมกันไม่น้อยกว่า 2 36  1 36 30 5 4) ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ได้แต้มรวมกันไม่เกิน 9   36 6 6 1 5) ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ได้แต้มบนหน้าลูกเต๋าทั้งสองเหมือนกัน   36 6
  • 24. ข้อ 5) โต้งรับประทานอาหารที่โรงอาหารของโรงเรียน แม่ค้าขายข้าวราดแกง มีกับข้าว 4 อย่าง คือ ไข่เจียว แกงส้ม ยาวุ้นเส้น และไก่ผัดขิง มีขนม 2 อย่าง คือ แกงบวดฟักทอง และรวมมิตร โต้งชอบกับข้าวและขนมทุกอย่าง ตัดสินใจเลือกไม่ได้ จึงสั่งให้แม่ค้าตักกับข้าวราดข้าวมา 2 อย่าง และตักขนมมา 1 ถ้วย จงหาความน่าจะเป็นที่โต้งจะได้รับประทานกับข้าวเป็น - ไข่เจียว กับ แกงส้ม และขนมรวมมิตร หรือได้รับประทาน - ยาวุ้นเส้น กับ ไก่ผัดขิง และขนมแกงบวดฟักทอง
  • 25. กับข้าว 4 อย่าง คือ ไข่เจียว แกงส้ม ยาวุ้นเส้น และไก่ผัดขิง ( เลือก 2 อย่าง ) มีขนม 2 อย่าง คือ แกงบวดฟักทอง และรวมมิตร ( เลือก 1 อย่าง ) ขนม 1 อย่าง กับข้าว 2 อย่าง + ขนม 1 อย่าง กับข้าว 2 อย่าง แกงบวดฟักทอง ไข่เจียว+แกงส้ม + แกงบวดฟักทอง แกงส้ม รวมมิตร ไข่เจียว+แกงส้ม + รวมมิตร แกงบวดฟักทอง ไข่เจียว+ยาวุ้นเส้น + แกงบวดฟักทอง ไข่เจียว ยาวุ้นเส้น รวมมิตร ไข่เจียว+ยาวุ้นเส้น + รวมมิตร ไก่ผัดขิง แกงบวดฟักทอง ไข่เจียว+ไก่ผัดขิง + แกงบวดฟักทอง รวมมิตร ไข่เจียว+ไก่ผัดขิง + รวมมิตร แกงบวดฟักทอง แกงส้ม + ยาวุ้นเส้น+ แกงบวดฟักทอง ยาวุ้นเส้น แกงส้ม รวมมิตร แกงส้ม + ยาวุ้นเส้น + รวมมิตร ไก่ผัดขิง แกงบวดฟักทอง แกงส้ม + ไก่ผัดขิง+ แกงบวดฟักทอง รวมมิตร แกงส้ม + ไก่ผัดขิง + รวมมิตร แกงบวดฟักทอง ยาวุ้นเส้น+ ไก่ผักขิง + แกงบวดฟักทอง ยาวุ้นเส้น ไก่ผัดขิง รวมมิตร ยาวุ้นเส้น + ไก่ผัดขิง + รวมมิตร รวม 12 เหตุการณ์
  • 26. จงหาความน่าจะเป็นที่โต้งจะได้รับประทานกับข้าวเป็น - ไข่เจียว กับ แกงส้ม และขนมรวมมิตร หรือได้รับประทาน - ยาวุ้นเส้น กับ ไก่ผัดขิง และขนมแกงบวดฟักทอง เหตุการณ์ทั้งหมดที่ตักกับข้าวราดข้าวมา 2 อย่าง และตักขนมมา 1 ถ้วย = 12 แบบ เหตุการณ์ที่รับประทานไข่เจียว+แกงส้ม+ขนมรวมมิตร หรือ มี 2 เหตุการณ์ ได้รับประทาน ยาวุ้นเส้น กับ ไก่ผัดขิง และขนมแกงบวดฟักทอง 2 1 ดังนั้น ความน่าจะเป็นที่ได้กับข้าวทีโต้งต้องการ = ่  12 6
  • 27. 2.4 ความน่าจะเป็นกับการตัดสินใจ นอกจาก “ ค่าความน่าจะเป็น “ แล้ว องค์ประกอบที่ช่วยในการตัดสินใจคือ ผลตอบแทนของเหตุการณ์นั้น ซึ่งทางสถิติพิจารณาร่วมกันเป็น “ ค่าความคาดหมาย “ ผลตอบแทนของเหตุการณ์อาจหมายถึง ผลตอบแทนที่ได้ หรือ ผลตอบแทนที่เสีย ค่าคาดหมาย = ( ผลตอบแทนที่ได้ x ความน่าจะเป็นที่เลือก) + (ผลตอบแทนที่เสีย x ความน่าจะเป็นที่ไม่เลือก)
  • 28. เช่น การโยนเหรียญ 2 เหรียญ พร้อมกัน 1 ครั้ง ถ้าเหรียญที่โยนออกหัวทั้งคูแล้ว อาพลจะได้เงิน 2 บาท ซึ่งจะแทนด้วย + 2 (ผลตอบแทนที่ได้) ่ แต่ถ้าเหรียญออกเป็นอย่างอื่น อาพลต้องจ่าย 1 บาท ซึ่งจะแทนด้วย -1 (ผลตอบแทนที่เสีย) พิจารณา ดังนี้ ผลลัพท์ทั้งหมดในการโยนเหรียญ 2 เหรียญ พร้อมกัน มี 4 แบบ คือ HH , HT , TH และ TT 1 ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ได้ หัวทั้งคู่ = 4 ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ไม่ได้หัวทั้งคู่ = 3 ค่าคาดหมาย 4 = ( ผลตอบแทนที่ได้ x ความน่าจะเป็นที่ได้หัวทังคู่) + (ผลตอบแทนที่เสีย x ความน่าจะเป็นที่ไม่เลือก) ้ 1 3 =(2x ) + ( -1 x )  2  3   1  0.25 4 4 4 4 4 นั่นคือ ค่าคาดหมายที่ อาพล มีแนวโน้มจะเสียเงินโดยเฉลี่ยครั้งละ 0.25 บาทไปเรื่อยๆ