SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
บทที่ 1

                                          บทนำำ

              เ รื่ อ ง ก ำ ร ศึ ก ษ ำ ก ำ ร จั ด สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ท ำ ง ก ำ ร เ รี ย น
      ก ำ ร ส อ น ก ลุ่ ม ส ำ ร ะ ก ำ ร เ รี ย น รู้ ศ ิ ล ป ะ ด้ ำ น ทั ศ น ศิ ล ป์ ใ น
      โรงเรีย นประถมศึก ษำ เขตจัง หวัด ปทุม ธำนี

       1.1 แนวเหตุผ ล ทฤษฎีส ำำ คัญ
             กำรมีกำรศึกษำที่ดีนั้นเป็นพื้นฐำนที่ดีในกำรดำำรงชีวิตสืบต่อไปของ
เยำวชน ดังนั้นกำรเรียนรู้ในระดับประถมศึกษำจึงมีควำมสำำคัญ โดยเฉพำะวิชำ
ศิลปะ ที่จะขัดเกลำให้นักเรียนมีสมำธิ เข้ำใจธรรมชำติ ศึกษำวัฒนธรรมของท้อง
ถิ่น และเรียนรู้กำรทำำงำนร่วมกันเป็นกลุ่ม หลักสูตรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน
พุทธศักรำช 2551 ได้มีวิสัยทัศน์ให้วิชำศิลปะ สำมำรถบ่มเพำะนักเรียนให้มี
ควำมคิดสร้ำงสรรค์ ผสำนจิตนำกำร ชื่นชมควำมงำน สุขลำ้ำสุนทรียภำพ รักษ์
ถิ่นฐำน อนุรักษ์สืบสำนภูมิปัญญำท้องถิ่นไทยและสำกล โดยมีเป้ำหมำยคือ
พัฒนำผู้เรียนให้มีควำมคิดริเริ่มสร้ำงสรรค์ มีจิตนำกำรทำงศิลปะ ชื่นชมควำมงำม
มีสุนทรียภำพ อนุรักษ์สืบสำนศิลป วัฒนธรรมและภูมิปัญญำท้องถิ่น (หลักสูตร
แกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุธศักรำช 2551 สำระศิลปะ) ซึ่งต้องใช้หลำย
องค์ประกอบเพื่อให้ตรงกับจุดประสงค์ของกำรเรียนรู้ตั้งแต่ อุปกรณ์กำรเรียน ครู
ผูสอนและผู้เรียน นอกจำกนี้ สิ่งแวดล้อมในกำรเรียนกำรสอนซึ่งประกอบด้วยสิ่ง
   ้
ต่ำงๆ ที่เรำได้จัดให้นักเรียนได้เรียนรู้ในห้องเรียน ซึ่งรวมถึงกำรออกแบบ งำน
ศิลปะ ส่วนประกอบในกำรสอน กำรสร้ำงควำมคุ้นเคย และกำรสร้ำงสิ่งแปลกใหม่
มนุษย์นั้นมีควำมพร้อมที่จะรู้ จะมอง และรับรู้ในกำรกระทำำของผู้อื่น โดยกำรคัด
กรองและจัดกำรกับข้อมูลต่ำงๆ ที่ได้จำกสภำพแวดล้อมนั้น (McFee, 1977) ใน
กำรจัดสิ่งแวดล้อมนี้สำมำรถบรรยำยแจกแจงถึงพฤติกรรมต่ำงๆ ของผู้สอนแลผู้
เรียนในแต่ละจุด เช่นระบุถึงพฤติกรรมด้ำนควำมใกล้ชิดระหว่ำงครูและนักเรียน
(Guilfoil, 1986) ว่ำของแต่ละอย่ำงหรือส่วนต่ำงๆ นั้นจะใช้งำนอย่ำงไร โต๊ะ
เรียน โต๊ะทำำงำน หรือเครื่องตกแต่งในห้องเรียนจะต้องอยู่ในจุดใด และมีจำำนวน
เท่ำไหร่ โดยเฉพำะห้องปฏิบัติกำรศิลปะ ซึ่งมีคุณสมบัติแตกต่ำงจำกห้องเรียน
ปกติ (Suzi, 1986) กำรมีห้องเรียนศิลปะโดยเฉพำะจึงได้เปรียบในแง่กำรสร้ำง
บรรยำกำศกำรเรียน ได้มำกกว่ำกำรที่จะต้องเดินสอนศิลปะไปตำมห้อง จึงต้อง
อำศัยควำมสำมำรถของครูในกำรสร้ำงบรรยำกำศแบบศิลปะขึ้นมำ (ชัยณรงค์
เจริญพำนิชกุล, 2532)
2


1.2 ควำมเป็น มำและควำมสำำ คัญ ของปัญ หำ

        โรงเรียนเป็นสถำนที่สำำ คัญ เพรำะเป็นสถำนที่ให้กำรอบรม
เด็กที่อยู่ในระหว่ำงวัยเด็กไปสู่วัยผู้ใหญ่ ถ้ำนักเรี ยนได้รับ กำร
ปลู กฝังคุณ ลักษณะอันพึ งประสงค์ ข องควำมเป็ น พลเมื อ งดี อ ย่ ำง
เหมำะสม และมี ประสิ ท ธิ ภำพแล้ ว ก็ จ ะสำมำรถทำำ ให้ นั กเรี ย น
พั ฒ นำบุ ค ลิ ก ภำพและมี พ ฤติ ก รรมที่ พึ ง ปรำรถนำ                   ดั ง นั้ น
โรงเรียนจึงมีบทบำทและมีอิทธิพลต่อชีวิตนักเรียนมำก จะเห็น
ได้ ว่ ำ ระยะเวลำที่ นั ก เรี ย นอยู่ ใ นโรงเรี ย นนั้ น เป็ น ระยะเวลำ
ยำวนำน จนมีผู้กล่ำวถึงควำมสำำคัญของโรงเรียนว่ำเป็นเสมือน
บ้ ำ นหลั ง ที่ ส องของนั ก เรี ย น ตลอดระยะเวลำที่ นั ก เรี ย นอยู่ ใ น
โรงเรียนนั้นนักเรียนจะต้องเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสภำพแวดล้อมใน
โรงเรียน ตั้งแต่ บริเวณโรงเรียน อำคำรเรียน สภำพห้องเรียน
ระเบี ย บวิ นั ย ของโรงเรี ย น กำรอบรมสั่ ง สอนของครู รวมทั้ ง
บรรยำกำศกำรอยู่ ร่ ว มกั น ของนั ก เรี ย นและครู ใ นชั้ น เรี ย น สิ่ ง
ต่ ำ งๆ เหล่ ำ นี้ จ ะมี อิ ท ธิ พ ลหล่ อ หลอมจิ ต ใจนั ก เรี ย นทั้ ง ในด้ ำ น
ระเบียบวินัย ค่ำนิยม และกำรใช้ชีวิตร่วมกัน
        สภำพแวดล้อมในสถำนศึกษำเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่มีส่วนช่วย
ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดกำรเรียนรู้และพัฒนำได้เป็นอย่ำงมำก โดย
เฉพำะในส่วนที่เกี่ยวกับอำคำรเรียน อำคำรประกอบกำรสถำนที่
บริเวณรวมทั้งวัสดุอุปกรณ์ต่ำงๆ ซึ่งอยู่รอบตัวผู้เรียนซึ่งมีอิทธิพล
ต่อพฤติกรรมและกำรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียนและก่อให้
เกิดกำรเรียนรู้ เพรำะสภำพแวดล้อมทุกอย่ำงมีอิทธิพลต่อจิตใจ
และพฤติกรรมของผู้เรียน เป็นกำรเสริมสร้ำงขวัญและกำำลังใจใน
กำรประกอบกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนและกำรปฎิบัติหน้ำที่กำร
งำนของทุกคนในสถำนศึกษำช่วยสร้ำงบรรยำกำศกำรเรียนกำร
สอนให้เกิดผลสำำเร็จทำงกำรศึกษำอย่ำงมีประสิทธิภำพบรรลุตำม
วัตถุประสงค์ (มำริสำ ธรรมมะ,2545)
        ดังที่ (วิชัย เทพประสิทธิ์ 2549:ออนไลน์) กล่ำวว่ำ กำรจัด
สภำพสิ่งแวดล้อมที่เหมำะสมกับวัยและระดับของผู้เรียนจะเป็นสิ่งที่
สนับสนุนให้ผู้เรียนมีควำมรู้สึกที่อยำกเรียนและเกิดประสิทธิภำพ
ในกำรเรียนรู้เพิ่มขึ้น ควำมสำำคัญของสภำพสิ่งแวดล้อม กำรเรียน
รู้มีหลำยประกำร ได้แก
        1.สภำพแวดล้ อ มกำรเรี ย นรู้ ส นั บ สนุ น และอำำ นวยควำม
สะดวกในกำรเรียนกำรสอนสภำพแวดล้อมกำรเรียนรู้ที่เหมำะสม
        2.สภำพแวดล้อมกำรเรียนรู้สนับสนุนกำรเรียนรู้หลำยด้ำน
3


             3.สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ช่วยขจัดประสบการณ์การเรียน
 รู้ ที่ พึ ง ประสงค์ ใ ห้ แ ก่ ผู้ เ รี ย นประสบการณ์ ก ารเรี ย นรู้ ขึ้ น อยู่ กั บ
 สภาพแวดล้อมตามปกติแล้วการรับรู้และการเรียนรู้ของผู้เรียนการ
 ปะทะสัมพันธ์กับสิ่งต่างๆเป็นการสร้างประสบการณ์
             4.สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่ดีจะช่วยพัฒนาบุคลิกภาพของ
 ผู้เรียน
             5.สภาพแวดล้ อ มการเรี ย นรู้ มี ส่ ว นช่ ว ยในการควบคุ ม ชั้ น
 เรี ย นให้ ผู้ เ รี ย นมี ร ะบบวิ นั ย สภาพแวดล้ อ มการเรี ย นรู้ เ ป็ น ตั ว
 กำาหนดอาณาเขตของการเรียน
             6.สภาพแวดล้ อ มการเรี ย นรู้ เ ป็ น แหล่ ง ทรั พ ยากรทางการ
 เรียนการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในปัจจุบันเป็นไปอย่างกว้าง
 ขวา
             7.สภาพแวดล้ อ มการเรี ย นรู้ เ สริ ม สร้ า งบรรยากาศในการ
 เรียน
             8.สภาพแวดล้ อ มการเรี ย นรู้ ช่ ว ยสร้ า งความสั ม พั น ธ์ อั น ดี
 ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอนประสิทธิผลมากที่สุด
             9.สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เหมาะสมจะช่วยลดความเมื่อย
 ล้า หรือความอ่อนเพลียทางด้านสรีระของผู้เรียน
             จากข้อ คิด เห็นรวมทั้ งข้ อ เสนอแนะผลการวิ จั ย ข้ า งต้ น จะ
 เห็ น ได้ ว่ า สภาพแวดล้ อ มของโรงเรี ย นไม่ ว่ า จะเป็ น อาคารเรี ย น
 ห้องเรียน บริเวณโรงเรียน ระบบแสงสว่าง การถ่ายเทอากาศ
 เครื่ อ งอำา นวยความสะดวก ปฏิ สั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งครู กั บ นั ก เรี ย น
 กิ จ กรรมการเรี ย นการสอน จะมี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การหล่ อ หลอม
 พฤติกรรม เจตคติ สติปัญญา และสังคมของนักเรียนและครู
 ดังนั้นการจัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียนจึงมีความสำาคัญในการ
 ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น การเรี ย นการสอนให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ สภาพ
 แวดล้อมในโรงเรียน ความมีความสัมพันธ์ร่วมกันระหว่างครู และ
 นักเรียน รวมทั้งช่วยส่งเสริมให้นักเรียน เกิดการเรียนรู้ตลอดเวลา
 เพราะนักเรียนได้รับการจัดการเรีย นการสอนตามธรรมชาติ ได้
 ฝึกปฏิบัติจริงดังนั้นสภาพแวดล้อมในโรงเรียนจึงเป็นองค์ประกอบ
 หนึ่ งที่ มีค วามสำา คั ญ และมี อิ ท ธิ พ ลต่ อ ผู้ เรี ย นและช่ ว ยให้ เ กิ ด การ
 เปลี่ยนแปลงด้านความรู้ ความคิด บุคลิกภาพ มีความรับผิดชอบ
 และประสบผลสำาเร็จในการศึกษา

     ดั ง นั้ น ผู้ วิ จั ย จึ ง มี ค วามสนใจ ที่ จ ะศึ ก ษาการจั ด สิ่ ง แวดล้ อ ม
ทางการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะด้านทัศนศิลป์ ใน
โรงเรียนประถมศึกษา เขตปทุมธานี ซึ่งนับว่าเป็นสิ่งที่มีความใกล้
4


ชิ ด กั บ ตั ว ของนั ก เรี ย นและครู ที่ ไ ม่ อ าจมองข้ า ม และเพื่ อ เป็ น
ประโยชน์และแนวทางให้แก่ครูศิลปศึกษาในการจัดการเรียนการ
สอนวิชาศิลปศึกษาให้มีประสิทธิภาพ และเพื่อส่งเสริมพัฒนาการ
ทางด้านความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียนในระดับประถมศึกษาไปใน
แนวทางที่เหมาะสม

 1.3 วัต ถุป ระสงค์ใ นการวิจ ัย
      เพื่อศึกษาการจัดสิ่งแวดล้อมทางการเรียนการสอนกลุ่มสาระ
 การเรียนรู้ศิลปะด้าน ทัศนศิลป์ ในโรงเรียนประถมศึกษา เขต
 ปทุมธานีในด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ด้านครูสอนศิลปศึกษา
 ด้านบรรยากาศในชั้นเรียน ในโรงเรียนประถมศึกษา เขต
 ปทุมธานี

 1.4 กลุ่ม ประชากร
 ในการศึกษาการจัด สิ่งแวดล้ อมทางการเรีย นการสอนกลุ่ ม สาระ
 การเรียนรู้ศิลปะกลุ่มตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ แบ่ง
 เป็น 3 กลุ่มดังนี้ คือ กลุ่มนักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัด
 โรงเรียนประถมศึกษา เขตปทุมธานี กลุ่มผู้บริหารและผู้สอนกลุ่ม
 สาระการเรียนรู้ศิลปะด้านทัศนศิลป์ ที่ปฏิบัติงานอยู่ในโรงเรี ยน
 ประถมศึกษา เขตปทุมธานี

 1.5 คำา จำา กัด ความ
      การจัดสิ่งแวดล้อมทางการเรียนการสอนหมายถึงสิ่งแวดล้อม
   ในห้องเรียน สภาพอากาศ บรรยากาศ การตกแต่งภายใน
   ห้อง และภูมิหลังทางวัฒนธรรม ขณะที่มีการเรียนการสอน
   สภาพแวดล้อมเหล่านี้มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
      ความหมายของศิลปะด้านทัศนศิลป์ หมายถึง กระบวนการ
   ถ่ายทอดผลงานศิลปะ การทำางานศิลปะอย่างมีจินตนาการ
   ความคิดสร้างสรรค์มีระบบระเบียบเป็นขั้นตอน การสร้างสรรค์
   งานอย่างมีประสิทธิภาพสวยงาม มีการปฏิบัติงานตามแผนและ
   มีการพัฒนางานให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังหมายถึง
   การรับรู้ทางจักษุประสาท โดยการมองเห็น สสาร วัตถุ และ
   สรรพสิ่งต่างๆที่เข้ามากระทบ รวมถึงมนุษย์ และสัตว์ จะด้วย
   การหยุดนิ่งหรือเคลื่อนไหวก็ตาม หรือจะด้วยการปรุงแต่ง หรือ
   ไม่ปรุงแต่งก็ตาม ก่อให้เกิดปัจจัยสมมุติตอจิตใจ และอารมณ์
                                           ่
   ของมนุษย์ อาจจะเป็นไปในทางเดียวกันหรือไม่ก็ตาม
5


1.6 ประโยชน์ท ี่ค าดว่า จะได้ร ับ
    1. เพื่อพัฒนาลักษณะทางกายภาพทางการเรียนการสอน
    ของวิชาศิลปศึกษาให้เกิดประโยชน์สูงสุด
    2. สร้างบรรยากาศในห้องเรียนศิลปศึกษาเพื่อกระตุ้นการ
    เรียนรู้ด้านทัศนศิลป์ให้กับผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5


1.6 ประโยชน์ท ี่ค าดว่า จะได้ร ับ
    1. เพื่อพัฒนาลักษณะทางกายภาพทางการเรียนการสอน
    ของวิชาศิลปศึกษาให้เกิดประโยชน์สูงสุด
    2. สร้างบรรยากาศในห้องเรียนศิลปศึกษาเพื่อกระตุ้นการ
    เรียนรู้ด้านทัศนศิลป์ให้กับผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

More Related Content

More from rubtumproject.com

ตัวอย่าง DFD level 1
ตัวอย่าง DFD level 1ตัวอย่าง DFD level 1
ตัวอย่าง DFD level 1
rubtumproject.com
 
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagramตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
rubtumproject.com
 
การคิดโปรเจค โปรแกรมบนมือถือ
การคิดโปรเจค โปรแกรมบนมือถือการคิดโปรเจค โปรแกรมบนมือถือ
การคิดโปรเจค โปรแกรมบนมือถือ
rubtumproject.com
 

More from rubtumproject.com (20)

ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Accessตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
 
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
 
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยววิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
 
บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr
 
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรมตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
 
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
 
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา Cตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
 
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้าบัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
ตัวอย่างบทที่ 3  ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้งตัวอย่างบทที่ 3  ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
 
ตัวอย่าง DFD level 1
ตัวอย่าง DFD level 1ตัวอย่าง DFD level 1
ตัวอย่าง DFD level 1
 
บทที่ 2 Mobile Aplication
บทที่ 2 Mobile Aplicationบทที่ 2 Mobile Aplication
บทที่ 2 Mobile Aplication
 
คู่มือการทำงานร่วมกัน รับทำโปรเจค.net
คู่มือการทำงานร่วมกัน รับทำโปรเจค.netคู่มือการทำงานร่วมกัน รับทำโปรเจค.net
คู่มือการทำงานร่วมกัน รับทำโปรเจค.net
 
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagramตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
 
การคิดโปรเจค โปรแกรมบนมือถือ
การคิดโปรเจค โปรแกรมบนมือถือการคิดโปรเจค โปรแกรมบนมือถือ
การคิดโปรเจค โปรแกรมบนมือถือ
 
แนะนำการคิดหัวข้อโปรเจค
แนะนำการคิดหัวข้อโปรเจคแนะนำการคิดหัวข้อโปรเจค
แนะนำการคิดหัวข้อโปรเจค
 
ตัวอย่างการออกแบบบดาต้าเบส
ตัวอย่างการออกแบบบดาต้าเบสตัวอย่างการออกแบบบดาต้าเบส
ตัวอย่างการออกแบบบดาต้าเบส
 

การศึกษาการจัดสิ่งแวดล้อมทางการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะด้านทัศนศิลป์

  • 1. บทที่ 1 บทนำำ เ รื่ อ ง ก ำ ร ศึ ก ษ ำ ก ำ ร จั ด สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ท ำ ง ก ำ ร เ รี ย น ก ำ ร ส อ น ก ลุ่ ม ส ำ ร ะ ก ำ ร เ รี ย น รู้ ศ ิ ล ป ะ ด้ ำ น ทั ศ น ศิ ล ป์ ใ น โรงเรีย นประถมศึก ษำ เขตจัง หวัด ปทุม ธำนี 1.1 แนวเหตุผ ล ทฤษฎีส ำำ คัญ กำรมีกำรศึกษำที่ดีนั้นเป็นพื้นฐำนที่ดีในกำรดำำรงชีวิตสืบต่อไปของ เยำวชน ดังนั้นกำรเรียนรู้ในระดับประถมศึกษำจึงมีควำมสำำคัญ โดยเฉพำะวิชำ ศิลปะ ที่จะขัดเกลำให้นักเรียนมีสมำธิ เข้ำใจธรรมชำติ ศึกษำวัฒนธรรมของท้อง ถิ่น และเรียนรู้กำรทำำงำนร่วมกันเป็นกลุ่ม หลักสูตรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 ได้มีวิสัยทัศน์ให้วิชำศิลปะ สำมำรถบ่มเพำะนักเรียนให้มี ควำมคิดสร้ำงสรรค์ ผสำนจิตนำกำร ชื่นชมควำมงำน สุขลำ้ำสุนทรียภำพ รักษ์ ถิ่นฐำน อนุรักษ์สืบสำนภูมิปัญญำท้องถิ่นไทยและสำกล โดยมีเป้ำหมำยคือ พัฒนำผู้เรียนให้มีควำมคิดริเริ่มสร้ำงสรรค์ มีจิตนำกำรทำงศิลปะ ชื่นชมควำมงำม มีสุนทรียภำพ อนุรักษ์สืบสำนศิลป วัฒนธรรมและภูมิปัญญำท้องถิ่น (หลักสูตร แกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุธศักรำช 2551 สำระศิลปะ) ซึ่งต้องใช้หลำย องค์ประกอบเพื่อให้ตรงกับจุดประสงค์ของกำรเรียนรู้ตั้งแต่ อุปกรณ์กำรเรียน ครู ผูสอนและผู้เรียน นอกจำกนี้ สิ่งแวดล้อมในกำรเรียนกำรสอนซึ่งประกอบด้วยสิ่ง ้ ต่ำงๆ ที่เรำได้จัดให้นักเรียนได้เรียนรู้ในห้องเรียน ซึ่งรวมถึงกำรออกแบบ งำน ศิลปะ ส่วนประกอบในกำรสอน กำรสร้ำงควำมคุ้นเคย และกำรสร้ำงสิ่งแปลกใหม่ มนุษย์นั้นมีควำมพร้อมที่จะรู้ จะมอง และรับรู้ในกำรกระทำำของผู้อื่น โดยกำรคัด กรองและจัดกำรกับข้อมูลต่ำงๆ ที่ได้จำกสภำพแวดล้อมนั้น (McFee, 1977) ใน กำรจัดสิ่งแวดล้อมนี้สำมำรถบรรยำยแจกแจงถึงพฤติกรรมต่ำงๆ ของผู้สอนแลผู้ เรียนในแต่ละจุด เช่นระบุถึงพฤติกรรมด้ำนควำมใกล้ชิดระหว่ำงครูและนักเรียน (Guilfoil, 1986) ว่ำของแต่ละอย่ำงหรือส่วนต่ำงๆ นั้นจะใช้งำนอย่ำงไร โต๊ะ เรียน โต๊ะทำำงำน หรือเครื่องตกแต่งในห้องเรียนจะต้องอยู่ในจุดใด และมีจำำนวน เท่ำไหร่ โดยเฉพำะห้องปฏิบัติกำรศิลปะ ซึ่งมีคุณสมบัติแตกต่ำงจำกห้องเรียน ปกติ (Suzi, 1986) กำรมีห้องเรียนศิลปะโดยเฉพำะจึงได้เปรียบในแง่กำรสร้ำง บรรยำกำศกำรเรียน ได้มำกกว่ำกำรที่จะต้องเดินสอนศิลปะไปตำมห้อง จึงต้อง อำศัยควำมสำมำรถของครูในกำรสร้ำงบรรยำกำศแบบศิลปะขึ้นมำ (ชัยณรงค์ เจริญพำนิชกุล, 2532)
  • 2. 2 1.2 ควำมเป็น มำและควำมสำำ คัญ ของปัญ หำ โรงเรียนเป็นสถำนที่สำำ คัญ เพรำะเป็นสถำนที่ให้กำรอบรม เด็กที่อยู่ในระหว่ำงวัยเด็กไปสู่วัยผู้ใหญ่ ถ้ำนักเรี ยนได้รับ กำร ปลู กฝังคุณ ลักษณะอันพึ งประสงค์ ข องควำมเป็ น พลเมื อ งดี อ ย่ ำง เหมำะสม และมี ประสิ ท ธิ ภำพแล้ ว ก็ จ ะสำมำรถทำำ ให้ นั กเรี ย น พั ฒ นำบุ ค ลิ ก ภำพและมี พ ฤติ ก รรมที่ พึ ง ปรำรถนำ ดั ง นั้ น โรงเรียนจึงมีบทบำทและมีอิทธิพลต่อชีวิตนักเรียนมำก จะเห็น ได้ ว่ ำ ระยะเวลำที่ นั ก เรี ย นอยู่ ใ นโรงเรี ย นนั้ น เป็ น ระยะเวลำ ยำวนำน จนมีผู้กล่ำวถึงควำมสำำคัญของโรงเรียนว่ำเป็นเสมือน บ้ ำ นหลั ง ที่ ส องของนั ก เรี ย น ตลอดระยะเวลำที่ นั ก เรี ย นอยู่ ใ น โรงเรียนนั้นนักเรียนจะต้องเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสภำพแวดล้อมใน โรงเรียน ตั้งแต่ บริเวณโรงเรียน อำคำรเรียน สภำพห้องเรียน ระเบี ย บวิ นั ย ของโรงเรี ย น กำรอบรมสั่ ง สอนของครู รวมทั้ ง บรรยำกำศกำรอยู่ ร่ ว มกั น ของนั ก เรี ย นและครู ใ นชั้ น เรี ย น สิ่ ง ต่ ำ งๆ เหล่ ำ นี้ จ ะมี อิ ท ธิ พ ลหล่ อ หลอมจิ ต ใจนั ก เรี ย นทั้ ง ในด้ ำ น ระเบียบวินัย ค่ำนิยม และกำรใช้ชีวิตร่วมกัน สภำพแวดล้อมในสถำนศึกษำเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่มีส่วนช่วย ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดกำรเรียนรู้และพัฒนำได้เป็นอย่ำงมำก โดย เฉพำะในส่วนที่เกี่ยวกับอำคำรเรียน อำคำรประกอบกำรสถำนที่ บริเวณรวมทั้งวัสดุอุปกรณ์ต่ำงๆ ซึ่งอยู่รอบตัวผู้เรียนซึ่งมีอิทธิพล ต่อพฤติกรรมและกำรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียนและก่อให้ เกิดกำรเรียนรู้ เพรำะสภำพแวดล้อมทุกอย่ำงมีอิทธิพลต่อจิตใจ และพฤติกรรมของผู้เรียน เป็นกำรเสริมสร้ำงขวัญและกำำลังใจใน กำรประกอบกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนและกำรปฎิบัติหน้ำที่กำร งำนของทุกคนในสถำนศึกษำช่วยสร้ำงบรรยำกำศกำรเรียนกำร สอนให้เกิดผลสำำเร็จทำงกำรศึกษำอย่ำงมีประสิทธิภำพบรรลุตำม วัตถุประสงค์ (มำริสำ ธรรมมะ,2545) ดังที่ (วิชัย เทพประสิทธิ์ 2549:ออนไลน์) กล่ำวว่ำ กำรจัด สภำพสิ่งแวดล้อมที่เหมำะสมกับวัยและระดับของผู้เรียนจะเป็นสิ่งที่ สนับสนุนให้ผู้เรียนมีควำมรู้สึกที่อยำกเรียนและเกิดประสิทธิภำพ ในกำรเรียนรู้เพิ่มขึ้น ควำมสำำคัญของสภำพสิ่งแวดล้อม กำรเรียน รู้มีหลำยประกำร ได้แก 1.สภำพแวดล้ อ มกำรเรี ย นรู้ ส นั บ สนุ น และอำำ นวยควำม สะดวกในกำรเรียนกำรสอนสภำพแวดล้อมกำรเรียนรู้ที่เหมำะสม 2.สภำพแวดล้อมกำรเรียนรู้สนับสนุนกำรเรียนรู้หลำยด้ำน
  • 3. 3 3.สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ช่วยขจัดประสบการณ์การเรียน รู้ ที่ พึ ง ประสงค์ ใ ห้ แ ก่ ผู้ เ รี ย นประสบการณ์ ก ารเรี ย นรู้ ขึ้ น อยู่ กั บ สภาพแวดล้อมตามปกติแล้วการรับรู้และการเรียนรู้ของผู้เรียนการ ปะทะสัมพันธ์กับสิ่งต่างๆเป็นการสร้างประสบการณ์ 4.สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่ดีจะช่วยพัฒนาบุคลิกภาพของ ผู้เรียน 5.สภาพแวดล้ อ มการเรี ย นรู้ มี ส่ ว นช่ ว ยในการควบคุ ม ชั้ น เรี ย นให้ ผู้ เ รี ย นมี ร ะบบวิ นั ย สภาพแวดล้ อ มการเรี ย นรู้ เ ป็ น ตั ว กำาหนดอาณาเขตของการเรียน 6.สภาพแวดล้ อ มการเรี ย นรู้ เ ป็ น แหล่ ง ทรั พ ยากรทางการ เรียนการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในปัจจุบันเป็นไปอย่างกว้าง ขวา 7.สภาพแวดล้ อ มการเรี ย นรู้ เ สริ ม สร้ า งบรรยากาศในการ เรียน 8.สภาพแวดล้ อ มการเรี ย นรู้ ช่ ว ยสร้ า งความสั ม พั น ธ์ อั น ดี ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอนประสิทธิผลมากที่สุด 9.สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เหมาะสมจะช่วยลดความเมื่อย ล้า หรือความอ่อนเพลียทางด้านสรีระของผู้เรียน จากข้อ คิด เห็นรวมทั้ งข้ อ เสนอแนะผลการวิ จั ย ข้ า งต้ น จะ เห็ น ได้ ว่ า สภาพแวดล้ อ มของโรงเรี ย นไม่ ว่ า จะเป็ น อาคารเรี ย น ห้องเรียน บริเวณโรงเรียน ระบบแสงสว่าง การถ่ายเทอากาศ เครื่ อ งอำา นวยความสะดวก ปฏิ สั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งครู กั บ นั ก เรี ย น กิ จ กรรมการเรี ย นการสอน จะมี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การหล่ อ หลอม พฤติกรรม เจตคติ สติปัญญา และสังคมของนักเรียนและครู ดังนั้นการจัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียนจึงมีความสำาคัญในการ ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น การเรี ย นการสอนให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ สภาพ แวดล้อมในโรงเรียน ความมีความสัมพันธ์ร่วมกันระหว่างครู และ นักเรียน รวมทั้งช่วยส่งเสริมให้นักเรียน เกิดการเรียนรู้ตลอดเวลา เพราะนักเรียนได้รับการจัดการเรีย นการสอนตามธรรมชาติ ได้ ฝึกปฏิบัติจริงดังนั้นสภาพแวดล้อมในโรงเรียนจึงเป็นองค์ประกอบ หนึ่ งที่ มีค วามสำา คั ญ และมี อิ ท ธิ พ ลต่ อ ผู้ เรี ย นและช่ ว ยให้ เ กิ ด การ เปลี่ยนแปลงด้านความรู้ ความคิด บุคลิกภาพ มีความรับผิดชอบ และประสบผลสำาเร็จในการศึกษา ดั ง นั้ น ผู้ วิ จั ย จึ ง มี ค วามสนใจ ที่ จ ะศึ ก ษาการจั ด สิ่ ง แวดล้ อ ม ทางการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะด้านทัศนศิลป์ ใน โรงเรียนประถมศึกษา เขตปทุมธานี ซึ่งนับว่าเป็นสิ่งที่มีความใกล้
  • 4. 4 ชิ ด กั บ ตั ว ของนั ก เรี ย นและครู ที่ ไ ม่ อ าจมองข้ า ม และเพื่ อ เป็ น ประโยชน์และแนวทางให้แก่ครูศิลปศึกษาในการจัดการเรียนการ สอนวิชาศิลปศึกษาให้มีประสิทธิภาพ และเพื่อส่งเสริมพัฒนาการ ทางด้านความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียนในระดับประถมศึกษาไปใน แนวทางที่เหมาะสม 1.3 วัต ถุป ระสงค์ใ นการวิจ ัย เพื่อศึกษาการจัดสิ่งแวดล้อมทางการเรียนการสอนกลุ่มสาระ การเรียนรู้ศิลปะด้าน ทัศนศิลป์ ในโรงเรียนประถมศึกษา เขต ปทุมธานีในด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ด้านครูสอนศิลปศึกษา ด้านบรรยากาศในชั้นเรียน ในโรงเรียนประถมศึกษา เขต ปทุมธานี 1.4 กลุ่ม ประชากร ในการศึกษาการจัด สิ่งแวดล้ อมทางการเรีย นการสอนกลุ่ ม สาระ การเรียนรู้ศิลปะกลุ่มตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ แบ่ง เป็น 3 กลุ่มดังนี้ คือ กลุ่มนักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัด โรงเรียนประถมศึกษา เขตปทุมธานี กลุ่มผู้บริหารและผู้สอนกลุ่ม สาระการเรียนรู้ศิลปะด้านทัศนศิลป์ ที่ปฏิบัติงานอยู่ในโรงเรี ยน ประถมศึกษา เขตปทุมธานี 1.5 คำา จำา กัด ความ การจัดสิ่งแวดล้อมทางการเรียนการสอนหมายถึงสิ่งแวดล้อม ในห้องเรียน สภาพอากาศ บรรยากาศ การตกแต่งภายใน ห้อง และภูมิหลังทางวัฒนธรรม ขณะที่มีการเรียนการสอน สภาพแวดล้อมเหล่านี้มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ความหมายของศิลปะด้านทัศนศิลป์ หมายถึง กระบวนการ ถ่ายทอดผลงานศิลปะ การทำางานศิลปะอย่างมีจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์มีระบบระเบียบเป็นขั้นตอน การสร้างสรรค์ งานอย่างมีประสิทธิภาพสวยงาม มีการปฏิบัติงานตามแผนและ มีการพัฒนางานให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังหมายถึง การรับรู้ทางจักษุประสาท โดยการมองเห็น สสาร วัตถุ และ สรรพสิ่งต่างๆที่เข้ามากระทบ รวมถึงมนุษย์ และสัตว์ จะด้วย การหยุดนิ่งหรือเคลื่อนไหวก็ตาม หรือจะด้วยการปรุงแต่ง หรือ ไม่ปรุงแต่งก็ตาม ก่อให้เกิดปัจจัยสมมุติตอจิตใจ และอารมณ์ ่ ของมนุษย์ อาจจะเป็นไปในทางเดียวกันหรือไม่ก็ตาม
  • 5. 5 1.6 ประโยชน์ท ี่ค าดว่า จะได้ร ับ 1. เพื่อพัฒนาลักษณะทางกายภาพทางการเรียนการสอน ของวิชาศิลปศึกษาให้เกิดประโยชน์สูงสุด 2. สร้างบรรยากาศในห้องเรียนศิลปศึกษาเพื่อกระตุ้นการ เรียนรู้ด้านทัศนศิลป์ให้กับผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 6. 5 1.6 ประโยชน์ท ี่ค าดว่า จะได้ร ับ 1. เพื่อพัฒนาลักษณะทางกายภาพทางการเรียนการสอน ของวิชาศิลปศึกษาให้เกิดประโยชน์สูงสุด 2. สร้างบรรยากาศในห้องเรียนศิลปศึกษาเพื่อกระตุ้นการ เรียนรู้ด้านทัศนศิลป์ให้กับผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ