SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  109
การสาร้างผลงานวิชาการ จากงานในหน้าที่ ดร . คมศร  วงษ์รักษา ณ  โรงแรมอเล็กซานเดอร์ กรุงเทพฯ 23  มิถุนายน  2549 โดย
ผลงานวิชาการ  หมายถึง   เอกสารหรือหลักฐานที่จัดทำขึ้นจากความรู้ ความสามารถ ทักษะ และประสบการณ์ของผู้จัดทำโดยการศึกษษ ค้นคว้า วิเคราะห์  สังเคราะห์ วิจัย และนำไปใช้ประโยชน์ในการแก้ปัญหา หรือพัฒนางานในหน้าที่ และเป็นประโยชน์ต่อความก้าวหน้าทางวิชาการ
งานของครู 1.  งานตามหน้าที่ 2.  งานพิเศษ
1.  พัฒนาคน 2.  พัฒนากระบวนการ 3.  พัฒนานวัตกรรม งานศึกษานิเทศก์
ความหมายของการวิจัย ,[object Object]
การวิจัยในชั้นเรียน ,[object Object]
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ขอบเขตของการทำวิจัยในชั้นเรียน ,[object Object],[object Object]
ขอบเขตของการทำวิจัยในชั้นเรียน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ปัญหาการเรียนการสอน ,[object Object],[object Object],[object Object]
ตัวอย่าง ,[object Object],[object Object],[object Object]
ตัวอย่าง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ตัวอย่าง ,[object Object],[object Object],[object Object]
ขั้นตอนการทำวิจัยในชั้นเรียน ,[object Object],[object Object]
ขั้นตอนการทำวิจัยในชั้นเรียน ,[object Object],[object Object]
ขั้นตอนการทำวิจัยในชั้นเรียน ,[object Object],[object Object]
ขั้นตอนการทำวิจัยในชั้นเรียน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ขั้นตอนการทำวิจัยในชั้นเรียน ,[object Object],[object Object]
ขั้นตอนการทำวิจัยในชั้นเรียน ,[object Object],[object Object]
กระบวนการทำวิจัยในชั้นเรียน วิเคราะห์ปัญหา  การเรียนการสอน พิจารณาจาก  การเรียนการสอนในชั้น ศึกษาแนวคิด  ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง นำปัญหามาเชื่อม โยง กับทฤษฎีและหลักการต่างๆ
กระบวนการทำวิจัยในชั้นเรียน พัฒนานวัตกรรมที่เกี่ยวข้อง *  สร้างนวัตกรรม *  หาประสิทธิภาพ ออกแบบการวิจัย *  แผนการวิจัย *  ประชากร กลุ่มตัวอย่าง *  เครื่องมือ  ( สร้าง และหาคุณภาพ ) *  การรวบรวมข้อมูล *  การวิเคราะห์ข้อมูล
กระบวนการทำวิจัยในชั้นเรียน ทดลองใช้นวัตกรรม วิเคราะห์ และสรุปผล เขียนรายงานการวิจัย
การวิเคราะห์ปัญหาการเรียนการสอน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การวิเคราะห์ปัญหาการเรียนการสอน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การวิเคราะห์ปัญหาการเรียนการสอน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
นวัตกรรม ,[object Object],[object Object]
นวัตกรรมทางการศึกษา ,[object Object],[object Object]
ประโยชน์ของนวัตกรรมทางการศึกษา ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ประเภทของนวัตกรรมทางการศึกษา สื่อการสอน เทคนิควิธีการสอน สื่อสิ่งพิมพ์ -  เอกสารประกอบการสอน -  บทเรียนสำเร็จรูป -  ชุดการสอน -  รายงานการศึกษาค้นคว้า -  รายงานโครงการ  ฯลฯ สื่อโสต -  ภาพยนตร์  วีดิทัศน์ -  สไลด์ แผ่นใส -  คอมพิวเตอร์  ช่วยสอน -  เทปเพลง เทปเสียง -  หุ่นจำลอง ฯลฯ -  การสอนแบบศูนย์การเรียน -  การสอนด้วยการแสดงบทบาทสมมติ -  การสอนเพื่อเสริมสร้างลักษณะนิสัย -  การสอนโดยใช้เทคนิคการสอนซ่อมเสริม -  การสอนแบบโครงการ ฯลฯ
กระบวนการสร้างนวัตกรรมทางการศึกษา กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ กำหนดกรอบแนวคิด สร้างต้นแบบนวัตกรรม หาประสิทธิภาพของนวัตกรรม
กระบวนการสร้างนวัตกรรมทางการศึกษา ทดลองใช้นวัตกรรม ผลการทดลองใช้ ปรับปรุงต้นแบบ ใช้ไม่ได้ ใช้ได้ เผยแพร่นวัตกรรม
การเขียนโครงการเพื่อทำวิจัยในชั้นเรียน ,[object Object]
หัวข้อสำคัญในการเขียนรายงานการวิจัย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ตัวอย่าง ,[object Object],[object Object]
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ปวช . 1  วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง “แรง” ระหว่างวิธี  การสอนแบบโครงงานและวิธีการสอนโดยใช้สื่อ  CAI วัตถุประสงค์   -  การเปรียบเทียบ ตัวแปร ตัวแปรต้น  -  วิธีการสอนแบบโครงงาน -  วิธีการสอนโดยใช้สื่อ  CAI ตัวแปรตาม -  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ประชากรหรือกลุ่มตัวอย่าง   -  นักเรียน ปวช . 1    แผนกช่างไฟฟ้า
หัวข้อสำคัญในการเขียนรายงานการวิจัย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
หัวข้อสำคัญในการเขียนรายงานการวิจัย ,[object Object],[object Object]
หัวข้อสำคัญในการเขียนรายงานการวิจัย ,[object Object],[object Object],[object Object]
หัวข้อสำคัญในการเขียนรายงานการวิจัย ,[object Object],[object Object]
หัวข้อสำคัญในการเขียนรายงานการวิจัย ,[object Object],[object Object],[object Object]
หัวข้อสำคัญในการเขียนรายงานการวิจัย ,[object Object],[object Object]
หัวข้อสำคัญในการเขียนรายงานการวิจัย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
หัวข้อสำคัญในการเขียนรายงานการวิจัย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
หัวข้อสำคัญในการเขียนรายงานการวิจัย ,[object Object],[object Object],[object Object]
หัวข้อสำคัญในการเขียนรายงานการวิจัย ,[object Object],[object Object],[object Object]
หัวข้อสำคัญในการเขียนรายงานการวิจัย ,[object Object],[object Object]
หัวข้อสำคัญในการเขียนรายงานการวิจัย ,[object Object],[object Object]
การสร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูล
1.  แบบสัมภาษณ์ 2.   แบบสังเกต 3.  แบบสอบถาม 4.  แบบประเมิน 5.  แบบสำรวจ 6.  แบบบันทึก   ประเภทของเครื่องมือ
คุณลักษณะของแบบสอบที่ดี 1.  มีความตรง  ( Validity )   แบบสอบจะต้องมีความแม่นยำของคะแนนในการวัด  สิ่งที่ต้องการ สามารถบอกสภาพที่แท้จริงหรือพยากรณ์ได้ถูกต้องแม่นยำ   -  ความตรงเชิงเนื้อหา  ( Content Validity )   -  ความตรงเชิงโครงสร้าง  ( Criterion-related Validity )   -  ความตรงเชิงทำนาย  ( Predictive Validity )
คุณลักษณะของแบบสอบที่ดี 2.  มีความเที่ยง  ( Reliability )   ความคงเส้นคงวาของคะแนนสอบ  ใช้สอบซ้ำกับผู้สอบคนเดียวกันควรจะได้คะแนนเท่ากัน
คุณลักษณะของแบบสอบที่ดี 3.  มีระดับความยากง่าย  ( Difficulty index )  พอเหมาะ   แบบสอบจะต้องมีความยากเหมาะสมกับระดับผู้สอบ
คุณลักษณะของแบบสอบที่ดี 4.  มีอำนาจจำแนก  ( Discrimination power )   แบบสอบสามารถจำแนกคนเก่งและคนอ่อนออกจากกันได้
คุณลักษณะของแบบสอบที่ดี 6.  มีความยุติธรรม  ( Fairness )   ผู้สอบทุกคนมีโอกาสที่จะตอบถูก ถ้ามี  ความรู้ในเนื้อหาข้อสอบ  แต่ถ้าไม่รู้ในเนื้อหาก็ตอบไม่ได้
คุณลักษณะของแบบสอบที่ดี 7.  ประสิทธิภาพในการนำไปใช้  ( Efficiency )   แบบสอบจะต้องประหยัดเวลาในการสร้าง ดำเนินการสอบได้ง่าย  ให้คะแนนได้ง่าย  ประหยัดค่าใช้จ่ายในการสอบ
คุณลักษณะของแบบสอบที่ดี 8.  ความจำเพาะเจาะจง  ( Specific )   ผู้ที่มีความรู้ความสามารถเฉพาะใน  เรื่องนั้นๆ จึงจะตอบข้อนั้นได้  เปรียบเทียบกลุ่มที่มีความรู้เฉพาะ กับกลุ่มฉลาดที่ไม่มีความรู้เฉพาะ  กลุ่มแรกทำแบบสอบได้ดีกว่ากลุ่มหลัง
คุณลักษณะของแบบสอบที่ดี 9.  มีการกระตุ้นยุแหย่  ( Exemplary )   แบบสอบที่มีการถามล่อ  โดยจัดข้อกระทงง่ายๆ ไว้ตอนแรกๆ แล้วจึงค่อยๆ ถามให้ยากขึ้นตามลำดับ
คุณลักษณะของแบบสอบที่ดี 10.  การวัดอย่างลึกซึ้ง  ( Searching )   ลักษณะของแบบสอบที่ถามครอบคลุม  พฤติกรรมหลายๆ ด้าน ไม่ใช่วัดแต่ความรู้ความจำอย่างเดียว
ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบ 1.  กำหนดวัตถุประสงค์ของการสอบ   -  ทดสอบเพื่อจัดตำแหน่ง จัดกลุ่ม   -  ทดสอบเพื่อกำกับดูแล   -  ทดสอบเพื่อวินิจฉัย   -  ทดสอบเพื่อสรุปผล
ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบ 2.  วิเคราะห์หลักสูตร   เป็นกระบวนการที่จะช่วยให้ผู้สอนทราบว่า ใน  รายวิชานั้นๆ มีจุดประสงค์ที่จะต้องสอนให้ผู้เรียนเกิดพฤติกรรมอะไร มีเนื้อหาอะไรบ้าง และจะออกข้อสอบอย่างไร จึงจะ  สอดคล้องกับการสอนและสัมพันธ์กับจุดประสงค์ของหลักสูตร
ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบ 3.  เลือกประเภทข้อสอบ   ควรเลือกข้อสอบให้เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด  ที่นิยมใช้ คือ    1)  ข้อสอบปรนัย   2)  ข้อสอบอัตนัย
ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบ 4.  เขียนและทำร่างข้อสอบ   จากเนื้อหาและวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ต้องการวัด  ผู้เขียนข้อสอบจะต้องสร้างสถานการณ์ สร้างปัญหา และกำหนดกิจกรรมย่อยๆ ขึ้น เพื่อใช้เป็นคำถาม  ถ้าเป็นข้อสอบแบบเลือกตอบก็ต้องกำหนดตัวเลือกให้ด้วย
ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบ 5.  จัดทำชุดแบบสอบ    เมื่อสร้างข้อสอบเสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็ถึงการจัดทำเป็นชุดแบบสอบ โดย   1.  ทบทวนและคัดเลือกข้อสอบ    2.  จัดเรียงข้อสอบ  ตามความง่ายยาก ตามเนื้อหา    3.  จัดทำคำสั่ง คำชี้แจง
ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบ 6.  นำแบบสอบไปใช้ 7.  ตรวจและประเมินผล 8.  นำผลการสอบไปใช้
ประเภทของข้อสอบ   1.  แบบสอบปรนัย  ( Objective Test ) 2.  แบบสอบอัตนัย  ( Eassy Test )
แบบสอบปรนัย  ( Objective Test ) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ประเภทของแบบสอบปรนัย 1.  แบบเขียนตอบ  ( Supply item types ) 1.1  แบบตอบสั้น  ( Short-answer item ) 1.2  แบบเติมคำ  (Completion item ) 2.  แบบเลือกตอบ  ( Selection item types ) 2.1  แบบถูก - ผิด  ( True false item ) 2.2  แบบจับคู่  ( Matching item ) 2.3  แบบเลือกตอบ  ( Multiple choice item )
1.1  แบบตอบสั้น  ( Short-answer item ) ผู้ตอบต้องหาคำตอบเอง แต่เป็นคำตอบสั้นๆ เหมาะสำหรับใช้วัดความรู้ความจำเกี่ยวกับคำศัพท์ ข้อเท็จจริง หลักการ เช่น -  สูตรกรดไฮโครคลอริค เขียนอย่างไร  ( HCL ) -  นายอานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรี คนที่เท่าไร  ( คนที่  18)
1.2  แบบเติมคำ  (Completion item ) มีลักษณะการใช้เหมือนแบบตอบสั้น ต่างกันที่การถาม แบบเติมคำจะเว้นช่องว่างไว้ให้เติาคำตอบ ตัวคำถามจะเป็นประโยคไม่สมบูรณ์ เช่น -  สูตรกรดไฮโครคลอริค เขียนว่า…………… . -  นายอานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรี คนที่………………… ...
2.1  แบบถูก - ผิด  ( True false item ) ,[object Object],[object Object],[object Object]
2.2  แบบจับคู่  ( Matching item ) ให้เลือกจับคู่ระหว่างคำหรือข้อความสองแถว เหมาะสำหรับวัดความรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริง คำศัพท์ หลักการ ความสัมพันธ์ และการตีความในเรื่องเดียวกัน  เช่น ( B ) 1. Walk A. Adjective (C) 2. And B.Verb C.Conjunction
2.3  แบบเลือกตอบ  ( Multiple choice item ) ให้เลือกตอบจากคำตอบที่กำหนดให้ นิยมใช้  ทั่วไป วัดผลการเรียนรู้ได้เกือบทุกระดับ สร้างยาก เสียเวลาสร้างมาก
หลักการเขียน  ข้อคำถามชนิดเลือกตอบ  ( Multiple choice item )
1.  วิธีเขียนตัวคำถามหรือโจทย์ 1.1  ควรใช้ประโยคคำถาม ( ไม่ดี )  นักเรียนที่ดีมีหน้าที่ ก .  เชื่อฟังครู ข .  ช่วยพ่อแม่ ค .  เคารพผู้ใหญ่ ง .  ตั้งใจเล่าเรียน ไม่ดี เพราะคำถามบอกเล่าทำให้ขาดความชัดเจน บางครั้งสิ่งที่ต้องการถามขาดน้ำหนักจนเกิดความคลุมเครือ  ( ดี )  นักเรียนที่ดีควรมี หน้าที่อย่างไร
1.  วิธีเขียนตัวคำถามหรือโจทย์  ( ต่อ ) 1.2  เน้นจุดที่จะถามให้ชัดเจน ( ไม่ดี )  อาหารชนิดใดต่างจาก ชนิดอื่น ก .  ไข่ ข .  นม ค .  ข้าว ง .  ปลา ไม่ดี เพราะไม่บอกว่าต้องการถามด้านไหน จะยึดสิ่งใดเป็นหลักในการพิจารณา ทำให้  เข้าใจไปคนละทาง  ( ดี )  อาหารชนิดใดให้คุณค่า ต่างจากชนิดอื่น
1.  วิธีเขียนตัวคำถามหรือโจทย์  ( ต่อ ) 1.3  ถามให้ตรงตามเนื้อหาที่ต้องการ ( ไม่ดี ) This is A. Lao B. Japan C. Thailand D. Malysia ไม่ดี เพราะไม่ได้วัดความสามารถทางภาษาอังกฤษอย่างแท้จริง ผู้ตอบต้องอาศัยความรู้ในวิชาภูมิศาสตร์เป็นหลัก  ( ดี ) This is A. map  B. view  C. photo  D. picture
1.  วิธีเขียนตัวคำถามหรือโจทย์  ( ต่อ ) 1.4  ถามในสิ่งที่ดีหรือเป็นประโยชน์ ( ไม่ดี )  การเป็นหวัดดีอย่างไร ก .  ได้ชะล้างจมูก ข .  ไม่ต้องอาบน้ำ ค .  ไม่ได้กลิ่นเหม็น ง .  ไม่มีใครรบกวน ไม่ดี เพราะถามสิ่งที่ไม่ดี ในแง่ดี และไม่เป็นตามหลักวิชา  ( ดี )  การเป็นหวัด แสดงว่า ร่างกายอยู่ในสภาพใด ก .  แข็งแรง  ข .  อ่อนแอ ค .  ปกติ  ง .  พิการ
1.  วิธีเขียนตัวคำถามหรือโจทย์  ( ต่อ ) 1.4  ถามในสิ่งที่ดีหรือเป็นประโยชน์  ( ต่อ ) ( ไม่ดี )  ความเสียสละ มักให้ ผลเสียในด้านใด ก .  เวลา ข .  แรงงาน ค .  ความคิด ง .  ทรัพย์สิน ไม่ดี เพราะถามในสิ่งที่ขัดแย้งกับการยอมรับของสังคม ( ดี )  การเสียสละ ก่อให้เกิด ผลดีในด้านใดแก่สังคม ก .  ความอยู่รอด ข .  ความเห็นใจกัน ค .  ความสามัคคี
1.  วิธีเขียนตัวคำถามหรือโจทย์  ( ต่อ ) 1.5  ถามสิ่งที่สามารถหาข้อยุติได้ตามหลักวิชาการ ( ไม่ดี )  ถ้าโลกนี้ไม่มีน้ำมัน  จะเป็นอย่างไร ก .  การพัฒนาจะหยุด ข .  ต้องใช้แรงงานสัตว์ ค .  มนุษย์ขาดการติดต่อ ง .  เข้าสู่ยุคโบราณ ไม่ดี เพราะเป็นการถามเงื่อนไขหรือสภาวะที่อธิบายได้ยาก ไม่มีหลักวิชายืนยันได้แน่นอน ( ดี )  การขาดแคลนน้ำมัน  จะกระทบต่อกิจการใด มากที่สุด ก .  การเกษตร ข .  การคมนาคม
1.  วิธีเขียนตัวคำถามหรือโจทย์  ( ต่อ ) 1.6  ถามให้ใช้ความคิด ไม่ควรถามเฉพาะความจำที่ไม่ใช่สาระสำคัญที่ควรจดจำ ควรถามให้นำความจำไปใช้ ( ไม่ดี )  ข้อใดเป็นแม่สี ก .  ขาว  -  แดง ข .  เขียว  -  แดง ค .  น้ำเงิน  -  แดง ง .  น้ำเงิน  -  เหลือง ไม่ดี เพราะเป็นการวัดความจำพื้นฐาน ซึ่งไม่น่าจะเป็นหลักสำคัญ ควรสนใจในการใช้สี  มากกว่า ( ดี )  เมื่อวาดรูปพุ่มไม้ ควร ระบายด้วยสีคู่ใด
1.  วิธีเขียนตัวคำถามหรือโจทย์  ( ต่อ ) 1.6  ถามให้ใช้ความคิด ไม่ควรถามเฉพาะความจำที่ไม่ใช่สาระสำคัญที่ควรจดจำ ควรถามให้นำความจำไปใช้ ( ไม่ดี )  โลกห่างจาก พระอาทิตย์กี่ไมล์ ไม่ดี เพราะเป็นการถามความจำที่เป็นรายละเอียดมากเกินไป ทั้งยังใช้หน่วยที่ไม่ได้ใช้ในชีวิตประจำวันอีกด้วย ( ดี )  ถ้าดวงอาทิตย์มีขนาด เท่าฟุตบอล โลกควรจะมี ขนาดเท่าสิ่งใด ก .  มะนาว ข .  เม็ดถั่วเขียว ค .  บาสเก็ตบอล
1.  วิธีเขียนตัวคำถามหรือโจทย์  ( ต่อ ) 1.7  อย่าใช้ภาษาฟุ่มเฟือย ( ไม่ดี )  การรับประทานส้ม เป็นประจำ จะทำให้ ร่างกายได้รับวิตามิน ชนิดใด ไม่ดี เพราะบางข้อความไม่จำเป็นต้องกล่าวถึง ทำให้จุดที่ต้องการถามมีน้ำหนักเบาหรือไม่ถูกเน้นเท่าที่ควร ( ดี )  ส้มให้วิตามินชนิดใด
1.  วิธีเขียนตัวคำถามหรือโจทย์  ( ต่อ ) 1.8  ใช้ภาษาให้เหมาะสมกับผู้เรียน ( ไม่ดี )  อาหารชนิดใดที่ คนผอมควร บริโภค สุกร   20  ตัวมี ปริมาณ ขากี่ขา ไม่ดี เพราะถ้าไม่ได้มุ่งวัดการแปลคำศัพท์แล้ว ต้องมั่นใจว่า  ผู้เรียนเข้าใจความหมายของคำ ( ดี )  อาหารชนิดใดที่คนผอม  ควรรับประทาน หมู  20  ตัวมีกี่ขา
1.  วิธีเขียนตัวคำถามหรือโจทย์  ( ต่อ ) 1.9  หลีกเลี่ยงคำถามปฏิเสธ ( ไม่ดี )  ถ้าต้นไม้ไม่ได้รับ แสงแดด ใบจะไม่มี ลักษณะอย่างไร  ไม่ดี เพราะวกวน  เข้าใจยาก เป็นคำถามที่วัดความสามารถด้านภาษามากเกินไป ( ดี )  ต้นไม้ที่ได้รับแสงแดด  ใบจะมีลักษณะอย่างไร  ถ้าต้นไม้ ไม่ได้ รับ แสงแดด ใบจะมีลักษณะ อย่างไร
1.  วิธีเขียนตัวคำถามหรือโจทย์  ( ต่อ ) 1.10  ควรใช้คำถามที่ยั่วยุหรือชวนให้คิด  ได้แก่  คำถามที่ถามเรื่องใกล้ตัว พาดพิงกับชีวิตประจำวันของ  ผู้เรียน นอกจากนั้นการใช้รูปภาพในการถามจะช่วยเร้าความสนใจได้เป็นอย่างดี ( ไม่ดี ) 1/3  มีค่าเท่ากับ เศษส่วนในข้อใด ( ดี )  ส่วนแรเงาในภาพมีค่า เท่าใด
2.  วิธีเขียนตัวเลือก 2.1  ตัวเลือกต้องมีความเป็นเอกพันธ์ 1)  เป็นเรื่องราวเดียวกัน  เป็นพวกเดียวกัน  หรือประเภทเดียวกัน ( ไม่ดี )  ขนมจีนชนิดใดมีรสหวาน ก .  น้ำยา ข .  น้ำเงี้ยว ค .  น้ำขลุกขลิก ง .  น้ำพริก ( ดีขึ้น )  ก .  น้ำยา   ข .  น้ำเงี้ยว   ค .  แกงเขียวหวาน   ง .  น้ำพริก
2.  วิธีเขียนตัวเลือก  ( ต่อ ) 2.1  ตัวเลือกต้องมีความเป็นเอกพันธ์ 2)  มีทิศทางเดียวกัน  ( ถ้าคำถามในทางบวก  ตัวเลือกทุกตัวก็จะต้องเป็นในทางบวก ) ( ไม่ดี )  อุตสาหกรรมทำให้เกิด ผลเสียในเรื่องใด ก .  เงินหมุนเวียนมาก ข .  สินค้ามีมากเกินจำเป็น ค .  สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ ตัวเลือกข้อ  ก .  กับ ข้อ ข .  ค .  มีทิศทางสวนกลับกัน ( ดีขึ้น )  ก .  ค่าของเงินตกต่ำ  ข .  สินค้ามีมากเกินจำเป็น ค .  สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ
2.  วิธีเขียนตัวเลือก  ( ต่อ ) 2.1  ตัวเลือกต้องมีความเป็นเอกพันธ์ 3)  มีโครงสร้างสอดคล้องกัน  ( ถ้าเป็นคำหรือวลี ก็ต้องเป็นทุกตัว  ถ้าเป็นประโยคก็ควรเป็นประโยคทุกตัว ) ( ไม่ดี )  คำว่า “คว้าน้ำเหลว”  หมายถึง อะไร ก .  ไม่สำเร็จ ข .  หลงผิด ค .  คนที่ทำสิ่งที่ยากเกินไป ตัวเลือกข้อ  ค .  เป็นประโยค  ข้อ ก .  ข .  เป็นวลี ( ดีขึ้น )  ก .  ไม่สำเร็จ ข .  หลงผิด ค .  ยากเกินไป
2.  วิธีเขียนตัวเลือก  ( ต่อ ) 2.2  หลีกเลี่ยงตัวเลือกแบบปลายปิดปลายเปิด  ( ไม่มีข้อถูก  -  ผิดทุกข้อ  -  ถูกทุกข้อ  -  ถูกข้อ ก .  กับ ข .)  ( ไม่ดี )  โลกมีลักษณะเช่นใด ก .  กลม ข .  แบน ค .  รี ง .  ผิดทุกข้อ ( ดีขึ้น )  โลกมีลักษณะเช่นใด ก .  กลมเหมือนฟุตบอล ข .  กลมเหมือนผลส้ม ค .  แบนเหมือนกระดาน ง .  แบนเหมือนจานข้าว
2.  วิธีเขียนตัวเลือก  ( ต่อ ) 2.3  ใช้ตัวเลือกที่เป็นไปได้  ( ไม่มีตัวลวงที่ผิดอย่างชัดเจน )  ( ไม่ดี )  สัตว์ชนิดใดเป็นพาหะ ของโรคกลัวน้ำ ก .  แมลงวัน ข .  โคกระบือ ค .  ยุงก้นป่อง ( ดีขึ้น )  ก .  แมลงวัน   ข .  แมลงหวี่   ค .  ยุงก้นป่อง
2.  วิธีเขียนตัวเลือก  ( ต่อ ) 2.4  เขียนตัวเลือกให้อิสระขาดจากกัน  ( อย่าให้ตัวเลือกใดเป็นส่วนหนึ่งหรือส่วนประกอบของตัวอื่น )  ( ไม่ดี )  คนไทยส่วนใหญ่ มีอาชีพ อะไร ก .  การทำไร่ ข .  การเกษตร ค .  การค้าขาย ( ดีขึ้น )  ก .  รับราชการ   ข .  การเกษตร   ค .  การค้าขาย
2.  วิธีเขียนตัวเลือก  ( ต่อ ) 2.5  ใช้ภาษาให้รัดกุมชัดเจน  ไม่ควรใช้ถ้อยคำสำนวนที่ยืดยาวหรือใช้ข้อความซ้ำๆ กันในแต่ละตัวเลือก  ( ไม่ดี )  กรุงศรีอยุธยาแตกครั้งที่ สอง เนื่องจากสาเหตุใด ก .  เพราะคนไทยขาดผู้นำ ข .  เพราะคนไทยขาดขวัญ ค .  เพราะคนไทยขาด   ความสามัคคี ( ดีขึ้น )  กรุงศรีอยุธยาแตก ครั้งที่สอง เพราะ คนไทยขาดสิ่งใด ก .  ผู้นำที่เข้มแข็ง ข .  ขวัญและกำลังใจ ค .  ความสามัคคี
2.  วิธีเขียนตัวเลือก  ( ต่อ ) 2.6  ควรเรียงลำดับตัวเลือกที่เป็นตัวเลข   ( ไม่ดี )  กรุงเทพฯ สร้างเสร็จปีใด ก .  พ . ศ .2310 ข .  พ . ศ .2113 ค .  พ . ศ .2315 ( ดีขึ้น ) ก .  พ . ศ . 2113 ข .  พ . ศ . 2310 ค .  พ . ศ .2315
2.  วิธีเขียนตัวเลือก  ( ต่อ ) 2.7  ควรใช้ตัวเลือกที่ผู้เรียนรู้จักและเข้าใจ ( ไม่ดี )  คนผอมควรเลือกรับประทานอาหารชนิดใดต่อไปนี้ ก .  ข้าวซอย  ข .  ข้าวยำ ค .  ข้าวขาหมู ง .  น้ำพริกผักต้ม ไม่ดี เพราะข้อ ก .  และ ข .  เป็นอาหารพื้นเมือง ซึ่งผู้เรียนอาจไม่รู้จัก ( ดีขึ้น ) ก .  ผัดผักน้ำมันหอย ข .  โจ๊ก
2.  วิธีเขียนตัวเลือก  ( ต่อ ) 2.8  หลีกเลี่ยงการแนะคำตอบ   1)  อย่าให้คำถามข้อแรกๆ แนะคำตอบข้อหลังๆ  เช่น  ข้อแรกๆ ถามว่า สีเขียวในใบพืชเรียกอะไร ข้อหลังๆ ถามว่า พืชสีเขียวซึ่งมีคลอโรฟิลล์จะปรุงอาหารได้ต้องอาศัยสิ่งใด
2.  วิธีเขียนตัวเลือก  ( ต่อ ) 2.8  หลีกเลี่ยงการแนะคำตอบ   2)  อย่าให้ตัวถูกมีคำซ้ำกับคำถาม ( ไม่ดี )  เราได้น้ำตาลมาจาก ต้นอะไร ก .  ต้นตาล ข .  ต้นมะม่วง ค .  ต้นปาล์ม ( ดีขึ้น ) ก .  ต้นอ้อย ข .  ต้นมะม่วง ค .  ต้นปาล์ม
2.  วิธีเขียนตัวเลือก  ( ต่อ ) 2.8  หลีกเลี่ยงการแนะคำตอบ   3)  อย่าใช้คำขยายไม่เหมาะสม ( ไม่ดี )  หลังรับประทานอาหาร  ไม่ควรทำสิ่งใด ก .  นั่งเล่น ข .  นอนทันที ค .  ดูโทรทัศน์ ( ดีขึ้น ) ก .  นั่งเล่น ข .  นอนเล่น ค .  ดูโทรทัศน์
2.  วิธีเขียนตัวเลือก  ( ต่อ ) 2.8  หลีกเลี่ยงการแนะคำตอบ   4)  อย่าถามเรื่องที่ผู้เรียนคล่องปากหรือเคยชินเกินไป ( ไม่ดี )  ใจคนเลี้ยวลดเหมือนสิ่งใด ก .  เถาวัลย์ ข .  ถนน ค .  แม่น้ำ ข้อนี้ ข้อ ก .  เป็นการเปรียบเปรยอย่างแพร่หลาย ถือว่าเป็นเรื่องที่คล่องปาก จึงไม่ควรถาม  ควรถามเกี่ยวกับสำนวน สุภาษิตไทย ดีกว่า
2.  วิธีเขียนตัวเลือก  ( ต่อ ) 2.8  หลีกเลี่ยงการแนะคำตอบ   5)  อย่าให้ตัวเลือกที่สั้นยาวต่างกันมาก ( ไม่ดี )  เด็กที่ฟันกำลังขึ้น ควร บำรุงด้วยอาหารประเภทใด ก .  โปรตีน ข .  อาหารทะเล ค .  อาหารประเภทที่มี   แคลเซียมมาก ( ดีขึ้น )  เด็กที่ฟันกำลังขึ้น ควร รับประทานอาหารที่มี แร่ธาตุชนิดใด ก .  เหล็ก ข .  วิตามิน ค .  แคลเซียม
2.  วิธีเขียนตัวเลือก  ( ต่อ ) ในกรณีที่ตัวเลือกใช้คำเฉพาะหรือมีความรัดกุม  แจ่มชัดดีแล้ว ไม่สามารถปรับแก้ให้แต่ละตัวมีความยากพอ ๆ กันได้ ให้ใช้วิธีเรียงตัวเลือกจากตัวที่สั้นไปหาตัวที่ยาว  เช่น ประเทศไทยกำลังพัฒนาอาชีพใด ก .  ทำนา ข .  การค้าขาย ค .  การอุตสาหกรรม
2.  วิธีเขียนตัวเลือก  ( ต่อ ) 2.8  หลีกเลี่ยงการแนะคำตอบ   6)  ควรกระจายตำแหน่งตัวถูก  ควรวางตำแหน่งตัวถูกอย่างสุ่ม ไม่เป็นระบบที่แน่นอนตายตัว กระจายให้ตัวเลือกแต่ละตัว มีจำนวนครั้งที่เป็นตัวถูกเท่าๆ กัน
แบบสอบอัตนัย  ( Eassy Test ) ,[object Object],[object Object],[object Object]
ประเภทของแบบสอบอัตนัย 1.  แบบจำกัดคำตอบ  ( Restricted Response ) เป็นแบบคำถามที่จำกัดให้ตอบทั้งเนื้อหา  ( Content )  และรูปแบบ  ( Form )  การตอบ  จงเปรียบเทียบความแตกต่างที่สำคัญระหว่างประเทศ  อุตสาหกรรม  ( NICS )  กับประเทศเกษตรกรรม ในประเด็นต่อไปนี้ 1.  ระบบการผลิต 2.  รายได้ของประชากร 3.  ปัญหาสังคม
ประเภทของแบบสอบอัตนัย 2.  แบบไม่จำกัดคำตอบ  ( Extended Response ) เป็นแบบคำถามที่เปิดโอกาสให้ผู้สอบตอบได้อย่างเสรี โดยไม่กำหนดขอบเขตของคำถาม แต่จำกัดเวลาในการตอบ จงวิเคราะห์การแก้ปัญหาจราจรในกรุงเทพมหานครของรัฐบาลชุดปัจจุบัน
ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา 1.  การสอบเป็นเครื่องมือวัดผลเพียงอย่างเดียว 2.  คะแนนที่นักเรียนสอบได้ คือ สมรรถภาพของ  ผู้เรียนเท่านั้น 3.  เครื่องมือที่ใช้วัดผลจะเป็นอย่างไรไม่สำคัญ จะพิจารณาคะแนนที่ได้เท่านั้น
ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา 4.  การวัดผลจะต้องมีการแจกแจงเป็นโค้งปกติเสมอ 5.  การสอบคือการควบคุมคุณภาพการศึกษา 6.  ไม่จำเป็นต้องแจ้งให้ผู้เรียนทราบถึงวัตถุประสงค์ของการสอนและการสอบ
ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา 7.  การสอบต้องใช้เวลามากๆ 8.  คะแนนจากการสอบควรเป็นความลับ 9.  การบนบานสิ่งศักดิ์สิทธิ์จะช่วยทำให้สอบได้
The End

Contenu connexe

Tendances

ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำsliderubtumproject.com
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์Jutatip Ni
 
การสร้างกรอบแนวคิด
การสร้างกรอบแนวคิดการสร้างกรอบแนวคิด
การสร้างกรอบแนวคิดPrachyanun Nilsook
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนnang_phy29
 
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์GolFy Faint Smile
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยNU
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัยKruBeeKa
 
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิดสาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิดWareerut Hunter
 
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนแบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนNU
 
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิจัยในชั้นเรียน
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิจัยในชั้นเรียนแบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิจัยในชั้นเรียน
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิจัยในชั้นเรียนNU
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2nang_phy29
 
ระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยKero On Sweet
 

Tendances (19)

PPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัยPPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัย
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์
 
023 qualitative research
023 qualitative research023 qualitative research
023 qualitative research
 
5 การประเมินโครงการ 5
5 การประเมินโครงการ 55 การประเมินโครงการ 5
5 การประเมินโครงการ 5
 
การสร้างกรอบแนวคิด
การสร้างกรอบแนวคิดการสร้างกรอบแนวคิด
การสร้างกรอบแนวคิด
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
 
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
ppt
pptppt
ppt
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัย
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิดสาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
 
Research1
Research1Research1
Research1
 
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนแบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
 
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิจัยในชั้นเรียน
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิจัยในชั้นเรียนแบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิจัยในชั้นเรียน
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิจัยในชั้นเรียน
 
การนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัยการนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัย
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
 
ระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัย
 

En vedette

การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนsalinkarn sampim
 
การพัฒนานวัตกรรมในการวิจัย
การพัฒนานวัตกรรมในการวิจัยการพัฒนานวัตกรรมในการวิจัย
การพัฒนานวัตกรรมในการวิจัยNU
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาWanlayaa
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Natcha Wannakot
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Sasitorn Seajew
 
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาPrakaidao Suebwong
 
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาParitat Pichitmal
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้panisa thepthawat
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Aon Onuma
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทNGamtip
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
Teaching Students with Emojis, Emoticons, & Textspeak
Teaching Students with Emojis, Emoticons, & TextspeakTeaching Students with Emojis, Emoticons, & Textspeak
Teaching Students with Emojis, Emoticons, & TextspeakShelly Sanchez Terrell
 
Study: The Future of VR, AR and Self-Driving Cars
Study: The Future of VR, AR and Self-Driving CarsStudy: The Future of VR, AR and Self-Driving Cars
Study: The Future of VR, AR and Self-Driving CarsLinkedIn
 
Hype vs. Reality: The AI Explainer
Hype vs. Reality: The AI ExplainerHype vs. Reality: The AI Explainer
Hype vs. Reality: The AI ExplainerLuminary Labs
 

En vedette (16)

การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
03
0303
03
 
การพัฒนานวัตกรรมในการวิจัย
การพัฒนานวัตกรรมในการวิจัยการพัฒนานวัตกรรมในการวิจัย
การพัฒนานวัตกรรมในการวิจัย
 
คณิต
คณิตคณิต
คณิต
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
Teaching Students with Emojis, Emoticons, & Textspeak
Teaching Students with Emojis, Emoticons, & TextspeakTeaching Students with Emojis, Emoticons, & Textspeak
Teaching Students with Emojis, Emoticons, & Textspeak
 
Study: The Future of VR, AR and Self-Driving Cars
Study: The Future of VR, AR and Self-Driving CarsStudy: The Future of VR, AR and Self-Driving Cars
Study: The Future of VR, AR and Self-Driving Cars
 
Hype vs. Reality: The AI Explainer
Hype vs. Reality: The AI ExplainerHype vs. Reality: The AI Explainer
Hype vs. Reality: The AI Explainer
 

Similaire à 2222

การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นPongtong Kannacham
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8Narut Keatnima
 
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงการออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงคุณครูพี่อั๋น
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์korakate
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนAj Ob Panlop
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
การประเมินสถานศึกษา
การประเมินสถานศึกษาการประเมินสถานศึกษา
การประเมินสถานศึกษาCha-am Chattraphon
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----Alatreon Deathqz
 
การวัดและประเมินผลทักษะการคิด
การวัดและประเมินผลทักษะการคิดการวัดและประเมินผลทักษะการคิด
การวัดและประเมินผลทักษะการคิดIct Krutao
 
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2krupornpana55
 

Similaire à 2222 (20)

เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้น
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงการออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
การประเมินสถานศึกษา
การประเมินสถานศึกษาการประเมินสถานศึกษา
การประเมินสถานศึกษา
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
Surapol3
Surapol3Surapol3
Surapol3
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
 
การวัดและประเมินผลทักษะการคิด
การวัดและประเมินผลทักษะการคิดการวัดและประเมินผลทักษะการคิด
การวัดและประเมินผลทักษะการคิด
 
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2
 

2222

  • 1. การสาร้างผลงานวิชาการ จากงานในหน้าที่ ดร . คมศร วงษ์รักษา ณ โรงแรมอเล็กซานเดอร์ กรุงเทพฯ 23 มิถุนายน 2549 โดย
  • 2. ผลงานวิชาการ หมายถึง เอกสารหรือหลักฐานที่จัดทำขึ้นจากความรู้ ความสามารถ ทักษะ และประสบการณ์ของผู้จัดทำโดยการศึกษษ ค้นคว้า วิเคราะห์ สังเคราะห์ วิจัย และนำไปใช้ประโยชน์ในการแก้ปัญหา หรือพัฒนางานในหน้าที่ และเป็นประโยชน์ต่อความก้าวหน้าทางวิชาการ
  • 3. งานของครู 1. งานตามหน้าที่ 2. งานพิเศษ
  • 4. 1. พัฒนาคน 2. พัฒนากระบวนการ 3. พัฒนานวัตกรรม งานศึกษานิเทศก์
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21. กระบวนการทำวิจัยในชั้นเรียน วิเคราะห์ปัญหา การเรียนการสอน พิจารณาจาก การเรียนการสอนในชั้น ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง นำปัญหามาเชื่อม โยง กับทฤษฎีและหลักการต่างๆ
  • 22. กระบวนการทำวิจัยในชั้นเรียน พัฒนานวัตกรรมที่เกี่ยวข้อง * สร้างนวัตกรรม * หาประสิทธิภาพ ออกแบบการวิจัย * แผนการวิจัย * ประชากร กลุ่มตัวอย่าง * เครื่องมือ ( สร้าง และหาคุณภาพ ) * การรวบรวมข้อมูล * การวิเคราะห์ข้อมูล
  • 24.
  • 25.
  • 26.
  • 27.
  • 28.
  • 29.
  • 30. ประเภทของนวัตกรรมทางการศึกษา สื่อการสอน เทคนิควิธีการสอน สื่อสิ่งพิมพ์ - เอกสารประกอบการสอน - บทเรียนสำเร็จรูป - ชุดการสอน - รายงานการศึกษาค้นคว้า - รายงานโครงการ ฯลฯ สื่อโสต - ภาพยนตร์ วีดิทัศน์ - สไลด์ แผ่นใส - คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน - เทปเพลง เทปเสียง - หุ่นจำลอง ฯลฯ - การสอนแบบศูนย์การเรียน - การสอนด้วยการแสดงบทบาทสมมติ - การสอนเพื่อเสริมสร้างลักษณะนิสัย - การสอนโดยใช้เทคนิคการสอนซ่อมเสริม - การสอนแบบโครงการ ฯลฯ
  • 32. กระบวนการสร้างนวัตกรรมทางการศึกษา ทดลองใช้นวัตกรรม ผลการทดลองใช้ ปรับปรุงต้นแบบ ใช้ไม่ได้ ใช้ได้ เผยแพร่นวัตกรรม
  • 33.
  • 34.
  • 35.
  • 36. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ปวช . 1 วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง “แรง” ระหว่างวิธี การสอนแบบโครงงานและวิธีการสอนโดยใช้สื่อ CAI วัตถุประสงค์ - การเปรียบเทียบ ตัวแปร ตัวแปรต้น - วิธีการสอนแบบโครงงาน - วิธีการสอนโดยใช้สื่อ CAI ตัวแปรตาม - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ประชากรหรือกลุ่มตัวอย่าง - นักเรียน ปวช . 1 แผนกช่างไฟฟ้า
  • 37.
  • 38.
  • 39.
  • 40.
  • 41.
  • 42.
  • 43.
  • 44.
  • 45.
  • 46.
  • 47.
  • 48.
  • 50. 1. แบบสัมภาษณ์ 2. แบบสังเกต 3. แบบสอบถาม 4. แบบประเมิน 5. แบบสำรวจ 6. แบบบันทึก ประเภทของเครื่องมือ
  • 51. คุณลักษณะของแบบสอบที่ดี 1. มีความตรง ( Validity ) แบบสอบจะต้องมีความแม่นยำของคะแนนในการวัด สิ่งที่ต้องการ สามารถบอกสภาพที่แท้จริงหรือพยากรณ์ได้ถูกต้องแม่นยำ - ความตรงเชิงเนื้อหา ( Content Validity ) - ความตรงเชิงโครงสร้าง ( Criterion-related Validity ) - ความตรงเชิงทำนาย ( Predictive Validity )
  • 52. คุณลักษณะของแบบสอบที่ดี 2. มีความเที่ยง ( Reliability ) ความคงเส้นคงวาของคะแนนสอบ ใช้สอบซ้ำกับผู้สอบคนเดียวกันควรจะได้คะแนนเท่ากัน
  • 53. คุณลักษณะของแบบสอบที่ดี 3. มีระดับความยากง่าย ( Difficulty index ) พอเหมาะ แบบสอบจะต้องมีความยากเหมาะสมกับระดับผู้สอบ
  • 54. คุณลักษณะของแบบสอบที่ดี 4. มีอำนาจจำแนก ( Discrimination power ) แบบสอบสามารถจำแนกคนเก่งและคนอ่อนออกจากกันได้
  • 55. คุณลักษณะของแบบสอบที่ดี 6. มีความยุติธรรม ( Fairness ) ผู้สอบทุกคนมีโอกาสที่จะตอบถูก ถ้ามี ความรู้ในเนื้อหาข้อสอบ แต่ถ้าไม่รู้ในเนื้อหาก็ตอบไม่ได้
  • 56. คุณลักษณะของแบบสอบที่ดี 7. ประสิทธิภาพในการนำไปใช้ ( Efficiency ) แบบสอบจะต้องประหยัดเวลาในการสร้าง ดำเนินการสอบได้ง่าย ให้คะแนนได้ง่าย ประหยัดค่าใช้จ่ายในการสอบ
  • 57. คุณลักษณะของแบบสอบที่ดี 8. ความจำเพาะเจาะจง ( Specific ) ผู้ที่มีความรู้ความสามารถเฉพาะใน เรื่องนั้นๆ จึงจะตอบข้อนั้นได้ เปรียบเทียบกลุ่มที่มีความรู้เฉพาะ กับกลุ่มฉลาดที่ไม่มีความรู้เฉพาะ กลุ่มแรกทำแบบสอบได้ดีกว่ากลุ่มหลัง
  • 58. คุณลักษณะของแบบสอบที่ดี 9. มีการกระตุ้นยุแหย่ ( Exemplary ) แบบสอบที่มีการถามล่อ โดยจัดข้อกระทงง่ายๆ ไว้ตอนแรกๆ แล้วจึงค่อยๆ ถามให้ยากขึ้นตามลำดับ
  • 59. คุณลักษณะของแบบสอบที่ดี 10. การวัดอย่างลึกซึ้ง ( Searching ) ลักษณะของแบบสอบที่ถามครอบคลุม พฤติกรรมหลายๆ ด้าน ไม่ใช่วัดแต่ความรู้ความจำอย่างเดียว
  • 60. ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบ 1. กำหนดวัตถุประสงค์ของการสอบ - ทดสอบเพื่อจัดตำแหน่ง จัดกลุ่ม - ทดสอบเพื่อกำกับดูแล - ทดสอบเพื่อวินิจฉัย - ทดสอบเพื่อสรุปผล
  • 61. ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบ 2. วิเคราะห์หลักสูตร เป็นกระบวนการที่จะช่วยให้ผู้สอนทราบว่า ใน รายวิชานั้นๆ มีจุดประสงค์ที่จะต้องสอนให้ผู้เรียนเกิดพฤติกรรมอะไร มีเนื้อหาอะไรบ้าง และจะออกข้อสอบอย่างไร จึงจะ สอดคล้องกับการสอนและสัมพันธ์กับจุดประสงค์ของหลักสูตร
  • 62. ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบ 3. เลือกประเภทข้อสอบ ควรเลือกข้อสอบให้เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด ที่นิยมใช้ คือ 1) ข้อสอบปรนัย 2) ข้อสอบอัตนัย
  • 63. ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบ 4. เขียนและทำร่างข้อสอบ จากเนื้อหาและวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ต้องการวัด ผู้เขียนข้อสอบจะต้องสร้างสถานการณ์ สร้างปัญหา และกำหนดกิจกรรมย่อยๆ ขึ้น เพื่อใช้เป็นคำถาม ถ้าเป็นข้อสอบแบบเลือกตอบก็ต้องกำหนดตัวเลือกให้ด้วย
  • 64. ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบ 5. จัดทำชุดแบบสอบ เมื่อสร้างข้อสอบเสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็ถึงการจัดทำเป็นชุดแบบสอบ โดย 1. ทบทวนและคัดเลือกข้อสอบ 2. จัดเรียงข้อสอบ ตามความง่ายยาก ตามเนื้อหา 3. จัดทำคำสั่ง คำชี้แจง
  • 65. ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบ 6. นำแบบสอบไปใช้ 7. ตรวจและประเมินผล 8. นำผลการสอบไปใช้
  • 66. ประเภทของข้อสอบ 1. แบบสอบปรนัย ( Objective Test ) 2. แบบสอบอัตนัย ( Eassy Test )
  • 67.
  • 68. ประเภทของแบบสอบปรนัย 1. แบบเขียนตอบ ( Supply item types ) 1.1 แบบตอบสั้น ( Short-answer item ) 1.2 แบบเติมคำ (Completion item ) 2. แบบเลือกตอบ ( Selection item types ) 2.1 แบบถูก - ผิด ( True false item ) 2.2 แบบจับคู่ ( Matching item ) 2.3 แบบเลือกตอบ ( Multiple choice item )
  • 69. 1.1 แบบตอบสั้น ( Short-answer item ) ผู้ตอบต้องหาคำตอบเอง แต่เป็นคำตอบสั้นๆ เหมาะสำหรับใช้วัดความรู้ความจำเกี่ยวกับคำศัพท์ ข้อเท็จจริง หลักการ เช่น - สูตรกรดไฮโครคลอริค เขียนอย่างไร ( HCL ) - นายอานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรี คนที่เท่าไร ( คนที่ 18)
  • 70. 1.2 แบบเติมคำ (Completion item ) มีลักษณะการใช้เหมือนแบบตอบสั้น ต่างกันที่การถาม แบบเติมคำจะเว้นช่องว่างไว้ให้เติาคำตอบ ตัวคำถามจะเป็นประโยคไม่สมบูรณ์ เช่น - สูตรกรดไฮโครคลอริค เขียนว่า…………… . - นายอานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรี คนที่………………… ...
  • 71.
  • 72. 2.2 แบบจับคู่ ( Matching item ) ให้เลือกจับคู่ระหว่างคำหรือข้อความสองแถว เหมาะสำหรับวัดความรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริง คำศัพท์ หลักการ ความสัมพันธ์ และการตีความในเรื่องเดียวกัน เช่น ( B ) 1. Walk A. Adjective (C) 2. And B.Verb C.Conjunction
  • 73. 2.3 แบบเลือกตอบ ( Multiple choice item ) ให้เลือกตอบจากคำตอบที่กำหนดให้ นิยมใช้ ทั่วไป วัดผลการเรียนรู้ได้เกือบทุกระดับ สร้างยาก เสียเวลาสร้างมาก
  • 75. 1. วิธีเขียนตัวคำถามหรือโจทย์ 1.1 ควรใช้ประโยคคำถาม ( ไม่ดี ) นักเรียนที่ดีมีหน้าที่ ก . เชื่อฟังครู ข . ช่วยพ่อแม่ ค . เคารพผู้ใหญ่ ง . ตั้งใจเล่าเรียน ไม่ดี เพราะคำถามบอกเล่าทำให้ขาดความชัดเจน บางครั้งสิ่งที่ต้องการถามขาดน้ำหนักจนเกิดความคลุมเครือ ( ดี ) นักเรียนที่ดีควรมี หน้าที่อย่างไร
  • 76. 1. วิธีเขียนตัวคำถามหรือโจทย์ ( ต่อ ) 1.2 เน้นจุดที่จะถามให้ชัดเจน ( ไม่ดี ) อาหารชนิดใดต่างจาก ชนิดอื่น ก . ไข่ ข . นม ค . ข้าว ง . ปลา ไม่ดี เพราะไม่บอกว่าต้องการถามด้านไหน จะยึดสิ่งใดเป็นหลักในการพิจารณา ทำให้ เข้าใจไปคนละทาง ( ดี ) อาหารชนิดใดให้คุณค่า ต่างจากชนิดอื่น
  • 77. 1. วิธีเขียนตัวคำถามหรือโจทย์ ( ต่อ ) 1.3 ถามให้ตรงตามเนื้อหาที่ต้องการ ( ไม่ดี ) This is A. Lao B. Japan C. Thailand D. Malysia ไม่ดี เพราะไม่ได้วัดความสามารถทางภาษาอังกฤษอย่างแท้จริง ผู้ตอบต้องอาศัยความรู้ในวิชาภูมิศาสตร์เป็นหลัก ( ดี ) This is A. map B. view C. photo D. picture
  • 78. 1. วิธีเขียนตัวคำถามหรือโจทย์ ( ต่อ ) 1.4 ถามในสิ่งที่ดีหรือเป็นประโยชน์ ( ไม่ดี ) การเป็นหวัดดีอย่างไร ก . ได้ชะล้างจมูก ข . ไม่ต้องอาบน้ำ ค . ไม่ได้กลิ่นเหม็น ง . ไม่มีใครรบกวน ไม่ดี เพราะถามสิ่งที่ไม่ดี ในแง่ดี และไม่เป็นตามหลักวิชา ( ดี ) การเป็นหวัด แสดงว่า ร่างกายอยู่ในสภาพใด ก . แข็งแรง ข . อ่อนแอ ค . ปกติ ง . พิการ
  • 79. 1. วิธีเขียนตัวคำถามหรือโจทย์ ( ต่อ ) 1.4 ถามในสิ่งที่ดีหรือเป็นประโยชน์ ( ต่อ ) ( ไม่ดี ) ความเสียสละ มักให้ ผลเสียในด้านใด ก . เวลา ข . แรงงาน ค . ความคิด ง . ทรัพย์สิน ไม่ดี เพราะถามในสิ่งที่ขัดแย้งกับการยอมรับของสังคม ( ดี ) การเสียสละ ก่อให้เกิด ผลดีในด้านใดแก่สังคม ก . ความอยู่รอด ข . ความเห็นใจกัน ค . ความสามัคคี
  • 80. 1. วิธีเขียนตัวคำถามหรือโจทย์ ( ต่อ ) 1.5 ถามสิ่งที่สามารถหาข้อยุติได้ตามหลักวิชาการ ( ไม่ดี ) ถ้าโลกนี้ไม่มีน้ำมัน จะเป็นอย่างไร ก . การพัฒนาจะหยุด ข . ต้องใช้แรงงานสัตว์ ค . มนุษย์ขาดการติดต่อ ง . เข้าสู่ยุคโบราณ ไม่ดี เพราะเป็นการถามเงื่อนไขหรือสภาวะที่อธิบายได้ยาก ไม่มีหลักวิชายืนยันได้แน่นอน ( ดี ) การขาดแคลนน้ำมัน จะกระทบต่อกิจการใด มากที่สุด ก . การเกษตร ข . การคมนาคม
  • 81. 1. วิธีเขียนตัวคำถามหรือโจทย์ ( ต่อ ) 1.6 ถามให้ใช้ความคิด ไม่ควรถามเฉพาะความจำที่ไม่ใช่สาระสำคัญที่ควรจดจำ ควรถามให้นำความจำไปใช้ ( ไม่ดี ) ข้อใดเป็นแม่สี ก . ขาว - แดง ข . เขียว - แดง ค . น้ำเงิน - แดง ง . น้ำเงิน - เหลือง ไม่ดี เพราะเป็นการวัดความจำพื้นฐาน ซึ่งไม่น่าจะเป็นหลักสำคัญ ควรสนใจในการใช้สี มากกว่า ( ดี ) เมื่อวาดรูปพุ่มไม้ ควร ระบายด้วยสีคู่ใด
  • 82. 1. วิธีเขียนตัวคำถามหรือโจทย์ ( ต่อ ) 1.6 ถามให้ใช้ความคิด ไม่ควรถามเฉพาะความจำที่ไม่ใช่สาระสำคัญที่ควรจดจำ ควรถามให้นำความจำไปใช้ ( ไม่ดี ) โลกห่างจาก พระอาทิตย์กี่ไมล์ ไม่ดี เพราะเป็นการถามความจำที่เป็นรายละเอียดมากเกินไป ทั้งยังใช้หน่วยที่ไม่ได้ใช้ในชีวิตประจำวันอีกด้วย ( ดี ) ถ้าดวงอาทิตย์มีขนาด เท่าฟุตบอล โลกควรจะมี ขนาดเท่าสิ่งใด ก . มะนาว ข . เม็ดถั่วเขียว ค . บาสเก็ตบอล
  • 83. 1. วิธีเขียนตัวคำถามหรือโจทย์ ( ต่อ ) 1.7 อย่าใช้ภาษาฟุ่มเฟือย ( ไม่ดี ) การรับประทานส้ม เป็นประจำ จะทำให้ ร่างกายได้รับวิตามิน ชนิดใด ไม่ดี เพราะบางข้อความไม่จำเป็นต้องกล่าวถึง ทำให้จุดที่ต้องการถามมีน้ำหนักเบาหรือไม่ถูกเน้นเท่าที่ควร ( ดี ) ส้มให้วิตามินชนิดใด
  • 84. 1. วิธีเขียนตัวคำถามหรือโจทย์ ( ต่อ ) 1.8 ใช้ภาษาให้เหมาะสมกับผู้เรียน ( ไม่ดี ) อาหารชนิดใดที่ คนผอมควร บริโภค สุกร 20 ตัวมี ปริมาณ ขากี่ขา ไม่ดี เพราะถ้าไม่ได้มุ่งวัดการแปลคำศัพท์แล้ว ต้องมั่นใจว่า ผู้เรียนเข้าใจความหมายของคำ ( ดี ) อาหารชนิดใดที่คนผอม ควรรับประทาน หมู 20 ตัวมีกี่ขา
  • 85. 1. วิธีเขียนตัวคำถามหรือโจทย์ ( ต่อ ) 1.9 หลีกเลี่ยงคำถามปฏิเสธ ( ไม่ดี ) ถ้าต้นไม้ไม่ได้รับ แสงแดด ใบจะไม่มี ลักษณะอย่างไร ไม่ดี เพราะวกวน เข้าใจยาก เป็นคำถามที่วัดความสามารถด้านภาษามากเกินไป ( ดี ) ต้นไม้ที่ได้รับแสงแดด ใบจะมีลักษณะอย่างไร ถ้าต้นไม้ ไม่ได้ รับ แสงแดด ใบจะมีลักษณะ อย่างไร
  • 86. 1. วิธีเขียนตัวคำถามหรือโจทย์ ( ต่อ ) 1.10 ควรใช้คำถามที่ยั่วยุหรือชวนให้คิด ได้แก่ คำถามที่ถามเรื่องใกล้ตัว พาดพิงกับชีวิตประจำวันของ ผู้เรียน นอกจากนั้นการใช้รูปภาพในการถามจะช่วยเร้าความสนใจได้เป็นอย่างดี ( ไม่ดี ) 1/3 มีค่าเท่ากับ เศษส่วนในข้อใด ( ดี ) ส่วนแรเงาในภาพมีค่า เท่าใด
  • 87. 2. วิธีเขียนตัวเลือก 2.1 ตัวเลือกต้องมีความเป็นเอกพันธ์ 1) เป็นเรื่องราวเดียวกัน เป็นพวกเดียวกัน หรือประเภทเดียวกัน ( ไม่ดี ) ขนมจีนชนิดใดมีรสหวาน ก . น้ำยา ข . น้ำเงี้ยว ค . น้ำขลุกขลิก ง . น้ำพริก ( ดีขึ้น ) ก . น้ำยา ข . น้ำเงี้ยว ค . แกงเขียวหวาน ง . น้ำพริก
  • 88. 2. วิธีเขียนตัวเลือก ( ต่อ ) 2.1 ตัวเลือกต้องมีความเป็นเอกพันธ์ 2) มีทิศทางเดียวกัน ( ถ้าคำถามในทางบวก ตัวเลือกทุกตัวก็จะต้องเป็นในทางบวก ) ( ไม่ดี ) อุตสาหกรรมทำให้เกิด ผลเสียในเรื่องใด ก . เงินหมุนเวียนมาก ข . สินค้ามีมากเกินจำเป็น ค . สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ ตัวเลือกข้อ ก . กับ ข้อ ข . ค . มีทิศทางสวนกลับกัน ( ดีขึ้น ) ก . ค่าของเงินตกต่ำ ข . สินค้ามีมากเกินจำเป็น ค . สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ
  • 89. 2. วิธีเขียนตัวเลือก ( ต่อ ) 2.1 ตัวเลือกต้องมีความเป็นเอกพันธ์ 3) มีโครงสร้างสอดคล้องกัน ( ถ้าเป็นคำหรือวลี ก็ต้องเป็นทุกตัว ถ้าเป็นประโยคก็ควรเป็นประโยคทุกตัว ) ( ไม่ดี ) คำว่า “คว้าน้ำเหลว” หมายถึง อะไร ก . ไม่สำเร็จ ข . หลงผิด ค . คนที่ทำสิ่งที่ยากเกินไป ตัวเลือกข้อ ค . เป็นประโยค ข้อ ก . ข . เป็นวลี ( ดีขึ้น ) ก . ไม่สำเร็จ ข . หลงผิด ค . ยากเกินไป
  • 90. 2. วิธีเขียนตัวเลือก ( ต่อ ) 2.2 หลีกเลี่ยงตัวเลือกแบบปลายปิดปลายเปิด ( ไม่มีข้อถูก - ผิดทุกข้อ - ถูกทุกข้อ - ถูกข้อ ก . กับ ข .) ( ไม่ดี ) โลกมีลักษณะเช่นใด ก . กลม ข . แบน ค . รี ง . ผิดทุกข้อ ( ดีขึ้น ) โลกมีลักษณะเช่นใด ก . กลมเหมือนฟุตบอล ข . กลมเหมือนผลส้ม ค . แบนเหมือนกระดาน ง . แบนเหมือนจานข้าว
  • 91. 2. วิธีเขียนตัวเลือก ( ต่อ ) 2.3 ใช้ตัวเลือกที่เป็นไปได้ ( ไม่มีตัวลวงที่ผิดอย่างชัดเจน ) ( ไม่ดี ) สัตว์ชนิดใดเป็นพาหะ ของโรคกลัวน้ำ ก . แมลงวัน ข . โคกระบือ ค . ยุงก้นป่อง ( ดีขึ้น ) ก . แมลงวัน ข . แมลงหวี่ ค . ยุงก้นป่อง
  • 92. 2. วิธีเขียนตัวเลือก ( ต่อ ) 2.4 เขียนตัวเลือกให้อิสระขาดจากกัน ( อย่าให้ตัวเลือกใดเป็นส่วนหนึ่งหรือส่วนประกอบของตัวอื่น ) ( ไม่ดี ) คนไทยส่วนใหญ่ มีอาชีพ อะไร ก . การทำไร่ ข . การเกษตร ค . การค้าขาย ( ดีขึ้น ) ก . รับราชการ ข . การเกษตร ค . การค้าขาย
  • 93. 2. วิธีเขียนตัวเลือก ( ต่อ ) 2.5 ใช้ภาษาให้รัดกุมชัดเจน ไม่ควรใช้ถ้อยคำสำนวนที่ยืดยาวหรือใช้ข้อความซ้ำๆ กันในแต่ละตัวเลือก ( ไม่ดี ) กรุงศรีอยุธยาแตกครั้งที่ สอง เนื่องจากสาเหตุใด ก . เพราะคนไทยขาดผู้นำ ข . เพราะคนไทยขาดขวัญ ค . เพราะคนไทยขาด ความสามัคคี ( ดีขึ้น ) กรุงศรีอยุธยาแตก ครั้งที่สอง เพราะ คนไทยขาดสิ่งใด ก . ผู้นำที่เข้มแข็ง ข . ขวัญและกำลังใจ ค . ความสามัคคี
  • 94. 2. วิธีเขียนตัวเลือก ( ต่อ ) 2.6 ควรเรียงลำดับตัวเลือกที่เป็นตัวเลข ( ไม่ดี ) กรุงเทพฯ สร้างเสร็จปีใด ก . พ . ศ .2310 ข . พ . ศ .2113 ค . พ . ศ .2315 ( ดีขึ้น ) ก . พ . ศ . 2113 ข . พ . ศ . 2310 ค . พ . ศ .2315
  • 95. 2. วิธีเขียนตัวเลือก ( ต่อ ) 2.7 ควรใช้ตัวเลือกที่ผู้เรียนรู้จักและเข้าใจ ( ไม่ดี ) คนผอมควรเลือกรับประทานอาหารชนิดใดต่อไปนี้ ก . ข้าวซอย ข . ข้าวยำ ค . ข้าวขาหมู ง . น้ำพริกผักต้ม ไม่ดี เพราะข้อ ก . และ ข . เป็นอาหารพื้นเมือง ซึ่งผู้เรียนอาจไม่รู้จัก ( ดีขึ้น ) ก . ผัดผักน้ำมันหอย ข . โจ๊ก
  • 96. 2. วิธีเขียนตัวเลือก ( ต่อ ) 2.8 หลีกเลี่ยงการแนะคำตอบ 1) อย่าให้คำถามข้อแรกๆ แนะคำตอบข้อหลังๆ เช่น ข้อแรกๆ ถามว่า สีเขียวในใบพืชเรียกอะไร ข้อหลังๆ ถามว่า พืชสีเขียวซึ่งมีคลอโรฟิลล์จะปรุงอาหารได้ต้องอาศัยสิ่งใด
  • 97. 2. วิธีเขียนตัวเลือก ( ต่อ ) 2.8 หลีกเลี่ยงการแนะคำตอบ 2) อย่าให้ตัวถูกมีคำซ้ำกับคำถาม ( ไม่ดี ) เราได้น้ำตาลมาจาก ต้นอะไร ก . ต้นตาล ข . ต้นมะม่วง ค . ต้นปาล์ม ( ดีขึ้น ) ก . ต้นอ้อย ข . ต้นมะม่วง ค . ต้นปาล์ม
  • 98. 2. วิธีเขียนตัวเลือก ( ต่อ ) 2.8 หลีกเลี่ยงการแนะคำตอบ 3) อย่าใช้คำขยายไม่เหมาะสม ( ไม่ดี ) หลังรับประทานอาหาร ไม่ควรทำสิ่งใด ก . นั่งเล่น ข . นอนทันที ค . ดูโทรทัศน์ ( ดีขึ้น ) ก . นั่งเล่น ข . นอนเล่น ค . ดูโทรทัศน์
  • 99. 2. วิธีเขียนตัวเลือก ( ต่อ ) 2.8 หลีกเลี่ยงการแนะคำตอบ 4) อย่าถามเรื่องที่ผู้เรียนคล่องปากหรือเคยชินเกินไป ( ไม่ดี ) ใจคนเลี้ยวลดเหมือนสิ่งใด ก . เถาวัลย์ ข . ถนน ค . แม่น้ำ ข้อนี้ ข้อ ก . เป็นการเปรียบเปรยอย่างแพร่หลาย ถือว่าเป็นเรื่องที่คล่องปาก จึงไม่ควรถาม ควรถามเกี่ยวกับสำนวน สุภาษิตไทย ดีกว่า
  • 100. 2. วิธีเขียนตัวเลือก ( ต่อ ) 2.8 หลีกเลี่ยงการแนะคำตอบ 5) อย่าให้ตัวเลือกที่สั้นยาวต่างกันมาก ( ไม่ดี ) เด็กที่ฟันกำลังขึ้น ควร บำรุงด้วยอาหารประเภทใด ก . โปรตีน ข . อาหารทะเล ค . อาหารประเภทที่มี แคลเซียมมาก ( ดีขึ้น ) เด็กที่ฟันกำลังขึ้น ควร รับประทานอาหารที่มี แร่ธาตุชนิดใด ก . เหล็ก ข . วิตามิน ค . แคลเซียม
  • 101. 2. วิธีเขียนตัวเลือก ( ต่อ ) ในกรณีที่ตัวเลือกใช้คำเฉพาะหรือมีความรัดกุม แจ่มชัดดีแล้ว ไม่สามารถปรับแก้ให้แต่ละตัวมีความยากพอ ๆ กันได้ ให้ใช้วิธีเรียงตัวเลือกจากตัวที่สั้นไปหาตัวที่ยาว เช่น ประเทศไทยกำลังพัฒนาอาชีพใด ก . ทำนา ข . การค้าขาย ค . การอุตสาหกรรม
  • 102. 2. วิธีเขียนตัวเลือก ( ต่อ ) 2.8 หลีกเลี่ยงการแนะคำตอบ 6) ควรกระจายตำแหน่งตัวถูก ควรวางตำแหน่งตัวถูกอย่างสุ่ม ไม่เป็นระบบที่แน่นอนตายตัว กระจายให้ตัวเลือกแต่ละตัว มีจำนวนครั้งที่เป็นตัวถูกเท่าๆ กัน
  • 103.
  • 104. ประเภทของแบบสอบอัตนัย 1. แบบจำกัดคำตอบ ( Restricted Response ) เป็นแบบคำถามที่จำกัดให้ตอบทั้งเนื้อหา ( Content ) และรูปแบบ ( Form ) การตอบ จงเปรียบเทียบความแตกต่างที่สำคัญระหว่างประเทศ อุตสาหกรรม ( NICS ) กับประเทศเกษตรกรรม ในประเด็นต่อไปนี้ 1. ระบบการผลิต 2. รายได้ของประชากร 3. ปัญหาสังคม
  • 105. ประเภทของแบบสอบอัตนัย 2. แบบไม่จำกัดคำตอบ ( Extended Response ) เป็นแบบคำถามที่เปิดโอกาสให้ผู้สอบตอบได้อย่างเสรี โดยไม่กำหนดขอบเขตของคำถาม แต่จำกัดเวลาในการตอบ จงวิเคราะห์การแก้ปัญหาจราจรในกรุงเทพมหานครของรัฐบาลชุดปัจจุบัน
  • 106. ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา 1. การสอบเป็นเครื่องมือวัดผลเพียงอย่างเดียว 2. คะแนนที่นักเรียนสอบได้ คือ สมรรถภาพของ ผู้เรียนเท่านั้น 3. เครื่องมือที่ใช้วัดผลจะเป็นอย่างไรไม่สำคัญ จะพิจารณาคะแนนที่ได้เท่านั้น
  • 107. ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา 4. การวัดผลจะต้องมีการแจกแจงเป็นโค้งปกติเสมอ 5. การสอบคือการควบคุมคุณภาพการศึกษา 6. ไม่จำเป็นต้องแจ้งให้ผู้เรียนทราบถึงวัตถุประสงค์ของการสอนและการสอบ
  • 108. ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา 7. การสอบต้องใช้เวลามากๆ 8. คะแนนจากการสอบควรเป็นความลับ 9. การบนบานสิ่งศักดิ์สิทธิ์จะช่วยทำให้สอบได้