SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  7
Télécharger pour lire hors ligne
บทที่ 1
บทนำ
ภูมิหลัง
การเรียนรู้ในปัจจุบันความรู้ในตาราก็ไม่อาจเพียงพอกับความต้องการในอนาคตได้ ซึ่งตาม
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ 2551 ได้ระบุไว้ว่า ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการ
คิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่างสร้างสรรค์การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ
เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่าง
เหมาะสม นอกจากนั้นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ได้10ชี้ให้เห็นความสาคัญในการ
ปรับเปลี่ยนจุดเน้นในการพัฒนาคุณภาพ คนในสังคมไทยให้มีคุณธรรม และมีความรอบรู้อย่างเท่าทัน ให้
มีความพร้อมทั้งด้านร่างกาย สติปัญญาอารมณ์และศีลธรรม สามารถก้าวทันการเปลี่ยนแปลงเพื่อนาไปสู่
สังคมฐานความรู้ได้อย่างมั่นคง แนวทางการพัฒนาคนดังกล่าวมุ่งเตรียมเด็กและเยาวชนให้มีพื้นฐาน
จิตใจที่ดีงาม มีจิตสาธารณะ พร้อมทั้งมีสมรรถนะ ทักษะ และความรู้พื้นฐานที่จาเป็นในการดารงชีวิต อัน
จะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน (สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 2549) ซึ่งความคิด
สร้างสรรค์ก็เป็นฐานในเรื่องของการพัฒนาประเทศได้อย่างยั่งยืน
สังคมไทยในยุคโลกาภิวัตน์มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งในการเปลี่ยนแปลงอย่าง
รวดเร็วนี้ก่อให้เกิดผลกระทบในด้านต่าง ๆ อันส่งผลต่อการดาเนินชีวิตประจาวันของมนุษย์เช่น การนา
คอมพิวเตอร์มาใช้ในการเรียนการสอน ช่วยให้กิจกรรมการเรียนรู้มีประสิทธิภาพและผู้เรียนเกิด
กระบวนการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว เป็นต้น แต่ในบางครั้งการเปลี่ยนแปลงนี้ก็อาจเป็นอุปสรรค และ
ก่อให้เกิดความยุ่งยากในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นแต่หากมนุษย์มีประบวนการคิดเป็นเหตุเป็นผล
ปัญหาหรืออุปสรรคเหล่านี้ คงจะลดน้อยลงหรือหมดไปในที่สุด กระบวนการคิดอย่างสร้างสรรค์จึงมี
ความสาคัญยิ่งในการที่จะช่วยแก้ปัญหาต่าง ๆ และมนุษย์ก็ชอบที่จะเรียนรู้ในทางสร้างสรรค์ด้วยกิจกรรม
การฝึกแก้ปัญหา ซึ่งแต่เดิมก็อาศัยครูผู้สอนเป็นศูนย์กลางในการเรียนรู้แต่ปัจจุบันยังมีวิธีการสอนอีกมาก
ในการส่งเสริมและพัฒนาแนวความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งเป็นวิธีวัดที่สะดวกและมีประสิทธิภาพมากกว่า
การเรียนในรูปแบบบังคับหรือยึดครูเป็นศูนย์กลาง วิธีการดังกล่าวอาจได้แก่ การนาเอาเทคโนโลยี
สารสนเทศมาเป็นเครื่องมือที่จะช่วยในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์โดยผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้และ
อิสระที่จะคิดสร้างสรรค์ สอดคล้องกับคากล่าว “ความคิดสร้างสรรค์เป็นสิ่งที่มีอยู่ในตัวของมนุษย์ซึ่ง
บางคนก็มีมาก บางคนก็มีน้อยหรือที่เข้าใจว่าความคิดสร้างสรรค์อยู่ในความถนัด (Aptitude) หรือ
ความสามารถ(Ability) ความคิดสร้างสรรค์นอกจากจะเกิดมาเฉพาะบุคคลแล้วยังสามารถเกิดขึ้นได้จาก
การสะสมประสบการณ์และการแก้ปัญหาซึ่ง De Bono (1978) ได้กล่าวว่าการค้นพบความคิด และอธิบาย
รับทําโปรเจค.net
2
ความคิดเหล่านั้นได้นักเรียนสามารถได้จากลักษณะการให้มีประสบการณ์ในการรู้จักใช้ความคิด
สร้างสรรค์ในการแก้ปัญหา” (เกสร ธิตะจารี.2546:เว็บไซต์)และการจัดการเรียนการสอนที่ผ่านมา
ประเทศไทยก็ได้มีการนาเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้มากยิ่งขึ้น
เทคโนโลยีสารสนเทศได้กลายเป็นปัจจัยสาคัญอย่างยิ่ง ต่อการพัฒนาองค์กร และสังคมในทุก ๆ
ส่วน อย่างที่ไม่อาจจะปฏิเสธได้นับวันเทคโนโลยีดังกล่าวก็ยิ่งขยับเข้ามาใกล้ตัวเรามากขึ้นทุกขณะ
(ไพศาล รัตนะ. 2545: เว็บไซต์) โดยที่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ทาหน้าที่เป็นตัวกลางที่สาคัญในการโยง
ระบบข้อมูลข่าวสาร การผลิต การค้า ฯลฯ ให้ทั่วโลกเชื่อมถึงกันอย่างสะดวกรวดเร็ว จนเรียกว่าเป็นยุค
แห่งโลกไร้พรมแดน ด้วยเหตุนี้เองทาให้ทุกฝ่ายตะหนักถึงความจาเป็นยิ่งยวดของการเข้าถึงวิทยาการ
ดังกล่าว ซึ่งก็รวมถึงการจัดการเรียนการสอนคอมพิวเตอร์ในโรงเรียนที่แต่เดิมเป็นแค่วิชาเลือกสาหรับ
นักเรียนสายวิทยาศาสตร์ มาถึงวันนี้ คอมพิวเตอร์ถูกปรับเป็นวิชาบังคับสาหรับแผนการเรียน พ.ร.บ.
การศึกษาแห่งชาติ 2542 เองก็ได้ให้ความสาคัญกับเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยกาหนดให้มีการจัดทาร่าง
แผนแม่บทเพื่อนาเทคโนโลยีสารสนเทศต่าง ๆ มาใช้เพื่อการศึกษาอย่างเป็นระบบ โดยมุ่งให้เด็กไทยมี
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ อย่างน้อยเพื่อการพิมพ์งาน คานวณ การสร้าง แผนภูมิ เก็บรวบรวมข้อมูล
และสามารถเข้าสู้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่อเข้าสู้ข่าวสารข้อมูลได้(รมณี รวยแสน. 2545: เว็บไซต์)
ความคิดสร้างสรรค์เป็นความคิดระดับสูงด้านหนึ่ง ที่ควรได้รับการส่งเสริมให้เกิดขึ้นในเยาวชน
ทุกคน การเรียนวิชาวิทยาศาสตร์เป็นการเรียนที่ส่งเสริมกระบวนการคิดสร้างสรรค์ทั้งนี้เพราะใน
กระบวนการแก้ปัญหาทางวิชาวิทยาศาสตร์ทุกขั้นตอน จาเป็นต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์จึงจะสามารถ
แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ครูจึงควรกระตุ้นด้วยวิธีการต่างๆ ให้นักเรียนฝึกใช้ความคิดสร้างสรรค์
ให้มากที่สุด อย่างไรก็ตามวิธีที่ดีที่สุดที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์ คือ ครูจะต้องพัฒนา
ตนเองให้มีความคิดสร้างสรรค์สูงก่อน (พงษ์เทพ บุญศรีโรจน์. 2545 : เว็บไซต์) ซึ่งสนับสนุนคากล่าว
ที่ว่า “ความคิดสร้างสรรค์จึงเป็นหัวใจสาคัญของการสร้างเด็กยุคใหม่ มนุษย์พันธ์ใหม่ต้องมีความคิด
สร้างสรรค์สูง ดังนั้น ครูต้องตระหนักตรงนี้ว่าการที่เด็กมีความคิดสร้างสรรค์อย่าไปคิดว่าเป็นเด็กเกเร
เสมอไป บางครั้งเด็กอาจจะอยากคิดแตกต่างถ้าเป็นการคิดที่แตกต่างที่สร้างสรรค์ต้องส่งเสริม นั่นคือ
ส่งเสริมการคิดแตกต่างอย่างสร้างสรรค์ถ้าไม่เช่นนั้นเด็กจะไม่มีทางออก แต่อย่าให้เด็กคิดแตกต่างที่ไม่
สร้างสรรค์เท่านั้นเอง”(ทักษิณ ชินวัตร. 2544 : เว็บไซต์)
ปัจจุบันได้มีการศึกษาเทคนิคใหม่มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนซึ่งช่วยพัฒนาความคิด
สร้างสรรค์ เป็นต้นว่า วิธีการซินเนคติกส์ (Synectics Methods) ของกอร์ตอน (Gordon. 1961) ซึ่งเป็น
เทคนิคที่ส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสร้างความคุ้นเคยกับสถานการณ์หรือปัญหาใหม่ ๆ เพื่อให้เกิด
ความเข้าใจและมีความพร้อมในการแก้ปัญหาต่างๆ ได้ง่ายยิ่งขึ้น เทคนิคนี้ต้องใช้การอุปมาอุปมัย
(Analogy) ในการใช้จิตนาการค่อนข้างสูง จึงเหมาะสมกับเด็กมากกว่าผู้ใหญ่ส่วนเทคนิคการระดมสมอง
(Brain Storming) ของออสบอร์น (Osborn. 1963) เป็นรูปแบบที่เปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้มีการ
รับทําโปรเจค.net
3
เสนอความคิดของตัวเองได้อย่างเต็มที่เป็นการสร้างทางเลือกที่หลากหลายในการแก้ปัญหา แต่รูปแบบ
ดังกล่าวต้องใช้เวลามากในการทากิจกรรม และการพัฒนาการคิดออกนอกกรอบ (Lateral Thinking) ของ
ดีโบโน (De Bono. 1978) ก็ยังเป็นเทคนิคที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดออกนอกกรอบ ไม่ยึดติดกับรูปแบบเดิม
ๆ แต่เทคนิคทุกอย่างต้องอาศัยการฝึกที่ใช้เวลามากและต้องทาอย่างต่อเนื่องจึงจะประสบความสาเร็จ
นอกจากนั้นยังมีเทคนิค Arcturus IV โดยศาสตราจารย์Arnold แห่งมหาวิทยาลัย M.I.T. ซึ่งเน้นการ
ฝึกหัดในการขจัดขบวนการคิดเดิมที่กลายเป็นอุปสรรคในการแก้ไขปัญหา ในสถานการณ์ใหม่ กระตุ้น
ความคิดในลักษณะประสบการณ์ การจัดระบบและวิธีการคิดใหม่ ๆ Metaphor เป็นวิธีการสอน ซึ่ง
พัฒนาจากวิธีการ Synectics ของศาสตราจารย์กอร์ตอน ซึ่งใช้การอุปมาอุปมัยในลักษณะต่าง ๆ กันเป็น
การนาปัญหาที่ต้องขบคิด ไปเปรียบเทียบที่เคยมีประสบการณ์มาก่อน แม้จะดูเหมือนว่าเข้ากันไม่ก็ตาม
เพื่อให้การมองปัญหาที่ซับซ้อนยุ่งยาก เป้นของง่าย ๆ อันทาให้ได้แนวทางความคิดไปสู้การแก้ปัญหาใน
ที่สุด และแนวทางการสอนและการเรียนรู้โดยศาสตราจารย์Skinner โดยการพัฒนาลักษณะของ
โปรแกรมการสอน และใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องช่วยสอน จุดประสงค์การสอน ในทานองวิธีการ
เครื่องกลนี้ เพื่อช่วยเพิ่มความรวดเร็ว และได้เนื้อหาครบถ้วนโดยตลอด ซึ่งโดยวิธีการเดิมแล้วเป็น
ลักษณะ เชื่องช้าได้เนื้อหาไม่สมบูรณ์ และเสียเวลาและกาลังกายทั้งครูและนักเรียน จะเห็นได้ว่ามีรูปแบบ
การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์หลากหลายรูปแบบที่ได้นามาศึกษาวิจัยจนเป็นที่ยอมรับและถูกนาไปใช้
กันอย่างแพร่หลาย และขณะเดียวกันนี้ก็ยังมีผู้ที่แสวงหาวิธีการ แนวคิด และเทคนิคใหม่ ๆ เพื่อที่จะ
นาไปใช้การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของคนอยู่ตลอดเวลา จะเห็นได้ว่าวิธีการเหล่านี้ถูกพัฒนาเพื่อเน้น
การคิดเชิงสร้างสรรค์ทั้งสิ้น
จะเห็นได้ว่าความคิดสร้างสรรค์เป็นสิ่งสาคัญที่ควรมีการส่งเสริมและพัฒนาให้เกิดขึ้นและเป็นที่
ทราบกันมาแล้วว่าความคิดสร้างสรรค์เป็นคุณสมบัติที่อยู่ในคนทุกคน ดังนั้นหากจะส่งเสริมหรือพัฒนา
ก็สามารถทาได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม ในทางตรงก็คือการสอนและการฝึกอบรม ส่วนทางอ้อม คือการ
สร้างสภาพบรรยากาศ การจัดสิ่งแวดล้อมและการส่งเสริมการเป็นอิสระในการเรียนรู้ (อารี รังสินันท์.
2524 : 74) ซึ่งหากมีการนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามามีส่วนช่วย ก็จะทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วย
ตนเอง และยังสามารถถ่ายทอดความรู้หรือนาประสบการณ์ไปใช้แก้ปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ในฐานะผู้วิจัยที่ทางานในด้านการสอนได้ตะหนักถึงความสาคัญ จึงได้ทาการสร้างเครื่องมือพัฒนา
ความคิดสร้างสรรค์โดยอาศัยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาช่วยในกระบวนการทดลอง และจะนาไปใช้ใน
การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในจังหวัดชัยภูมิ ซึ่งนับว่าเด็กในระดับนี้มี
ความเหมาะสมในการใช้เครื่องมือในการทดลอง และผลที่ไดจากการทดลองนี้ก็จะนาไปเป็นแนวทางใน
การส่งเสริมและพัฒนาความรู้ความสามารถด้านอื่น ๆ และจะเป็นประโยชน์ต่อกระบวนการจัดการเรียน
การสอนใน อนาคตต่อไป
รับทําโปรเจค.net
4
ระบบการศึกษาของไทยภายหลังการปฏิรูปการศึกษาได้เริ่มให้ความสาคัญของการศึกษา เพื่อ
พัฒนาความคิด เริ่มส่งเสริมการคิดให้แก่เด็กและเยาวชนอย่างจริงจัง โดยประเมินคุณภาพสถานศึกษาทั้ง
ภายในและภายนอก ตลอดจนต้อกาหนดเป็นคุณลักษณะของผู้เรียนที่พึ่งประสงค์ และกาหนดเป็น
สมรรถนะผู้เรียน ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 โดยให้สถานศึกษาจัดกระบวน
การณ์ การประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ปัญหาและจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการ
ปฏิบัติและคิดเป็นทาเป็น สิ่งที่สาคัญอยู่ที่การหาวิธีการที่จะทาให้เราสามารถนาความคิดสร้างสรรค์ที่มีอยู่
ในตัวเราโดยธรรมชาติออกมาใช้ได้ซึ่งจะต้องมีการฝึกฝนอย่างสม่าเสมอ ครูจึงเป็นบุคคลที่มี
ความสาคัญต่อการฝึกฝนทางด้านความคิดสร้างสรรค์ของเด็กมาก เพราะจะเป็นผู้ที่คอยจัดเตรียมกิจกรรม
ต่างๆ มาให้นักเรียนได้ฝึกฝนความคิดสร้างสรรค์ซึ่งกิจกรรมที่จะช่วยพัฒนาความคิดสร้างสรรค์มีอยู่
มากมาย เป็นหน้าที่ของครูที่จะต้องเป็นผู้คัดเลือกมาให้เหมาะสมกับเด็กแต่ละวัย
ควำมคิดสร้ำงสรรค์ แบ่งออกเป็น 3 ด้ำนด้วยกัน คือ
1. ควำมคิดสร้ำงสรรค์ทำงด้ำนศิลปะ (Artistic Creativity) เช่น การเขียนหนังสือ การระบายสี หรือการ
แต่งเพลง ซึ่งล้วนแต่เป็นการริเริ่มสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ
2. ควำมคิดสร้ำงสรรค์ทำงด้ำนกำรค้นพบ (Creativity of Discover) เช่น ค้นพบสิ่งประดิษฐ์หรือ
ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ
3. ควำมคิดสร้ำงสรรค์ทำงอำรมณ์ขัน (Creativity of Humour) ซึ่งนับได้ว่าเป็นสิ่งที่พิเศษ เพราะการมี
อารมณ์ขันนั้นเป็นการมองโลกในมุมมองที่ต่างออกไป และเป็นสิ่งจาเป็นในการสร้างความคิดสร้างสรรค์
ให้เกิดขึ้น
ตัวบ่งชี้ที่แสดงให้เห็นถึงพลังควำมฉลำดเชิงสร้ำงสรรค์
1. ควำมคล่องแคล่ว (Fluency) อัตราความเร็วในการขยายความคิดใหม่ๆ ได้อย่างคล่องแคล่ว รวดเร็ว
ความคล่องแคล่วในการแตกความคิด คือ ระบบการวัดของความสามารถในการผลิตความคิด
สร้างสรรค์ของเรา
2. ควำมยืดหยุ่น (Flexibility) ความสามารถในการผลิตความคิดที่หลากหลายแตกต่างชนิดกัน และ
ความสามารถในการสับเปลี่ยนแง่คิดในการมองปัญหาไปตามกลยุทธ์ต่างๆ ที่ต่างกัน รวมกันเป็น
ความยืดหยุ่นที่สร้างสรรค์ของเรา ความยืดหยุ่นนี้รวมไปถึงความสามารถในการเปลี่ยนมุมมองสิ่ง
ต่างๆ รู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเรา นาความคิดเดิมมาจัดเป็นรูปแบบใหม่ๆ และเปลี่ยนแปลงความคิดที่มี
อยู่เดิม ทั้งยังนับรวมความสามารถในการใช้ประสาทสัมผัส ทั้งหมดของเรามาสร้างความคิดใหม่
3. ควำมคิดริเริ่ม (Originality) ความคิดริเริ่มที่ยอดเยี่ยมไม่เหมือนใคร คือ หนึ่งในหัวใจของความฉลาด
เชิงสร้างสรรค์และความคิดสร้างสรรค์ความคิดยอดเยี่ยมริเริ่ม คือ ความสามารถในการผลิตความคิด
ซึ่งเป็นของเราคนเดียว ที่มีความแปลกไม่เหมือนใคร ประหลาด และไม่ธรรมดา
รับทําโปรเจค.net
5
4. ขยำยควำมคิด (Expanding on Idea) นักคิดสร้างสรรค์ที่ดีต้องหยิบเอาแก่นของความคิดมาแตก
แขนงความคิดออกไปทุกทิศทุกทาง พัฒนา แผ่ขยายกิ่งก้านสาขา ตกแต่งเพิ่มเติมรายละเอียดออกไป
รอบๆ ความคิดเดิม
5. กำรโยงใย (Association) นักคิดสร้างสรรค์ใช้หลักการที่ว่า สมองของมนุษย์คือ “เครื่องโยงใย
ต่อเชื่อม” ขนาดยักษ์หากนักคิดสร้างสรรค์รู้แน่ชัดว่าเครื่องเชื่อมโยงนี้ทางานอย่างไร ก็สามารถนา
วิธีการนี้มาใช้อย่างไม่มีที่สิ้นสุด เพื่อยกระดับความคิดสร้างสรรค์ในทุกด้าน
โทนี่ บูซาน (Tony Buzan, 2547) ผู้ในกาเนิดแผนผังความคิด (Mind Map) กล่าวว่า เราทุกคนเป็น
จิตรกรโดยกาเนิด ซึ่งเขาได้สารวจความคิดเห็นของคนทั่วโลก พบว่ามากกว่า 95 % ของคนทั่วโลกเชื่อว่า
ตนเองไม่มีความคิดสร้างสรรค์หรือไม่มีหัวทางด้านศิลปะแม้แต่น้อย และยังเชื่ออีกว่าจิตรกรและศิลปิน
ได้พรสวรรค์พิเศษบางประการที่คนเพียงไม่กี่คนเท่านั้นที่จะได้รับพรข้อนี้ (การพัฒนาความฉลาดเชิง
สร้างสรรค์ เว็บไซต์อรอนงค์ฤทธิ์ฤาชัย)
จากการศึกษาเอกสารข้างต้นเห็นว่าการ ความคิดสร้างสรรค์เป็นสิ่งที่มีประโยชน์และมีความ
จาเป็นอย่างยิ่งที่ครูควรให้การสนับสนุนส่งเสริมและเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ฝึกทักษะการคิด
สร้างสรรค์ให้มากที่สุด ทักษะการคิดสร้างสรรค์เป็นศักยภาพของแต่ละบุคคลซึ่งสามารถพัฒนาให้
เกิดขึ้นได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวัยเด็ก ซึ่งผู้วิจัยในฐานะครูผู้สอนในช่วงชั้นที่ 3-4 โรงเรียน
นาหนองทุ่มวิทยา อาเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ ซึ่งเป็นโรงเรียนมัธยมขนาดกลาง การจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ส่วนใหญ่ครูผู้สอนจะเน้นเนื้อหา และกิจกรรมในชั้นเรียนยังไม่ส่งเสริมให้นักเรียนได้เกิดการคิด
เท่าที่ควร และจากรายงานการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โรงเรียนในสังกัดกลุ่มพื้นที่การศึกษาแก้งคร้อ 3 พบว่า ด้านผู้เรียน นักเรียนขาดความสามารถด้านการ
คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ครูควรส่งเสริมให้นักเรียนเกิดพฤติกรรมดังกล่าวรวมทั้งจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่
เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และมีการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน ซึ่งผู้วิจัยมีความเห็นว่านักเรียนควร
ได้รับการแก้ไขปัญหาดังกล่าวอย่างเร่งด่วนและจริงจัง เพื่อส่งเสริมให้เป็นผู้มีความสามารถในการคิด
วิเคราะห์ สังเคราะห์ และมีความคิดสร้างสรรค์มีความเข้าใจในบทเรียน สามารถเชื่อมโยงความรู้สู่การ
นาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
ควำมมุ่งหมำยของกำรวิจัย
การวิจัยในครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมาย ดังนี้
รับทําโปรเจค.net
6
1. เพื่อเปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ด้านความคิดคล่อง ความคิดริเริ่ม ความคิด
ละเอียดลออ ความคิดยืดหยุ่น ของนักเรียนที่ได้รับกรฝึกด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกกับกลุ่มที่ฝึก
โดยการวาดภาพบนกระดาษ ก่อนการทดลองและหลังการทดลอง
2. ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความคิดสร้างสรรค์ของแต่ละคน เช่นผลการเรียนที่แตกต่างกันมี
ผลทาให้ความคิดสร้างสรรค์แตกต่างกันหรือไม่
สมมติฐำนของกำรวิจัย
1. กลุ่มที่ได้รับการฝึกด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกมีความคิดสร้างสรรค์มากกว่า
2. ผลการเรียนไม่ใช่ปัจจัยที่มากาหนดระดับความคิดสร้างสรรค์ของแต่ละคน
ควำมสำคัญของปัญหำกำรวิจัย
1. ทาให้ทราบว่าความคิดสร้างสรรค์ด้านมีความคิดสร้างสรรค์ด้านความคิดคล่อง ความคิดริเริ่ม
ความคิดละเอียดลออ ความคิดยืดหยุ่น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สามารถพัฒนาได้หรือไม่
2. เป็นแนวทางให้ครูผู้สอนหรือผู้ที่สนใจศึกษาค้นคว้า ได้นาเอากิจกรรมการฝึกด้วยโปรแกรม
คอมพิวเตอร์กราฟิกไปประยุกต์ใช้รวมกับกระบวนการสอนในรายวิชาต่าง ๆ
3. เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ให้กับนักเรียนและสามารถใช้ความคิดสร้างสรรค์พัฒนาตนเอง
และสังคมได้
4.สนับสนุนให้นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์กล้าลองผิดลองถูก
ขอบเขตของกำรวิจัย
1. ประชำกร
ประชากรที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนนาหนองทุ่มวิทยา
อาเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 ปีการศึกษา 2555
2. กลุ่มตัวอย่ำง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนนาหนองทุ่ม
วิทยาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 จานวน 80 คน ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple
Random Sampling) สุ่มโดยการจับฉลาก แบ่งเป็นกลุ่มได้ดังนี้
1) กลุ่มที่ฝึกโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก 1 กลุ่ม จานวน 20 คน
2) กลุ่มที่ฝึกโดยการวาดภาพบนกระดาษ 1 กลุ่ม จานวน 20 คน
3) กลุ่มที่ฝึกโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและฝึกโดยการวาดภาพบนกระดาษ 1
กลุ่ม จานวน 20 คน
4) กลุ่มควบคุม 1 กลุ่ม จานวน 20 คน
รับทําโปรเจค.net
7
3. ตัวแปรที่ศึกษำ
3.1 ตัวแปรอิสระ ได้แก่
3.1.1 วิธีการฝึก
3.1.1.1 วิธีการฝึกโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
3.1.1.2 วิธีการฝึกโดยการวาดภาพบนกระดาษ
3.1.1.3 วิธีการฝึกโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและฝึกโดยการวาดภาพบน
กระดาษ
3.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ความคิดสร้างสรรค์ 4 ด้าน คือ
3.2.1 ความคิดคล่อง (Fluency)
3.2.2 ความคิดริเริ่ม (Originality)
3.2.3 ความคิดละเอียดลออ (Elaboration)
3.2.4 ความคิดยืดหยุ่น (Flexibility)
นิยำมศัพท์เฉพำะ
1. ความคิดสร้างสรรค์ หมายถึง กระบวนการคิด หรือความสามารถของมนุษย์ในการค้นหา
ความสัมพันธ์ใหม่ระหว่างสิ่งต่าง ๆ ทาให้สามารถแก้ปัญหา คิดประดิษฐ์เครื่องมือหรือวิธีการใหม่
ตลอดจนศิลปกรรมแปลกใหม่ และมีคุณค่า ซึ่งประกอบด้วยความคิด 4 ลักษณะ คือ
1.1 ความคิดคล่อง (Fluency) หมายถึง ความสามารถของบุคคล ในการคิดอย่างรวดเร็ว
และมีการตอบสนองต่อการตอบมากที่สุด ในเวลาที่กาหนด
1.2 ความคิดริเริ่ม (Originality) หมายถึง ความสามารถของบุคลในการคิดสิ่งใหม่ที่
แตกต่างไปจากสิ่งเดิมและแตกต่างจากบุคลอื่น และมีคุณค่า
1.3 ความคิดละเอียดลออ (Elaboration) หมายถึง ความสามรถของบุคคลในการคิด
ตอบสนองต่อสิ่งเร้าหรือปัญหาในการตกแต่ง และสามารถให้รายละเอียดเพื่อให้เกิดภาพ หรือความคิดที่
ชัดเจนสมบูรณ์
1.4 ความคิดยืดหยุ่น (Flexibility) หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการคิดหา
คาตอบได้หลายทิศทาง
2. โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก หมายถึง Paintbrush for windows เป็นโปรแกรมสาเร็จรูป
พื้นฐานที่มีมากับโปรแกรมระบบปฏิบัติการ Windows โดยที่โปรแกรมสามารถใช้งานได้ง่ายและมี
คุณภาพในการใช้ด้านสี รูปทรงต่าง ๆ ได้ดีมีความสามารถหลากหลาย
3. แบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์หมายถึง เครื่องมือสาหรับวัดความคิดสร้างสรรค์แบบของ
ทอแรนซ์ (Torrance) ซึ่งอารี พันธ์มณี ได้นามาดันแปลงเป็นภาษาไทย
รับทําโปรเจค.net

Contenu connexe

Plus de rubtumproject.com

บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
rubtumproject.com
 

Plus de rubtumproject.com (20)

ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพาปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
 
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
 
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
 
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Accessตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
 
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษมรับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
 
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
 
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
 
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรมบททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยววิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
 
บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr
 
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรมตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
 
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
 
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา Cตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
 
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้าบัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
 

บทที่ 1 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ

  • 1. บทที่ 1 บทนำ ภูมิหลัง การเรียนรู้ในปัจจุบันความรู้ในตาราก็ไม่อาจเพียงพอกับความต้องการในอนาคตได้ ซึ่งตาม หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ 2551 ได้ระบุไว้ว่า ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการ คิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่างสร้างสรรค์การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่าง เหมาะสม นอกจากนั้นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ได้10ชี้ให้เห็นความสาคัญในการ ปรับเปลี่ยนจุดเน้นในการพัฒนาคุณภาพ คนในสังคมไทยให้มีคุณธรรม และมีความรอบรู้อย่างเท่าทัน ให้ มีความพร้อมทั้งด้านร่างกาย สติปัญญาอารมณ์และศีลธรรม สามารถก้าวทันการเปลี่ยนแปลงเพื่อนาไปสู่ สังคมฐานความรู้ได้อย่างมั่นคง แนวทางการพัฒนาคนดังกล่าวมุ่งเตรียมเด็กและเยาวชนให้มีพื้นฐาน จิตใจที่ดีงาม มีจิตสาธารณะ พร้อมทั้งมีสมรรถนะ ทักษะ และความรู้พื้นฐานที่จาเป็นในการดารงชีวิต อัน จะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน (สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 2549) ซึ่งความคิด สร้างสรรค์ก็เป็นฐานในเรื่องของการพัฒนาประเทศได้อย่างยั่งยืน สังคมไทยในยุคโลกาภิวัตน์มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งในการเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็วนี้ก่อให้เกิดผลกระทบในด้านต่าง ๆ อันส่งผลต่อการดาเนินชีวิตประจาวันของมนุษย์เช่น การนา คอมพิวเตอร์มาใช้ในการเรียนการสอน ช่วยให้กิจกรรมการเรียนรู้มีประสิทธิภาพและผู้เรียนเกิด กระบวนการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว เป็นต้น แต่ในบางครั้งการเปลี่ยนแปลงนี้ก็อาจเป็นอุปสรรค และ ก่อให้เกิดความยุ่งยากในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นแต่หากมนุษย์มีประบวนการคิดเป็นเหตุเป็นผล ปัญหาหรืออุปสรรคเหล่านี้ คงจะลดน้อยลงหรือหมดไปในที่สุด กระบวนการคิดอย่างสร้างสรรค์จึงมี ความสาคัญยิ่งในการที่จะช่วยแก้ปัญหาต่าง ๆ และมนุษย์ก็ชอบที่จะเรียนรู้ในทางสร้างสรรค์ด้วยกิจกรรม การฝึกแก้ปัญหา ซึ่งแต่เดิมก็อาศัยครูผู้สอนเป็นศูนย์กลางในการเรียนรู้แต่ปัจจุบันยังมีวิธีการสอนอีกมาก ในการส่งเสริมและพัฒนาแนวความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งเป็นวิธีวัดที่สะดวกและมีประสิทธิภาพมากกว่า การเรียนในรูปแบบบังคับหรือยึดครูเป็นศูนย์กลาง วิธีการดังกล่าวอาจได้แก่ การนาเอาเทคโนโลยี สารสนเทศมาเป็นเครื่องมือที่จะช่วยในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์โดยผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้และ อิสระที่จะคิดสร้างสรรค์ สอดคล้องกับคากล่าว “ความคิดสร้างสรรค์เป็นสิ่งที่มีอยู่ในตัวของมนุษย์ซึ่ง บางคนก็มีมาก บางคนก็มีน้อยหรือที่เข้าใจว่าความคิดสร้างสรรค์อยู่ในความถนัด (Aptitude) หรือ ความสามารถ(Ability) ความคิดสร้างสรรค์นอกจากจะเกิดมาเฉพาะบุคคลแล้วยังสามารถเกิดขึ้นได้จาก การสะสมประสบการณ์และการแก้ปัญหาซึ่ง De Bono (1978) ได้กล่าวว่าการค้นพบความคิด และอธิบาย รับทําโปรเจค.net
  • 2. 2 ความคิดเหล่านั้นได้นักเรียนสามารถได้จากลักษณะการให้มีประสบการณ์ในการรู้จักใช้ความคิด สร้างสรรค์ในการแก้ปัญหา” (เกสร ธิตะจารี.2546:เว็บไซต์)และการจัดการเรียนการสอนที่ผ่านมา ประเทศไทยก็ได้มีการนาเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้มากยิ่งขึ้น เทคโนโลยีสารสนเทศได้กลายเป็นปัจจัยสาคัญอย่างยิ่ง ต่อการพัฒนาองค์กร และสังคมในทุก ๆ ส่วน อย่างที่ไม่อาจจะปฏิเสธได้นับวันเทคโนโลยีดังกล่าวก็ยิ่งขยับเข้ามาใกล้ตัวเรามากขึ้นทุกขณะ (ไพศาล รัตนะ. 2545: เว็บไซต์) โดยที่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ทาหน้าที่เป็นตัวกลางที่สาคัญในการโยง ระบบข้อมูลข่าวสาร การผลิต การค้า ฯลฯ ให้ทั่วโลกเชื่อมถึงกันอย่างสะดวกรวดเร็ว จนเรียกว่าเป็นยุค แห่งโลกไร้พรมแดน ด้วยเหตุนี้เองทาให้ทุกฝ่ายตะหนักถึงความจาเป็นยิ่งยวดของการเข้าถึงวิทยาการ ดังกล่าว ซึ่งก็รวมถึงการจัดการเรียนการสอนคอมพิวเตอร์ในโรงเรียนที่แต่เดิมเป็นแค่วิชาเลือกสาหรับ นักเรียนสายวิทยาศาสตร์ มาถึงวันนี้ คอมพิวเตอร์ถูกปรับเป็นวิชาบังคับสาหรับแผนการเรียน พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ 2542 เองก็ได้ให้ความสาคัญกับเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยกาหนดให้มีการจัดทาร่าง แผนแม่บทเพื่อนาเทคโนโลยีสารสนเทศต่าง ๆ มาใช้เพื่อการศึกษาอย่างเป็นระบบ โดยมุ่งให้เด็กไทยมี ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ อย่างน้อยเพื่อการพิมพ์งาน คานวณ การสร้าง แผนภูมิ เก็บรวบรวมข้อมูล และสามารถเข้าสู้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่อเข้าสู้ข่าวสารข้อมูลได้(รมณี รวยแสน. 2545: เว็บไซต์) ความคิดสร้างสรรค์เป็นความคิดระดับสูงด้านหนึ่ง ที่ควรได้รับการส่งเสริมให้เกิดขึ้นในเยาวชน ทุกคน การเรียนวิชาวิทยาศาสตร์เป็นการเรียนที่ส่งเสริมกระบวนการคิดสร้างสรรค์ทั้งนี้เพราะใน กระบวนการแก้ปัญหาทางวิชาวิทยาศาสตร์ทุกขั้นตอน จาเป็นต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์จึงจะสามารถ แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ครูจึงควรกระตุ้นด้วยวิธีการต่างๆ ให้นักเรียนฝึกใช้ความคิดสร้างสรรค์ ให้มากที่สุด อย่างไรก็ตามวิธีที่ดีที่สุดที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์ คือ ครูจะต้องพัฒนา ตนเองให้มีความคิดสร้างสรรค์สูงก่อน (พงษ์เทพ บุญศรีโรจน์. 2545 : เว็บไซต์) ซึ่งสนับสนุนคากล่าว ที่ว่า “ความคิดสร้างสรรค์จึงเป็นหัวใจสาคัญของการสร้างเด็กยุคใหม่ มนุษย์พันธ์ใหม่ต้องมีความคิด สร้างสรรค์สูง ดังนั้น ครูต้องตระหนักตรงนี้ว่าการที่เด็กมีความคิดสร้างสรรค์อย่าไปคิดว่าเป็นเด็กเกเร เสมอไป บางครั้งเด็กอาจจะอยากคิดแตกต่างถ้าเป็นการคิดที่แตกต่างที่สร้างสรรค์ต้องส่งเสริม นั่นคือ ส่งเสริมการคิดแตกต่างอย่างสร้างสรรค์ถ้าไม่เช่นนั้นเด็กจะไม่มีทางออก แต่อย่าให้เด็กคิดแตกต่างที่ไม่ สร้างสรรค์เท่านั้นเอง”(ทักษิณ ชินวัตร. 2544 : เว็บไซต์) ปัจจุบันได้มีการศึกษาเทคนิคใหม่มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนซึ่งช่วยพัฒนาความคิด สร้างสรรค์ เป็นต้นว่า วิธีการซินเนคติกส์ (Synectics Methods) ของกอร์ตอน (Gordon. 1961) ซึ่งเป็น เทคนิคที่ส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสร้างความคุ้นเคยกับสถานการณ์หรือปัญหาใหม่ ๆ เพื่อให้เกิด ความเข้าใจและมีความพร้อมในการแก้ปัญหาต่างๆ ได้ง่ายยิ่งขึ้น เทคนิคนี้ต้องใช้การอุปมาอุปมัย (Analogy) ในการใช้จิตนาการค่อนข้างสูง จึงเหมาะสมกับเด็กมากกว่าผู้ใหญ่ส่วนเทคนิคการระดมสมอง (Brain Storming) ของออสบอร์น (Osborn. 1963) เป็นรูปแบบที่เปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้มีการ รับทําโปรเจค.net
  • 3. 3 เสนอความคิดของตัวเองได้อย่างเต็มที่เป็นการสร้างทางเลือกที่หลากหลายในการแก้ปัญหา แต่รูปแบบ ดังกล่าวต้องใช้เวลามากในการทากิจกรรม และการพัฒนาการคิดออกนอกกรอบ (Lateral Thinking) ของ ดีโบโน (De Bono. 1978) ก็ยังเป็นเทคนิคที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดออกนอกกรอบ ไม่ยึดติดกับรูปแบบเดิม ๆ แต่เทคนิคทุกอย่างต้องอาศัยการฝึกที่ใช้เวลามากและต้องทาอย่างต่อเนื่องจึงจะประสบความสาเร็จ นอกจากนั้นยังมีเทคนิค Arcturus IV โดยศาสตราจารย์Arnold แห่งมหาวิทยาลัย M.I.T. ซึ่งเน้นการ ฝึกหัดในการขจัดขบวนการคิดเดิมที่กลายเป็นอุปสรรคในการแก้ไขปัญหา ในสถานการณ์ใหม่ กระตุ้น ความคิดในลักษณะประสบการณ์ การจัดระบบและวิธีการคิดใหม่ ๆ Metaphor เป็นวิธีการสอน ซึ่ง พัฒนาจากวิธีการ Synectics ของศาสตราจารย์กอร์ตอน ซึ่งใช้การอุปมาอุปมัยในลักษณะต่าง ๆ กันเป็น การนาปัญหาที่ต้องขบคิด ไปเปรียบเทียบที่เคยมีประสบการณ์มาก่อน แม้จะดูเหมือนว่าเข้ากันไม่ก็ตาม เพื่อให้การมองปัญหาที่ซับซ้อนยุ่งยาก เป้นของง่าย ๆ อันทาให้ได้แนวทางความคิดไปสู้การแก้ปัญหาใน ที่สุด และแนวทางการสอนและการเรียนรู้โดยศาสตราจารย์Skinner โดยการพัฒนาลักษณะของ โปรแกรมการสอน และใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องช่วยสอน จุดประสงค์การสอน ในทานองวิธีการ เครื่องกลนี้ เพื่อช่วยเพิ่มความรวดเร็ว และได้เนื้อหาครบถ้วนโดยตลอด ซึ่งโดยวิธีการเดิมแล้วเป็น ลักษณะ เชื่องช้าได้เนื้อหาไม่สมบูรณ์ และเสียเวลาและกาลังกายทั้งครูและนักเรียน จะเห็นได้ว่ามีรูปแบบ การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์หลากหลายรูปแบบที่ได้นามาศึกษาวิจัยจนเป็นที่ยอมรับและถูกนาไปใช้ กันอย่างแพร่หลาย และขณะเดียวกันนี้ก็ยังมีผู้ที่แสวงหาวิธีการ แนวคิด และเทคนิคใหม่ ๆ เพื่อที่จะ นาไปใช้การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของคนอยู่ตลอดเวลา จะเห็นได้ว่าวิธีการเหล่านี้ถูกพัฒนาเพื่อเน้น การคิดเชิงสร้างสรรค์ทั้งสิ้น จะเห็นได้ว่าความคิดสร้างสรรค์เป็นสิ่งสาคัญที่ควรมีการส่งเสริมและพัฒนาให้เกิดขึ้นและเป็นที่ ทราบกันมาแล้วว่าความคิดสร้างสรรค์เป็นคุณสมบัติที่อยู่ในคนทุกคน ดังนั้นหากจะส่งเสริมหรือพัฒนา ก็สามารถทาได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม ในทางตรงก็คือการสอนและการฝึกอบรม ส่วนทางอ้อม คือการ สร้างสภาพบรรยากาศ การจัดสิ่งแวดล้อมและการส่งเสริมการเป็นอิสระในการเรียนรู้ (อารี รังสินันท์. 2524 : 74) ซึ่งหากมีการนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามามีส่วนช่วย ก็จะทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วย ตนเอง และยังสามารถถ่ายทอดความรู้หรือนาประสบการณ์ไปใช้แก้ปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในฐานะผู้วิจัยที่ทางานในด้านการสอนได้ตะหนักถึงความสาคัญ จึงได้ทาการสร้างเครื่องมือพัฒนา ความคิดสร้างสรรค์โดยอาศัยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาช่วยในกระบวนการทดลอง และจะนาไปใช้ใน การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในจังหวัดชัยภูมิ ซึ่งนับว่าเด็กในระดับนี้มี ความเหมาะสมในการใช้เครื่องมือในการทดลอง และผลที่ไดจากการทดลองนี้ก็จะนาไปเป็นแนวทางใน การส่งเสริมและพัฒนาความรู้ความสามารถด้านอื่น ๆ และจะเป็นประโยชน์ต่อกระบวนการจัดการเรียน การสอนใน อนาคตต่อไป รับทําโปรเจค.net
  • 4. 4 ระบบการศึกษาของไทยภายหลังการปฏิรูปการศึกษาได้เริ่มให้ความสาคัญของการศึกษา เพื่อ พัฒนาความคิด เริ่มส่งเสริมการคิดให้แก่เด็กและเยาวชนอย่างจริงจัง โดยประเมินคุณภาพสถานศึกษาทั้ง ภายในและภายนอก ตลอดจนต้อกาหนดเป็นคุณลักษณะของผู้เรียนที่พึ่งประสงค์ และกาหนดเป็น สมรรถนะผู้เรียน ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 โดยให้สถานศึกษาจัดกระบวน การณ์ การประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ปัญหาและจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการ ปฏิบัติและคิดเป็นทาเป็น สิ่งที่สาคัญอยู่ที่การหาวิธีการที่จะทาให้เราสามารถนาความคิดสร้างสรรค์ที่มีอยู่ ในตัวเราโดยธรรมชาติออกมาใช้ได้ซึ่งจะต้องมีการฝึกฝนอย่างสม่าเสมอ ครูจึงเป็นบุคคลที่มี ความสาคัญต่อการฝึกฝนทางด้านความคิดสร้างสรรค์ของเด็กมาก เพราะจะเป็นผู้ที่คอยจัดเตรียมกิจกรรม ต่างๆ มาให้นักเรียนได้ฝึกฝนความคิดสร้างสรรค์ซึ่งกิจกรรมที่จะช่วยพัฒนาความคิดสร้างสรรค์มีอยู่ มากมาย เป็นหน้าที่ของครูที่จะต้องเป็นผู้คัดเลือกมาให้เหมาะสมกับเด็กแต่ละวัย ควำมคิดสร้ำงสรรค์ แบ่งออกเป็น 3 ด้ำนด้วยกัน คือ 1. ควำมคิดสร้ำงสรรค์ทำงด้ำนศิลปะ (Artistic Creativity) เช่น การเขียนหนังสือ การระบายสี หรือการ แต่งเพลง ซึ่งล้วนแต่เป็นการริเริ่มสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ 2. ควำมคิดสร้ำงสรรค์ทำงด้ำนกำรค้นพบ (Creativity of Discover) เช่น ค้นพบสิ่งประดิษฐ์หรือ ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ 3. ควำมคิดสร้ำงสรรค์ทำงอำรมณ์ขัน (Creativity of Humour) ซึ่งนับได้ว่าเป็นสิ่งที่พิเศษ เพราะการมี อารมณ์ขันนั้นเป็นการมองโลกในมุมมองที่ต่างออกไป และเป็นสิ่งจาเป็นในการสร้างความคิดสร้างสรรค์ ให้เกิดขึ้น ตัวบ่งชี้ที่แสดงให้เห็นถึงพลังควำมฉลำดเชิงสร้ำงสรรค์ 1. ควำมคล่องแคล่ว (Fluency) อัตราความเร็วในการขยายความคิดใหม่ๆ ได้อย่างคล่องแคล่ว รวดเร็ว ความคล่องแคล่วในการแตกความคิด คือ ระบบการวัดของความสามารถในการผลิตความคิด สร้างสรรค์ของเรา 2. ควำมยืดหยุ่น (Flexibility) ความสามารถในการผลิตความคิดที่หลากหลายแตกต่างชนิดกัน และ ความสามารถในการสับเปลี่ยนแง่คิดในการมองปัญหาไปตามกลยุทธ์ต่างๆ ที่ต่างกัน รวมกันเป็น ความยืดหยุ่นที่สร้างสรรค์ของเรา ความยืดหยุ่นนี้รวมไปถึงความสามารถในการเปลี่ยนมุมมองสิ่ง ต่างๆ รู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเรา นาความคิดเดิมมาจัดเป็นรูปแบบใหม่ๆ และเปลี่ยนแปลงความคิดที่มี อยู่เดิม ทั้งยังนับรวมความสามารถในการใช้ประสาทสัมผัส ทั้งหมดของเรามาสร้างความคิดใหม่ 3. ควำมคิดริเริ่ม (Originality) ความคิดริเริ่มที่ยอดเยี่ยมไม่เหมือนใคร คือ หนึ่งในหัวใจของความฉลาด เชิงสร้างสรรค์และความคิดสร้างสรรค์ความคิดยอดเยี่ยมริเริ่ม คือ ความสามารถในการผลิตความคิด ซึ่งเป็นของเราคนเดียว ที่มีความแปลกไม่เหมือนใคร ประหลาด และไม่ธรรมดา รับทําโปรเจค.net
  • 5. 5 4. ขยำยควำมคิด (Expanding on Idea) นักคิดสร้างสรรค์ที่ดีต้องหยิบเอาแก่นของความคิดมาแตก แขนงความคิดออกไปทุกทิศทุกทาง พัฒนา แผ่ขยายกิ่งก้านสาขา ตกแต่งเพิ่มเติมรายละเอียดออกไป รอบๆ ความคิดเดิม 5. กำรโยงใย (Association) นักคิดสร้างสรรค์ใช้หลักการที่ว่า สมองของมนุษย์คือ “เครื่องโยงใย ต่อเชื่อม” ขนาดยักษ์หากนักคิดสร้างสรรค์รู้แน่ชัดว่าเครื่องเชื่อมโยงนี้ทางานอย่างไร ก็สามารถนา วิธีการนี้มาใช้อย่างไม่มีที่สิ้นสุด เพื่อยกระดับความคิดสร้างสรรค์ในทุกด้าน โทนี่ บูซาน (Tony Buzan, 2547) ผู้ในกาเนิดแผนผังความคิด (Mind Map) กล่าวว่า เราทุกคนเป็น จิตรกรโดยกาเนิด ซึ่งเขาได้สารวจความคิดเห็นของคนทั่วโลก พบว่ามากกว่า 95 % ของคนทั่วโลกเชื่อว่า ตนเองไม่มีความคิดสร้างสรรค์หรือไม่มีหัวทางด้านศิลปะแม้แต่น้อย และยังเชื่ออีกว่าจิตรกรและศิลปิน ได้พรสวรรค์พิเศษบางประการที่คนเพียงไม่กี่คนเท่านั้นที่จะได้รับพรข้อนี้ (การพัฒนาความฉลาดเชิง สร้างสรรค์ เว็บไซต์อรอนงค์ฤทธิ์ฤาชัย) จากการศึกษาเอกสารข้างต้นเห็นว่าการ ความคิดสร้างสรรค์เป็นสิ่งที่มีประโยชน์และมีความ จาเป็นอย่างยิ่งที่ครูควรให้การสนับสนุนส่งเสริมและเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ฝึกทักษะการคิด สร้างสรรค์ให้มากที่สุด ทักษะการคิดสร้างสรรค์เป็นศักยภาพของแต่ละบุคคลซึ่งสามารถพัฒนาให้ เกิดขึ้นได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวัยเด็ก ซึ่งผู้วิจัยในฐานะครูผู้สอนในช่วงชั้นที่ 3-4 โรงเรียน นาหนองทุ่มวิทยา อาเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ ซึ่งเป็นโรงเรียนมัธยมขนาดกลาง การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ส่วนใหญ่ครูผู้สอนจะเน้นเนื้อหา และกิจกรรมในชั้นเรียนยังไม่ส่งเสริมให้นักเรียนได้เกิดการคิด เท่าที่ควร และจากรายงานการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนในสังกัดกลุ่มพื้นที่การศึกษาแก้งคร้อ 3 พบว่า ด้านผู้เรียน นักเรียนขาดความสามารถด้านการ คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ครูควรส่งเสริมให้นักเรียนเกิดพฤติกรรมดังกล่าวรวมทั้งจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และมีการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน ซึ่งผู้วิจัยมีความเห็นว่านักเรียนควร ได้รับการแก้ไขปัญหาดังกล่าวอย่างเร่งด่วนและจริงจัง เพื่อส่งเสริมให้เป็นผู้มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ และมีความคิดสร้างสรรค์มีความเข้าใจในบทเรียน สามารถเชื่อมโยงความรู้สู่การ นาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ ควำมมุ่งหมำยของกำรวิจัย การวิจัยในครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมาย ดังนี้ รับทําโปรเจค.net
  • 6. 6 1. เพื่อเปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ด้านความคิดคล่อง ความคิดริเริ่ม ความคิด ละเอียดลออ ความคิดยืดหยุ่น ของนักเรียนที่ได้รับกรฝึกด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกกับกลุ่มที่ฝึก โดยการวาดภาพบนกระดาษ ก่อนการทดลองและหลังการทดลอง 2. ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความคิดสร้างสรรค์ของแต่ละคน เช่นผลการเรียนที่แตกต่างกันมี ผลทาให้ความคิดสร้างสรรค์แตกต่างกันหรือไม่ สมมติฐำนของกำรวิจัย 1. กลุ่มที่ได้รับการฝึกด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกมีความคิดสร้างสรรค์มากกว่า 2. ผลการเรียนไม่ใช่ปัจจัยที่มากาหนดระดับความคิดสร้างสรรค์ของแต่ละคน ควำมสำคัญของปัญหำกำรวิจัย 1. ทาให้ทราบว่าความคิดสร้างสรรค์ด้านมีความคิดสร้างสรรค์ด้านความคิดคล่อง ความคิดริเริ่ม ความคิดละเอียดลออ ความคิดยืดหยุ่น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สามารถพัฒนาได้หรือไม่ 2. เป็นแนวทางให้ครูผู้สอนหรือผู้ที่สนใจศึกษาค้นคว้า ได้นาเอากิจกรรมการฝึกด้วยโปรแกรม คอมพิวเตอร์กราฟิกไปประยุกต์ใช้รวมกับกระบวนการสอนในรายวิชาต่าง ๆ 3. เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ให้กับนักเรียนและสามารถใช้ความคิดสร้างสรรค์พัฒนาตนเอง และสังคมได้ 4.สนับสนุนให้นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์กล้าลองผิดลองถูก ขอบเขตของกำรวิจัย 1. ประชำกร ประชากรที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนนาหนองทุ่มวิทยา อาเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 ปีการศึกษา 2555 2. กลุ่มตัวอย่ำง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนนาหนองทุ่ม วิทยาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 จานวน 80 คน ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) สุ่มโดยการจับฉลาก แบ่งเป็นกลุ่มได้ดังนี้ 1) กลุ่มที่ฝึกโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก 1 กลุ่ม จานวน 20 คน 2) กลุ่มที่ฝึกโดยการวาดภาพบนกระดาษ 1 กลุ่ม จานวน 20 คน 3) กลุ่มที่ฝึกโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและฝึกโดยการวาดภาพบนกระดาษ 1 กลุ่ม จานวน 20 คน 4) กลุ่มควบคุม 1 กลุ่ม จานวน 20 คน รับทําโปรเจค.net
  • 7. 7 3. ตัวแปรที่ศึกษำ 3.1 ตัวแปรอิสระ ได้แก่ 3.1.1 วิธีการฝึก 3.1.1.1 วิธีการฝึกโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก 3.1.1.2 วิธีการฝึกโดยการวาดภาพบนกระดาษ 3.1.1.3 วิธีการฝึกโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและฝึกโดยการวาดภาพบน กระดาษ 3.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ความคิดสร้างสรรค์ 4 ด้าน คือ 3.2.1 ความคิดคล่อง (Fluency) 3.2.2 ความคิดริเริ่ม (Originality) 3.2.3 ความคิดละเอียดลออ (Elaboration) 3.2.4 ความคิดยืดหยุ่น (Flexibility) นิยำมศัพท์เฉพำะ 1. ความคิดสร้างสรรค์ หมายถึง กระบวนการคิด หรือความสามารถของมนุษย์ในการค้นหา ความสัมพันธ์ใหม่ระหว่างสิ่งต่าง ๆ ทาให้สามารถแก้ปัญหา คิดประดิษฐ์เครื่องมือหรือวิธีการใหม่ ตลอดจนศิลปกรรมแปลกใหม่ และมีคุณค่า ซึ่งประกอบด้วยความคิด 4 ลักษณะ คือ 1.1 ความคิดคล่อง (Fluency) หมายถึง ความสามารถของบุคคล ในการคิดอย่างรวดเร็ว และมีการตอบสนองต่อการตอบมากที่สุด ในเวลาที่กาหนด 1.2 ความคิดริเริ่ม (Originality) หมายถึง ความสามารถของบุคลในการคิดสิ่งใหม่ที่ แตกต่างไปจากสิ่งเดิมและแตกต่างจากบุคลอื่น และมีคุณค่า 1.3 ความคิดละเอียดลออ (Elaboration) หมายถึง ความสามรถของบุคคลในการคิด ตอบสนองต่อสิ่งเร้าหรือปัญหาในการตกแต่ง และสามารถให้รายละเอียดเพื่อให้เกิดภาพ หรือความคิดที่ ชัดเจนสมบูรณ์ 1.4 ความคิดยืดหยุ่น (Flexibility) หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการคิดหา คาตอบได้หลายทิศทาง 2. โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก หมายถึง Paintbrush for windows เป็นโปรแกรมสาเร็จรูป พื้นฐานที่มีมากับโปรแกรมระบบปฏิบัติการ Windows โดยที่โปรแกรมสามารถใช้งานได้ง่ายและมี คุณภาพในการใช้ด้านสี รูปทรงต่าง ๆ ได้ดีมีความสามารถหลากหลาย 3. แบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์หมายถึง เครื่องมือสาหรับวัดความคิดสร้างสรรค์แบบของ ทอแรนซ์ (Torrance) ซึ่งอารี พันธ์มณี ได้นามาดันแปลงเป็นภาษาไทย รับทําโปรเจค.net