SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  58
Télécharger pour lire hors ligne
สื่อส่องทาง สว่างอ�าไพ
                                                      แสงธรรม
                                                 ทุกชีวิตมีปัญหา พระพุทธศาสนามีทางแก้
                                               วารสารธรรมะรายเดือนที่เก่าแก่ที่สุดในอเมริกา
    ปีที่ 37 ฉบับที่ 441 ประจ�าเดือนมกราคม พ.ศ. 2555 Vol.37 No.441 January, 2012

Objectives :
�To promote Buddhist activities.                                                 สารบัญ
�To foster Thai culture and tradition.
�To inform the public of the temple’s activities.
                                                                                Contents
�To provide a public relations center for            		The Buddha’s Words............................................. 1
    Buddhists living in the United States.              ส.ค.ส. ปี ๒๕๕๕ หลวงตาชี .................................. 2
เจ้าของ : วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี.                    สารอวยพรปีใหม่ ประธานอ�านวยการวัดไทยฯดีซี.. 4
ที่ปรึกษา : พระวิเทศธรรมรังษี                           Forest Wat, Wild Monks by Ven. Buddhadasa......... 5
กองบรรณาธิการ :                                        The Peace Beyond By Ven. Ajanh Chah........... 9
ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี                                 The Three Characteristics of Existence By Ven. Laung Ta Chi 12
พระสมุห์ณัฐิวุฒิ ปภากโร                                บทความพิเศษ : สวัสดีปใหม่ ๒๕๕๕ “ท�าดีให้ถงดี...” ............ 15
                                                                                ี                     ึ
พระมหาเรืองฤทธิ์ สมิทฺธิญาโณ
พระสุริยา เตชวโร                                       อนุโมทนาพิเศษแด่ผอปถัมภ์กจกรรมวัดไทยฯ ดี.ซี. .............. 19
                                                                           ู้ ุ        ิ
พระมหาสราวุธ สราวุโธ                                   ปฏิบัติธรรมประจ�าเดือนธันวาคม.............................. 20
พระมหาประดู่ชัย ภทฺทธมฺโม                             เสียงธรรม...จากวัดไทย........................หลวงตาชี 21
พระมหาศรีสุพรณ์ อตฺตทีโป                              ประมวลภาพกิจกรรมประจ�าปี ๒๕๕๔ .................. 28
พระมหาค�าตัล พุทฺธงฺกุโร                              เสียงธรรม...จากหลวงตาชี ...................................... 32
พระอนันต์ภิวัฒน์ พุทฺธรกฺขิโต
                                                      ท่องแดนพระพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ ปี ดร.พระมหาถนัด 39
และอุบาสก-อุบาสิกาวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี.          สารธรรมจาก...พระไตรปิฎก ..................................... 43
SAENG DHAMMA Magazine                                 อนุโมทนาพิเศษ / Special Thanks............................ 44
is published monthly by                               Thai Temple’s News...............โดย ดร.แฮนดี้ 45
Wat Thai Washington, D.C. Temple                      รายนามผูบริจาคเดือนธันวาคม Ven.Pradoochai 49
                                                                ้
At 13440 Layhill Rd.,
Silver Spring, MD 20906                               รายนามผู้บริจาคออมบุญประจ�าปีและเจ้าภาพภัตตาหารเช้า...53
Tel. (301) 871-8660, 871-8661                         รายนามเจ้าภาพถวายเพล / Lunch.............................54
Fax : 301-871-5007                                    ก�าหนดการวันมาฆบูชา ..................................................... 62
E-mail : watthaidc@hotmail.com
Homepage : www.watthaidc.org                                                Photos taken by
Radio Network : www.watthai.iirt.net                                 Ven. Khumtan, Ven. Ananphiwat,
                                                                           Mr. Kevin & Mr. Sam
2,500 Copies                                                                 Bank & Ms. Golf
ถ้อยแถลง
                               เวียนบรรจบครบศักราชตั้งปีใหม่            ขออวยชัยอวยพรอักษรศรี
                               ขอทุกท่านพบพานแต่สิ่งดี                  มีชีวีสุขสดใสชีพชื่นบาน
                               ให้สุขภาพสมบูรณ์ทั้งกายใจ                ให้ปลอดภัยแคล้วคลาดฉลาดประสาน
                               งานรุ่งเรืองเงินรุ่งโรจน์โชติชัชวาล      สนุกสนานอภิรมย์สมใจปอง
                               ปีผ่านไปให้ผ่านพ้นตั้งต้นเริ่ม           ที่ดีเพิ่มที่ร้ายลืมไม่มัวหมอง
                               ปรุงแต่งจิตพิชิตใจไร้ขุ่นข้อง            เปิดสมองรับสิ่งใหม่สดใสพลัน
                               คิดสิ่งใดลุล่วงส�าเร็จได้                ขอเทพไท้สิ่งศักดิ์สิทธิ์เป็นมิ่งขวัญ
                               เกิดปัญหาได้ปัญญาเป็นที่มั่น             ให้สร้างสรรค์รับสิ่งดีปีใหม่เอย..
           “แสงธรรม” ที่ท่านถือในมือฉบับนี้ เป็นฉบับ “ลาทีปีเก่า ๒๕๕๔ ต้อนรับปีใหม่ ๒๕๕๕” คติข้อคิดในวันขึ้นปีใหม่
ท่านผู้รู้กล่าวไว้ว่า เมื่อวันเวลาผันเปลี่ยนเวียนไปครบ ๑ ปี เราได้อยู่รอดปลอดภัยมาจนถึงวันขึ้นปีใหม่ ขอให้ลองมองย้อน
หลังกลับไปคิดดูว่า วันเวลาที่ผ่านมานั้นเราได้ใช้มันอย่างคุ้มค่าหรือเปล่า และได้กระท�าคุณงามความดีอันใดไว้บ้าง และควร
หาโอกาสกระท�าให้ดยง ๆ ขึนทุกปี ในขณะเดียวกันเราได้กระท�าความผิดหรือสิงใดทีไม่ถกต้องไว้หรือไม่ หากมีตองรีบปรับปรุงแก้ไข
                      ี ิ่ ้                                                  ่ ่ ู                          ้
ตัวเองทันที เพราะความชัวคือผี ความดีคอพระ ความชัวต้องรีบละ ส่วนความดีละต้องรีบท�า ตามต�าราพระพุทธเจ้าว่า “ท�าดี
                             ่                ื                 ่
เวลาไหน มันก็ดเี วลานันแหละ ท�าชัวเวลาไหน มันก็ชวเวลานันแหละ เวลามันไม่ดไม่ชว ดีชวมันอยูทการกระท�า”
                           ้              ่                  ั่     ้                   ี ั่      ั่    ่ ี่
           วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. ก�าหนดจัดงานท�าบุญส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับปีใหม่ ในวันเสาร์-อาทิตย์ที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๔
– ๑ มกราคม ๒๕๕๕ โดยวันเสาร์ที่ ๓๑ ธันวาคม เริ่มเวลา ๐๙.๐๐ น. เชิญร่วมปฏิบัติธรรม จ�าศีล เจริญจิตภาวนา สนทนา
ธรรม ท�าวัตรสวดมนต์เย็นแปล หลังจากนั้นพระเดชพระคุณพระวิเทศธรรมรังษี น�าเจริญพระพุทธมนต์ ๑๒ ต�านาน เพื่อท�า
น�้าพระพุทธมนต์ปีใหม่ และฟังธรรมบรรยายต�านานพระปริตรตามแนวพระไตรปิฎก จนถึงเวลาเที่ยงคืน (๒๔.๐๐ น.) พระ
สงฆ์เจริญชยมงคลคาถาต้อนรับปีใหม่ รับน�้าพระพุทธมนต์ และฟังโอวาทธรรมจากพระเดชพระคุณหลวงพ่อเพื่อความเป็น
สิรมงคลแก่ชวต ส่วนในวันอาทิตย์ที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๕ เริมพิธเวลา ๑๐.๐๐ น. พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ ท�าบุญตักบาตร
    ิ          ีิ                                                 ่ ี
แด่พระสงฆ์จ�านวน ๙ รูป ถวายภัตตาหารเพล ฟังพระธรรมเทศนาจากพระเดชพระคุณหลวงพ่อ และรับพรปีใหม่จากพระ
สงฆ์ ก็เป็นอันเสร็จ พิธีจึงขอเชิญท่านสาธุชนทั้งหลายร่วมท�าบุญส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับปีใหม่ ๒๕๕๕ ตามวันเวลาดังกล่าวโดย
พร้อมเพรียงกัน
           ขอฝากบทกลอนสอนธรรมที่พระเดชพระคุณพระวิเทศธรรมรังษี (หลวงตาชี) ได้ประพันธ์ไว้ เพื่อเป็น “พรธรรมปี
ใหม่ ๒๕๕๕” ว่า
                               ในวาระดิถีขึ้นปีใหม่                     ขอชาวไทยทั่วประเทศเขตสยาม
                               จงพากันประพฤติธรรมอันดีงาม               เพื่อก�าจัดความเลวทรามจากจิตใจ....
                               ขอทุกคนจงมีธรรมประจ�าจิต                 ใช้ชีวิตตามหลักธรรมน�าวิถี
                               จะประสบสุขสันต์อันเปรมปรีด์              เกษมศรีในปีใหม่สมใจเทอญ
           ขอให้ปีใหม่นี้ จงคิดดี พูดดี ท�าดี และพบเจอแต่สิ่งดี ๆ ตลอดปี และตลอดไป ขออวยชัยให้มีสุขสมหวัง มีพลังในการ
ต่อสู้ ครองชีวิตอยู่ในโลกด้วยปัญญาผาสุกทุกทิพาราตรีกาลเทอญ
                                                     คณะผู้จัดท�า
แสงธรรม 1   Saeng Dhamma




                 The Buddha’s Words
                          พุทธสุภาษิต
            โย จ ปุพฺเพ ปมชฺชิตฺวา     ปจฺฉา โส นปฺปมชฺชติ
            โสมํ โลกํ ปภาเสติ          อพฺภา มุตฺโต ว จนฺทิมา. (๑๗๒)
    ผูทเี่ คยประมาทในกาลก่อน แต่ภายหลังไม่ประมาท เขาย่อมส่องโลกนีให้สว่าง
      ้                                                          ้
    เหมือนพระจันทร์ที่พ้นจากเมฆ ฉะนั้น
	   Whoso was previously negligent but afterwards practises vigillance
    he illumines the world here and now like the moon emerging from
    the cloud.
แสงธรรม 2   Saeng Dhamma


                  สวัสดีปีใหม่...คนใกล้พระ
                   ********************
                 “พระวิเทศธรรมรังษี หลวงตาชี”
                        คือผู้นำ� ธรรมล้ำ�ค่�
                  จ�กไทยแลนด์ สู่แดน อเมริก�
                 พระพุทธศ�สน� ก้�วไกล ให้ยืนยง

                  ส�มสิบเจ็ดปี ที่น้อมนำ� คำ�สั่งสอน
                  ละนิวรณ์ จิตงดง�ม ต�มประสงค์
               เดินต�มรอย ด้วยศรัทธ� พระพุทธองค์
                อย่�งมั่นคง ยึดหลักธรรม นำ�สอนตน

                     มีภูมิรู้ ภูมิธรรม นำ�ส�นุศิษย์
                   มีหลักคิด มีหลักก�ร ด้�นเหตุผล
                เดินส�ยกล�ง เป็นแบบอย่�ง ส�ธุชน
                  เกิดเป็นคน “คิด พูด ดี” มีปัญญ�

                  ด้วยบ�รมี หลวงต�ชี ชี้ธรรมให้
                       รับปีใหม่ให้ธรรมนำ�รักษ�
                     สุขสวัสดิ์จิตเกษมเปรมปรีด�
                ศิษย์วัดไทยฯ ดีซี ทั่วหล้� ผ�สุกทอญ
แสงธรรม 3    Saeng Dhamma
                                                  		
                                               	 	 ในปีใหม่	      สองห้า	        ห้าห้านี้
                                               	 หลวงตาชี	        มีความรัก	     ด้วยเมตตา
                                               	 จึงขอให้	        ทุกคน	         ใช้ปัญญา
                                               	 แก้ปัญหา	        ในชีวิต	       ประจำาวัน
                                               	 	 ถ้าทุกคน	      ใช้ปัญญา	      พาชีวิต
                                               	 จะพิชิต	         ปัญหา	         สาระพัน
   ส.ค.ส. ปี ๒๕๕๕ “หลวงตาชี”                   	 เกิดปัญหา	       ขึ้นมา	        แก้ทันควัน
                                               	 ไม่ต้องหวั่น	    รับรอง	        ต้องเป็นจริง
	 	 ปีสองห้า	     ห้าห้า		       อย่าประมาท    	 	 ขอเชิญชวน	     มวลประชา	      พากันคิด
	 อย่าให้ขาด	     ศีลธรรม	       นำาวิถี       	 ใช้ชีวิต	        ด้วยปัญญา	     อย่าประวิง
	 ให้ทุกคน	       ประพฤติธรรม	   นำาชีวี       	 เพราะปัญญา	      นำาพา	         สู่ความจริง
	 เพื่อปราบผี	    คือความชั่ว	   ตัวจัญไร      	 จะพบสิ่ง	        ที่ต้องการ	    บันดาลดล
	 	 เมื่อทุกคน	   มีพระธรรม	     นำาชีวิต      	 	 ปัญญาเกิด	     เมื่อไร	       ใจเป็นพระ
	 ก็พิชิต	        มารร้าย	       ให้พ่ายไป     	 เอาชนะ	          ซาตาน	         มารหัวขน
	 เอาชนะ	         ซาตาน	         มารจัญไร      	 ทำาลายล้าง	      ความชั่ว	      ทั่วสากล
	 ให้ปราชัย	      ตลอดไป	        นิรันดร       	 สุขเกิดล้น	      เพราะปัญญา	    พานำาทาง
	 	 ปีงูใหญ่	     สองห้า	        ห้าห้านี้     	 	 ในวาระ	        ดิถี	          ขึ้นปีใหม่
	 ต้องระวัง	      กันให้ดี	      มีสังวร       	 ขอพี่น้อง	       ชาวไทย	        ใจสว่าง
	 อย่าประมาท	     พลาดท่า	       ทุกขั้นตอน    	 ใช้สติ	          และปัญญา	      พานำาทาง
	 ต้องสังวร	      ให้ดี	         จะมีชัย       	 เพื่อก่อสร้าง	   บุญกุศล	       ไว้เป็นทุน
	 	 จะงูเล็ก	     งูใหญ่	        ไม่สำาคัญ     	 	 คนมีบุญ	       สิ้นวุ่นวาย	   หายเดือดร้อน
	 ถ้าเราหมั่น	    ประพฤติธรรม	   นำาหลักชัย    	 เวลานอน	         หลับสบาย	      ใจอบอุ่น
	 ก็ชนะ	          งูเล็ก	        งูใหญ่ได้     	 เพราะความดี	     ที่เราทำา	     เข้าค้ำ�จุน
	 เพราะเราใช้	    พระธรรม	       นำาวิญญาณ     	 สุขอบอุ่น	       สงบเย็น	       เป็นนิรันดร์
	 	 คนที่มี	      พระธรรม	       นำาชีวิต      	 	 ขออวยชัย	      ให้พร	         ในตอบจบ
	 จะพิชิต	        มารร้าย	       ไอ้ซาตาน      	 ขอทุกคน	         จงประสบ	       ความสมหวัง
	 พวกกิเลส	       ตัณหา	         นานัปการ      	 มีความสุข	       สมบูรณ์	       พูนจีรัง
	 ถูกประหาร	      ให้สิ้นไป	     ด้วยปัญญา     	 ให้สมดัง	        คำาอวยพร	      ทุกตอนเทอญฯ
แสงธรรม 4       Saeng Dhamma
                                                                 ส�รอวยพรปีใหม่ ๒๕๕๕
                                                        ประธ�นอำ�นวยก�รวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี.

                                                              ในวาระดิถีขึ้นปีใหม่	 	๒๕๕๕		นี้	 	ในนามของคณะ
                                                        กรรมการอำานวยการ		ขออวยพรให้ทุกท่านที่เป็นสมาชิก
                                                        ของวัดไทยกรุงวอชิงตัน,	ดี.ซี.		และพุทธศาสนิกชนทุกหมู่
                                                        เหล่า	 	 จงประสบแต่ความสุขความเจริญ	 มีความมุ่งมาด
                                                        ปรารถนาสิ่งใด	 ๆ	 ที่ไม่ขัดต่อศีลธรรมประเพณีอันดีงาม	
                                                                                                            	
                                                        ขอให้ความปรารถนานั้น	 ๆ	 	 จงสำาเร็จดังมโนปณิธานทุก
                                                        ประการ
                                                        	 ขออนุโมทนาขอบคุณทุก	 ๆ	 ท่าน	 ที่เสียสละกำาลัง
กาย		กำาลังทรัพย์		และกำาลังสติปัญญา		ในการช่วยเหลืองานพระศาสนา		ดูแลเอาใจใส่พระสงฆ์ที่ปฏิบัติศาสนกิจ
ในวัดไทยกรุงวอชิงตัน,	ดี.ซี.	ในรอบปีที่ผ่านมา		งานทุกส่วนกำาลังดำาเนินไปด้วยดี		ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษา	และ
ปฏิบัติธรรม		ในปีที่ผ่านมา		มีผู้สนใจเข้าปฏิบัติธรรมเป็นจำานวนมาก		มีญาติโยมมาร่วมสวดมนต์นั่งสมาธิ-สนทนา
ธรรมบ่ายวันเสาร์มากขึน	ซึงมีการสาธยายพระไตรปิฎก	เป็นการส่งเสริมศรัทธาและช่วยให้ผศกษามีความมันใจยิง
                        ้ ่                                                                 ู้ ึ        ่ ่
ขึ้น		การทำาบุญตักบาตรทุกเช้าวันอาทิตย์		เป็นการเพิ่มพูนบุญกุศลตลอดปีทั้งในพรรษาและนอกพรรษา		การถวาย
ภัตตาหารเช้า	–	เพล		มีความอุดมสมบูรณ์พรั่งพร้อมด้วยสายธารศรัทธาของญาติโยมไม่ขาดสาย
	 ในด้านการก่อสร้าง	 	 	 หลังจากขึ้นปีใหม่	 	 ๒๕๕๕	 	 แล้ว	 	 คงจะได้รับข่าวดีในการอนุญาตก่อสร้างอาคาร
อเนกประสงค์		๘๐		ปี		หลวงตาชี		ซึงอยูในขันตอนขอใบอนุญาตจากทางเคาน์ต		จึงขอแจ้งข่าวบอกบุญญาติโยมล่วง
                                    ่ ่ ้                                    ี้
หน้า		ขอให้รวมแรงร่วมใจในการบริจาคทรัพย์สมทบทุนในการก่อสร้างในครังนี		ให้สาเร็จลุลวงไปตามวัตถุประสงค์	
             ่                                                             ้ ้ ำ          ่
เพื่อเป็นการบูชาคุณของพระเดชพระคุณพระวิเทศธรรมรังษี	(หลวงตาชี)			ผู้ซึ่งเสียสละทุ่มเทกำาลังกาย		กำาลังใจ	
มาเป็นเสาหลักในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในดินแดนส่วนนี้นานกว่า		๓๕		ปี
	 ในนามของคณะสงฆ์พระธรรมทูต	 	 ขออำานวยพรให้ทุก	 ๆ	 ท่าน	 	 ที่เป็นสมาชิกหนังสือ	 “แสงธรรม”	 	 และ
พุทธศาสนิกชนทั่วไป		ท่านผู้ใดมีทุกข์ จงสิ้นทุกข์ ท่านผู้ใดมีโศก จงสร่างโศก ท่านผู้ใดมีโรค โรคจง
หาย ท่านผู้ใดมีภัย จงปลอดภัย แล้วบรรลุถึงความสุขเกษมสําราญในบวรพระพุทธศาสนา ทุกทิพา
ราตรีกาลเทอญ

                                        ด้วยเมตตาธรรม
                                  (ดร. พระมหาถนัด อตฺถจารี)
                             ประธานอํานวยการวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี.
แสงธรรม 5     Saeng Dhamma




                                                         by Buddhadasa Bhikkhu
                                                       http://www.liberationpark.org/arts/lpsm/wildmonk.htm

                                                             Now, don’t have regrets about anything.
                                                       There isn’t much time left, so you won’t be
                                                       missing much. Just sacrifice your pleasures and
                                                       comforts. Try out this natural living which auto-

     T    his is an extremely important and
          genuine fact. Live naturally and it will
be Dhamma (Natural Truth) and Vinaya (Natu-
                                                       matically has lots of cleanness, clarity, and calm.
                                                       You’ve had enough time to read, hear talks, and
                                                       study the basics of being a monk. Henceforth,
ral Discipline), or Nature, in and of itself. Living   know especially the things which will have the
naturally is near to Nibbana, more so than liv-        most benefit. Then your time as a monk will be
ing scientifically, because Nibbana is already the     over, you will have beneficial knowledge which
highest nature: naturally clean, clear, and calm.      is complete, that is, you know in general and
Live naturally, it helps make us clean, clear, and     in specifics, you know loosely and strictly, until
calm more easily.                                      you know how the Buddha lived.
      Now, I want you to hold the general prin-              When we speak of the Lord Buddha, never
ciple that Nature, the Law of Nature, Duty in          forget that he was born outdoors, awakened
line with the Law of Nature, and the Fruit re-         outdoors, realized Nibbana outdoors, taught
ceived from doing Duty according to the Law of         outdoors, lived outdoors, had a hut with an
Nature, are the most important matter. This is         earthen floor, and so on. We give it as much of
Buddhism, it’s the essence of religion without         a try as we can. Even now, we see that we’re
needing to call it religion. It’s better to call it    sitting on the ground, which is much different
“Truth of Nature” or “Natural Truth.”                  than in the city wats. There they sit on wooden
แสงธรรม 6       Saeng Dhamma
floors, on mats, on carpets, depending on the            more ability, more strength, more of everything.
status of each wat. Some wats spread expensive           One can do anything beyond expectations and
carpeting in the temple building for all eternity.       personal limitations. Whether writing a book,
So they sit in their chapels on carpets. Here, we        reading, or thinking, much more can be done.
sit on the seat of the Buddha -- the ground. This              One lives in the lowest way materially and
is one example for you to understand what na-            physically, but the mind goes its own separate
ture is like, and how different it is from the cities,   way. It takes a higher course, because when we
and how different are the hearts of those who            live simply the mind isn’t pulled in. The heart
come sit and interact with Nature.                       is released so that it lifts up high. If we sleep
       I’ve tried my best in this matter. When           comfortably, like wealthy householders, that
Suan Mokkh was first started, I slept on the             comfort grabs the heart. It traps the heart, which
ground. I slept next to the grasses in order to          can’t go anywhere, can’t escape, is stuck there.
know their flavor. I used to sleep on the beach,         So live and sleep more lowly, since humble
too. Then, when I first slept in the “middle hut”        things won’t trap the heart. Live humbly and
after it was newly built, I would stretch my hand        the mind will rise high, will think lofty things.
out the window to fondle the plants next to the                Living in a humble condition, in one that
window. This completely different feeling is the         can’t fall lower, the mind can only proceed in a
meaning of “forest wat wild monk.”                       higher way. It’s easy because we needn’t carry
       Everything changes. Feelings, sensitiv-           or load down the mind with anything. The mind
ity, standards, what have you, they change by            can be “normal” and free. It is free in its move-
themselves. Matters of food, shelter, clothing,          ments, reflections, and actions. Thus, we can
rest, sleep, aches and illness: they changed             freely do anything of the sort which is not like
completely. They caused us to understand Na-             anyone else. Through the power of nature, there
ture more than when we hadn’t tried yet, un-             isn’t any carelessness, we don’t make mistakes.
til finally there were no problems at all. Things        Since the mind is heedful there are no mistakes.
which I had feared all disappeared. Fear of lone-        That the heart can find a way out like this must
liness in deserted places, fear of spirits, fear of      be considered freedom. Know the mind that is
anything, they didn’t last more than seven days.         independent, that isn’t caught and held by deli-
They gradually disappeared themselves. This led          ciousness and pleasure, by the happiness and com-
to mental comfort, ease, and other fruits. The           fort of eyes, ears, nose tongue, body, and mind.
mind became strong, agile, subtle, and refined.                Here I want to make a distinction. If some-
Those were its fruits. Thus, whatever I thought          thing is in line with original nature, and there’s
of doing, I could do it better than before I came        no indulgence in new pleasures, we’ll call it
to the forest, better than in the city. There’s no       “natural.” If it goes after new pleasures, if newly
comparison between living in Bangkok and living          concocted for more tasty pleasures than nature,
here. They’re totally different. I can say there’s       we’ll call it “unnatural.” They’re truly different.
แสงธรรม 7     Saeng Dhamma
If going naturally, the defilements arise with dif-    and all that exceed nature. It’s better not to.
ficulty, they can’t arise. If acting in an unnatural   And please look, it doesn’t make humanity any
way, it’s easy for the defilements to be born, or      better. It doesn’t create peace in the world. If
else it’s defilement from the very start. Thus,        mental matters don’t progress, if there’s only de-
living as nature’s comrade makes it hard for the       filement -- delusion and all -- there’ll be no end.
defilements. It automatically controls and pre-              In summary, make things humble so that they
vents against the defilements (kilesa).                don’t trap the mind. Then this heart of ours is free
                                                                 to think, consider, decide, and choose.
                                                                 Please use the mindfulness and wisdom
                                                                 that you receive from this style of living to
                                                                 choose and decide what you must in the
                                                                 future.
                                                                        If you were born in Bangkok, you
                                                                 were surrounded by man-made things
                                                                 and raised far from the forest, much
                                                                 more than people born in the forest.
                                                                 Those born in towns and cities hardly
                                                                 know the meaning of “forest” or “wild.”
                                                                 Those born in the sticks know some-
                                                                 thing, but don’t pay any attention. They
       This is the spirit of Suan Mokkh, of setting    must work, must always be doing something ac-
up a place like this. When you want this enough        cording to their moods, so they hardly notice
to come here, then you ought to get it. Besides        how calm and clean it is. Sometimes they are
this, there isn’t anything. We’ve tried to prevent     even dissatisfied with it, although born in the
other things from happening, so that there are         country. Our hearts don’t like it and always aim
only these things: how to eat, how to live, and        to get into “developed and beautiful” areas in
how to sleep. We’ve spoken many times of the           the cities and capital. Thus, we don’t know the
specific details of each.                              taste of the forest and of Nature, even if born
       I’ve said it before, but nobody believes me     in the forest, even when splattered with mud,
that to take exactly what nature provides is suf-      because the mind is occupied in another way.
ficient, is good enough. When we must die, then              Now you’re in robes and needn’t work
die. Don’t postpone and make it difficult. It’s        like lay folk. The heart has a chance to know
like the medical care that has progressed to the       the peaceful flavors and quiet nooks of Nature,
point that people are unable to die, they can’t        which is the cause of the mind’s freedom in the
drop. They live inhumanly, but not dead. That’s        first place. You ought to use this final chance
too much. Heart transplants, liver transplants,        here to keep walking until knowing the heart
แสงธรรม 8       Saeng Dhamma
that is naturally pure, which is something like the      grasped, known, or seen it at all.
heart of the Arahant. The Arahant’s heart is just              The academics only memorize and recite,
like that -- natural -- except it’s that way totally.    then take examinations, then memorize and
Now, we may have a heart like that, but only             recite some more. They think only according
momentarily, temporarily. The next moment it
changes off in another direction, and we can’t pull it   to what they’re told. Their minds don’t reach
back. Try to penetrate this heart of nature.             cleanness, clarity, and calm at all. From the the-
      In clear and simple terms, we call it pure         oretical studies or scriptures, one just gets stories
nature, nature which isn’t concocted (“cooked            and information. To phrase it more politely, one
and seasoned”) by anything. And we don’t con-            gets only a map. Actually, they don’t even get
coct that nature either. It exists simply, humbly,       the map. I know this well because I’ve tried that
freshly, peacefully, coolly, however you want to         way myself. I’ve taken the full Dhamma Course,
describe it. If you know this flavor, you know the       studied the Pali language (in which the Thera-
flavor of Dhamma, in its aspect of the only fruit
worth having, because Dhamma’s reality (liter-           vada scriptures are written), and researched
ally, “body”) has been captured. Those who               continuously. It seems I got only complicated
just study and take exams never receive Dham-            stories -- mostly mixed up and confused to boot
ma’s reality. All they can do is holler about it.        -- without getting even a map. Those who talk of
If somehow you can catch Dhamma itself, it’s             scholarship, of being Pali experts and Dhamma
like catching a crab or fish, it’s something tangi-      Masters, of having a map, they make it up, imag-
ble. Here we can catch the substance of clean-           ine, and arrange it themselves.
ness, clarity, and calm -- the body of Dhamma.
Even temporarily is worth it. To have grasped it
and seen it just once is better than never having                        To be continued




   ร้าน THAI DERM ถวายเพลทุกวันจันทร์ต้นเดือน             ร้าน BANGKOK GARDEN ถวายเพลประจ�าเดือน
                                                               ฺ
แสงธรรม 9       Saeng Dhamma

                                      A Taste of Freedom
                                      The Peace Beyond
                                       A Dhammatalk By Ajahn Chah
                                     http://www.accesstoinsight.org/lib/thai/chah/atasteof.html

 ...Continued from last issue...
                                                          When the Buddha was newly enlightened

     T     he Buddha knew that because both
           happiness and unhappiness are unsat-
isfactory, they have the same value. When hap-
                                                    he gave a sermon about indulgence in Pleasure
                                                    and Indulgence in Pain. “Monks! Indulgence in
                                                    Pleasure is the loose way, Indulgence in Pain
piness arose he let it go. He had right practice,   is the tense way.” These were the two things
seeing that both these things have equal values     that disturbed his practice until the day he was
and drawbacks. They come under the Law of           enlightened, because at first he didn’t let go of
Dhamma, that is, they are unstable and unsatis-     them. When he knew them, he let them go, and
factory. Once born, they die. When he saw this,     so was able to give his first sermon.
right view arose, the right way of practice be-           So we say that a meditator should not walk
came clear. No matter what sort of feeling or       the way of happiness or unhappiness, rather he
thinking arose in his mind, he knew it as simply    should know them. Knowing the truth of suffer-
the continuous play of happiness and unhappi-       ing, he will know the cause of suffering, the end
ness. He didn’t cling to them.                      of suffering and the way leading to the end of
                                                    suffering. And the way out of suffering is medita-
                                                    tion itself. To put it simply, we must be mindful.
                                                    Mindfulness is knowing, or presence of mind.
                                                    Right now what are we thinking, what are we
                                                    doing? What do we have with us right now? We
                                                    observe like this, we are aware of how we are
                                                    living. When we practice like this wisdom can
  คณะแม่บานยุคใหม่ ท�าบุญประจ�าเดือน สาธุ สาธุ!!
         ้                                          arise. We consider and investigate at all times,
แสงธรรม 10      Saeng Dhamma
in all postures. When a mental impression arises              As long as we are still unenlightened all
that we like to know it as such, we don’t hold          this may sound strange but it doesn’t matter,
it to be anything substantial. It’s just happiness.     we just set our goal in this direction. The mind
When unhappiness arises we know that it’s Indul-        is the mind. It meets happiness and unhappi-
gence in Pain, it’s not the path of a meditator.        ness and we see them as merely that, there’s
       This is what we call separating the mind         nothing more to it. They are divided, not mixed.
from the feeling. If we are clever we don’t at-         If they are all mixed up then we don’t know
tach, we leave things be. We become the ‘one            them. It’s like living in a house; the house and
who knows’. The mind and feeling are just like          its occupant are related, but separate. If there is
oil and water; they are in the same bottle but          danger in our house we are distressed because
they don’t mix. Even if we are sick or in pain,         we must protect it, but if the house catches fire
we still know the feeling as feeling, the mind          we get out of it. If painful feeling arises we get
as mind. We know the painful or comfortable             out of it, just like that house. When it’s full of
states but we don’t identify with them. We stay         fire and we know it, we come running out of it.
only with peace: the peace beyond both com-             They are separate things; the house is one thing,
fort and pain.                                          the occupant is the other.
       You should understand it like this, because            We say that we separate mind and feeling
if there is no permanent self then there is no ref-     in this way but in fact they are by nature already
uge. You must live like this, that is, without happi-   separate. Our realization is simply to know this
ness and without unhappiness. You stay only with        natural separateness according to reality. When
the knowing, you don’t carry things around.             we say they are not separated it’s because we’re




        คณะผู้ปกครอง “09” ถวายเพลทุกเดือน                    คุณแต่ว-ดอน และคณะถวายเพลทุกเดือน
แสงธรรม 11    Saeng Dhamma
clinging to them through ignorance of the truth.       this then things are difficult. The Buddha didn’t
      So the Buddha told us to meditate. This          teach like that. He said that right here is the place
practice of meditation is very important. Merely       to meditate. When we’re sick or almost dying
to know with the intellect is not enough. The          that’s when we can really know and see reality.
knowledge which arises from practice with a                  Other people say they don’t have the
peaceful mind and the knowledge which comes            chance to meditate because they’re too busy.
from study are really far apart. The knowledge         Sometimes school teachers come to see me.
which comes from study is not real knowledge           They say they have many responsibilities so
of our mind. The mind tries to hold onto and           there’s no time to meditate. I ask them, “When
keep this knowledge. Why do we try to keep it?         you’re teaching do you have time to breathe?”
Just lose it! And then when it’s lost we cry!          They answer, “Yes.” “So how can you have time
      If we really know, then there’s letting go,      to breathe if the work is so hectic and confus-
leaving things be. We know how things are and          ing? Here you are far from Dhamma.”
don’t forget ourselves. If it happens that we                Actually this practice is just about the mind
are sick we don’t get lost in that. Some people        and its feelings. It’s not something that you have
think, “This year I was sick the whole time, I         to run after or struggle for. Breathing continues
couldn’t meditate at all.” These are the words         while working. Nature takes care of the natu-
of a really foolish person. Someone who’s sick         ral processes — all we have to do is try to be
and dying should really be diligent in his prac-       aware. Just to keep trying, going inwards to see
tice. One may say he doesn’t trust his body, and       clearly. Meditation is like this.
so he feels that he can’t meditate. If we think like
                                                                       To be continued




             คณะผู้ถวายเช้าทุกวันจันทร์                 คุณกุญชลี-คุณแแม่ และคณะถวายเช้าวันอังคารต้นเดือน
แสงธรรม 12     Saeng Dhamma

The Three Characteristics
    of Existence
            By Du Wayne Engelhart


The Three Characteristics of Existence                the sound, form the opinion that this particular

     A      s we contemplate in our insight medi-
            tation the way the world works, we
see certain fundamental characteristics emerge.
                                                      song is lovelier than a different one we heard
                                                      last week, etc. Hearing a sense impression leads
                                                      to having a feeling, having a feeling leads to
Nature, the totality of the world of human expe-      remembering another sound, remembering a
rience, exhibits three main features that gradu-      sound leads to a thought process, and a thought
ally become clear to us: impermanence (anic-          process leads to forming an opinion. This kind
ca); suffering, or unsatisfactoriness (dukkha); and   of conditioned activity happens countless times
no-self, lack of a self (anattā).                     a day as we experience the world. It goes on
      First of all, we realize the impermanence       and on. This is the way our world is; it is a place
(anicca) of everything in our world. Nothing          where nothing stands still.
within the world lasts. Our experience is char-             The conditionality of nature does not just
acterized by the constant flow of sense impres-       mean that one thing leads to another in a con-
sions, thoughts, memories, feelings, emotions,        stant flow. Conditionality is not merely causal-
and so on, that we can call a stream of con-          ity in terms of linear progression over a period of
sciousness. All the elements in this flow are         time. Things in nature follow one another in a
connected causally, that is, one thing leads to       causal connection, but they also condition one
another. For example, we hear the sound of a          another in the sense that they depend upon
bird’s song, have a feeling of delight, remem-        one another at any given time for their very ex-
ber a similar sound we heard yesterday, think         istence. Conditionality is the mutual interde-
about the species of bird that might be making        pendence of all things within nature. For exam-
แสงธรรม 13 Saeng Dhamma
ple, we read an article in a newspaper because              Secondly, we see the suffering, the unsat-
there is newsprint, because we have money            isfactoriness (dukkha), which exists in our lives.
to buy a newspaper, because newspapers are           The world of experience being impermanent as
not forbidden by the government, because our         it is, we are bound to get frustrated if we try to
optic nerves are functioning properly, because       hold on to something within this flow. Nothing
we know how to read, because we believe it is        in the world really stays around long enough
important to keep up with current events, etc.       for it to truly belong to a self. If we try to hang
All these conditions exist simultaneously. Then,     on to the world, we are putting ourselves at
perhaps, because we have read the article, we        odds with the way nature is, so dissatisfaction is
remember certain events related to it, we form       bound to result. We are asking for trouble.
an opinion about what we should do, we decide               Anytime we people our world with “I” and
to take certain action, and so forth.                “mine,” anytime we let selfishness in any form
       We also get a real sense of the imper-        get the better of us, we bring suffering upon our-
manence of the world when we contemplate             selves. If we get angry and blame an employee
our everyday experience of time. We say that         for not following instructions, we suffer. If we
“time flies,” and there is a reason for that. Try    get upset with a spouse because she is making
as we will, we cannot hold on to it; it keeps        us wait, we suffer. If we extend ill will toward a
getting away from us. Lazy summer vacation           fellow human being rather than the loving-kind-
days quickly pass by, and we find ourselves          ness we would expect for ourselves, we suffer.
back at our jobs or at school wondering what         If we spend all our time and energy pursuing
became of our days off. The carefree days of         the accumulation of our material things, we
youth soon enough give way to the responsi-          suffer. Until we see that we should cling to
bilities of a first job, then, before we know what   nothing at all, we will continue to cause suf-
happened, to the challenges of retirement.           fering in our lives.
The strength and agility of our younger years               Thirdly, we come to the realization that in
change to the feebleness and unsteadiness of         nature there is no self (anattā). The world as is
old age. The lady we have seen occasionally          shows itself is real enough, but there is no per-
at the temple shows up one day looking gaunt         during self evident within it. There is no self in
and weak; shortly thereafter we hear that she        nature; there is conditionality in nature. In the
has died. Our whole life, in fact, is one of be-     totality of the world of human experience, there
ing constantly on the way to death, the final,       are indications that it is not a self that “calls
inevitable destination for all of us.                the shots,” but it is nature as a whole that does
แสงธรรม 14     Saeng Dhamma
so. The ego, the self, the “I,” is not in control  “we” impose upon a selfless nature. We come
here: one might say that nature is. The “self,”    to realize that nature, the totality of the world
for example, cannot hold its breath as long as it  of human experience, is bereft of any self, of
wants; sooner or later nature starts the breath-   any “I” or “mine.” We see that we suffer, in
ing again whether the self wants to or not. The    our selfishness, because we refuse to simply let
self cannot jump off a cliff, change its mind, and nature be.
go back to the top of the cliff. The dictates             We cannot find the self anywhere, for there
of nature say it is too late for that. The self,   is only the flux of conditioned phenomena that
furthermore, try as it will, is never able to find comprises nature as a whole. If we look hard
satisfaction and happiness in the things of the    enough at the world of human experience, no
physical world. Nature will always make sure of    self is evident. There are discrete sense impres-
that. Whether the self likes it or not, nature willsions (e.g., red, salty, hot, etc.), discrete feelings
take away the self’s possessions, loved ones,      (pleasure, displeasure, sadness, delight, etc.),
and even ultimately the very life of the self’s    discrete thoughts (the Buddha lived about 2,500
body. However firmly the self tries to keep a      years ago, George Washington was the first Pres-
grip on things, nature ensures that nothing lasts, ident, E = mc2, etc.), discrete memories (e.g.,
that everything is impermanent. The self can do    a summer vacation, the day we got married,
nothing about this.                                what we were doing when President Kennedy
                                                    was assassinated, etc.), and discrete opinions
                                                    (e.g., Coca Cola is better than Pepsi, Big Foot
                                                    is a hoax, a low-carb diet is good for you, etc).
                                                    Where is the enduring self, ego, person, indi-
                                                    vidual, or soul? We see only nature, the sum
                                                    total of the “inner” and “outer” dimensions of
                                                    human experience, unfolding itself in all its con-
                                                    ditioned complexity. The “inner” dimension is
                                                    traditionally called “mind”; the “outer” dimen-
                                                    sion is traditionally called “world.” “Within”
      Why is the self unable to do anything in this mind-world, which is really one and the
these cases? Because there really is no endur- same world of the totality of nature, there is
ing self; there is only nature unfolding according no self.
to its laws. The self is a fiction, a contrivance                        THe END
แสงธรรม 15 Saeng Dhamma
   บทความพิเศษ : โดย                      พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต)




               สวัสดีปีใหม่ ๒๕๕๕
    “ทำ�ดีให้ถึงดี ให้ถูกดี ให้พอดี ชีวีจะมีสุข”
       ใ      นโอกาสที่ปีเก่าผ่านไป ปีใหม่เข้ามา คนไทยเรา
              ก็มักจะทักทายกันด้วยค�าว่า สวัสดีปีใหม่
          ค�าว่า สวัสดี เป็นค�าที่บัญญัติขึ้นโดย พระยาอุปกิต
                                                                     ประสบความส�าเร็จ
                                                                            ในปีใหม่นี้ ถ้าหากเรามัวแต่รอโอกาส และไม่ท�า
                                                                     อะไรเลยโอกาสมาถึงก็ยังงอมืองอเท้าอยู่ ความโชคดีก็ไม่
ศิลปสารน�ามาจากภาษาสันสกฤต ที่แปลว่า ขอให้มีความ                     เกิด บางคนตัดสินใจแล้วแต่ผิดจังหวะ ก็ท�าให้ชีวิตของ
ดีงามในชีวิต เวลาที่เราทักทายกันว่า สวัสดีนี้ ก็คือขอให้             คนนั้นไม่ประสบความส�าเร็จ ดังนั้น หากมองว่า ความ
ความดีงาม จงมีแก่ท่าน สวัสดีปีใหม่ก็คือว่า ปีใหม่นี้ ขอ              โชคดีในปีใหม่นี้จะมีองค์ประกอบอะไรบ้างก็ดูที่ค�าสอน
ให้มีแต่เรื่องดีๆ มีโชคดี มีความส�าเร็จ                              ของพระพุทธเจ้าได้ พระพุทธเจ้าสอนว่า มาจากองค์
          คน ที่จะประสบความส�าเร็จ ความดีงามในชีวิต มา               ประกอบ ๓ ประการ ดังนี้
จากความเก่งและบวกกับความโชคดี คือ ความเฮง เก่ง                              ประการ ที่ ๑ ก็คือความเก่ง ความรู้ ความ
หมายถึง ความรู้ ความสามารถที่เรามี มีความพร้อมที่                    สามารถ เรียกว่า อัตตสัมมาปณิธิ วางตัวไว้ชอบ เมื่อ
จะท�างานตามที่คิดหรือได้รับมอบหมาย บางคนมีความรู้                    เราวางตัวไว้ชอบก็คือ พัฒนาตัวเองตลอดเวลา เราก็จะ
มีความสามารถและพร้อมที่จะท�าแต่ขาดโอกาสเมื่อไม่มี                    กลายเป็นคนที่มีความเก่งและความดีอยู่ในตัวเองและ
โอกาสก็ไม่ได้ใช้ความเก่ง ให้เปล่งประกายสมกับที่มี ก็                 เมื่อเรามีความเก่ง และความดีอยากจะให้เปล่งประกาย
เหมือนดาบที่อยู่ในฝักไม่ได้ชักออกมาใช้ จึงต้องรอโอกาส                เราก็ต้องแสวงหาประการที่ ๒
บางคนมีโอกาสดีเหลือเกิน แต่ก็ปล่อยให้โอกาสผ่านเลย                           ประการที่ ๒ ต้องท�าบุญ เรียกว่า ปุพเพกตปุญญ
ไป ในที่สุดก็กลายเป็นคนที่เสียโอกาสเพราะไม่ตัดสินใจ                  ตา มีบุญที่ท�าไว้แต่ก่อนมา อาจจะไม่ต้องเรียกว่าถึงชาติ
เขาจึงบอกว่าสถานการณ์สร้างวีรบุรุษหรือวีรสตรี เพราะ                  ก่อนชาตินี้ก็ท�าได้ แต่ท�าในอดีตที่ผ่านมา ท�าความดีไว้ให้
เมื่ อ มี ส ถานการณ์ มี โ อกาสก็ ก ล้ า จั ด ท� า และในที่ สุ ด ก็   มาก ความดีที่เราท�าที่เรียกว่าบุญจะถูกเก็บไว้ในใจของ
แสงธรรม 16       Saeng Dhamma
เรา เราจะจดจ�าจารึกความดีที่เราท�าเอาไว้ นึกขึ้นมาทีไร       สะสมไว้เรื่อยๆเก็บคะแนนเก็บแต้มเอาไว้ วันหนึ่งโอกาส
ก็มีความสุข บุญจึงเป็นชื่อของความสุข ความเบา ความ            ก็จะมาถึง คือ เมื่อน้�าแต่ละหยดๆ ที่หยดลงไปในตุ่ม ตุ่ม
สบายใจ แต่ถ้าเราไปท�าบาปไว้ที่ไหน นึกทีไรก็มีแต่เรื่อง       ก็เต็มด้วยน้�าเหล่านั้น ฉันใด ชีวิตที่ท�าความดีเอาไว้ วัน
ขุ่นข้องหมองใจ จิตก็ขุ่นมัว บาปเป็นเรื่องที่หนัก บาป         หนึ่งบุญจะให้ผล เช่น ผู้ใหญ่อาจจะเห็นความดีของเรา
แปลว่าท�าให้จิตตกไปสู่อบาย สู่ความเสื่อม คนที่มีบุญก็        หรือคนอื่นคนใด ก็จะเห็นความดีของเรา เรียกว่า เทวดา
คือจิตเบา นึกถึงเรื่องใด ก็ตามที่เราท�าความดีแล้วเบาใจ       คุ้มครองก็ได้ นี้เป็นการท�าความดี ต้อนรับปีใหม่
แต่ถ้าหากหนักใจ เครียด ทุกข์ กังวล อาจเป็นเพราะ                      ประการที่ ๓ ปฏิรูปเทสวาสะ อยู่ในที่ที่เหมาะ
บาปกรรมที่เราท�า                                             สมกับความรู้ความสามารถของเรา เรื่องนี้เราก็เลือกได้
         ฉะนั้นจงท�าบุญให้มาก จิตเราจะได้เบา ไม่กังวล        บางคนเก่งในเรื่องนั้นๆ แต่เกิดผิดยุคก็มี ก็เลยไม่เป็นที่
และบุญที่ท�านั้นสะสมไว้ในจิตของเรา จะน�าแต่ความดีมา          ต้อนรับไม่เป็นที่สนใจ เราคงเคยอ่านประวัติเจอ คนเก่ง
สู่ชีวิตเขา เรียกว่าบุญจัดสรร คนที่ท�าไม่ดีก็จะเจอคนไม่ดี    บางคนเกิดก่อนยุคของตัวเองเป็นร้อยปี กว่าคนรุ่นต่อมา
มาหา เรื่องร้ายๆ ก็มาหา แต่ถ้าคนไหนเป็นคนดี คนดีก็           จะซาบซึ้ง ในความเก่งเขาก็ตายไปแล้ว
มาสู่ เรื่องดีๆ ก็มาหา                                               บางคนมีความรู้ความสามารถ ท�าอะไรไว้เยอะ แต่
         ยามบุญมา วาสนาช่วย ที่ป่วยก็หาย ที่หน่ายก็รัก       ไม่ได้รับการยอมรับในสมัยของตัวเอง เขาเรียกว่าอยู่ผิด
         บุญไม่มา วาสนาไม่ชวย ทีปวยก็หนัก ทีรกก็หน่าย
                              ่ ่ ่              ่ั          ยุค ผิดที่ผิดจังหวะ กับบางคนอีกเหมือนกัน เกิดมาช้า
         เพราะ ฉะนั้นปีใหม่นี้ท�าบุญให้มากเข้าไว้ บางคนไป    ไปหน่อยที่จริงต้องไปอยู่เมื่อร้อยปีที่แล้วน่าจะเหมาะ
รอบุญเก่าอย่างเดียวบุญเก่าก็หมดไปได้ เหมือนเงินที่เรา        เป็นความคิด โบราณ เขาว่าพวกไดโนเสาร์เต่าล้านปี นี่
ฝากไว้ที่ธนาคารพอได้ดอกเบี้ย เราถอนต้นออกมาเงินก็            เห็นไหมว่าการที่เราจะประสบความส�าเร็จเป็นที่ยอมรับ
หมด ชีวิตเราที่เจริญก้าวหน้ามาจนปีที่แล้วเป็นเพราะบุญ        ขึ้นอยู่กับสถานที่ ที่เราไปพูดที่เราไปท�าหรือหน่วยงานที่
ที่เราท�าไว้แล้วในอดีต เมื่อบุญนั้นได้ให้ผลไปแล้ว เรียก      เราสังกัด ถามว่าเราเลือกได้ไหมคนหนุ่มสาวยังมีโอกาส
ว่า ไม่มีต้นทุนเหลือ คนที่ประสบความส�าเร็จจึงต้องคิดว่า      เลือกงานท�างานนี้ไม่เหมาะกับความ รู้ความสามารถของ
เราได้ดีด้วยบุญกุศลจึงต้องท�าบุญเพิ่มอีก เพื่อรักษาสิ่งดีๆ   เรา เขาไม่ต้อนรับคนอย่างเรา เราก็ไปที่อื่นไปที่อื่นแล้วก็
ที่เราได้มาในปีที่ผ่านมาบุญอาจจะหมดสต็อกไปแล้ว ก็ไป          พัฒนาตัวเองให้สอดคล้องกับที่ซึ่งเป็นปฏิรูป เทสนั้นจึง
ท�าเพิ่ม เช่น ไปถวายทาน รักษาศีล เจริญจิตภาวนา ไหว้          ต้องเลือกปฏิรูปเทส
พระ สวดมนต์ ถวายสังฆทานท�าแล้วก็จะน�ามาซึ่งบารมี                     ฉะนั้น เราต้องดูตัวเองว่าถ้าอยู่ตรงนี้อยู่ที่นี่ เรา
คือ ท�าให้เรามีบารมี                                         สามารถพัฒนาตัวเองได้ไหม ท�าอะไรให้ถูกต้องและเป็น
         ค�าว่า บารมี หมายถึง ความเต็มด้วยคุณงามความ         ที่ยอมรับปรับตัวได้ไหม ถ้าเราปรับตัวได้ก็ท�า ก็พัฒนาตัว
ดีที่ว่าพระพุทธเจ้าบ�าเพ็ญบารมี ก็คือพระองค์เต็มด้วย         เอง การพัฒนาตัวเอง เรียกว่า อัตตสัมมาปณิธิ แปลว่า
ความดีที่จะเป็นพระพุทธเจ้า เมื่อความดีเต็มเปี่ยมใน           ตั้งตนไว้ชอบ บุญก็ท�าไว้เสมอตามหลักปุพเพกตปุญญตา
ใจ เขาเรียกว่าบารมีครบถ้วนสมบูรณ์แล้ว ก็บรรลุเป็น            บุญที่ท�าตั้งแต่ปีที่แล้วและปีก่อนๆ นั้นจะท�าให้ชีวิตของ
พระพุทธเจ้า เราเองอยากจะประสบความส�าเร็จในเรื่อง             เรา มีแต่ความดีงามมีแต่ความเจริญในปีนี้ และปีต่อๆ
อะไร ก็ต้องบ�าเพ็ญบารมี คือ ท�าความดีในด้านนั้นเอาไว้        ไปเราจะเปล่งประกายไปเป็นที่ยอมรับ ก็เมื่ออยู่ในที่ที่
แสงธรรม 17 Saeng Dhamma
เหมาะสม ได้แก่ ปฏิรูปเทสและเราก็ต้องท�าบุญต่อไปอีก              ตั้งใจท�าแล้วต้องท�าให้ส�าเร็จ อย่าเป็นเหมือนกับผู้เรียน
        สรุปแล้วคนเราจะได้ดี ต้องมาจากต้นทุน ๓                  ตามหลักสูตรปริญญาตรี ๔ ปี บางคนเรียน ๓ ปี ออก
ประการ คือ                                                      กลางคัน ไม่ได้รับปริญญาบัตร แล้วยังบอกว่าการศึกษา
        ๑. วางตัวไว้ดี ประวัติดี มีความรู้ความสามารถ            ไม่เห็นได้อะไรเลยท�างานก็ไม่ได้ ตกงาน เพราะเรียนไม่
        ๒. ท�าบุญไว้เยอะ ท�าความดีไว้มาก และ                    จบ ท�าดีไม่ถึงจุดที่ความดีจะให้ผล ดังนั้น ท�าอะไรก็ตาม
        ๓. อยู่ในที่ที่เขาชอบคนอย่างเราหรือส่งเสริมคน           ต้องท�าให้เต็มที่ ร�าให้สุดแขน แพนให้สุดปีก
อย่างเรา                                                                ปีใหม่นี้ ถ้าอยากประสบความส�าเร็จในชีวิต ต้อง
        ถ้ามีต้นทุนทั้ง ๓ อย่างนี้ สวัสดีปีใหม่แน่นอน คือ       ท�าดีให้ถึงดี เหมือนกับเราจะขึ้นบ้านโดยอาศัยบันได ๗
ปีใหม่จะมีแต่ความโชคดี มีความสุข มีความเจริญ แต่ยัง             ขั้น เราต้องขึ้นให้ครบ ๗ ขั้น จึงจะถึงชั้นบน แต่เราไปขึ้น
ไม่พอต้องพยายามให้ได้ดี หมายความว่า ท�าดีให้ถูกดี ท�า           แค่ ๒ ขั้น ๓ ขั้น มันก็ไม่ถึงชั้นเป้าหมาย เพราะท�าไม่ถึง
ดีให้ถึงดีและท�าดีให้พอดี แม้เราจะมีทุนดีก็เหมือนกัน แต่        จุดที่ความดีจะให้ผลบางคนอยากจะท�างานสักชิ้น แต่มัน
ทุนที่มีอยู่ เช่น เป็นคนเก่ง เป็นคนมีความรู้ความสามารถ          ยากล�าบาก มีอุปสรรค เขาถูกด่า ถูกว่า ถูกบ่น ใจไม่สู้
แต่ท�าไม่ถูกจังหวะ หรือไม่ถูกดีและท�าไปแล้วเป็นกิ้งก่า          หนาวนัก ร้อนนัก ก็ถอย อย่างนี้เรียกว่า หนักไม่เอา เบา
วิ่งๆ หยุดๆ แล้วแต่อารมณ์ท�าบ้างไม่ท�าบ้าง มันก็ไม่เจริญ        ไม่สู้ ท�าดีไม่ถึงดี
เรียกว่าท�าไม่ถึงดี และบางคนท�าแล้วก็เกินดีอีกนะ ขยัน                   เพราะฉะนั้น นักปราชญ์ท่านหนึ่งจึงบอกว่า ให้
เกิน พูดมากเกิน ท�ามากเกิน คนรับไม่ได้                          ท�าอะไรต้องท�าให้ดีที่สุด ให้เลี้ยงม้า ม้าจะต้องอ้วบ ให้
        เพราะ ฉะนั้น ถ้าหากว่าจะให้มีความสวัสดี คือมี           เป็นเสนาบดีกระทรวงการคลัง เงินจะต้องเต็มคลัง คน
แต่เรื่องดีๆ ท�าดีได้ดีในปีใหม่ ต้องท�าดีให้ถูกดี ให้ถึงดี      ที่พูดประโยคนี้ก็คือขงจื้อ ตอนที่เขาให้รับต�าแหน่งเล็กๆ
และให้พอดีที่ว่าให้ถูกดี คืออย่างไร                             ก็ท�าไปก่อน พิสูจน์ฝีมือต่อเมื่อเขาไว้วางใจ เขาก็เลื่อน
        ที่ว่าท�าดีให้ถูกดี คือ เรามีหน้าที่อะไร ท�าให้ที่สุด   ต�าแหน่ง แต่บางคนต�าแหน่งมีแต่ไม่ท�า เหมือนอย่างที่ว่า
เป็นอะไรเป็นให้จริง-เป็นพ่อ-เป็นแม่-เป็นพระ-เป็นโยม-            ท�าดีไม่ถูกดี เขาจึงสอนว่าอย่าห่วงว่าเขาไม่รู้ว่าเก่งหรือ
ท�าหน้าที่ของตัวเอง ให้ดีที่สุด นี้เรียกว่าท�าดีให้ถูกดี บาง    มีความสามารถหรือไม่ ห่วงแต่ว่าสักวันหนึ่ง เมื่อคนเขา
คนมีหน้าที่แล้วไม่ท�า ไปท�าสิ่งที่ไม่ใช่หน้าที่ เป็นฆราวาส      ยกย่องเรา ให้ต�าแหน่งเรา เราเก่งจริง หรือเปล่ามีความรู้
อยากสวด เป็นนักบวชอยากร้องเพลง ถึงจะร้องเพลงดี                  มีความสามารถหรือเปล่า เราต้องท�าดีให้มันถึงดี
แต่ไม่ใช่หน้าที่ เขาเรียกว่าท�าดี ไม่ถูกดี คือ ไม่ถูกบทบาท              ข้อสุดท้าย ที่ว่าท�าดีให้พอดี ได้แก่ บางคนท�าดี
ของตัวเอง                                                       เกินธงมากเกินไปหากจะเทียบก็เหมือนเอาน้�าใส่แก้วมัน
        เพราะฉะนั้น           เรามีหน้าที่อะไรท�าให้สุดความ     ล้นถ้วย เจิ่งนองไปหมด นอกจากจะเสียของแล้ว ยังเปียก
สามารถ ท�าให้ตรงหน้าที่นั้น แล้วเมื่อท�าหน้าที่ตัวเอง           ปอนไปทั่ว พื้นตรงนั้น เพราะฉะนั้น คนที่ท�าความดีต้อง
สมบูรณ์แล้วค่อยไปท�าหน้าที่เพิ่มเติมอื่นๆ งานหลวงอย่า           ให้พอดีเราเรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา ทางสายกลางเห็นได้
ให้ขาด งานราษฎร์อย่าให้บกพร่อง อย่างนี้เรียกว่า ท�าดี           จากการใช้จ่าย จ่ายมากสุรุ่ยสุร่ายก็เสียเงินไปโดยใช่เหตุ
ให้ถูกดี คือ ตรงหน้าที่ อย่าให้บกพร่อง                          จ่ายน้อยเกินไป อดอยาก ล�าบากตน ความพอดีนี้ ก็คือ
        ที่ว่าท�าดีให้ถึงดี หมายความว่า อย่าเป็นคนจับจด         เศรษฐกิจพอเพียง
แสงธรรม 18       Saeng Dhamma
       ปีใหม่นี้           น�าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ        ไว้ดีแต่ก่อน ข้อที่สามอยู่ในที่ที่ดี อย่าพาตัวเองไปที่ที่ไม่
พระเจ้าอยู่หัวมาเป็นเป้าหมายชีวิตเรา เพื่อความสุข เรา         เหมาะไม่ควร และท�าดีได้ดีเพื่อความดีงามของชีวิตก็ต้อง
จ่ายเงิน เพื่อให้เกิดความสุข อย่าให้เป็นทุกข์เพราะเป็น                ข้อหนึ่ง ท�าดีให้ถูกดี ถามตัวเองว่าชีวิตเราเหมาะ
หนี้สิน บางคนติดการพนันเข้าไปอีก บางคนเล่นหวยทั้ง             กับเรื่องอะไรท�าเรื่องนั้นแหละ และเราก็จะโชคดีมีชัย
บนดินใต้ดินมากมายปีใหม่นี้ไม่มีพวกอบายมุขทั้งหลาย             ประสบความส�าเร็จ
เราจะ ต้องด�ารงชีวิตให้พอดีอย่าให้สิ่งไม่ดีเข้ามาแผ้วพาน              ข้อสอง เวลาท�าแล้วต้องท�าให้เต็มที่ อย่าเยาะแยะ
หลวงพ่อปัญญานันทะ ท่านสอนว่าเผาศพทั้งทีให้เผาผี               ท�าให้ถึงเป้าหมายให้ส�าเร็จให้ได้ ไม่ลงทุนเปล่า เหนื่อย
เสียด้วย บางคนเผาแต่ศพ คือ ร่างที่ไร้วิญญาณ แต่ไม่เผา         เปล่า ท�าดีให้ถึงดี และ
ผี ผีเลยสิงกลับบ้าน ปีใหม่นี้ไล่ผี อย่าให้สิงเรา มีผี ๖ ตัว           ข้อสาม เมื่อท�าดีถึงดีแล้ว รู้จักหยุดรู้จักพอ
ด้วยกัน                                                       เศรษฐกิจพอเพียง อย่าไปฟุ้งเฟ้อสุรุ่ยสุร่ายไม่ท�าให้ชีวิต
       พระท่านว่าเป็นค�าประพันอย่างนี้ ลองดูว่าผีตัว          ของเราออกนอกลู่นอกทางไม่ติด อบายมุขทั้ง ๖ ประการ
ไหนชอบมาสิงเรา ตั้งแต่ปีที่แล้วปีนี้ไล่ไปเลยนะ อย่าให้        ก็คือ ผี ๖ ตัว เพราะเกินธง เครียดไป มากไป
ตามมารังควานอีก                                                       ฉะนั้น ปีใหม่นี้ จากการท�าดีให้ถูกดีท�าดีให้ถึง
       ผีหนึ่ง ชอบดื่มสุราเป็นอาจิณ ไม่ชอบกินข้าว             ดี และท�าดีให้พอดี ชีวิตก็จะมีแต่ความสวัสดี มีชัย ขอ
ปลาเป็นอาหาร                                                  อ�านาจคุณพระศรีรัตนตรัยและความดีที่เราบ�า เพ็ญมา
       ผีสอง ชอบท่องเที่ยวยามวิกาล ไม่รักลูกรักบ้าน           จงมาอ�านวยอวยพรให้ทุกท่าน มีแต่ความสวัสดีมีชัย ใน
ของตน                                                         โอกาสต้อนรับปีใหม่นี้ เพื่อท�าดีให้ถูกดี ให้ถึงดี ให้พอดี
       ผีสาม ชอบเที่ยวดูการละเล่น ไม่ละเว้นบาคลับ             และชีวิตก็จะได้ มีความสวัสดีมีชัย ตลอดไปทุกท่าน ทุก
ละครโขน                                                       คนเทอญ
       ผีสี่ ชอบคบคนชั่วมั่วกับโจร หนีไม่พ้นอาญาตรา
แผ่นดิน
       ผีที่ห้า ชอบเล่นไพ่ เล่นม้า กีฬาบัตร สารพัดถั่ว
โปไฮโลสิ้น
       ผีที่หก ชอบเกียจคร้านการหากิน มีทั้งสิ้น ๖ ผี
อัปรีย์ เอย
       ถ้า เราท�าดีให้ถูกดี ให้ถึงดี ให้พอดี ผีทั้ง ๖ ก็จะ
ไม่เข้ามาสิงเรา ชีวิตเราก็จะมีแต่ความดี ประสบความสุข
ความเจริญงอกงามไพบูลย์ แล้วก็เป็นชีวิตที่มีแต่สวัสดี ก็
คือ มีแต่ความดีงามเท่านั้น
       ฉะนั้น ถ้าเราประสงค์จะต้อนรับปีใหม่ด้วยความ
สวัสดีมีชัยก็คือมีแต่เรื่องดีๆ     เราก็จะต้องด�าเนินตาม
ธรรมะที่ได้กล่าวมาก็คือ ข้อแรก วางตัวดี ข้อสองท�าบุญ                คณะจัดดอกไม้ประดับทุกกิจกรรมของวัดไทยฯ ดี.ซี.
แสงธรรม 19 Saeng Dhamma

    อนุโมทนาพิเศษ / Special Thanks



คุณประพจน์ คุณวงศ์ - คุณมนชยา เจตบุตร พิธกรประจำาวัดไทยฯ ดี.ซี.
                                         ี                        ร้าน TALAY THAI โดยคุณพยุง-คุณจินตนา ถวายภัตตาหารเช้าวันพุธ




คณะพยาบาลบั ล ติ ม อร์ ถวายเพลวั น พุ ธ สุ ด ท้ า ยทุ ก เดื อ น   สนง.เศรษฐกิจการคลัง, สนง. ก.พ., สนง.เกษตร ถวายเพลทุกเดือน




BANGKOK DELIGHT RESTAURANT ถวายเพลทุกเดือน                        ร้าน NSC คุณเสริมศักดิ์-คุณวันทนีย์ ถวายเพลทุกเดือน
แสงธรรม 20   Saeng Dhamma
                	ขอเชิญทุกท่านร่วมนมัสการพระสารีรกธาตุ	ณ	อุโบสถ	วัดไทยฯ	ดี.ซี.
                                                 ิ




                Those	who	are	interested	in	Thai	Theravada	Buddhism	and	
                members	of	the	general	public	are	cordially	invited	to	Wat	
                Thai,	D.C.,	Temple	to	pay	their	respect	to	or	simply	view	the	
                Buddha	relics	on	display	in	the	chanting	hall.


ปฏิบัติธรรมประจำ�เดือนมกร�คม
 ณ วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. 21 มกราคม 2555
ศึกษาและปฏิบัติธรรมตามแนวพระไตรปิฎก
          � สาธยายพระไตรปิฎก ภาษาบาลี
          � ฟังบรรยายธรรม - ธรรมสากัจฉา
          � เจริญจิตภาวนา - แผ่เมตตา
           พร้อมกันบนอุโบสถศาลา เวลา 9.00 A.M.
แสงธรรม 21      Saeng Dhamma



                                          เสียงธรรม.. จากวัดไทย
                                                       พระวิเทศธรรมรังษี (หลวงตาชี)



	      	         	   ทานญฺจ เปยฺยวชฺชญฺจ            อตฺถจริยา จ ยา อิธ
                     สมานตฺตตา จ ธมฺเมสุ            ตตฺถ ตตฺถ ยถารหํ
                     เอเต โข สงฺคหา โลเก            รถสฺสาณีว ยายโต.
       แบ่งให้เพื่อเจือจาน, กล่าวขานคําไพเราะเสนาะโสต ประพฤติประโยชน์แก่ตนและสังคม,วางตัว
ให้เหมาะสมกับฐานะ ธรรมะทั้ง ๔ ข้อนี้ ยึดเหนียวจิตใจของคนในสังคมให้กลมเกลียวเป็นนํ้าหนึ่งใจ
เดียวกัน
	
	
	
    	 	ถ้าท�าดี	
    ท�าดี	แต่	
    กลายเป็นเรื่อง	
                      	 เพื่อดี	          นั้นดีแน่
                      	 ท�าเพื่อ	“กู”	 ดูเฉงโฉง
                      	 ฉ้อฉล	            ของคนโกง
                                                           	เ       รืองรีบด่วน		ทีคนเราทุกคนผูหวังอยูซงความสุข
                                                                      ่            ่            ้       ่ ึ่
                                                                    ความเจริญก้าวหน้า		และความปลอดภัยในชีวต
                                                           ประจ�าวัน	นันก็คอเรือง	“ความดี”		เรืองความดีนแหละ
                                                                         ่ ื ่                    ่          ี้
                                                                                                                 ิ

	   ท�าลายตน	         	 สุดโต่ง	          ดูให้ดี          ที่คนทุกคนควรรีบท�าควรพยายามประกอบไว้ในตน	              	
	   	 	ท�าเช่นนั้น	   	 มันยิ่ง	          เห็นแก่ตัว       เพราะถ้าเราท�าความดีชา	ๆ	อยู		จิตใจของเราก็จะน้อม
                                                                                      ้     ่
	   ได้เปรียบฝ่าย	    	 ความชั่ว	         คือฝ่ายผี        ไปในความชั่ว	 	 ความชั่วเป็นสิ่งที่ไม่ดี	 เพราะท�าจิตใจ
	   ข้างฝ่ายถูก	      	 เสียเปรียบ	 ลงทุกที
                                                           ของเราให้เศร้าหมอง	ดังนั้น		ความชั่วจึงไม่ท�าเสียเลย
	   ไม่กี่ปี	         	 ลืมตัว	           ไม่กลัวเลว
	   	 	จึงท�าดี	      	 เพื่อดี	          สุดดีเถิด        นั่นแหละดี	 		ความดีรีบท�าในขณะนี้และเดี๋ยวนี้	 	อย่า
	   เกียรติจะเกิด	    	 หรือไม่เกิด	 ก็ไม่เหลว             มัวผัดวันประกันเวลาในการท�าความดี		การท�าความดี
	   มันยิ่งดี	        	 โดยนิสัย	         ได้โดยเร็ว       นั้นเป็นเรื่องที่ส�าคัญส�าหรับทุกคนควรสนใจและเอาใจ
	   พ้นจากเหว	        	 แห่งบาป		 ลาภมาเอง	                ใส่		ไม่ควรเพิกเฉยละเลยในการท�าความดี		เมือท�าความ
                                                                                                          ่
	   	 	               																	(พุทธทาสภิกฺขุ)		   ดีก็ควรท�าความดีบ่อย	ๆ	ท�าสม�่าเสมอ	ท�าไม่ขาดสาย
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012

Contenu connexe

Tendances

จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้าwatpadongyai
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธีPanuwat Beforetwo
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษาJustmin PocoYo
 

Tendances (16)

Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
 
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011 Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
 
Saengdhamma April, 2010
Saengdhamma April, 2010 Saengdhamma April, 2010
Saengdhamma April, 2010
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
Saeng Dhamma June, 2010
Saeng Dhamma June, 2010Saeng Dhamma June, 2010
Saeng Dhamma June, 2010
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
 
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
 
Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011
 
Saengdhamma Januaryr2011
Saengdhamma Januaryr2011Saengdhamma Januaryr2011
Saengdhamma Januaryr2011
 
Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010
 
Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July 2011
Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July  2011Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July  2011
Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July 2011
 
Saengdhamma Vol. 36 No. 430 February 2011
Saengdhamma Vol. 36 No. 430 February 2011Saengdhamma Vol. 36 No. 430 February 2011
Saengdhamma Vol. 36 No. 430 February 2011
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา
 

Similaire à Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012

บทสวดมนต์ข้ามปี 2555
บทสวดมนต์ข้ามปี 2555บทสวดมนต์ข้ามปี 2555
บทสวดมนต์ข้ามปี 2555Chawalit Jit
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13Tongsamut vorasan
 
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555Panda Jing
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555Carzanova
 
พรธรรมปีใหม่ 54
พรธรรมปีใหม่ 54พรธรรมปีใหม่ 54
พรธรรมปีใหม่ 54santidhamma
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19Tongsamut vorasan
 
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคมแสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคมkhumtan
 
Saengdhamma jan 2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan 2013 Vol.38 No.453khumtan
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14Tongsamut vorasan
 

Similaire à Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012 (17)

บทสวดมนต์ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี ในปีใหม่
บทสวดมนต์ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี ในปีใหม่บทสวดมนต์ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี ในปีใหม่
บทสวดมนต์ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี ในปีใหม่
 
บทสวดมนต์ข้ามปี 2555
บทสวดมนต์ข้ามปี 2555บทสวดมนต์ข้ามปี 2555
บทสวดมนต์ข้ามปี 2555
 
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
 
Dhammaratana journal 3
Dhammaratana journal 3Dhammaratana journal 3
Dhammaratana journal 3
 
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
 
V 256
V 256V 256
V 256
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
 
พรธรรมปีใหม่ 54
พรธรรมปีใหม่ 54พรธรรมปีใหม่ 54
พรธรรมปีใหม่ 54
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
 
Dhammaratana journal 6
Dhammaratana journal 6Dhammaratana journal 6
Dhammaratana journal 6
 
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคมแสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
 
Saengdhamma jan 2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan 2013 Vol.38 No.453
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
 

Plus de Wat Thai Washington, D.C.

คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลสคนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลสWat Thai Washington, D.C.
 
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลายคนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลายWat Thai Washington, D.C.
 
"ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี"
"ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี""ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี"
"ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี"Wat Thai Washington, D.C.
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังWat Thai Washington, D.C.
 

Plus de Wat Thai Washington, D.C. (10)

คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลสคนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
 
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลายคนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
 
Calendar 2012 Wat Thai Washington, D.C.
Calendar 2012 Wat Thai Washington, D.C. Calendar 2012 Wat Thai Washington, D.C.
Calendar 2012 Wat Thai Washington, D.C.
 
Loykrathong Festival 2011 Wat ThaiDC
Loykrathong Festival 2011 Wat ThaiDCLoykrathong Festival 2011 Wat ThaiDC
Loykrathong Festival 2011 Wat ThaiDC
 
"ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี"
"ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี""ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี"
"ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี"
 
คนบ้าคนเมา
คนบ้าคนเมาคนบ้าคนเมา
คนบ้าคนเมา
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
 
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No.426 October 2010
Saeng Dhamma Vol. 36 No.426 October 2010Saeng Dhamma Vol. 36 No.426 October 2010
Saeng Dhamma Vol. 36 No.426 October 2010
 
Saeng Dhamma Vol. 35 No. 423 July, 2010
Saeng Dhamma Vol. 35 No. 423 July, 2010Saeng Dhamma Vol. 35 No. 423 July, 2010
Saeng Dhamma Vol. 35 No. 423 July, 2010
 

Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012

  • 1.
  • 2. สื่อส่องทาง สว่างอ�าไพ แสงธรรม ทุกชีวิตมีปัญหา พระพุทธศาสนามีทางแก้ วารสารธรรมะรายเดือนที่เก่าแก่ที่สุดในอเมริกา ปีที่ 37 ฉบับที่ 441 ประจ�าเดือนมกราคม พ.ศ. 2555 Vol.37 No.441 January, 2012 Objectives : �To promote Buddhist activities. สารบัญ �To foster Thai culture and tradition. �To inform the public of the temple’s activities. Contents �To provide a public relations center for The Buddha’s Words............................................. 1 Buddhists living in the United States. ส.ค.ส. ปี ๒๕๕๕ หลวงตาชี .................................. 2 เจ้าของ : วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. สารอวยพรปีใหม่ ประธานอ�านวยการวัดไทยฯดีซี.. 4 ที่ปรึกษา : พระวิเทศธรรมรังษี Forest Wat, Wild Monks by Ven. Buddhadasa......... 5 กองบรรณาธิการ : The Peace Beyond By Ven. Ajanh Chah........... 9 ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี The Three Characteristics of Existence By Ven. Laung Ta Chi 12 พระสมุห์ณัฐิวุฒิ ปภากโร บทความพิเศษ : สวัสดีปใหม่ ๒๕๕๕ “ท�าดีให้ถงดี...” ............ 15 ี ึ พระมหาเรืองฤทธิ์ สมิทฺธิญาโณ พระสุริยา เตชวโร อนุโมทนาพิเศษแด่ผอปถัมภ์กจกรรมวัดไทยฯ ดี.ซี. .............. 19 ู้ ุ ิ พระมหาสราวุธ สราวุโธ ปฏิบัติธรรมประจ�าเดือนธันวาคม.............................. 20 พระมหาประดู่ชัย ภทฺทธมฺโม เสียงธรรม...จากวัดไทย........................หลวงตาชี 21 พระมหาศรีสุพรณ์ อตฺตทีโป ประมวลภาพกิจกรรมประจ�าปี ๒๕๕๔ .................. 28 พระมหาค�าตัล พุทฺธงฺกุโร เสียงธรรม...จากหลวงตาชี ...................................... 32 พระอนันต์ภิวัฒน์ พุทฺธรกฺขิโต ท่องแดนพระพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ ปี ดร.พระมหาถนัด 39 และอุบาสก-อุบาสิกาวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. สารธรรมจาก...พระไตรปิฎก ..................................... 43 SAENG DHAMMA Magazine อนุโมทนาพิเศษ / Special Thanks............................ 44 is published monthly by Thai Temple’s News...............โดย ดร.แฮนดี้ 45 Wat Thai Washington, D.C. Temple รายนามผูบริจาคเดือนธันวาคม Ven.Pradoochai 49 ้ At 13440 Layhill Rd., Silver Spring, MD 20906 รายนามผู้บริจาคออมบุญประจ�าปีและเจ้าภาพภัตตาหารเช้า...53 Tel. (301) 871-8660, 871-8661 รายนามเจ้าภาพถวายเพล / Lunch.............................54 Fax : 301-871-5007 ก�าหนดการวันมาฆบูชา ..................................................... 62 E-mail : watthaidc@hotmail.com Homepage : www.watthaidc.org Photos taken by Radio Network : www.watthai.iirt.net Ven. Khumtan, Ven. Ananphiwat, Mr. Kevin & Mr. Sam 2,500 Copies Bank & Ms. Golf
  • 3. ถ้อยแถลง เวียนบรรจบครบศักราชตั้งปีใหม่ ขออวยชัยอวยพรอักษรศรี ขอทุกท่านพบพานแต่สิ่งดี มีชีวีสุขสดใสชีพชื่นบาน ให้สุขภาพสมบูรณ์ทั้งกายใจ ให้ปลอดภัยแคล้วคลาดฉลาดประสาน งานรุ่งเรืองเงินรุ่งโรจน์โชติชัชวาล สนุกสนานอภิรมย์สมใจปอง ปีผ่านไปให้ผ่านพ้นตั้งต้นเริ่ม ที่ดีเพิ่มที่ร้ายลืมไม่มัวหมอง ปรุงแต่งจิตพิชิตใจไร้ขุ่นข้อง เปิดสมองรับสิ่งใหม่สดใสพลัน คิดสิ่งใดลุล่วงส�าเร็จได้ ขอเทพไท้สิ่งศักดิ์สิทธิ์เป็นมิ่งขวัญ เกิดปัญหาได้ปัญญาเป็นที่มั่น ให้สร้างสรรค์รับสิ่งดีปีใหม่เอย.. “แสงธรรม” ที่ท่านถือในมือฉบับนี้ เป็นฉบับ “ลาทีปีเก่า ๒๕๕๔ ต้อนรับปีใหม่ ๒๕๕๕” คติข้อคิดในวันขึ้นปีใหม่ ท่านผู้รู้กล่าวไว้ว่า เมื่อวันเวลาผันเปลี่ยนเวียนไปครบ ๑ ปี เราได้อยู่รอดปลอดภัยมาจนถึงวันขึ้นปีใหม่ ขอให้ลองมองย้อน หลังกลับไปคิดดูว่า วันเวลาที่ผ่านมานั้นเราได้ใช้มันอย่างคุ้มค่าหรือเปล่า และได้กระท�าคุณงามความดีอันใดไว้บ้าง และควร หาโอกาสกระท�าให้ดยง ๆ ขึนทุกปี ในขณะเดียวกันเราได้กระท�าความผิดหรือสิงใดทีไม่ถกต้องไว้หรือไม่ หากมีตองรีบปรับปรุงแก้ไข ี ิ่ ้ ่ ่ ู ้ ตัวเองทันที เพราะความชัวคือผี ความดีคอพระ ความชัวต้องรีบละ ส่วนความดีละต้องรีบท�า ตามต�าราพระพุทธเจ้าว่า “ท�าดี ่ ื ่ เวลาไหน มันก็ดเี วลานันแหละ ท�าชัวเวลาไหน มันก็ชวเวลานันแหละ เวลามันไม่ดไม่ชว ดีชวมันอยูทการกระท�า” ้ ่ ั่ ้ ี ั่ ั่ ่ ี่ วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. ก�าหนดจัดงานท�าบุญส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับปีใหม่ ในวันเสาร์-อาทิตย์ที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๔ – ๑ มกราคม ๒๕๕๕ โดยวันเสาร์ที่ ๓๑ ธันวาคม เริ่มเวลา ๐๙.๐๐ น. เชิญร่วมปฏิบัติธรรม จ�าศีล เจริญจิตภาวนา สนทนา ธรรม ท�าวัตรสวดมนต์เย็นแปล หลังจากนั้นพระเดชพระคุณพระวิเทศธรรมรังษี น�าเจริญพระพุทธมนต์ ๑๒ ต�านาน เพื่อท�า น�้าพระพุทธมนต์ปีใหม่ และฟังธรรมบรรยายต�านานพระปริตรตามแนวพระไตรปิฎก จนถึงเวลาเที่ยงคืน (๒๔.๐๐ น.) พระ สงฆ์เจริญชยมงคลคาถาต้อนรับปีใหม่ รับน�้าพระพุทธมนต์ และฟังโอวาทธรรมจากพระเดชพระคุณหลวงพ่อเพื่อความเป็น สิรมงคลแก่ชวต ส่วนในวันอาทิตย์ที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๕ เริมพิธเวลา ๑๐.๐๐ น. พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ ท�าบุญตักบาตร ิ ีิ ่ ี แด่พระสงฆ์จ�านวน ๙ รูป ถวายภัตตาหารเพล ฟังพระธรรมเทศนาจากพระเดชพระคุณหลวงพ่อ และรับพรปีใหม่จากพระ สงฆ์ ก็เป็นอันเสร็จ พิธีจึงขอเชิญท่านสาธุชนทั้งหลายร่วมท�าบุญส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับปีใหม่ ๒๕๕๕ ตามวันเวลาดังกล่าวโดย พร้อมเพรียงกัน ขอฝากบทกลอนสอนธรรมที่พระเดชพระคุณพระวิเทศธรรมรังษี (หลวงตาชี) ได้ประพันธ์ไว้ เพื่อเป็น “พรธรรมปี ใหม่ ๒๕๕๕” ว่า ในวาระดิถีขึ้นปีใหม่ ขอชาวไทยทั่วประเทศเขตสยาม จงพากันประพฤติธรรมอันดีงาม เพื่อก�าจัดความเลวทรามจากจิตใจ.... ขอทุกคนจงมีธรรมประจ�าจิต ใช้ชีวิตตามหลักธรรมน�าวิถี จะประสบสุขสันต์อันเปรมปรีด์ เกษมศรีในปีใหม่สมใจเทอญ ขอให้ปีใหม่นี้ จงคิดดี พูดดี ท�าดี และพบเจอแต่สิ่งดี ๆ ตลอดปี และตลอดไป ขออวยชัยให้มีสุขสมหวัง มีพลังในการ ต่อสู้ ครองชีวิตอยู่ในโลกด้วยปัญญาผาสุกทุกทิพาราตรีกาลเทอญ คณะผู้จัดท�า
  • 4. แสงธรรม 1 Saeng Dhamma The Buddha’s Words พุทธสุภาษิต โย จ ปุพฺเพ ปมชฺชิตฺวา ปจฺฉา โส นปฺปมชฺชติ โสมํ โลกํ ปภาเสติ อพฺภา มุตฺโต ว จนฺทิมา. (๑๗๒) ผูทเี่ คยประมาทในกาลก่อน แต่ภายหลังไม่ประมาท เขาย่อมส่องโลกนีให้สว่าง ้ ้ เหมือนพระจันทร์ที่พ้นจากเมฆ ฉะนั้น Whoso was previously negligent but afterwards practises vigillance he illumines the world here and now like the moon emerging from the cloud.
  • 5. แสงธรรม 2 Saeng Dhamma สวัสดีปีใหม่...คนใกล้พระ ******************** “พระวิเทศธรรมรังษี หลวงตาชี” คือผู้นำ� ธรรมล้ำ�ค่� จ�กไทยแลนด์ สู่แดน อเมริก� พระพุทธศ�สน� ก้�วไกล ให้ยืนยง ส�มสิบเจ็ดปี ที่น้อมนำ� คำ�สั่งสอน ละนิวรณ์ จิตงดง�ม ต�มประสงค์ เดินต�มรอย ด้วยศรัทธ� พระพุทธองค์ อย่�งมั่นคง ยึดหลักธรรม นำ�สอนตน มีภูมิรู้ ภูมิธรรม นำ�ส�นุศิษย์ มีหลักคิด มีหลักก�ร ด้�นเหตุผล เดินส�ยกล�ง เป็นแบบอย่�ง ส�ธุชน เกิดเป็นคน “คิด พูด ดี” มีปัญญ� ด้วยบ�รมี หลวงต�ชี ชี้ธรรมให้ รับปีใหม่ให้ธรรมนำ�รักษ� สุขสวัสดิ์จิตเกษมเปรมปรีด� ศิษย์วัดไทยฯ ดีซี ทั่วหล้� ผ�สุกทอญ
  • 6. แสงธรรม 3 Saeng Dhamma ในปีใหม่ สองห้า ห้าห้านี้ หลวงตาชี มีความรัก ด้วยเมตตา จึงขอให้ ทุกคน ใช้ปัญญา แก้ปัญหา ในชีวิต ประจำาวัน ถ้าทุกคน ใช้ปัญญา พาชีวิต จะพิชิต ปัญหา สาระพัน ส.ค.ส. ปี ๒๕๕๕ “หลวงตาชี” เกิดปัญหา ขึ้นมา แก้ทันควัน ไม่ต้องหวั่น รับรอง ต้องเป็นจริง ปีสองห้า ห้าห้า อย่าประมาท ขอเชิญชวน มวลประชา พากันคิด อย่าให้ขาด ศีลธรรม นำาวิถี ใช้ชีวิต ด้วยปัญญา อย่าประวิง ให้ทุกคน ประพฤติธรรม นำาชีวี เพราะปัญญา นำาพา สู่ความจริง เพื่อปราบผี คือความชั่ว ตัวจัญไร จะพบสิ่ง ที่ต้องการ บันดาลดล เมื่อทุกคน มีพระธรรม นำาชีวิต ปัญญาเกิด เมื่อไร ใจเป็นพระ ก็พิชิต มารร้าย ให้พ่ายไป เอาชนะ ซาตาน มารหัวขน เอาชนะ ซาตาน มารจัญไร ทำาลายล้าง ความชั่ว ทั่วสากล ให้ปราชัย ตลอดไป นิรันดร สุขเกิดล้น เพราะปัญญา พานำาทาง ปีงูใหญ่ สองห้า ห้าห้านี้ ในวาระ ดิถี ขึ้นปีใหม่ ต้องระวัง กันให้ดี มีสังวร ขอพี่น้อง ชาวไทย ใจสว่าง อย่าประมาท พลาดท่า ทุกขั้นตอน ใช้สติ และปัญญา พานำาทาง ต้องสังวร ให้ดี จะมีชัย เพื่อก่อสร้าง บุญกุศล ไว้เป็นทุน จะงูเล็ก งูใหญ่ ไม่สำาคัญ คนมีบุญ สิ้นวุ่นวาย หายเดือดร้อน ถ้าเราหมั่น ประพฤติธรรม นำาหลักชัย เวลานอน หลับสบาย ใจอบอุ่น ก็ชนะ งูเล็ก งูใหญ่ได้ เพราะความดี ที่เราทำา เข้าค้ำ�จุน เพราะเราใช้ พระธรรม นำาวิญญาณ สุขอบอุ่น สงบเย็น เป็นนิรันดร์ คนที่มี พระธรรม นำาชีวิต ขออวยชัย ให้พร ในตอบจบ จะพิชิต มารร้าย ไอ้ซาตาน ขอทุกคน จงประสบ ความสมหวัง พวกกิเลส ตัณหา นานัปการ มีความสุข สมบูรณ์ พูนจีรัง ถูกประหาร ให้สิ้นไป ด้วยปัญญา ให้สมดัง คำาอวยพร ทุกตอนเทอญฯ
  • 7. แสงธรรม 4 Saeng Dhamma ส�รอวยพรปีใหม่ ๒๕๕๕ ประธ�นอำ�นวยก�รวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. ในวาระดิถีขึ้นปีใหม่ ๒๕๕๕ นี้ ในนามของคณะ กรรมการอำานวยการ ขออวยพรให้ทุกท่านที่เป็นสมาชิก ของวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. และพุทธศาสนิกชนทุกหมู่ เหล่า จงประสบแต่ความสุขความเจริญ มีความมุ่งมาด ปรารถนาสิ่งใด ๆ ที่ไม่ขัดต่อศีลธรรมประเพณีอันดีงาม ขอให้ความปรารถนานั้น ๆ จงสำาเร็จดังมโนปณิธานทุก ประการ ขออนุโมทนาขอบคุณทุก ๆ ท่าน ที่เสียสละกำาลัง กาย กำาลังทรัพย์ และกำาลังสติปัญญา ในการช่วยเหลืองานพระศาสนา ดูแลเอาใจใส่พระสงฆ์ที่ปฏิบัติศาสนกิจ ในวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. ในรอบปีที่ผ่านมา งานทุกส่วนกำาลังดำาเนินไปด้วยดี ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษา และ ปฏิบัติธรรม ในปีที่ผ่านมา มีผู้สนใจเข้าปฏิบัติธรรมเป็นจำานวนมาก มีญาติโยมมาร่วมสวดมนต์นั่งสมาธิ-สนทนา ธรรมบ่ายวันเสาร์มากขึน ซึงมีการสาธยายพระไตรปิฎก เป็นการส่งเสริมศรัทธาและช่วยให้ผศกษามีความมันใจยิง ้ ่ ู้ ึ ่ ่ ขึ้น การทำาบุญตักบาตรทุกเช้าวันอาทิตย์ เป็นการเพิ่มพูนบุญกุศลตลอดปีทั้งในพรรษาและนอกพรรษา การถวาย ภัตตาหารเช้า – เพล มีความอุดมสมบูรณ์พรั่งพร้อมด้วยสายธารศรัทธาของญาติโยมไม่ขาดสาย ในด้านการก่อสร้าง หลังจากขึ้นปีใหม่ ๒๕๕๕ แล้ว คงจะได้รับข่าวดีในการอนุญาตก่อสร้างอาคาร อเนกประสงค์ ๘๐ ปี หลวงตาชี ซึงอยูในขันตอนขอใบอนุญาตจากทางเคาน์ต จึงขอแจ้งข่าวบอกบุญญาติโยมล่วง ่ ่ ้ ี้ หน้า ขอให้รวมแรงร่วมใจในการบริจาคทรัพย์สมทบทุนในการก่อสร้างในครังนี ให้สาเร็จลุลวงไปตามวัตถุประสงค์ ่ ้ ้ ำ ่ เพื่อเป็นการบูชาคุณของพระเดชพระคุณพระวิเทศธรรมรังษี (หลวงตาชี) ผู้ซึ่งเสียสละทุ่มเทกำาลังกาย กำาลังใจ มาเป็นเสาหลักในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในดินแดนส่วนนี้นานกว่า ๓๕ ปี ในนามของคณะสงฆ์พระธรรมทูต ขออำานวยพรให้ทุก ๆ ท่าน ที่เป็นสมาชิกหนังสือ “แสงธรรม” และ พุทธศาสนิกชนทั่วไป ท่านผู้ใดมีทุกข์ จงสิ้นทุกข์ ท่านผู้ใดมีโศก จงสร่างโศก ท่านผู้ใดมีโรค โรคจง หาย ท่านผู้ใดมีภัย จงปลอดภัย แล้วบรรลุถึงความสุขเกษมสําราญในบวรพระพุทธศาสนา ทุกทิพา ราตรีกาลเทอญ ด้วยเมตตาธรรม (ดร. พระมหาถนัด อตฺถจารี) ประธานอํานวยการวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี.
  • 8. แสงธรรม 5 Saeng Dhamma by Buddhadasa Bhikkhu http://www.liberationpark.org/arts/lpsm/wildmonk.htm Now, don’t have regrets about anything. There isn’t much time left, so you won’t be missing much. Just sacrifice your pleasures and comforts. Try out this natural living which auto- T his is an extremely important and genuine fact. Live naturally and it will be Dhamma (Natural Truth) and Vinaya (Natu- matically has lots of cleanness, clarity, and calm. You’ve had enough time to read, hear talks, and study the basics of being a monk. Henceforth, ral Discipline), or Nature, in and of itself. Living know especially the things which will have the naturally is near to Nibbana, more so than liv- most benefit. Then your time as a monk will be ing scientifically, because Nibbana is already the over, you will have beneficial knowledge which highest nature: naturally clean, clear, and calm. is complete, that is, you know in general and Live naturally, it helps make us clean, clear, and in specifics, you know loosely and strictly, until calm more easily. you know how the Buddha lived. Now, I want you to hold the general prin- When we speak of the Lord Buddha, never ciple that Nature, the Law of Nature, Duty in forget that he was born outdoors, awakened line with the Law of Nature, and the Fruit re- outdoors, realized Nibbana outdoors, taught ceived from doing Duty according to the Law of outdoors, lived outdoors, had a hut with an Nature, are the most important matter. This is earthen floor, and so on. We give it as much of Buddhism, it’s the essence of religion without a try as we can. Even now, we see that we’re needing to call it religion. It’s better to call it sitting on the ground, which is much different “Truth of Nature” or “Natural Truth.” than in the city wats. There they sit on wooden
  • 9. แสงธรรม 6 Saeng Dhamma floors, on mats, on carpets, depending on the more ability, more strength, more of everything. status of each wat. Some wats spread expensive One can do anything beyond expectations and carpeting in the temple building for all eternity. personal limitations. Whether writing a book, So they sit in their chapels on carpets. Here, we reading, or thinking, much more can be done. sit on the seat of the Buddha -- the ground. This One lives in the lowest way materially and is one example for you to understand what na- physically, but the mind goes its own separate ture is like, and how different it is from the cities, way. It takes a higher course, because when we and how different are the hearts of those who live simply the mind isn’t pulled in. The heart come sit and interact with Nature. is released so that it lifts up high. If we sleep I’ve tried my best in this matter. When comfortably, like wealthy householders, that Suan Mokkh was first started, I slept on the comfort grabs the heart. It traps the heart, which ground. I slept next to the grasses in order to can’t go anywhere, can’t escape, is stuck there. know their flavor. I used to sleep on the beach, So live and sleep more lowly, since humble too. Then, when I first slept in the “middle hut” things won’t trap the heart. Live humbly and after it was newly built, I would stretch my hand the mind will rise high, will think lofty things. out the window to fondle the plants next to the Living in a humble condition, in one that window. This completely different feeling is the can’t fall lower, the mind can only proceed in a meaning of “forest wat wild monk.” higher way. It’s easy because we needn’t carry Everything changes. Feelings, sensitiv- or load down the mind with anything. The mind ity, standards, what have you, they change by can be “normal” and free. It is free in its move- themselves. Matters of food, shelter, clothing, ments, reflections, and actions. Thus, we can rest, sleep, aches and illness: they changed freely do anything of the sort which is not like completely. They caused us to understand Na- anyone else. Through the power of nature, there ture more than when we hadn’t tried yet, un- isn’t any carelessness, we don’t make mistakes. til finally there were no problems at all. Things Since the mind is heedful there are no mistakes. which I had feared all disappeared. Fear of lone- That the heart can find a way out like this must liness in deserted places, fear of spirits, fear of be considered freedom. Know the mind that is anything, they didn’t last more than seven days. independent, that isn’t caught and held by deli- They gradually disappeared themselves. This led ciousness and pleasure, by the happiness and com- to mental comfort, ease, and other fruits. The fort of eyes, ears, nose tongue, body, and mind. mind became strong, agile, subtle, and refined. Here I want to make a distinction. If some- Those were its fruits. Thus, whatever I thought thing is in line with original nature, and there’s of doing, I could do it better than before I came no indulgence in new pleasures, we’ll call it to the forest, better than in the city. There’s no “natural.” If it goes after new pleasures, if newly comparison between living in Bangkok and living concocted for more tasty pleasures than nature, here. They’re totally different. I can say there’s we’ll call it “unnatural.” They’re truly different.
  • 10. แสงธรรม 7 Saeng Dhamma If going naturally, the defilements arise with dif- and all that exceed nature. It’s better not to. ficulty, they can’t arise. If acting in an unnatural And please look, it doesn’t make humanity any way, it’s easy for the defilements to be born, or better. It doesn’t create peace in the world. If else it’s defilement from the very start. Thus, mental matters don’t progress, if there’s only de- living as nature’s comrade makes it hard for the filement -- delusion and all -- there’ll be no end. defilements. It automatically controls and pre- In summary, make things humble so that they vents against the defilements (kilesa). don’t trap the mind. Then this heart of ours is free to think, consider, decide, and choose. Please use the mindfulness and wisdom that you receive from this style of living to choose and decide what you must in the future. If you were born in Bangkok, you were surrounded by man-made things and raised far from the forest, much more than people born in the forest. Those born in towns and cities hardly know the meaning of “forest” or “wild.” Those born in the sticks know some- thing, but don’t pay any attention. They This is the spirit of Suan Mokkh, of setting must work, must always be doing something ac- up a place like this. When you want this enough cording to their moods, so they hardly notice to come here, then you ought to get it. Besides how calm and clean it is. Sometimes they are this, there isn’t anything. We’ve tried to prevent even dissatisfied with it, although born in the other things from happening, so that there are country. Our hearts don’t like it and always aim only these things: how to eat, how to live, and to get into “developed and beautiful” areas in how to sleep. We’ve spoken many times of the the cities and capital. Thus, we don’t know the specific details of each. taste of the forest and of Nature, even if born I’ve said it before, but nobody believes me in the forest, even when splattered with mud, that to take exactly what nature provides is suf- because the mind is occupied in another way. ficient, is good enough. When we must die, then Now you’re in robes and needn’t work die. Don’t postpone and make it difficult. It’s like lay folk. The heart has a chance to know like the medical care that has progressed to the the peaceful flavors and quiet nooks of Nature, point that people are unable to die, they can’t which is the cause of the mind’s freedom in the drop. They live inhumanly, but not dead. That’s first place. You ought to use this final chance too much. Heart transplants, liver transplants, here to keep walking until knowing the heart
  • 11. แสงธรรม 8 Saeng Dhamma that is naturally pure, which is something like the grasped, known, or seen it at all. heart of the Arahant. The Arahant’s heart is just The academics only memorize and recite, like that -- natural -- except it’s that way totally. then take examinations, then memorize and Now, we may have a heart like that, but only recite some more. They think only according momentarily, temporarily. The next moment it changes off in another direction, and we can’t pull it to what they’re told. Their minds don’t reach back. Try to penetrate this heart of nature. cleanness, clarity, and calm at all. From the the- In clear and simple terms, we call it pure oretical studies or scriptures, one just gets stories nature, nature which isn’t concocted (“cooked and information. To phrase it more politely, one and seasoned”) by anything. And we don’t con- gets only a map. Actually, they don’t even get coct that nature either. It exists simply, humbly, the map. I know this well because I’ve tried that freshly, peacefully, coolly, however you want to way myself. I’ve taken the full Dhamma Course, describe it. If you know this flavor, you know the studied the Pali language (in which the Thera- flavor of Dhamma, in its aspect of the only fruit worth having, because Dhamma’s reality (liter- vada scriptures are written), and researched ally, “body”) has been captured. Those who continuously. It seems I got only complicated just study and take exams never receive Dham- stories -- mostly mixed up and confused to boot ma’s reality. All they can do is holler about it. -- without getting even a map. Those who talk of If somehow you can catch Dhamma itself, it’s scholarship, of being Pali experts and Dhamma like catching a crab or fish, it’s something tangi- Masters, of having a map, they make it up, imag- ble. Here we can catch the substance of clean- ine, and arrange it themselves. ness, clarity, and calm -- the body of Dhamma. Even temporarily is worth it. To have grasped it and seen it just once is better than never having To be continued ร้าน THAI DERM ถวายเพลทุกวันจันทร์ต้นเดือน ร้าน BANGKOK GARDEN ถวายเพลประจ�าเดือน ฺ
  • 12. แสงธรรม 9 Saeng Dhamma A Taste of Freedom The Peace Beyond A Dhammatalk By Ajahn Chah http://www.accesstoinsight.org/lib/thai/chah/atasteof.html ...Continued from last issue... When the Buddha was newly enlightened T he Buddha knew that because both happiness and unhappiness are unsat- isfactory, they have the same value. When hap- he gave a sermon about indulgence in Pleasure and Indulgence in Pain. “Monks! Indulgence in Pleasure is the loose way, Indulgence in Pain piness arose he let it go. He had right practice, is the tense way.” These were the two things seeing that both these things have equal values that disturbed his practice until the day he was and drawbacks. They come under the Law of enlightened, because at first he didn’t let go of Dhamma, that is, they are unstable and unsatis- them. When he knew them, he let them go, and factory. Once born, they die. When he saw this, so was able to give his first sermon. right view arose, the right way of practice be- So we say that a meditator should not walk came clear. No matter what sort of feeling or the way of happiness or unhappiness, rather he thinking arose in his mind, he knew it as simply should know them. Knowing the truth of suffer- the continuous play of happiness and unhappi- ing, he will know the cause of suffering, the end ness. He didn’t cling to them. of suffering and the way leading to the end of suffering. And the way out of suffering is medita- tion itself. To put it simply, we must be mindful. Mindfulness is knowing, or presence of mind. Right now what are we thinking, what are we doing? What do we have with us right now? We observe like this, we are aware of how we are living. When we practice like this wisdom can คณะแม่บานยุคใหม่ ท�าบุญประจ�าเดือน สาธุ สาธุ!! ้ arise. We consider and investigate at all times,
  • 13. แสงธรรม 10 Saeng Dhamma in all postures. When a mental impression arises As long as we are still unenlightened all that we like to know it as such, we don’t hold this may sound strange but it doesn’t matter, it to be anything substantial. It’s just happiness. we just set our goal in this direction. The mind When unhappiness arises we know that it’s Indul- is the mind. It meets happiness and unhappi- gence in Pain, it’s not the path of a meditator. ness and we see them as merely that, there’s This is what we call separating the mind nothing more to it. They are divided, not mixed. from the feeling. If we are clever we don’t at- If they are all mixed up then we don’t know tach, we leave things be. We become the ‘one them. It’s like living in a house; the house and who knows’. The mind and feeling are just like its occupant are related, but separate. If there is oil and water; they are in the same bottle but danger in our house we are distressed because they don’t mix. Even if we are sick or in pain, we must protect it, but if the house catches fire we still know the feeling as feeling, the mind we get out of it. If painful feeling arises we get as mind. We know the painful or comfortable out of it, just like that house. When it’s full of states but we don’t identify with them. We stay fire and we know it, we come running out of it. only with peace: the peace beyond both com- They are separate things; the house is one thing, fort and pain. the occupant is the other. You should understand it like this, because We say that we separate mind and feeling if there is no permanent self then there is no ref- in this way but in fact they are by nature already uge. You must live like this, that is, without happi- separate. Our realization is simply to know this ness and without unhappiness. You stay only with natural separateness according to reality. When the knowing, you don’t carry things around. we say they are not separated it’s because we’re คณะผู้ปกครอง “09” ถวายเพลทุกเดือน คุณแต่ว-ดอน และคณะถวายเพลทุกเดือน
  • 14. แสงธรรม 11 Saeng Dhamma clinging to them through ignorance of the truth. this then things are difficult. The Buddha didn’t So the Buddha told us to meditate. This teach like that. He said that right here is the place practice of meditation is very important. Merely to meditate. When we’re sick or almost dying to know with the intellect is not enough. The that’s when we can really know and see reality. knowledge which arises from practice with a Other people say they don’t have the peaceful mind and the knowledge which comes chance to meditate because they’re too busy. from study are really far apart. The knowledge Sometimes school teachers come to see me. which comes from study is not real knowledge They say they have many responsibilities so of our mind. The mind tries to hold onto and there’s no time to meditate. I ask them, “When keep this knowledge. Why do we try to keep it? you’re teaching do you have time to breathe?” Just lose it! And then when it’s lost we cry! They answer, “Yes.” “So how can you have time If we really know, then there’s letting go, to breathe if the work is so hectic and confus- leaving things be. We know how things are and ing? Here you are far from Dhamma.” don’t forget ourselves. If it happens that we Actually this practice is just about the mind are sick we don’t get lost in that. Some people and its feelings. It’s not something that you have think, “This year I was sick the whole time, I to run after or struggle for. Breathing continues couldn’t meditate at all.” These are the words while working. Nature takes care of the natu- of a really foolish person. Someone who’s sick ral processes — all we have to do is try to be and dying should really be diligent in his prac- aware. Just to keep trying, going inwards to see tice. One may say he doesn’t trust his body, and clearly. Meditation is like this. so he feels that he can’t meditate. If we think like To be continued คณะผู้ถวายเช้าทุกวันจันทร์ คุณกุญชลี-คุณแแม่ และคณะถวายเช้าวันอังคารต้นเดือน
  • 15. แสงธรรม 12 Saeng Dhamma The Three Characteristics of Existence By Du Wayne Engelhart The Three Characteristics of Existence the sound, form the opinion that this particular A s we contemplate in our insight medi- tation the way the world works, we see certain fundamental characteristics emerge. song is lovelier than a different one we heard last week, etc. Hearing a sense impression leads to having a feeling, having a feeling leads to Nature, the totality of the world of human expe- remembering another sound, remembering a rience, exhibits three main features that gradu- sound leads to a thought process, and a thought ally become clear to us: impermanence (anic- process leads to forming an opinion. This kind ca); suffering, or unsatisfactoriness (dukkha); and of conditioned activity happens countless times no-self, lack of a self (anattā). a day as we experience the world. It goes on First of all, we realize the impermanence and on. This is the way our world is; it is a place (anicca) of everything in our world. Nothing where nothing stands still. within the world lasts. Our experience is char- The conditionality of nature does not just acterized by the constant flow of sense impres- mean that one thing leads to another in a con- sions, thoughts, memories, feelings, emotions, stant flow. Conditionality is not merely causal- and so on, that we can call a stream of con- ity in terms of linear progression over a period of sciousness. All the elements in this flow are time. Things in nature follow one another in a connected causally, that is, one thing leads to causal connection, but they also condition one another. For example, we hear the sound of a another in the sense that they depend upon bird’s song, have a feeling of delight, remem- one another at any given time for their very ex- ber a similar sound we heard yesterday, think istence. Conditionality is the mutual interde- about the species of bird that might be making pendence of all things within nature. For exam-
  • 16. แสงธรรม 13 Saeng Dhamma ple, we read an article in a newspaper because Secondly, we see the suffering, the unsat- there is newsprint, because we have money isfactoriness (dukkha), which exists in our lives. to buy a newspaper, because newspapers are The world of experience being impermanent as not forbidden by the government, because our it is, we are bound to get frustrated if we try to optic nerves are functioning properly, because hold on to something within this flow. Nothing we know how to read, because we believe it is in the world really stays around long enough important to keep up with current events, etc. for it to truly belong to a self. If we try to hang All these conditions exist simultaneously. Then, on to the world, we are putting ourselves at perhaps, because we have read the article, we odds with the way nature is, so dissatisfaction is remember certain events related to it, we form bound to result. We are asking for trouble. an opinion about what we should do, we decide Anytime we people our world with “I” and to take certain action, and so forth. “mine,” anytime we let selfishness in any form We also get a real sense of the imper- get the better of us, we bring suffering upon our- manence of the world when we contemplate selves. If we get angry and blame an employee our everyday experience of time. We say that for not following instructions, we suffer. If we “time flies,” and there is a reason for that. Try get upset with a spouse because she is making as we will, we cannot hold on to it; it keeps us wait, we suffer. If we extend ill will toward a getting away from us. Lazy summer vacation fellow human being rather than the loving-kind- days quickly pass by, and we find ourselves ness we would expect for ourselves, we suffer. back at our jobs or at school wondering what If we spend all our time and energy pursuing became of our days off. The carefree days of the accumulation of our material things, we youth soon enough give way to the responsi- suffer. Until we see that we should cling to bilities of a first job, then, before we know what nothing at all, we will continue to cause suf- happened, to the challenges of retirement. fering in our lives. The strength and agility of our younger years Thirdly, we come to the realization that in change to the feebleness and unsteadiness of nature there is no self (anattā). The world as is old age. The lady we have seen occasionally shows itself is real enough, but there is no per- at the temple shows up one day looking gaunt during self evident within it. There is no self in and weak; shortly thereafter we hear that she nature; there is conditionality in nature. In the has died. Our whole life, in fact, is one of be- totality of the world of human experience, there ing constantly on the way to death, the final, are indications that it is not a self that “calls inevitable destination for all of us. the shots,” but it is nature as a whole that does
  • 17. แสงธรรม 14 Saeng Dhamma so. The ego, the self, the “I,” is not in control “we” impose upon a selfless nature. We come here: one might say that nature is. The “self,” to realize that nature, the totality of the world for example, cannot hold its breath as long as it of human experience, is bereft of any self, of wants; sooner or later nature starts the breath- any “I” or “mine.” We see that we suffer, in ing again whether the self wants to or not. The our selfishness, because we refuse to simply let self cannot jump off a cliff, change its mind, and nature be. go back to the top of the cliff. The dictates We cannot find the self anywhere, for there of nature say it is too late for that. The self, is only the flux of conditioned phenomena that furthermore, try as it will, is never able to find comprises nature as a whole. If we look hard satisfaction and happiness in the things of the enough at the world of human experience, no physical world. Nature will always make sure of self is evident. There are discrete sense impres- that. Whether the self likes it or not, nature willsions (e.g., red, salty, hot, etc.), discrete feelings take away the self’s possessions, loved ones, (pleasure, displeasure, sadness, delight, etc.), and even ultimately the very life of the self’s discrete thoughts (the Buddha lived about 2,500 body. However firmly the self tries to keep a years ago, George Washington was the first Pres- grip on things, nature ensures that nothing lasts, ident, E = mc2, etc.), discrete memories (e.g., that everything is impermanent. The self can do a summer vacation, the day we got married, nothing about this. what we were doing when President Kennedy was assassinated, etc.), and discrete opinions (e.g., Coca Cola is better than Pepsi, Big Foot is a hoax, a low-carb diet is good for you, etc). Where is the enduring self, ego, person, indi- vidual, or soul? We see only nature, the sum total of the “inner” and “outer” dimensions of human experience, unfolding itself in all its con- ditioned complexity. The “inner” dimension is traditionally called “mind”; the “outer” dimen- sion is traditionally called “world.” “Within” Why is the self unable to do anything in this mind-world, which is really one and the these cases? Because there really is no endur- same world of the totality of nature, there is ing self; there is only nature unfolding according no self. to its laws. The self is a fiction, a contrivance THe END
  • 18. แสงธรรม 15 Saeng Dhamma บทความพิเศษ : โดย พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) สวัสดีปีใหม่ ๒๕๕๕ “ทำ�ดีให้ถึงดี ให้ถูกดี ให้พอดี ชีวีจะมีสุข” ใ นโอกาสที่ปีเก่าผ่านไป ปีใหม่เข้ามา คนไทยเรา ก็มักจะทักทายกันด้วยค�าว่า สวัสดีปีใหม่ ค�าว่า สวัสดี เป็นค�าที่บัญญัติขึ้นโดย พระยาอุปกิต ประสบความส�าเร็จ ในปีใหม่นี้ ถ้าหากเรามัวแต่รอโอกาส และไม่ท�า อะไรเลยโอกาสมาถึงก็ยังงอมืองอเท้าอยู่ ความโชคดีก็ไม่ ศิลปสารน�ามาจากภาษาสันสกฤต ที่แปลว่า ขอให้มีความ เกิด บางคนตัดสินใจแล้วแต่ผิดจังหวะ ก็ท�าให้ชีวิตของ ดีงามในชีวิต เวลาที่เราทักทายกันว่า สวัสดีนี้ ก็คือขอให้ คนนั้นไม่ประสบความส�าเร็จ ดังนั้น หากมองว่า ความ ความดีงาม จงมีแก่ท่าน สวัสดีปีใหม่ก็คือว่า ปีใหม่นี้ ขอ โชคดีในปีใหม่นี้จะมีองค์ประกอบอะไรบ้างก็ดูที่ค�าสอน ให้มีแต่เรื่องดีๆ มีโชคดี มีความส�าเร็จ ของพระพุทธเจ้าได้ พระพุทธเจ้าสอนว่า มาจากองค์ คน ที่จะประสบความส�าเร็จ ความดีงามในชีวิต มา ประกอบ ๓ ประการ ดังนี้ จากความเก่งและบวกกับความโชคดี คือ ความเฮง เก่ง ประการ ที่ ๑ ก็คือความเก่ง ความรู้ ความ หมายถึง ความรู้ ความสามารถที่เรามี มีความพร้อมที่ สามารถ เรียกว่า อัตตสัมมาปณิธิ วางตัวไว้ชอบ เมื่อ จะท�างานตามที่คิดหรือได้รับมอบหมาย บางคนมีความรู้ เราวางตัวไว้ชอบก็คือ พัฒนาตัวเองตลอดเวลา เราก็จะ มีความสามารถและพร้อมที่จะท�าแต่ขาดโอกาสเมื่อไม่มี กลายเป็นคนที่มีความเก่งและความดีอยู่ในตัวเองและ โอกาสก็ไม่ได้ใช้ความเก่ง ให้เปล่งประกายสมกับที่มี ก็ เมื่อเรามีความเก่ง และความดีอยากจะให้เปล่งประกาย เหมือนดาบที่อยู่ในฝักไม่ได้ชักออกมาใช้ จึงต้องรอโอกาส เราก็ต้องแสวงหาประการที่ ๒ บางคนมีโอกาสดีเหลือเกิน แต่ก็ปล่อยให้โอกาสผ่านเลย ประการที่ ๒ ต้องท�าบุญ เรียกว่า ปุพเพกตปุญญ ไป ในที่สุดก็กลายเป็นคนที่เสียโอกาสเพราะไม่ตัดสินใจ ตา มีบุญที่ท�าไว้แต่ก่อนมา อาจจะไม่ต้องเรียกว่าถึงชาติ เขาจึงบอกว่าสถานการณ์สร้างวีรบุรุษหรือวีรสตรี เพราะ ก่อนชาตินี้ก็ท�าได้ แต่ท�าในอดีตที่ผ่านมา ท�าความดีไว้ให้ เมื่ อ มี ส ถานการณ์ มี โ อกาสก็ ก ล้ า จั ด ท� า และในที่ สุ ด ก็ มาก ความดีที่เราท�าที่เรียกว่าบุญจะถูกเก็บไว้ในใจของ
  • 19. แสงธรรม 16 Saeng Dhamma เรา เราจะจดจ�าจารึกความดีที่เราท�าเอาไว้ นึกขึ้นมาทีไร สะสมไว้เรื่อยๆเก็บคะแนนเก็บแต้มเอาไว้ วันหนึ่งโอกาส ก็มีความสุข บุญจึงเป็นชื่อของความสุข ความเบา ความ ก็จะมาถึง คือ เมื่อน้�าแต่ละหยดๆ ที่หยดลงไปในตุ่ม ตุ่ม สบายใจ แต่ถ้าเราไปท�าบาปไว้ที่ไหน นึกทีไรก็มีแต่เรื่อง ก็เต็มด้วยน้�าเหล่านั้น ฉันใด ชีวิตที่ท�าความดีเอาไว้ วัน ขุ่นข้องหมองใจ จิตก็ขุ่นมัว บาปเป็นเรื่องที่หนัก บาป หนึ่งบุญจะให้ผล เช่น ผู้ใหญ่อาจจะเห็นความดีของเรา แปลว่าท�าให้จิตตกไปสู่อบาย สู่ความเสื่อม คนที่มีบุญก็ หรือคนอื่นคนใด ก็จะเห็นความดีของเรา เรียกว่า เทวดา คือจิตเบา นึกถึงเรื่องใด ก็ตามที่เราท�าความดีแล้วเบาใจ คุ้มครองก็ได้ นี้เป็นการท�าความดี ต้อนรับปีใหม่ แต่ถ้าหากหนักใจ เครียด ทุกข์ กังวล อาจเป็นเพราะ ประการที่ ๓ ปฏิรูปเทสวาสะ อยู่ในที่ที่เหมาะ บาปกรรมที่เราท�า สมกับความรู้ความสามารถของเรา เรื่องนี้เราก็เลือกได้ ฉะนั้นจงท�าบุญให้มาก จิตเราจะได้เบา ไม่กังวล บางคนเก่งในเรื่องนั้นๆ แต่เกิดผิดยุคก็มี ก็เลยไม่เป็นที่ และบุญที่ท�านั้นสะสมไว้ในจิตของเรา จะน�าแต่ความดีมา ต้อนรับไม่เป็นที่สนใจ เราคงเคยอ่านประวัติเจอ คนเก่ง สู่ชีวิตเขา เรียกว่าบุญจัดสรร คนที่ท�าไม่ดีก็จะเจอคนไม่ดี บางคนเกิดก่อนยุคของตัวเองเป็นร้อยปี กว่าคนรุ่นต่อมา มาหา เรื่องร้ายๆ ก็มาหา แต่ถ้าคนไหนเป็นคนดี คนดีก็ จะซาบซึ้ง ในความเก่งเขาก็ตายไปแล้ว มาสู่ เรื่องดีๆ ก็มาหา บางคนมีความรู้ความสามารถ ท�าอะไรไว้เยอะ แต่ ยามบุญมา วาสนาช่วย ที่ป่วยก็หาย ที่หน่ายก็รัก ไม่ได้รับการยอมรับในสมัยของตัวเอง เขาเรียกว่าอยู่ผิด บุญไม่มา วาสนาไม่ชวย ทีปวยก็หนัก ทีรกก็หน่าย ่ ่ ่ ่ั ยุค ผิดที่ผิดจังหวะ กับบางคนอีกเหมือนกัน เกิดมาช้า เพราะ ฉะนั้นปีใหม่นี้ท�าบุญให้มากเข้าไว้ บางคนไป ไปหน่อยที่จริงต้องไปอยู่เมื่อร้อยปีที่แล้วน่าจะเหมาะ รอบุญเก่าอย่างเดียวบุญเก่าก็หมดไปได้ เหมือนเงินที่เรา เป็นความคิด โบราณ เขาว่าพวกไดโนเสาร์เต่าล้านปี นี่ ฝากไว้ที่ธนาคารพอได้ดอกเบี้ย เราถอนต้นออกมาเงินก็ เห็นไหมว่าการที่เราจะประสบความส�าเร็จเป็นที่ยอมรับ หมด ชีวิตเราที่เจริญก้าวหน้ามาจนปีที่แล้วเป็นเพราะบุญ ขึ้นอยู่กับสถานที่ ที่เราไปพูดที่เราไปท�าหรือหน่วยงานที่ ที่เราท�าไว้แล้วในอดีต เมื่อบุญนั้นได้ให้ผลไปแล้ว เรียก เราสังกัด ถามว่าเราเลือกได้ไหมคนหนุ่มสาวยังมีโอกาส ว่า ไม่มีต้นทุนเหลือ คนที่ประสบความส�าเร็จจึงต้องคิดว่า เลือกงานท�างานนี้ไม่เหมาะกับความ รู้ความสามารถของ เราได้ดีด้วยบุญกุศลจึงต้องท�าบุญเพิ่มอีก เพื่อรักษาสิ่งดีๆ เรา เขาไม่ต้อนรับคนอย่างเรา เราก็ไปที่อื่นไปที่อื่นแล้วก็ ที่เราได้มาในปีที่ผ่านมาบุญอาจจะหมดสต็อกไปแล้ว ก็ไป พัฒนาตัวเองให้สอดคล้องกับที่ซึ่งเป็นปฏิรูป เทสนั้นจึง ท�าเพิ่ม เช่น ไปถวายทาน รักษาศีล เจริญจิตภาวนา ไหว้ ต้องเลือกปฏิรูปเทส พระ สวดมนต์ ถวายสังฆทานท�าแล้วก็จะน�ามาซึ่งบารมี ฉะนั้น เราต้องดูตัวเองว่าถ้าอยู่ตรงนี้อยู่ที่นี่ เรา คือ ท�าให้เรามีบารมี สามารถพัฒนาตัวเองได้ไหม ท�าอะไรให้ถูกต้องและเป็น ค�าว่า บารมี หมายถึง ความเต็มด้วยคุณงามความ ที่ยอมรับปรับตัวได้ไหม ถ้าเราปรับตัวได้ก็ท�า ก็พัฒนาตัว ดีที่ว่าพระพุทธเจ้าบ�าเพ็ญบารมี ก็คือพระองค์เต็มด้วย เอง การพัฒนาตัวเอง เรียกว่า อัตตสัมมาปณิธิ แปลว่า ความดีที่จะเป็นพระพุทธเจ้า เมื่อความดีเต็มเปี่ยมใน ตั้งตนไว้ชอบ บุญก็ท�าไว้เสมอตามหลักปุพเพกตปุญญตา ใจ เขาเรียกว่าบารมีครบถ้วนสมบูรณ์แล้ว ก็บรรลุเป็น บุญที่ท�าตั้งแต่ปีที่แล้วและปีก่อนๆ นั้นจะท�าให้ชีวิตของ พระพุทธเจ้า เราเองอยากจะประสบความส�าเร็จในเรื่อง เรา มีแต่ความดีงามมีแต่ความเจริญในปีนี้ และปีต่อๆ อะไร ก็ต้องบ�าเพ็ญบารมี คือ ท�าความดีในด้านนั้นเอาไว้ ไปเราจะเปล่งประกายไปเป็นที่ยอมรับ ก็เมื่ออยู่ในที่ที่
  • 20. แสงธรรม 17 Saeng Dhamma เหมาะสม ได้แก่ ปฏิรูปเทสและเราก็ต้องท�าบุญต่อไปอีก ตั้งใจท�าแล้วต้องท�าให้ส�าเร็จ อย่าเป็นเหมือนกับผู้เรียน สรุปแล้วคนเราจะได้ดี ต้องมาจากต้นทุน ๓ ตามหลักสูตรปริญญาตรี ๔ ปี บางคนเรียน ๓ ปี ออก ประการ คือ กลางคัน ไม่ได้รับปริญญาบัตร แล้วยังบอกว่าการศึกษา ๑. วางตัวไว้ดี ประวัติดี มีความรู้ความสามารถ ไม่เห็นได้อะไรเลยท�างานก็ไม่ได้ ตกงาน เพราะเรียนไม่ ๒. ท�าบุญไว้เยอะ ท�าความดีไว้มาก และ จบ ท�าดีไม่ถึงจุดที่ความดีจะให้ผล ดังนั้น ท�าอะไรก็ตาม ๓. อยู่ในที่ที่เขาชอบคนอย่างเราหรือส่งเสริมคน ต้องท�าให้เต็มที่ ร�าให้สุดแขน แพนให้สุดปีก อย่างเรา ปีใหม่นี้ ถ้าอยากประสบความส�าเร็จในชีวิต ต้อง ถ้ามีต้นทุนทั้ง ๓ อย่างนี้ สวัสดีปีใหม่แน่นอน คือ ท�าดีให้ถึงดี เหมือนกับเราจะขึ้นบ้านโดยอาศัยบันได ๗ ปีใหม่จะมีแต่ความโชคดี มีความสุข มีความเจริญ แต่ยัง ขั้น เราต้องขึ้นให้ครบ ๗ ขั้น จึงจะถึงชั้นบน แต่เราไปขึ้น ไม่พอต้องพยายามให้ได้ดี หมายความว่า ท�าดีให้ถูกดี ท�า แค่ ๒ ขั้น ๓ ขั้น มันก็ไม่ถึงชั้นเป้าหมาย เพราะท�าไม่ถึง ดีให้ถึงดีและท�าดีให้พอดี แม้เราจะมีทุนดีก็เหมือนกัน แต่ จุดที่ความดีจะให้ผลบางคนอยากจะท�างานสักชิ้น แต่มัน ทุนที่มีอยู่ เช่น เป็นคนเก่ง เป็นคนมีความรู้ความสามารถ ยากล�าบาก มีอุปสรรค เขาถูกด่า ถูกว่า ถูกบ่น ใจไม่สู้ แต่ท�าไม่ถูกจังหวะ หรือไม่ถูกดีและท�าไปแล้วเป็นกิ้งก่า หนาวนัก ร้อนนัก ก็ถอย อย่างนี้เรียกว่า หนักไม่เอา เบา วิ่งๆ หยุดๆ แล้วแต่อารมณ์ท�าบ้างไม่ท�าบ้าง มันก็ไม่เจริญ ไม่สู้ ท�าดีไม่ถึงดี เรียกว่าท�าไม่ถึงดี และบางคนท�าแล้วก็เกินดีอีกนะ ขยัน เพราะฉะนั้น นักปราชญ์ท่านหนึ่งจึงบอกว่า ให้ เกิน พูดมากเกิน ท�ามากเกิน คนรับไม่ได้ ท�าอะไรต้องท�าให้ดีที่สุด ให้เลี้ยงม้า ม้าจะต้องอ้วบ ให้ เพราะ ฉะนั้น ถ้าหากว่าจะให้มีความสวัสดี คือมี เป็นเสนาบดีกระทรวงการคลัง เงินจะต้องเต็มคลัง คน แต่เรื่องดีๆ ท�าดีได้ดีในปีใหม่ ต้องท�าดีให้ถูกดี ให้ถึงดี ที่พูดประโยคนี้ก็คือขงจื้อ ตอนที่เขาให้รับต�าแหน่งเล็กๆ และให้พอดีที่ว่าให้ถูกดี คืออย่างไร ก็ท�าไปก่อน พิสูจน์ฝีมือต่อเมื่อเขาไว้วางใจ เขาก็เลื่อน ที่ว่าท�าดีให้ถูกดี คือ เรามีหน้าที่อะไร ท�าให้ที่สุด ต�าแหน่ง แต่บางคนต�าแหน่งมีแต่ไม่ท�า เหมือนอย่างที่ว่า เป็นอะไรเป็นให้จริง-เป็นพ่อ-เป็นแม่-เป็นพระ-เป็นโยม- ท�าดีไม่ถูกดี เขาจึงสอนว่าอย่าห่วงว่าเขาไม่รู้ว่าเก่งหรือ ท�าหน้าที่ของตัวเอง ให้ดีที่สุด นี้เรียกว่าท�าดีให้ถูกดี บาง มีความสามารถหรือไม่ ห่วงแต่ว่าสักวันหนึ่ง เมื่อคนเขา คนมีหน้าที่แล้วไม่ท�า ไปท�าสิ่งที่ไม่ใช่หน้าที่ เป็นฆราวาส ยกย่องเรา ให้ต�าแหน่งเรา เราเก่งจริง หรือเปล่ามีความรู้ อยากสวด เป็นนักบวชอยากร้องเพลง ถึงจะร้องเพลงดี มีความสามารถหรือเปล่า เราต้องท�าดีให้มันถึงดี แต่ไม่ใช่หน้าที่ เขาเรียกว่าท�าดี ไม่ถูกดี คือ ไม่ถูกบทบาท ข้อสุดท้าย ที่ว่าท�าดีให้พอดี ได้แก่ บางคนท�าดี ของตัวเอง เกินธงมากเกินไปหากจะเทียบก็เหมือนเอาน้�าใส่แก้วมัน เพราะฉะนั้น เรามีหน้าที่อะไรท�าให้สุดความ ล้นถ้วย เจิ่งนองไปหมด นอกจากจะเสียของแล้ว ยังเปียก สามารถ ท�าให้ตรงหน้าที่นั้น แล้วเมื่อท�าหน้าที่ตัวเอง ปอนไปทั่ว พื้นตรงนั้น เพราะฉะนั้น คนที่ท�าความดีต้อง สมบูรณ์แล้วค่อยไปท�าหน้าที่เพิ่มเติมอื่นๆ งานหลวงอย่า ให้พอดีเราเรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา ทางสายกลางเห็นได้ ให้ขาด งานราษฎร์อย่าให้บกพร่อง อย่างนี้เรียกว่า ท�าดี จากการใช้จ่าย จ่ายมากสุรุ่ยสุร่ายก็เสียเงินไปโดยใช่เหตุ ให้ถูกดี คือ ตรงหน้าที่ อย่าให้บกพร่อง จ่ายน้อยเกินไป อดอยาก ล�าบากตน ความพอดีนี้ ก็คือ ที่ว่าท�าดีให้ถึงดี หมายความว่า อย่าเป็นคนจับจด เศรษฐกิจพอเพียง
  • 21. แสงธรรม 18 Saeng Dhamma ปีใหม่นี้ น�าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ ไว้ดีแต่ก่อน ข้อที่สามอยู่ในที่ที่ดี อย่าพาตัวเองไปที่ที่ไม่ พระเจ้าอยู่หัวมาเป็นเป้าหมายชีวิตเรา เพื่อความสุข เรา เหมาะไม่ควร และท�าดีได้ดีเพื่อความดีงามของชีวิตก็ต้อง จ่ายเงิน เพื่อให้เกิดความสุข อย่าให้เป็นทุกข์เพราะเป็น ข้อหนึ่ง ท�าดีให้ถูกดี ถามตัวเองว่าชีวิตเราเหมาะ หนี้สิน บางคนติดการพนันเข้าไปอีก บางคนเล่นหวยทั้ง กับเรื่องอะไรท�าเรื่องนั้นแหละ และเราก็จะโชคดีมีชัย บนดินใต้ดินมากมายปีใหม่นี้ไม่มีพวกอบายมุขทั้งหลาย ประสบความส�าเร็จ เราจะ ต้องด�ารงชีวิตให้พอดีอย่าให้สิ่งไม่ดีเข้ามาแผ้วพาน ข้อสอง เวลาท�าแล้วต้องท�าให้เต็มที่ อย่าเยาะแยะ หลวงพ่อปัญญานันทะ ท่านสอนว่าเผาศพทั้งทีให้เผาผี ท�าให้ถึงเป้าหมายให้ส�าเร็จให้ได้ ไม่ลงทุนเปล่า เหนื่อย เสียด้วย บางคนเผาแต่ศพ คือ ร่างที่ไร้วิญญาณ แต่ไม่เผา เปล่า ท�าดีให้ถึงดี และ ผี ผีเลยสิงกลับบ้าน ปีใหม่นี้ไล่ผี อย่าให้สิงเรา มีผี ๖ ตัว ข้อสาม เมื่อท�าดีถึงดีแล้ว รู้จักหยุดรู้จักพอ ด้วยกัน เศรษฐกิจพอเพียง อย่าไปฟุ้งเฟ้อสุรุ่ยสุร่ายไม่ท�าให้ชีวิต พระท่านว่าเป็นค�าประพันอย่างนี้ ลองดูว่าผีตัว ของเราออกนอกลู่นอกทางไม่ติด อบายมุขทั้ง ๖ ประการ ไหนชอบมาสิงเรา ตั้งแต่ปีที่แล้วปีนี้ไล่ไปเลยนะ อย่าให้ ก็คือ ผี ๖ ตัว เพราะเกินธง เครียดไป มากไป ตามมารังควานอีก ฉะนั้น ปีใหม่นี้ จากการท�าดีให้ถูกดีท�าดีให้ถึง ผีหนึ่ง ชอบดื่มสุราเป็นอาจิณ ไม่ชอบกินข้าว ดี และท�าดีให้พอดี ชีวิตก็จะมีแต่ความสวัสดี มีชัย ขอ ปลาเป็นอาหาร อ�านาจคุณพระศรีรัตนตรัยและความดีที่เราบ�า เพ็ญมา ผีสอง ชอบท่องเที่ยวยามวิกาล ไม่รักลูกรักบ้าน จงมาอ�านวยอวยพรให้ทุกท่าน มีแต่ความสวัสดีมีชัย ใน ของตน โอกาสต้อนรับปีใหม่นี้ เพื่อท�าดีให้ถูกดี ให้ถึงดี ให้พอดี ผีสาม ชอบเที่ยวดูการละเล่น ไม่ละเว้นบาคลับ และชีวิตก็จะได้ มีความสวัสดีมีชัย ตลอดไปทุกท่าน ทุก ละครโขน คนเทอญ ผีสี่ ชอบคบคนชั่วมั่วกับโจร หนีไม่พ้นอาญาตรา แผ่นดิน ผีที่ห้า ชอบเล่นไพ่ เล่นม้า กีฬาบัตร สารพัดถั่ว โปไฮโลสิ้น ผีที่หก ชอบเกียจคร้านการหากิน มีทั้งสิ้น ๖ ผี อัปรีย์ เอย ถ้า เราท�าดีให้ถูกดี ให้ถึงดี ให้พอดี ผีทั้ง ๖ ก็จะ ไม่เข้ามาสิงเรา ชีวิตเราก็จะมีแต่ความดี ประสบความสุข ความเจริญงอกงามไพบูลย์ แล้วก็เป็นชีวิตที่มีแต่สวัสดี ก็ คือ มีแต่ความดีงามเท่านั้น ฉะนั้น ถ้าเราประสงค์จะต้อนรับปีใหม่ด้วยความ สวัสดีมีชัยก็คือมีแต่เรื่องดีๆ เราก็จะต้องด�าเนินตาม ธรรมะที่ได้กล่าวมาก็คือ ข้อแรก วางตัวดี ข้อสองท�าบุญ คณะจัดดอกไม้ประดับทุกกิจกรรมของวัดไทยฯ ดี.ซี.
  • 22. แสงธรรม 19 Saeng Dhamma อนุโมทนาพิเศษ / Special Thanks คุณประพจน์ คุณวงศ์ - คุณมนชยา เจตบุตร พิธกรประจำาวัดไทยฯ ดี.ซี. ี ร้าน TALAY THAI โดยคุณพยุง-คุณจินตนา ถวายภัตตาหารเช้าวันพุธ คณะพยาบาลบั ล ติ ม อร์ ถวายเพลวั น พุ ธ สุ ด ท้ า ยทุ ก เดื อ น สนง.เศรษฐกิจการคลัง, สนง. ก.พ., สนง.เกษตร ถวายเพลทุกเดือน BANGKOK DELIGHT RESTAURANT ถวายเพลทุกเดือน ร้าน NSC คุณเสริมศักดิ์-คุณวันทนีย์ ถวายเพลทุกเดือน
  • 23. แสงธรรม 20 Saeng Dhamma ขอเชิญทุกท่านร่วมนมัสการพระสารีรกธาตุ ณ อุโบสถ วัดไทยฯ ดี.ซี. ิ Those who are interested in Thai Theravada Buddhism and members of the general public are cordially invited to Wat Thai, D.C., Temple to pay their respect to or simply view the Buddha relics on display in the chanting hall. ปฏิบัติธรรมประจำ�เดือนมกร�คม ณ วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. 21 มกราคม 2555 ศึกษาและปฏิบัติธรรมตามแนวพระไตรปิฎก � สาธยายพระไตรปิฎก ภาษาบาลี � ฟังบรรยายธรรม - ธรรมสากัจฉา � เจริญจิตภาวนา - แผ่เมตตา พร้อมกันบนอุโบสถศาลา เวลา 9.00 A.M.
  • 24. แสงธรรม 21 Saeng Dhamma เสียงธรรม.. จากวัดไทย พระวิเทศธรรมรังษี (หลวงตาชี) ทานญฺจ เปยฺยวชฺชญฺจ อตฺถจริยา จ ยา อิธ สมานตฺตตา จ ธมฺเมสุ ตตฺถ ตตฺถ ยถารหํ เอเต โข สงฺคหา โลเก รถสฺสาณีว ยายโต. แบ่งให้เพื่อเจือจาน, กล่าวขานคําไพเราะเสนาะโสต ประพฤติประโยชน์แก่ตนและสังคม,วางตัว ให้เหมาะสมกับฐานะ ธรรมะทั้ง ๔ ข้อนี้ ยึดเหนียวจิตใจของคนในสังคมให้กลมเกลียวเป็นนํ้าหนึ่งใจ เดียวกัน ถ้าท�าดี ท�าดี แต่ กลายเป็นเรื่อง เพื่อดี นั้นดีแน่ ท�าเพื่อ “กู” ดูเฉงโฉง ฉ้อฉล ของคนโกง เ รืองรีบด่วน ทีคนเราทุกคนผูหวังอยูซงความสุข ่ ่ ้ ่ ึ่ ความเจริญก้าวหน้า และความปลอดภัยในชีวต ประจ�าวัน นันก็คอเรือง “ความดี” เรืองความดีนแหละ ่ ื ่ ่ ี้ ิ ท�าลายตน สุดโต่ง ดูให้ดี ที่คนทุกคนควรรีบท�าควรพยายามประกอบไว้ในตน ท�าเช่นนั้น มันยิ่ง เห็นแก่ตัว เพราะถ้าเราท�าความดีชา ๆ อยู จิตใจของเราก็จะน้อม ้ ่ ได้เปรียบฝ่าย ความชั่ว คือฝ่ายผี ไปในความชั่ว ความชั่วเป็นสิ่งที่ไม่ดี เพราะท�าจิตใจ ข้างฝ่ายถูก เสียเปรียบ ลงทุกที ของเราให้เศร้าหมอง ดังนั้น ความชั่วจึงไม่ท�าเสียเลย ไม่กี่ปี ลืมตัว ไม่กลัวเลว จึงท�าดี เพื่อดี สุดดีเถิด นั่นแหละดี ความดีรีบท�าในขณะนี้และเดี๋ยวนี้ อย่า เกียรติจะเกิด หรือไม่เกิด ก็ไม่เหลว มัวผัดวันประกันเวลาในการท�าความดี การท�าความดี มันยิ่งดี โดยนิสัย ได้โดยเร็ว นั้นเป็นเรื่องที่ส�าคัญส�าหรับทุกคนควรสนใจและเอาใจ พ้นจากเหว แห่งบาป ลาภมาเอง ใส่ ไม่ควรเพิกเฉยละเลยในการท�าความดี เมือท�าความ ่ (พุทธทาสภิกฺขุ) ดีก็ควรท�าความดีบ่อย ๆ ท�าสม�่าเสมอ ท�าไม่ขาดสาย