SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  21
Télécharger pour lire hors ligne
เอกสารประกอบการสอน วิชา  427-302 Methods of Social Sciences Research เรื่อง  Conceptual Frame
กรอบแนวความคิดในการวิจัย  (Conceptual Framework) ความหมาย   แบบจำลองที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร สร้างขึ้นโดยใช้ทฤษฎี ข้อสรุปเชิงประจักษ์ ข้อมูลจากสมมุติฐานและผลงานวิจัย นำมาสังเคราะห์เพื่อให้ผู้วิจัยเกิดมุมมองภาพรวมของงานวิจัยเรื่องนั้น
กรอบแนวความคิดในการวิจัย  (Conceptual Framework)    แบบจำลองที่ใช้แทนความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันระหว่างปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในเรื่องที่ศึกษาว่ามีแนวคิดที่สำคัญอะไรบ้างในปรากฏการณ์นั้น  ตัวแปร หรือปรากฏการณ์เชื่อมโยงเกี่ยวกันอย่างไร  เพื่อจะนำความสัมพันธ์ที่คิดขึ้นไปตรวจสอบกับข้อมูลเชิงประจักษ์ต่อไปว่ามีความสอดคล้องกันหรือไม่
กรอบแนวความคิดในการวิจัย  (Conceptual Framework)    เป็นภาพพจน์ ที่กำหนดว่าตัวแปรต่างๆ ที่ผู้วิจัยจะศึกษามีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันอย่างไร  ปัญหาที่ตั้งไว้แต่ละข้อจะหาคำตอบได้อย่างไร  ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยอย่างไรจึงจะค้นหาคำตอบในปัญหาเหล่านั้น
กรอบแนวความคิดในการวิจัย  (Conceptual Framework) ความหมาย   เป็นภาพสรุปสุดท้ายของการทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้อง  เป็นผลรวมความคิดของผู้วิจัยกับเรื่องราวทางทฤษฎีต่างๆ  เป็นแนวคิดของผู้วิจัยที่ต้องการหลักฐานเชิงประจักษ์ มาพิสูจน์ความถูกต้อง
กรอบแนวความคิดในการวิจัย  (Conceptual Framework) เป็นกรอบของการวิจัย ด้านเนื้อหาสาระ ประกอบด้วย ตัวแปร และการระบุความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
กรอบแนวความคิดในการวิจัย  (Conceptual Framework) สรุป   หมายถึง การนำเสนอภาพรวมๆ ของงานวิจัยที่ผู้วิจัยจะทำโดยกำหนดออกมาให้เห็นรูปธรรมชัดเจน จากการศึกษาวิเคราะห์เอกสารตำรา ทฤษฎี ตลอดจนงานวิจัยที่เกี่ยวข้องอย่างครอบคลุม แล้วนำเสนอหรือสรุปเป็นภาพรวมให้ชัดเจนให้ง่ายต่อความเข้าใจในปัญหาและวิธีการวิจัย
การเขียนกรอบแนวความคิดการวิจัยเชิงพรรณนา การวิจัยเชิงพรรณนา  (Descriptive research)  มุ่งพรรณนาคุณสมบัติของปรากฏการณ์ หรือสิ่งที่ต้องการศึกษา ดังนั้นจะมีแต่การเขียนระบุว่า มีตัวแปรอะไรบ้างที่จะนำมาศึกษา เช่น   ในการวิจัยเกี่ยวกับพรรคการเมือง ผู้วิจัยอาจ จะศึกษาคุณสมบัติทางด้านเศรษฐกิจสังคม การศึกษาและประเภทของคำขวัญที่ใช้ในการหาเสียง
กรอบแนวความคิดกับการวิจัยเชิงอธิบาย การวิจัยประเภทอธิบาย  (Explanatory research)  มุ่งอธิบายการเกิดขึ้นหรือการเปลี่ยนแปลงเชิงสาเหตุและผลของปรากฏการณ์ที่ต้องการศึกษา  ดังนั้น ต้องระบุว่ามีตัวแปรอะไรบ้าง และตัวแปรเหล่านี้มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
ความสำคัญของกรอบแนวความคิด    การศึกษาปัญหาเดียวกันอาจมีทฤษฎีต่างๆ หรือแนวความคิดในการมองปัญหามากมายหลายรูปแบบ  หัวข้อปัญหาวิจัยและประเด็นการวิจัยเรื่องเดียวกันอาจมีกรอบแนวความคิดแตกต่างกันได้  การระบุกรอบแนวความคิดจึงเป็นการช่วยให้ นักวิจัยเองและผู้อื่นได้ทราบว่าผู้วิจัยมีแนวคิดอย่างไรเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการศึกษาในรูปแบบใดและทิศทางใด
พื้นฐานเชิงทฤษฎีของกรอบแนวความคิด การที่ตัวแปรในกรอบแนวความคิดมีพื้นฐานทางทฤษฎีต่างๆ จะช่วยเพิ่มพูนความรู้ที่มีอยู่แล้วให้ถูกต้องสมบูรณ์มากขึ้น
แผนภาพความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบที่มีต่อประชากรในระดับครัวเรือน การได้รับประโยชน์ด้านต่างๆ จากโครงการปลูก สร้างสวนป่า   *  การว่าจ้างแรงงาน  *  การใช้ประโยชน์ที่ดิน  *  การมีไฟฟ้าใช้  *  การบริการน้ำดื่มน้ำใช้  *  การรักษาพยาบาล  *  การคมนาคม   การศึกษาการพัฒนาที่เกิดขึ้นกับโครงการอื่น   *  การศึกษา  *  การคมนาคม  *  การสาธารณสุข  *  การมีไฟฟ้าใช้ การเปลี่ยนแปลงใน  *  รายได้ต่อครัวเรือนหรือต่อคน  *  กิจกรรมในการประกอบอาชีพ  *  การใช้แรงงานของสมาชิกในครัวเรือนรวมถึงการใช้แรงงานสตรีและเด็กโดยพิจารณาจากจำนวนกิจกรรมและการใช้เวลา  *  รูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดิน  *  เทคโนโลยีการเกษตรและผลผลิตจากเกษตรกรรม  *  อื่นๆ *  ภาวการณ์ตายของทารก  *  การย้ายถิ่น  *  ตัวแปรอื่นๆ ด้านประชากร เหตุ  (causes) ผล  (effects) ผลกระทบ  (impacts)
กรอบแนวความคิดและสมมุติฐาน    ทบทวนผลงานวิจัยและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง จะได้สมมุติฐานการวิจัย  สมมุติฐานระบุความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรในลักษณะเป็นข้อๆ หากผู้วิจัยนำเอาสมมุติฐานต่างๆ เหล่านี้มารวมกันให้มีระบบ มีความเชื่อมโยงกันจะได้สิ่งที่เรียกว่า กรอบแนวความคิดสำหรับการวิจัย  ในทางกลับกันถ้าผู้วิจัยสามารถกำหนดกรอบแนว ความคิดการวิจัยได้ ผู้วิจัยก็สามารถตั้งสมมุติฐานระบุความ สัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่เกี่ยวข้องกันได้อย่างชัดเจนเช่นกัน
ตัวอย่างของกรอบแนวความคิด   แผนภาพ ความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุ การเปลี่ยนแปลงและผลกระทบด้านประชากรระดับชุมชน เนื่องจากโครงการปลูกสร้างสวนป่า การเข้าร่วมโครงการ ปลูกสวนป่า โครงการพัฒนาอื่นๆ ในชุมชน การเปลี่ยนแปลง   *  โครงสร้างการประกอบอาชีพ  *  รายได้ของหมู่บ้านต่อคน  *  สัดส่วนการเข้าร่วม แรงงาน จำแนกตามอายุและเพศ  *  รูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินของชุมชน การเปลี่ยนแปลงประชากร *  ภาวการณ์ตายของเด็ก  *  ภาวะเจริญพันธุ์  *  ภาวะการย้ายถิ่น เหตุ  (causes) ผล  (effects) ผลกระทบ  (impacts)
หลักการในการเลือกกรอบแนวความคิดในการวิจัย   1.  ความตรงประเด็น  พิจารณาได้จากเนื้อหาสาระของตัวแปรและระเบียบวิธีที่ใช้ในการศึกษา   2.  ความง่ายและไม่สลับซับซ้อน  ควรเลือกทฤษฎีที่สามารถอธิบายปรากฏการณ์ที่ต้องการศึกษาได้ จำนวนตัวแปรและรูป แบบของความ สัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่มีอยู่ในทฤษฎีไม่ซับซ้อน
หลักการในการเลือกกรอบแนวความคิด ในการวิจัย  ( ต่อ ) 3.  ความสอดคล้องกับความสนใจ  เนื้อหาสาระเกี่ยวกับตัวแปรหรือความ สัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสอดคล้องกับความสนใจของผู้วิจัย  4.  ความมีประโยชน์เชิงนโยบาย  คำนึงถึงประโยชน์ทางด้านนโยบายหรือการพัฒนาสังคม การศึกษา ผู้วิจัยจึงควรเลือกตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
ประโยชน์ของกรอบแนวความคิดในการวิจัย   1.  ทำให้ผู้วิจัยทราบว่าตัวแปรที่จะวัดมีกี่ตัว อะไรบ้าง  2.  ทำให้ผู้วิจัยกำหนดสิ่งที่จะศึกษาชัดเจน และเลือกสถิติได้อย่างเหมาะสม  3.  ทำให้ผู้วิจัยวางแผนเก็บข้อมูลได้อย่างเหมาะสม ช่วงเวลาใดควรจะเก็บข้อมูลกับตัวแปรใดก่อน – ตัวแปรใดหลัง  4.  ทำให้ผู้วิจัยมองเห็นภาพที่จะทำการศึกษาชัดเจน และสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆ เป็นไปอย่างมีเหตุผล
การเสนอกรอบแนวความคิด   1.  แบบพรรณนาหรือบรรยาย เป็นการเขียนบรรยายเพื่อให้เห็นว่า   ในการวิจัยนี้มีตัวแปรอะไรบ้างที่สำคัญเกี่ยวข้องกับปัญหาหรือประเด็นของการวิจัย  ตัวแปรเหล่านี้มีความสัมพันธ์กับตัวแปรตามอย่างไร  มีเหตุผลหรือทฤษฎีอะไรมาสนับสนุน
การเสนอกรอบแนวความคิด  ( ต่อ )   2.  แบบแผนภาพ   แผนภาพที่แตกต่างกันช่วยให้เกิดความชัดเจนมากขึ้นว่าผู้วิจัยมีความคิดอย่างไรเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร  ผู้วิจัยที่มีตัวแปรเดียวกัน จำนวนเท่ากันอาจมีแนวความคิดแตกต่างกัน  3.  การบรรยายและนำเสนอสรุปเป็นแผนภาพ
ตัวอย่าง เช่น กรอบแนวความคิดงานวิจัยเรื่อง “ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์การ”  ที่มา  :  สุวิมล ตริกานันท์ , 2542 : 53 ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ลักษณะส่วนบุคคล 1.  เพศ  2.  อายุ  3.  ระดับการศึกษา  4.  ประสบการณ์การทำงาน ลักษณะงาน 1.  ความหลากหลายในงาน  2.  ความอิสระในงาน  3.  งานมีโอกาสปฏิสังสรรค์  4.  ความน่าสนใจของงาน บทบาทหน้าที่ ความผูกพันต่อองค์การ
ตัวอย่าง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]

Contenu connexe

En vedette

A study on Factors affecting Consumer Buying Behavior while buying new Cell P...
A study on Factors affecting Consumer Buying Behavior while buying new Cell P...A study on Factors affecting Consumer Buying Behavior while buying new Cell P...
A study on Factors affecting Consumer Buying Behavior while buying new Cell P...RHIMRJ Journal
 
6 constructing hypothesis
6 constructing hypothesis6 constructing hypothesis
6 constructing hypothesis23shruti
 
An emprirical investigation into factors affecting service quality among indi...
An emprirical investigation into factors affecting service quality among indi...An emprirical investigation into factors affecting service quality among indi...
An emprirical investigation into factors affecting service quality among indi...iaemedu
 
060 techniques of_data_analysis
060 techniques of_data_analysis060 techniques of_data_analysis
060 techniques of_data_analysisNouman Zia
 
Normative Analysis and Statistical Treatment/Validity of the Likert Scale
Normative Analysis and Statistical Treatment/Validity of the Likert ScaleNormative Analysis and Statistical Treatment/Validity of the Likert Scale
Normative Analysis and Statistical Treatment/Validity of the Likert ScalePeter J Stavroulakis
 
Likert scales and statistics
Likert scales and statisticsLikert scales and statistics
Likert scales and statisticsGESSI UPC
 
understanding the validity and increased scrutiny of data used for compliance...
understanding the validity and increased scrutiny of data used for compliance...understanding the validity and increased scrutiny of data used for compliance...
understanding the validity and increased scrutiny of data used for compliance...All4 Inc.
 
Analyzing Responses to Likert Items
Analyzing Responses to Likert ItemsAnalyzing Responses to Likert Items
Analyzing Responses to Likert ItemsSanjay Kairam
 
10. sampling and hypotehsis
10. sampling and hypotehsis10. sampling and hypotehsis
10. sampling and hypotehsisKaran Kukreja
 
Questions On Hypothesis Testing
Questions On Hypothesis TestingQuestions On Hypothesis Testing
Questions On Hypothesis TestingNeha Chauhan
 
4. research process (part 2)
4. research process (part 2)4. research process (part 2)
4. research process (part 2)Muneer Hussain
 
Pilot Study for Validity and Reliability of an Aptitude Test
Pilot Study for Validity and Reliability of an Aptitude TestPilot Study for Validity and Reliability of an Aptitude Test
Pilot Study for Validity and Reliability of an Aptitude TestBahram Kazemian
 

En vedette (20)

Aron chpt 6 ed
Aron chpt 6 edAron chpt 6 ed
Aron chpt 6 ed
 
Week 6 hypothesis
Week 6 hypothesisWeek 6 hypothesis
Week 6 hypothesis
 
Survey
SurveySurvey
Survey
 
A study on Factors affecting Consumer Buying Behavior while buying new Cell P...
A study on Factors affecting Consumer Buying Behavior while buying new Cell P...A study on Factors affecting Consumer Buying Behavior while buying new Cell P...
A study on Factors affecting Consumer Buying Behavior while buying new Cell P...
 
Week 11 collecting_data
Week 11 collecting_dataWeek 11 collecting_data
Week 11 collecting_data
 
Sampling
SamplingSampling
Sampling
 
6 constructing hypothesis
6 constructing hypothesis6 constructing hypothesis
6 constructing hypothesis
 
An emprirical investigation into factors affecting service quality among indi...
An emprirical investigation into factors affecting service quality among indi...An emprirical investigation into factors affecting service quality among indi...
An emprirical investigation into factors affecting service quality among indi...
 
060 techniques of_data_analysis
060 techniques of_data_analysis060 techniques of_data_analysis
060 techniques of_data_analysis
 
Survey adrian popescu
Survey adrian popescuSurvey adrian popescu
Survey adrian popescu
 
Normative Analysis and Statistical Treatment/Validity of the Likert Scale
Normative Analysis and Statistical Treatment/Validity of the Likert ScaleNormative Analysis and Statistical Treatment/Validity of the Likert Scale
Normative Analysis and Statistical Treatment/Validity of the Likert Scale
 
Hypothesis
HypothesisHypothesis
Hypothesis
 
Likert scales and statistics
Likert scales and statisticsLikert scales and statistics
Likert scales and statistics
 
Chapter three
Chapter threeChapter three
Chapter three
 
understanding the validity and increased scrutiny of data used for compliance...
understanding the validity and increased scrutiny of data used for compliance...understanding the validity and increased scrutiny of data used for compliance...
understanding the validity and increased scrutiny of data used for compliance...
 
Analyzing Responses to Likert Items
Analyzing Responses to Likert ItemsAnalyzing Responses to Likert Items
Analyzing Responses to Likert Items
 
10. sampling and hypotehsis
10. sampling and hypotehsis10. sampling and hypotehsis
10. sampling and hypotehsis
 
Questions On Hypothesis Testing
Questions On Hypothesis TestingQuestions On Hypothesis Testing
Questions On Hypothesis Testing
 
4. research process (part 2)
4. research process (part 2)4. research process (part 2)
4. research process (part 2)
 
Pilot Study for Validity and Reliability of an Aptitude Test
Pilot Study for Validity and Reliability of an Aptitude TestPilot Study for Validity and Reliability of an Aptitude Test
Pilot Study for Validity and Reliability of an Aptitude Test
 

Similaire à Week 7 conceptual_framework

1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysiskhuwawa2513
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างอรุณศรี
 
การสร้างกรอบแนวคิดและการกำหนดตัวแปร#1
การสร้างกรอบแนวคิดและการกำหนดตัวแปร#1การสร้างกรอบแนวคิดและการกำหนดตัวแปร#1
การสร้างกรอบแนวคิดและการกำหนดตัวแปร#1Prachyanun Nilsook
 
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54Sani Satjachaliao
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนsalinkarn sampim
 
ขอบข่ายและประเภทโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทโครงงานขอบข่ายและประเภทโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทโครงงานPennapa Boopphacharoensok
 
ใบงานที่ 6 แก้
ใบงานที่ 6 แก้ใบงานที่ 6 แก้
ใบงานที่ 6 แก้pompameiei
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6pompameiei
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6Rut' Np
 
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีวิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีguest65361fd
 

Similaire à Week 7 conceptual_framework (20)

1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่าง
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
การสร้างกรอบแนวคิดและการกำหนดตัวแปร#1
การสร้างกรอบแนวคิดและการกำหนดตัวแปร#1การสร้างกรอบแนวคิดและการกำหนดตัวแปร#1
การสร้างกรอบแนวคิดและการกำหนดตัวแปร#1
 
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
 
Week 1 intro[1]
Week 1 intro[1]Week 1 intro[1]
Week 1 intro[1]
 
2222
22222222
2222
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
บทที่ 1
บทที่ 1 บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1 บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)
 
โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ขอบข่ายและประเภทโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทโครงงานขอบข่ายและประเภทโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทโครงงาน
 
ใบงานที่ 6 แก้
ใบงานที่ 6 แก้ใบงานที่ 6 แก้
ใบงานที่ 6 แก้
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีวิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
 

Plus de Sani Satjachaliao

สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)Sani Satjachaliao
 
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spssสัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spssSani Satjachaliao
 
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10Sani Satjachaliao
 
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11Sani Satjachaliao
 
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14Sani Satjachaliao
 
427 305 week17 relational analysis
427 305 week17 relational analysis427 305 week17 relational analysis
427 305 week17 relational analysisSani Satjachaliao
 
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysisSani Satjachaliao
 
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลาสัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลาSani Satjachaliao
 
Week 5 scale_and_measurement
Week 5 scale_and_measurementWeek 5 scale_and_measurement
Week 5 scale_and_measurementSani Satjachaliao
 
Research11 conceptual framework
Research11 conceptual frameworkResearch11 conceptual framework
Research11 conceptual frameworkSani Satjachaliao
 
Research8 research concept_1_2553
Research8 research concept_1_2553Research8 research concept_1_2553
Research8 research concept_1_2553Sani Satjachaliao
 
Research6 qualitative research_methods
Research6 qualitative research_methodsResearch6 qualitative research_methods
Research6 qualitative research_methodsSani Satjachaliao
 
สัปดาห์ที่ 17 แนวคิด พัฒนาการ
สัปดาห์ที่ 17 แนวคิด พัฒนาการสัปดาห์ที่ 17 แนวคิด พัฒนาการ
สัปดาห์ที่ 17 แนวคิด พัฒนาการSani Satjachaliao
 

Plus de Sani Satjachaliao (20)

สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
 
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spssสัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
 
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
 
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
 
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
 
427 305 week17 relational analysis
427 305 week17 relational analysis427 305 week17 relational analysis
427 305 week17 relational analysis
 
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
 
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลาสัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
 
Week 9 research_design
Week 9 research_designWeek 9 research_design
Week 9 research_design
 
Week 8 conceptual_framework
Week 8 conceptual_frameworkWeek 8 conceptual_framework
Week 8 conceptual_framework
 
Week 5 scale_and_measurement
Week 5 scale_and_measurementWeek 5 scale_and_measurement
Week 5 scale_and_measurement
 
Week 4 variable
Week 4 variableWeek 4 variable
Week 4 variable
 
Research11 conceptual framework
Research11 conceptual frameworkResearch11 conceptual framework
Research11 conceptual framework
 
Research10 sample selection
Research10 sample selectionResearch10 sample selection
Research10 sample selection
 
Research8 research concept_1_2553
Research8 research concept_1_2553Research8 research concept_1_2553
Research8 research concept_1_2553
 
Research6 qualitative research_methods
Research6 qualitative research_methodsResearch6 qualitative research_methods
Research6 qualitative research_methods
 
Research4
Research4Research4
Research4
 
Research3
Research3Research3
Research3
 
Research2
Research2Research2
Research2
 
สัปดาห์ที่ 17 แนวคิด พัฒนาการ
สัปดาห์ที่ 17 แนวคิด พัฒนาการสัปดาห์ที่ 17 แนวคิด พัฒนาการ
สัปดาห์ที่ 17 แนวคิด พัฒนาการ
 

Week 7 conceptual_framework

  • 1. เอกสารประกอบการสอน วิชา 427-302 Methods of Social Sciences Research เรื่อง Conceptual Frame
  • 2. กรอบแนวความคิดในการวิจัย (Conceptual Framework) ความหมาย แบบจำลองที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร สร้างขึ้นโดยใช้ทฤษฎี ข้อสรุปเชิงประจักษ์ ข้อมูลจากสมมุติฐานและผลงานวิจัย นำมาสังเคราะห์เพื่อให้ผู้วิจัยเกิดมุมมองภาพรวมของงานวิจัยเรื่องนั้น
  • 3. กรอบแนวความคิดในการวิจัย (Conceptual Framework)  แบบจำลองที่ใช้แทนความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันระหว่างปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในเรื่องที่ศึกษาว่ามีแนวคิดที่สำคัญอะไรบ้างในปรากฏการณ์นั้น  ตัวแปร หรือปรากฏการณ์เชื่อมโยงเกี่ยวกันอย่างไร  เพื่อจะนำความสัมพันธ์ที่คิดขึ้นไปตรวจสอบกับข้อมูลเชิงประจักษ์ต่อไปว่ามีความสอดคล้องกันหรือไม่
  • 4. กรอบแนวความคิดในการวิจัย (Conceptual Framework)  เป็นภาพพจน์ ที่กำหนดว่าตัวแปรต่างๆ ที่ผู้วิจัยจะศึกษามีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันอย่างไร  ปัญหาที่ตั้งไว้แต่ละข้อจะหาคำตอบได้อย่างไร  ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยอย่างไรจึงจะค้นหาคำตอบในปัญหาเหล่านั้น
  • 5. กรอบแนวความคิดในการวิจัย (Conceptual Framework) ความหมาย  เป็นภาพสรุปสุดท้ายของการทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้อง  เป็นผลรวมความคิดของผู้วิจัยกับเรื่องราวทางทฤษฎีต่างๆ  เป็นแนวคิดของผู้วิจัยที่ต้องการหลักฐานเชิงประจักษ์ มาพิสูจน์ความถูกต้อง
  • 6. กรอบแนวความคิดในการวิจัย (Conceptual Framework) เป็นกรอบของการวิจัย ด้านเนื้อหาสาระ ประกอบด้วย ตัวแปร และการระบุความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
  • 7. กรอบแนวความคิดในการวิจัย (Conceptual Framework) สรุป หมายถึง การนำเสนอภาพรวมๆ ของงานวิจัยที่ผู้วิจัยจะทำโดยกำหนดออกมาให้เห็นรูปธรรมชัดเจน จากการศึกษาวิเคราะห์เอกสารตำรา ทฤษฎี ตลอดจนงานวิจัยที่เกี่ยวข้องอย่างครอบคลุม แล้วนำเสนอหรือสรุปเป็นภาพรวมให้ชัดเจนให้ง่ายต่อความเข้าใจในปัญหาและวิธีการวิจัย
  • 8. การเขียนกรอบแนวความคิดการวิจัยเชิงพรรณนา การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive research) มุ่งพรรณนาคุณสมบัติของปรากฏการณ์ หรือสิ่งที่ต้องการศึกษา ดังนั้นจะมีแต่การเขียนระบุว่า มีตัวแปรอะไรบ้างที่จะนำมาศึกษา เช่น ในการวิจัยเกี่ยวกับพรรคการเมือง ผู้วิจัยอาจ จะศึกษาคุณสมบัติทางด้านเศรษฐกิจสังคม การศึกษาและประเภทของคำขวัญที่ใช้ในการหาเสียง
  • 9. กรอบแนวความคิดกับการวิจัยเชิงอธิบาย การวิจัยประเภทอธิบาย (Explanatory research) มุ่งอธิบายการเกิดขึ้นหรือการเปลี่ยนแปลงเชิงสาเหตุและผลของปรากฏการณ์ที่ต้องการศึกษา  ดังนั้น ต้องระบุว่ามีตัวแปรอะไรบ้าง และตัวแปรเหล่านี้มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
  • 10. ความสำคัญของกรอบแนวความคิด  การศึกษาปัญหาเดียวกันอาจมีทฤษฎีต่างๆ หรือแนวความคิดในการมองปัญหามากมายหลายรูปแบบ  หัวข้อปัญหาวิจัยและประเด็นการวิจัยเรื่องเดียวกันอาจมีกรอบแนวความคิดแตกต่างกันได้  การระบุกรอบแนวความคิดจึงเป็นการช่วยให้ นักวิจัยเองและผู้อื่นได้ทราบว่าผู้วิจัยมีแนวคิดอย่างไรเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการศึกษาในรูปแบบใดและทิศทางใด
  • 12. แผนภาพความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบที่มีต่อประชากรในระดับครัวเรือน การได้รับประโยชน์ด้านต่างๆ จากโครงการปลูก สร้างสวนป่า * การว่าจ้างแรงงาน * การใช้ประโยชน์ที่ดิน * การมีไฟฟ้าใช้ * การบริการน้ำดื่มน้ำใช้ * การรักษาพยาบาล * การคมนาคม การศึกษาการพัฒนาที่เกิดขึ้นกับโครงการอื่น * การศึกษา * การคมนาคม * การสาธารณสุข * การมีไฟฟ้าใช้ การเปลี่ยนแปลงใน * รายได้ต่อครัวเรือนหรือต่อคน * กิจกรรมในการประกอบอาชีพ * การใช้แรงงานของสมาชิกในครัวเรือนรวมถึงการใช้แรงงานสตรีและเด็กโดยพิจารณาจากจำนวนกิจกรรมและการใช้เวลา * รูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดิน * เทคโนโลยีการเกษตรและผลผลิตจากเกษตรกรรม * อื่นๆ * ภาวการณ์ตายของทารก * การย้ายถิ่น * ตัวแปรอื่นๆ ด้านประชากร เหตุ (causes) ผล (effects) ผลกระทบ (impacts)
  • 13. กรอบแนวความคิดและสมมุติฐาน  ทบทวนผลงานวิจัยและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง จะได้สมมุติฐานการวิจัย  สมมุติฐานระบุความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรในลักษณะเป็นข้อๆ หากผู้วิจัยนำเอาสมมุติฐานต่างๆ เหล่านี้มารวมกันให้มีระบบ มีความเชื่อมโยงกันจะได้สิ่งที่เรียกว่า กรอบแนวความคิดสำหรับการวิจัย  ในทางกลับกันถ้าผู้วิจัยสามารถกำหนดกรอบแนว ความคิดการวิจัยได้ ผู้วิจัยก็สามารถตั้งสมมุติฐานระบุความ สัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่เกี่ยวข้องกันได้อย่างชัดเจนเช่นกัน
  • 14. ตัวอย่างของกรอบแนวความคิด แผนภาพ ความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุ การเปลี่ยนแปลงและผลกระทบด้านประชากรระดับชุมชน เนื่องจากโครงการปลูกสร้างสวนป่า การเข้าร่วมโครงการ ปลูกสวนป่า โครงการพัฒนาอื่นๆ ในชุมชน การเปลี่ยนแปลง * โครงสร้างการประกอบอาชีพ * รายได้ของหมู่บ้านต่อคน * สัดส่วนการเข้าร่วม แรงงาน จำแนกตามอายุและเพศ * รูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินของชุมชน การเปลี่ยนแปลงประชากร * ภาวการณ์ตายของเด็ก * ภาวะเจริญพันธุ์ * ภาวะการย้ายถิ่น เหตุ (causes) ผล (effects) ผลกระทบ (impacts)
  • 15. หลักการในการเลือกกรอบแนวความคิดในการวิจัย 1. ความตรงประเด็น พิจารณาได้จากเนื้อหาสาระของตัวแปรและระเบียบวิธีที่ใช้ในการศึกษา 2. ความง่ายและไม่สลับซับซ้อน ควรเลือกทฤษฎีที่สามารถอธิบายปรากฏการณ์ที่ต้องการศึกษาได้ จำนวนตัวแปรและรูป แบบของความ สัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่มีอยู่ในทฤษฎีไม่ซับซ้อน
  • 16. หลักการในการเลือกกรอบแนวความคิด ในการวิจัย ( ต่อ ) 3. ความสอดคล้องกับความสนใจ เนื้อหาสาระเกี่ยวกับตัวแปรหรือความ สัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสอดคล้องกับความสนใจของผู้วิจัย 4. ความมีประโยชน์เชิงนโยบาย คำนึงถึงประโยชน์ทางด้านนโยบายหรือการพัฒนาสังคม การศึกษา ผู้วิจัยจึงควรเลือกตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
  • 17. ประโยชน์ของกรอบแนวความคิดในการวิจัย 1. ทำให้ผู้วิจัยทราบว่าตัวแปรที่จะวัดมีกี่ตัว อะไรบ้าง 2. ทำให้ผู้วิจัยกำหนดสิ่งที่จะศึกษาชัดเจน และเลือกสถิติได้อย่างเหมาะสม 3. ทำให้ผู้วิจัยวางแผนเก็บข้อมูลได้อย่างเหมาะสม ช่วงเวลาใดควรจะเก็บข้อมูลกับตัวแปรใดก่อน – ตัวแปรใดหลัง 4. ทำให้ผู้วิจัยมองเห็นภาพที่จะทำการศึกษาชัดเจน และสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆ เป็นไปอย่างมีเหตุผล
  • 18. การเสนอกรอบแนวความคิด 1. แบบพรรณนาหรือบรรยาย เป็นการเขียนบรรยายเพื่อให้เห็นว่า  ในการวิจัยนี้มีตัวแปรอะไรบ้างที่สำคัญเกี่ยวข้องกับปัญหาหรือประเด็นของการวิจัย  ตัวแปรเหล่านี้มีความสัมพันธ์กับตัวแปรตามอย่างไร  มีเหตุผลหรือทฤษฎีอะไรมาสนับสนุน
  • 19. การเสนอกรอบแนวความคิด ( ต่อ ) 2. แบบแผนภาพ  แผนภาพที่แตกต่างกันช่วยให้เกิดความชัดเจนมากขึ้นว่าผู้วิจัยมีความคิดอย่างไรเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร  ผู้วิจัยที่มีตัวแปรเดียวกัน จำนวนเท่ากันอาจมีแนวความคิดแตกต่างกัน 3. การบรรยายและนำเสนอสรุปเป็นแผนภาพ
  • 20. ตัวอย่าง เช่น กรอบแนวความคิดงานวิจัยเรื่อง “ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์การ” ที่มา : สุวิมล ตริกานันท์ , 2542 : 53 ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ลักษณะส่วนบุคคล 1. เพศ 2. อายุ 3. ระดับการศึกษา 4. ประสบการณ์การทำงาน ลักษณะงาน 1. ความหลากหลายในงาน 2. ความอิสระในงาน 3. งานมีโอกาสปฏิสังสรรค์ 4. ความน่าสนใจของงาน บทบาทหน้าที่ ความผูกพันต่อองค์การ
  • 21.