SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  176
ยาออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดิน
อาหาร
scope
1.Anti-emetics drugs; ยารักษา
อาการคลื่นไส้ อาเจียน
2.Agents for treatment of
peptic ulcer : ยารักษาโรคแผลใน
ทางเดินอาหาร
3.Antidiarrheal drugs :ยารักษา
อาการท้องร่วง
4.Anticonstipation ; ยาแก้อาการ
1.Anti-emetics drugs; ยา
รักษาอาการคลื่นไส้ อาเจียน
อาการคลื่นไส้ อาเจียน
กลไกของร่างกายที่พยายามขับเอาสิ่ง
แปลกปลอมหรือสิ่ง
ที่ไม่ต้องการออกไป โดยเกี่ยวข้อง
กับระบบในร่างกาย
2 ส่วนเป็นหลัก
ระบบประสาท : ศูนย์(หน่วย)
/สารสื่อประสาท/ตัวรับ
กลไกอาการคลื่นไส้ อาเจียน
Cerebral
cortex(higher center)
NK1,GABA
Pain,smell,sight,taste→ ←Memory
,fear,hear
ing,stress
,
thinking
Vomit
center
H1,5-
HT3,D2,M1
CTZ ที่ area
postrema
D2,NK1,
5-
HT3,M1,H1,o
pioid
Cytotoxic,opioid→
Cardiac glycoside
Stomach
Small
intestine
5-
HT3,D2,N
K1,
opioid
Gastric
irritation
Infect at
Nucleus tractus
solitarius
(NTS)
5-
HT3,D2,M1,H1,
NK1Glossopharyn
geal nerve
Trigerminal
nerve บริเวณ
Vestibular system
H1,M1
เมารถ เมารถ
(motion sickness)
Vomiting reflex
Neuronal
กลไกการเกิดคลื่นไส้ อาเจียน
ะตุ้น/emetogenic drug/toxinกระตุ้น receptors ที่มีอยู่ที่ศูนย์ที่เกี่ยวกับกา
มีการหลั่ง neurotransmitter ต่าง ๆ ออกม
(+)vomiting center
(medulla oblongata)
vomiting center ส่งกระแส
ประสาทออกมา
เกิดการกระตุ้นหน้าท้อง
กะบังลม กระเพาะอาหาร
หลอดอาหาร
N/V
ศูนย์(หน่วย)ที่เกี่ยวข้องกับ
อาการ N/V
Vomitting center (ศูนย์อาเจียน)
ถูกกระตุ้นโดยสัญญาณ
จากศูนย์(หน่วย)ต่าง ๆ
1.Cerebral cortex (higher
center) บริเวณก้านสมอง
Stimulants N/V: ความคิด การ
มองเห็น การได้ยิน
ความเครียด การรับรสหรือกลิ่น
ศูนย์(หน่วย)ที่เกี่ยวข้องกับ
อาการ N/V
2.Chemoreceptor trigger
zone (CTZ)
บริเวณ area postrema ในสมอง
ส่วน Medulla (ซึ่งไม่มี
Blood Brain Barrier) จึงไวต่อสาร
เคมีแปลกปลอมในเลือด
ที่มาสัมผัส CTZ
ศูนย์(หน่วย)ที่เกี่ยวข้องกับ
อาการคลื่นไส้ อาเจียน
3.Vestibular system (ควบคุม
การทรงตัว อยู่ในส่วนหู)
โดยระบบ vestibular จะส่ง
เส้นใยประสาทที่มีการหลั่ง
acetylcholine และ histamine ไป
สู่ vomitting center ทำาให้
เกิดอาเจียน
4.Stomach,small intestine ผ่าน
มาทาง vagus nerve
สู่ nucleus tractus solitarius (NTS)
และจาก nucleus นี้
ให้ fibers สู่ vomitting center
e.g.Cytotoxic เพิ่มการหลั่ง
serotonin จาก
Enterochromaffin like cell ใน
ลำาไส้เล็ก (+) 5-HT3
ศูนย์(หน่วย)ที่เกี่ยวข้องกับ
อาการคลื่นไส้ อาเจียน
5.Glossopharyngeal nerve
และ Trigerminal nerve
บริเวณใบหน้า ซึ่งจะส่งสัญญาณไป
ยัง nucleus tractus
solitarius (NTS) แล้วจึงเข้าสู่
vomitting center
ศูนย์(หน่วย)ที่เกี่ยวข้องกับ
อาการคลื่นไส้ อาเจียน
สารสื่อประสาทและตัวรับที่
เกี่ยวข้องกับ N/V
สารสื่อ
ประสาท(ne
urotransm
itters)
ตัวรับ (receptor)
1.Acetylch
oline
2.Dopamin
e
3.Histamin
1.Muscarinic M1
receptor
2.Dopaminergic
receptor (dopamine
D2 receptor)
นิยามศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
คำานี้ แปลว่า
อะไรนะ...
Dystonia :
กล้ามเนื้อเกร็งตัว ทำาให้ส่วน
ที่มีอาการเกร็งนั้น
เคลื่อนไหวซำ้า ๆ บิดงอหรืออยู่ใน
ท่าทางที่ทำาให้ผู้ป่วย
เจ็บปวด
1.http://www.youtube.com/wa
tch?v=VHGzUxnuvwQ
Extrapyramidal side
effect (EPS)
Extrapyramidal side effect
(EPS)
Parkinsonism:
อาการสั่น กล้ามเนื้อเกร็ง การ
เคลื่อนไหวน้อย/ช้าและ
ลักษณะท่าทาง(posture)ผิดปกติ
http://www.youtube.com/wa
Tardive dyskinesia :
 การเคลื่อนไหวร่างกายที่ไม่
สามารถควบคุมได้
  ผู้ป่วยจะมีการเคลื่อนไหวแบบ
กระตุกไม่เป็นจังหวะ ค่อนข้างเร็ว
และคาดคะเนไม่ได้ เกิดขณะ
พัก/ขณะที่ตั้งใจจะเคลื่อนไหว
Extrapyramidal side
effect (EPS)
Extrapyramidal side effect
(EPS)
Tardive dyskinesia :
 กระพริบตา เปลือกตากระตุก
เคี้ยว สูดปาก เลียและดูดริมฝีปาก
แลบลิ้นออกมาคล้ายการจับแมลง มี
การขยับขากรรไกรทั้ง 2 ข้าง
http://www.youtube.com/wat
Anticipatory CINV
(Anticipatory chemo therapy-
induced nausea and vomiting)
 เป็นอาการที่พบก่อนการได้รับยา
เคมีบำาบัด
 มักเกิดจากผลการรักษา N/V ใน
การรับยาเคมีบำาบัด
ครั้งก่อนที่ไม่ดีพอ
 Stimulants : การได้รับกลิ่น รส
หรือการนึกถึงหรือ
Nausea and vomiting จาก
ยาเคมีบำาบัด
Acute nausea and vomiting:
เกิดขึ้นภายใน 24 ชั่วโมงหลังได้รับ
ยาเคมีบำาบัด
ความรุนแรงของการเกิด N/V
มักมากที่สุดในช่วงเวลา
5-6 ชั่วโมงหลังได้รับยา
อาการมักดีขึ้นภายใน 24 ชั่วโมง
Nausea and vomiting จาก
ยาเคมีบำาบัด
Delayed nausea and
vomiting :
เกิดขึ้นหลังได้รับยาเคมีบำาบัดแล้ว
นานกว่า 24 hr
อาจคงอยู่ได้นานถึง5-7วันหลังได้
รับยาเคมีบำาบัด
Anti-emetics drugs
1. Muscarinic M1
antagonist
2. Dopamine D2
antagonist
3. Histamine H1
antagonists
4. 5-HT3
antagonist
พัฒนายาที่ปิดกั้นตัว
รับ(receptor) ที่
กล่าวมาข้างต้น
1)Anti-emetics drugs
;Muscarinic M1 antagonist
e.g.Scopolamine (hyoscine)
กลไก : ปิดกั้น
muscarinic M1 receptor ที่สมอง
Common ADR: ADR ที่เป็นผลจาก
ฤทธิ์ antimuscarinic
effect เช่น ปากแห้ง ง่วงซึม ตาพร่า
 ท้องผูก
2)Anti-emetics
drugs;Dopamine D2
antagonist
e.g.
Domperidone(Motilium®
),Meto
clopramide(Plasil®
),
(Chlorpromazine,Perphenazine,
Haloperidol,Droperidol)
กลไก :
1.ปิดกั้น dopamine D2 receptor
ใน CTZ และ NTS
(ยกเว้น domperidone ซึ่งไม่ผ่าน
2)Anti-emetics
drugs;Dopamine D2
antagonist
2.ปิดกั้น 5 –HT3 receptors ที่ GI
, สมอง
e.g.Metoclopramide (high
dose)
3.มีฤทธิ์ทางประสาทส่วนปลาย
ที่ทำาให้การเคลื่อนไหว
ของกระเพาะอาหาร/ลำาไส้เพิ่ม
2)Anti-emetics
drugs;Dopamine D2
antagonist
ADR:ง่วงซึม กดสมองส่วนกลาง
กระวนกระวาย ท้องเสีย

Domperidone/metoclopramid
e
การผลิต prolactin
hyperprolactinemia-related
side
effects เช่น gynecomastia และ
2)Anti-emetics
drugs;Dopamine D2
antagonist
Domperidone
/metoclopramide ;
Take the tablets 30 minutes
before each meal and
bedtime
3)Anti-emetics
drugs;Histamine H1
antagonists
e.g.Dimenhydrinate(Dramamine
®
)(+antimuscarinics)
,Diphenhydramine(Benadryl®
),
promethazine,meclizine
กลไก:
ปิดกั้น histamine H1 receptor ใน
ส่วน vestibular system
4)Anti-emetics drugs;5-HT3
antagonist :
e.g.Ondansetron(Onsia®
),Granisetr
on,Dolasetron,Tropisetron
กลไก:
ปิดกั้น 5-HT3 receptor ที่สมองส่วน
กลาง (CTZ, NTS)
ประสาท visceral afferent vagus
nerve ในทางเดินอาหาร
4)Anti-emetics drugs;5-HT3
antagonist :
เช่น ondansetron
first dose :30 minutes before the
start of chemotherapy
1 to 2 hours before the
start of radiation therapy
1 hour before surgery.
Additional doses are sometimes
taken one to three times a
5)Anti-emetics drugs;Substance P
antagonist ; NK1 receptor antagonist:
e.g.aprepitant
กลไก :
 ปิดกั้นไม่ให้ substance P กระตุ้น
NK1 receptorใน NTS
 ยับยั้งสัญญาณจาก cerebral
cortex ที่มากระตุ้น
vomitting center
6)Anti-emetics
drugs;Others; Pyridoxine
(Vit B6)
กลไก:
B6 เป็น coenzyme ของเอนไซม์
Glutamic decarboxylase
ในปฏิกิริยาการเปลี่ยน Glutamic
acid ไปเป็น GABA
Glutamic acid((+)N/V)
Glutamic
decarboxylase/B6
7)Anti-emetics drugs
;Others;Benzodiazepines
e.g. lorazepam (Ativan®
)
กลไก:
จับกับ benzodiazepine GABAA-
receptor ionorphore
complex ทำาให้เพิ่มฤทธิ์ของ GABA
ต่อ GABAA receptor
 กรณีใช้ป้องกัน Anticipatory
8)Anti-emetics
drugs;Others;Steroids
e.g.Dexamethasone,
Methylprednisolone
กลไก :
ยับยั้งการสร้าง 5-HT ในสมองส่วน
กลาง
Common ADR:
GI irritate,นอนไม่หลับ,วิตกกังวล
8)Anti-emetics
drugs;Others;Steroids
เช่น dexamethasone
Acute nausea and vomiting
รับประทาน/หลอดเลือดดำา
ก่อนให้เคมีบำาบัด
Delayed nausea and
vomiting
รับประทาน : วันละ 2 ครั้ง นาน
การเลือกใช้ยารักษาอาการ
คลื่นไส้ อาเจียน
1.เลือกใช้ยาที่ปิดกั้นตัวรับให้เหมาะสม
กับสารสื่อประสาท
ที่เป็นสาเหตุ
2.การใช้ยาต้านอาเจียนร่วมกัน :
ใช้กรณีอาเจียนรุนแรงโดยเฉพาะจาก
ยารักษามะเร็ง
การเลือกใช้ยารักษาอาการ
คลื่นไส้ อาเจียน
อากา
ร
สาเหตุ ยาที่ควรเลือกใช้
1.Mo
tion
sick
ness
เมารถ
เมาเรือ
มีปัญหา
การทรงตัว
(หูมี
receptor
M1,H1)
Histamine H1
antagonists:
e.g.dimenhydrinate,m
eclizine
Effective if take
before ½ hr travel
Muscarinic M1
การเลือกใช้ยารักษาอาการ
คลื่นไส้ อาเจียน
อาการ สาเหตุ ยาที่ควรเลือก
ใช้
2.Morni
ng
sicknes
s
N/V in
pregnancy
Select safety
to fetus
Vitamin
B6
+doxylamine
(first line) or
vit B6 only
H1 antagonists
e.g.dimenhydr
อาการ สาเหตุ ยาที่ควรเลือกใช้
3.Posto
perative
N/V
(PONV)
N/V after
surgery
opioid:rel
ief pain
opioid:
(+)CTZ
5-HT3
antagonists
(all.gold standard)
D2 antagonists
e.g.metoclopram
ide,droperidol
M1 antagonists
e.g.scopolamine
H antagonist
การเลือกใช้ยารักษาอาการ
คลื่นไส้ อาเจียน
การเลือกใช้ยารักษาอาการ
คลื่นไส้ อาเจียน
อาการ สาเหตุ ยาที่ควร
เลือกใช้
4.Radioth
erapy-
induced
N/V
(RINV)
Mechanism ~
cytotoxic
D2
antagonists
e.g.metoclo
pramide
5-HT3
antagonists(
all.)
การเลือกใช้ยารักษาอาการ
คลื่นไส้ อาเจียน
อาการ สาเห
ตุ
ยาที่ควรเลือกใช้
5.Che
mo
therap
y-
induce
d
N/V(CI
NV)
cytot
oxic
1.CTZ
2.ลำาไ
ส้เล็ก
5-HT3
antagonist(all.acute
/delayed)
gold standard
D2 antagonists (acute
type)
e.g.metoclopramide
การเลือกใช้ยารักษาอาการ
คลื่นไส้ อาเจียน
อาการ สาเห
ตุ
ยาที่ควรเลือกใช้
5.Chemo
therapy-
induced
N/V(CINV
)
*NK1 receptor
antagonist(acute
/delayed)
e.g.Aprepitant
การเลือกใช้ยารักษาอาการ
คลื่นไส้ อาเจียน
อาการ สาเห
ตุ
ยาที่ควรเลือกใช้
6.Combi
ne tx for
Acute
CINV
- 5-
HT3antagonist+steroi
d(best treatment)
effective than single
drug and lower S/E
than
metoclopramide+ster
การเลือกใช้ยารักษาอาการ
คลื่นไส้ อาเจียน
อาการ สาเ
หตุ
ยาที่ควรเลือกใช้
7.Gastroente
ritis
(ลำาไส้อักเสบ)
- D2 antagonists
e.g.
metoclopramide
8.Gastropare
sis (กล้ามเนื้อ
กระเพาะอ่อน
แรง)  
- D2 antagonists
e.g.
metoclopramide
,domperidone
ยารักษาโรคแผลในทางเดิน
อาหาร
Agents for treatment of
peptic ulcer
Antacid
Anti-secretory drug
Mucosal
resistance(Cytoprotective)
Misc.
-Rebamipide
-ยากำาจัดเชื้อ(Eradication)
Parietal cells ที่ชั้น mucosa
ของกระเพาะอาหาร
 Receptor (ตัวรับ) ที่เกี่ยวข้อง
กับการหลั่งกรด
 สารภายในร่างกาย ที่จะกระตุ้น
การหลั่งกรดโดยผ่าน
receptor ที่เฉพาะเจาะจง ดังตาราง
การหลั่งกรดของทางเดิน
อาหาร
ตัวรับและสารที่กระตุ้นให้เกิด
การหลั่งกรด
Receptor สารที่จะกระตุ้น
การหลั่งกรด
ผ่านตัวรับ
(Receptor)
Histamine-2
receptor
(H2 receptor)
Histamine
Muscarinic -3 Acetylcholine
นิยามศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
1.Second messenger
 สาร ที่ถูกสร้างขึ้นในเซลล์
จากการกระตุ้นตัวรับ
 Second messenger จะก่อให้
เกิดการเปลี่ยนแปลงหรือตอบสนอง
ของเซลล์
ดังนั้น Second messenger จึงทำา
นิยามศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
2.Phosphate Binders
สารที่ใช้จับกับ phosphate ที่มี
ในอาหาร ในทางเดิน
อาหาร มีผลให้ phosphate และ
form ตัวเป็น insoluble
compound และถูกขับออก
กลไกการหลั่งกรดของทาง
เดินอาหาร
1.สารจับ receptor
2.มีผลให้เกิด secondary
messengers คือ
 Cyclic AMP (cAMP)
 Calcium
กลไกการหลั่งกรดของทาง
เดินอาหาร
Gastrin ,acetylcholine:
การหลั่ง calcium จากแหล่งสะสม
ภายใน cell ↑calcium ใน cell
โดย
Histamine:
(+)เอนไซม์ adenylate cyclase
(ATPcAMP) ↑cAMP
กลไกการหลั่งกรดของทาง
เดินอาหาร
3.cAMP ↑, calcium ↑ (+)
H+
/K+
ATPase at parietal cell
membrane
4.จะเร่งปฏิกิริยาการแลกเปลี่ยนของ
hydrogen ion คือ
 เกิดการคัดหลั่งโปรตอน (H+
) จาก
ด้านในของ parietal cell ออกสู่
canaliculi
กลไกการหลั่งกรด
จาก parietal cell
หมายเหตุ :เอนไซม์ hydrogen/potassium adenosine
triphosphate (H+
/K+
ATPase หรือ gastric proton pump )
Gastric pH <3 (เป็นกรดมาก) จะมี
กลไก เช่น
1.ยับยั้งการหลั่ง gastrin
2.Prostaglandin (PGE2 ) จะยับยั้ง
histamine ในการ
กระตุ้น adenylate cyclase
กลไกการยับยั้งการหลั่งกรด
ของทางเดินอาหาร
แผลในทางเดินอาหาร
(peptic ulcer)
Peptic ulcer
มีรอยแตก/แยกของกระเพาะอาหาร/
ลำาไส้เล็กส่วนต้น+มี
ขบวนการอักเสบเกิดขึ้นตามมา
เป็นผลจาก aggressive factor
-defensive factor
imbalance
ปัจจัยที่ผลต่อการเกิด peptic
ulcer
Aggressive
factor
Defensive
factor
การเพิ่มขึ้นของ
parietal cell
mass
การหลั่งเมือก
/bicarbonate
การเปลี่ยนแปลง
ของเยื่อเมือก
ปริมาณเลือดที่มา
หล่อเลี้ยง mucosa
ที่เพียงพอ
ปัจจัยที่ผลต่อการเกิด peptic
ulcer
Aggressive
factor
Defensive
factor
การได้รับ
prostaglandin
inhibitor
(e.g.NSAIDs จะลด
ระดับของ
protective
การเจริญเติบโต
ของ epithelial
cell (cell ชนิดหนึ่ง
ในกระเพาะอาหาร)
เมื่อมีการบาดเจ็บ
ของทางเดินอาหาร
อาการแสดง Peptic ulcer
การแยก
ประเภท
DU/GU
ส่องกล้องดู
ปวดบริเวณใต้ลิ้นปี่ ปวดแสบ ๆ ร้อน
ๆ ปวดเป็นพัก ๆ
 Duration : day/wk
 อาการอาจหายไปเองและกลับเป็น
ซำ้าได้อีก
อาการแสดง Peptic ulcer
แผลในลำาไส้เล็ก (Duodenal
ulcer;DU)
มักปวดตอนกระเพาะอาหารว่าง
เช่น ระหว่างมื้อ
อาหาร ก่อนนอนหรือตอนดึก
Relief :รับประทานอาหาร/ได้รับ
ยาลดกรด
จุดประสงค์ในการรักษา
บรรเทาอาการปวด
ทำาให้แผลหายเร็วขึ้น
ลดการกลับเป็นซำ้า
ลดอาการแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้น
ตามมาหลังเป็นแผล
e.g.haemorrhage ,obstruction
(ผลจาก scar),perforation
ยารักษาโรคแผลในทางเดิน
อาหาร
Agents for treatment of
peptic ulcer
Antacid
Anti-secretory drug
Mucosal resistance
Misc.
-Rebamipide
-ยากำาจัดเชื้อ(Eradication)
H.pylori (HP)

1.Antacids (ยาลดกรด)
e.g. aluminium salt ,
magnesium salt, sodium
bicarbonate
กลไก:
1.การสะเทินกรด (acid –
neutralizing effects)
2.กลไกไม่ขึ้นกับกรด
2.1 ยับยั้ง 
pepsinogen 
1.Antacids (ยาลดกรด)
ช่วยบรรเทาอาการปวดท้อง ไม่
สบายท้อง
 rapid onset : within 5-15
min
 duration : 15 min-1 hr
ข้อจำากัด
ไม่ช่วยทำาให้แผลหายเร็วขึ้น

1.Antacids (ยาลดกรด)
ADR : Aluminium salt (ท้องผูก),
Magnesium salt
(ท้องเสีย)
Drug interaction (DI) :
 ↓ absorption ยาที่ใช้ร่วม
(absorption & dissolution
depend on acid)
1.Antacids (ยาลดกรด)
 antacid (aluminium salt)
จับกับ phosphate ลดการดูดซึม
phosphate ใช้เป็น phosphate
binder ในผู้ป่วยไตวาย
 ลดการจับของ sucralfate
กับ gastric mucosa
rug interaction (DI) :
2.1 H2 receptor antagonist
(H2RA)
2.2 Proton pump inhibitor
(PPI)
2.Anti-secretory drugs
;ยับยั้งการหลั่งกรด
2.1 H2 receptor antagonist
(H2RA)
e.g.ranitidine, famotidine,
nizatidine, cimetidine
กลไก
ยาไปแย่งที่ histamine ในการจับ
กับ H2receptor แบบ
competitive/reversible ลดการ
ชื่อยา cimeti
dine
ranitid
ine
nizatid
ine
famotid
ine
ความ
แรง
1 4-10 4-10 20-50
Dose of
treatme
nt
(mg)
400
bid
800
hs
150
bid
300
hs
150
bid
300 hs
40 hs
Dose of 400 150 150 hs 20 hs
2.1 H2 receptor antagonist
(H2RA)
2.1 H2 receptor
antagonist (H2RA)
 food : not affect to
absorption
 Treatment
DU : 6-8 wk if not cure ให้ต่ออีก
2-4 wk
GU : 8 wk if large ulcer ใช้
เวลา 12 wk
ADR:
 ท้องร่วง/ท้องผูก ปวดหัว มึนงง
ง่วงนอน สับสน
หัวใจเต้นช้า ความดันโลหิตตำ่า หัวใจ
เต้นผิดจังหวะ
 cimetidine (antiandrogen
effect) in men/high dose
2.1 H2 receptor antagonist
(H2RA)
2.1 H2 receptor antagonist
(H2RA)
Drug interaction (DI)
antacid , sucralfate : ↓
absorption of H2RA
ดังนั้น ให้ antacid/sucralfate ห่าง
จาก H2RA อย่างน้อย
2 hr
2.2 Proton pump inhibitor
(PPI)
e.g.omeprazole(Losec®
),lansopr
azole(Prevacid®
),
pantoprazole(Controloc®
),rabep
razole(Pariet®
),
esomeprazole (Nexium®
)
กลไก
parent compound(not
active)-------->active metabolites
ACID
CONDITION
 อัตราการหายของแผลดี/หายเร็ว
กว่า H2RA
 Food delays absorption
ADR :
ไม่ค่อยพบและผู้ป่วยทนได้ เช่น
คลื่นไส้ ท้องร่วง ท้องผูก ปวดท้อง
ปวดหัว มึนงง
2.2 Proton pump inhibitor
(PPI)
2.2 Proton pump inhibitor
(PPI)
Drug interaction (DI)
 PPIs ถูก metabolize ที่ตับโดย
จับกับ Cytochrome
P450 enzyme (CYP450)
 รบกวนการ metabolize ยาอื่น
ที่ต้องอาศัย CYP450
เช่นกัน เช่น warfarin,phenytoin
level
การให้ยา PPI (enteric coated
tablet)ในผู้ป่วยใส่ NG tube
NG tube
(Nasogastric tube )
คือ การใส่ของสายเข้าไป
ในกระเพาะอาหารผ่าน
รูจมูก
วัตถุประสงค์
เพื่อให้อาหาร/ยาแก่ผู้
ป่วยที่ไม่สามารถรับ
ประทานได้ทางปาก
Enteric coated
tablet/granules
 ต้องการให้ออกฤทธิ์ในลำาไส้เล็ก
 คุณสมบัติ
เปลือกนอก (capsule) ละลาย
โดยกรดในกระเพาะ
Enteric coating  ทน
กรด แต่ไม่ทนด่าง
ตัวยา ไม่ทน
omeprazole (miracid®
)
delayed-release
capsule/multiple unit granules
system
enteric-coated granules
Capsule :dissolves in gastric
acid
การให้ยา PPI (enteric coated
tablet)ในผู้ป่วยใส่ NG tube
rabeprazole (pariet®)
delayed-release tablet or
enteric-coated tablet
drug is absorbed in the
intestine
**ห้ามบด/ละลาย rabeprazole เพื่อ
การให้ยา PPI (enteric coated
tablet)ในผู้ป่วยใส่ NG tube
Omeprazole
1.แกะ capsule
2.ละลาย granules ในสารละลาย
โดยปลายสาย NG อยู่
Gastric :สารละลายฤทธิ์เป็นกรด
(protect the base-labile granules)
e.g.นำ้าสับปะรด นำ้าส้ม นำ้าองุ่นและ
flush อีกครั้งหลังให้ยา
การให้ยา PPI (enteric coated
tablet)ในผู้ป่วยใส่ NG tube
Mucosal resistance
;Cytoprotective
เพิ่มการปกป้องเยื่อบุกระเพาะอาหาร
ไม่ให้ถูกทำาลาย
โดยกรดหรือนำ้าย่อย
Cytoprotective agents :
Sucralfate
Bismuth preparation
Prostaglandin analogues
Sucralfate
กลไก:
1.sucralfate ถูกกรด สารเหนียว
(viscous substance)
 จับกับโมเลกุลโปรตีนที่แผลในทาง
เดินอาหาร 
เกราะป้องกันฤทธิ์ของกรด เปบซิน
และเกลือของนำ้าดี
Sucralfate
2.กระตุ้น endogenous
prostaglandin
ที่กระเพาะอาหาร PGE2 มีหน้าที่
-ช่วยปกป้องเยื่อบุกระเพาะอาหาร
-เพิ่ม gastric mucus secretion
ทำาให้ทนกรดได้ดี
3.แต่ไม่มีผลต่อการหลั่งกรด
Sucralfate
ADR:
sucralfate ถูกดูดซึมจากลำาไส้น้อย
มาก อาการข้างเคียง
ทาง systemic น้อยมาก ที่พบได้
ได้แก่ ท้องผูก คลื่นไส้
ปวดหัว อาหารไม่ย่อย ปากแห้ง จึง
เป็นยาที่ควรเลือกใช้
Sucralfate
Drug interaction:
จับกับโปรตีนหรือฟอสเฟตในอาหาร
ดังนั้น ควรให้ยาsucralfate ตอน
ท้องว่าง (ก่อนอาหาร
1 ชั่วโมง)
Bismuth preparation
e.g.bismuth subsalicylate
(GASTRO-BISMOL®
),
ranitidine bismuth citrate
กลไก
1.เกลือของ bismuth รวมกับโปรตีน
ของกระเพาะ
สารประกอบไม่ละลายนำ้า ในสิ่ง
Bismuth preparation
2.กระตุ้นการสร้าง
prostaglandin, bicarb,มูก
3.กดการเจริญเติบโตของ H.pylori
4.ไม่มีผลยับยั้งหรือ neutralize
กรด
ADR ;
-ลิ้น ฟัน อุจจาระดำา
Prostaglandin analogues
e.g.Prostaglandin E analogues
(misoprostol;cytotec®
)
กลไก:
ยาจับกับ prostaglandin
receptor ที่ parietal cell มีผล
-ยับยั้งการหลั่งกรด
-เพิ่มความแข็งแรงของเยื่อบุทางเดิน
Prostaglandin analogues
ADR;
ท้องร่วง (4-38%)
ปวดท้อง ตะคริวที่ท้อง N/V
มดลูกบีบตัวแท้ง ดังนั้น ห้ามใช้
ในหญิงตั้งครรภ์
(FDA pregnancy category X )
Prostaglandin
analogues;misoprostol;cytote
c®
มีการในไปใช้แบบ off-label ทางสูติ
นรีเวช เพื่อ
ทำาให้แท้ง
เหนี่ยวนำาให้มีการคลอด
รักษาภาวะตกเลือดหลังค
ลอด(postpartum hemorrhage)
หมายเหตุใช้แบบ off-label ใช้ยาในลักษณะที่นอกเหนือ
 จากที่ระบุในข้อบ่งชี้ในฉลากยา
Misc. ;Rebamipide
(mucosta®
):
กลไก (ในหนู/คน):
 ปริมาณ PGE2 จากภายในเซลล์เยื่อบุกระ
เพาะอาหาร
 ปริมาณชั้นเยื่อบุเมือก/เมือกของผิวใน
กระเพาะ
 การไหลเวียนของเลือดในเยื่อบุเมือกของ
กระเพาะ
 เร่งการหลั่งด่างในกระเพาะ
 เร่งการแบ่งตัวเซลล์เยื่อบุเมือก/เพิ่มจำานวน
Misc.; Rebamipide
(mucosta®
):
ADR;
leukopenia (ภาวะที่เม็ดเลือด
ขาวตำ่ากว่าปกติ) ,
thrombocytopenia (ภาวะเกล็ด
เลือดตำ่า)
hepatic dysfunction and
jaundice (↑AST,ALT)

Combination treatment
Single (2-3 wk)+eradicate risk
factors  not cure
 combine
ยากำาจัดเชื้อ(Eradication)
H.pylori (HP)
Helicobacter pylori :
 เชื้อบาซิลลัสรูปเกลียว แกรมลบ
 อาศัยอยู่ในส่วนลึกของ”มูก”เหนือ
เยื่อบุกระเพาะ
 เชื้อ(urease enz.) ซึ่งย่อย
ureaammonia+CO2
 ammonia :เยื่อบุกระเพาะอาหาร
ยากำาจัดเชื้อ(Eradication)
H.pylori (HP)
สูตรกำาจัด H. pylori ระยะ
เวลา
(วัน)
PPI-based triple therapy
PPI bid + amoxicillin 1 g
bid + clarithromycin 500 mg
bid
PPI bid + metronidazole
400 mg bid + clarithromycin
7-14
ยากำาจัดเชื้อ(Eradication)
H.pylori (HP)
สูตรกำาจัด H. pylori ระยะ
เวลา
(วัน)
Bismuth-based quadruple
therapy
PPI bid + bismuth 240-525
mg bid + metronidazole 400
mg bid or tid + tetracycline
500 mg qid
PPI bid + bismuth 240-525
14
ยากำาจัดเชื้อ(Eradication)
H.pylori (HP)
สูตรกำาจัด H. pylori ระยะ
เวลา
(วัน)
Sequential therapy
PPI bid + amoxicillin 1 g bid
เป็นเวลา 5 วันต่อด้วย PPI bid +
metronidazole 400-500 mg
bid + clarithromycin 1000
mg od หรือ 500 mg bid เป็น
เวลา 5 วัน
รวม
10
ยากำาจัดเชื้อ(Eradication)
H.pylori (HP)
สูตรกำาจัด H. pylori ระยะ
เวลา
(วัน)
Levofloxacin-based triple
therapy
PPI bid + levofloxacin 250
mg (or 500 mg) bid +
amoxicillin 1 g bid
10
ยากำาจัดเชื้อ(Eradication)
H.pylori (HP)
สูตรกำาจัด H. pylori ระยะ
เวลา
(วัน)
Concomitant therapy
PPI bid + amoxicillin 1 g bid
+ clarithromycin 500 mg bid
+ metronidazole 400 mg tid
10
*ควรตรวจเพื่อยืนยันผลการกำาจัดเชื้อ หลังสิ้นสุดการ
รักษา*
*หากผู้ป่วยยังคงมีการติดเชื้อ จะมีโอกาสเกิดแผลกลับ
ยากำาจัดเชื้อ(Eradication)
H.pylori (HP)
PPI-based triple therapy หรือ
sequential therapyBismuth-based
quadruple therapyLevofloxacin-based triple therapy
Rifabutin-based triple therapy
Concomitant therapy
หากไม่ได้ผล
or
or
or
NSAIDs-induced peptic
ulcer
กลไกการเกิด NSAIDs-
induced peptic ulcer
ฤทธิ์โดยตรง
ยับยั้งการสร้าง prostaglandin
-ให้ mucosal blood flow ลด
ลง
-mucus secretion ลดลง,
HCO3 secretion ลดลงกรด/pepsin/NSAIDs : อักเสบ
เกิดแผล
NSAIDs-induced peptic
ulcer
แนวทางในการป้องกัน
(prophylaxis)
ไม่มีความจำาเป็นที่จะต้องให้การ
ป้องกันในผู้ป่วยที่ได้รับยา NSAIDs
ทุกราย
NSAIDs-induced peptic ulcer
ปัจจัยเสี่ยงสูง (High risk)
อายุ > 60 ปี
มีประวัติแผลในกระเพาะอาหาร
และแผลในลำาไส้เล็ก/ประวัติเลือด
ออกในกระเพาะอาหาร/มีแผลทะลุ
ใช้ยา NSAIDs ร่วมกับ
corticosteroids
ใช้ยา NSAIDs ในขนาดที่สูงกว่า
NSAIDs induced peptic
ulcer
แนวทางในการรักษา
(Treatment)
1.หยุดยา NSAIDs :
ประสิทธิภาพ H2RA ∼ PPIs
2.ให้ยา NSAIDs ต่อ : Drugs of
choice :PPIsDrugs of choice ;ยาที่จะเลือกใช้เป็นตัวแรกใน
การรักษาอาการนั้น ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูง ผล
ข้างเคียงน้อย เหมาะสมสุด
ยารักษาอาการท้องร่วง
(antidiarrheal drugs)
อาการท้องร่วง (diarrhea)
ภาวะที่ถ่ายอุจจาระร่วง
เป็นนำ้ามากกว่า
3 ครั้ง/วัน
หรือ
ถ่ายมีมูกหรือปนเลือด
อย่างน้อย 1 ครั้ง
ใน 24 ชั่วโมง
สาเหตุท้องร่วง (diarrhea)
1.ติดเชื้อ เช่น แบคทีเรีย ไวรัส โปรโตซัว
2.ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ เช่น
 antibiotic
(eg.clindamycin,tetracycline),
 การฉายรังสี
 การแพ้อาหาร
 มีความผิดปกติของระบบย่อยอาหาร
 ความวิตกกังวล ความเครียด
การรักษาอาการท้องร่วง
1.ทดแทนการสูญเสียนำ้าและอิเลค
โตรไลท์ และแก้ไข
ภาวะสมดุลกรดด่าง (ลดอัตรา
ป่วย/ตาย)
ให้สารนำ้าทาง IV : ขาดนำ้ารุนแรง
 ORS (oral rehydration salt) :
(Electrolyte=Na,K,Cl,HCO3) +
การรักษาอาการท้องร่วง
ไม่ต้องงดอาหารหรือนม
 แต่ควรรับประทาน
อาหารอ่อน ๆ
ย่อยง่าย
 ในทารกให้ดื่มนมแม่
หรือเจือจางนม
ลงครึ่งหนึ่ง
การรักษาอาการท้องร่วง
2.การรักษาอาการท้องร่วงจากการติด
เชื้อ
2.1 ท้องร่วงจากสารพิษของเชื้อ
(toxigenic diarrhea)
เชื้อเกาะติด epithelial cell ของ
ลำาไส้ แล้วมีการปล่อย
enterotoxin ออกมาEnterotoxin :toxin ที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินอาหารและลำาไส้ ทำาให้เกิด
 อาการท้องเสีย *
การรักษาอาการท้องร่วง
2.2 ท้องร่วงจากการรุกลำ้าของเชื้อ
เข้าไปในเยื่อบุลำาไส้
(invasive diarrhea)
บริเวณที่เชื้อรุกลำ้าจะมีการอักเสบ
ของเยื่อบุลำาไส้
เชื้อสาเหตุหลัก e.g.shigella,
salmonella, E.coli
การรักษาอาการท้องร่วง
ให้ยาปฏิชีวนะที่ตรงกับชนิดของเชื้อที่
เป็นสาเหตุ
Shigella (บิดไม่มีตัว)
e.g.TMP/SMX
(bactrim®
),norfloxacin,ciproflo
xacin
Salmonella typhi (ไข้รากสาดน้อย
การรักษาอาการท้องร่วง
3. การรักษาหรือระงับอาการท้องร่วง
เพื่อลดความถี่ของ
การถ่ายอุจจาระ/ระงับอาการของ
ท้องร่วงให้ลดลง
3.1 ยาลดการเคลื่อนไหวของลำาไส้
3.2 สารที่ใช้ในการดูดซับเชื้อหรือ
สารพิษจากเชื้อ
3.1 ยาลดการเคลื่อนไหวของ
ลำาไส้
Opioid derivatives -Loperamide;
Imodium®
-Diphenoxylate+atropine;Lomoti
l®
กลไก :กระตุ้น opioid receptors ที่
ลำาไส้
ยับยั้งการหลั่งของเหลว
3.1 ยาลดการเคลื่อนไหวของ
ลำาไส้
Diphenoxylate ผสมกับ atropine
เพื่อป้องกันการนำาไป
ใช้ในทางที่ผิด
Atropine :อาการ atropinism
e.g.ไข้ ความดันโลหิตสูง หน้าแดง
ม่านตาขยาย
3.1 ยาลดการเคลื่อนไหว
ของลำาไส้
ADR:
 opioid ใช้ยาระยะเวลานาน/ใช้
 บ่อย ๆ  เสพติด
 ง่วง เซื่องซึม
 แต่ loperamide กดประสาท
สมองส่วนกลางน้อยกว่า
Diphenoxylate
3.1 ยาลดการเคลื่อนไหวของ
ลำาไส้
หากรับประทานยาแล้ว มีไข้ ปวดท้อง
รุนแรงหรือ
อุจจาระมีเลือดปนหรืออาการท้องเสีย
ไม่ดีขึ้นภายใน
2 วัน ให้รีบปรึกษาแพทย์
ผู้ป่วยมีอาการท้องเสียจากการติดเชื้อ
invasive diarrhea
3.2 สารที่ใช้ในการดูดซับเชื้อ
หรือสารพิษจากเชื้อ
Activated charcoal
Kaolin-pectin (Kaolin and
pectin®
)
3.2 สารที่ใช้ในการดูดซับเชื้อ
หรือสารพิษจากเชื้อ
กลไก :ยาจะไม่ถูกดูดซึม แต่จะทำา
หน้าที่จับกับนำ้า
สารอาหาร สารพิษ ยาและนำ้าย่อย
ต่าง ๆ ทำาให้อุจจาระ
แข็งขึ้น เป็นเนื้อมากขึ้น แต่จะไม่
ทำาให้จำานวนครั้งของ
การถ่ายลดลง
3.3 Intraluminal agents
e.g.Bismuth subsalicylates
(GASTRO-BISMOL®
)
กลไก : ยับยั้งการหลั่งสารจากลำาไส้
ADR
salicylism (มีเสียงในหู)
N/V
ลิ้น/อุจจาระมีสีดำา
3.4 Bulk forming agents
e.g.Psylium(AGIOLAX®
,METAMU
CIL®
,FYBOGEL®
)
ส่วนของไฟเบอร์/เยื่อเมือกที่สกัดจาก
เยื่อหุ้มเมล็ดของ
ต้นเทียนเกล็ดหอย
กลไก :ดูดนำ้าทำาให้อุจจาระเป็นก้อน
ไม่เหลว อุจจาระ
3.5 Bile acid binder
e.g.Cholestyramine
(Questran®
)
กลไก : ยาจับกับนำ้าดีและจับกับ
toxin (clostridium
difficile toxin)
ใช้รักษา antibiotic associated
diarrhea หรือท้องร่วงที่
Cholestyramine จับกับ bile acid
สารประกอบเชิงซ้อนที่ไม่ถูกดูดซึมสู่ร่างกาย
เพิ่มการขับ bile acid ออกทางอุจจาระ
เกิดการกระตุ้นการสังเคราะห์ bile acid
(cholesterol ในตับเป็นวัตถุดิบ)
↓cholesterol ที่สะสมในตับ
ตับจึงมีการตอบสนองโดย LDL receptor
อัตราการ catabolism LDL
ระดับ LDL ในกระแสเลือด
3.5 Bile acid binder
นิยามศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
Catabolism :
ปฏิกิริยาเคมีทั้งหมดที่เกิดในเซลล์
ของสิ่งมีชีวิต 
ปฏิกิริยาสลายสารชีวโมเลกุล เป็น
สารโมเลกุลเล็ก
เป็นผลให้มีการสร้าง/ปล่อยพลังงาน
ที่เซลล์นำาไปใช้
Antibiotic associated
diarrhea
ทำาให้เกิด diarrhea ได้หลายกลไก
e.g.
1. Osmotic diarrhea
2. Bile salt diarrhea
3. ↑Small intestine motility
4. Microorganism infection
1.Osmotic diarrhea
แบคทีเรีย (non absorbable
carbohydrate) ในลำาไส้ใหญ่
ลำาไส้ไม่สามารถดูดซึม non
absorbable carbohydrate ได้
osmotic diarrhea
2. Bile salt diarrhea
แบคทีเรียในลำาไส้ใหญ่(ผลของยา
ปฏิชีวนะ)
ย่อยสลาย bile salt ไม่ได้
↑ bile salt
ไปกระตุ้นการหลั่ง colonic fluid
ออกมา
ท้องเสีย
3. ↑Small intestine motility
ยาปฏิชีวนะบางอย่าง e.g.
erythromycin
กระตุ้น motilin receptor ของ
ลำาไส้เล็ก
ลำาไส้เคลื่อนไหวมากขึ้น
4. Microorganism infection
e.g. Clostridium perfrigen
type A
Clostridium difficile
Antibiotic associated
diarrhea
Cause
Drug :
ampicilln,amoxycilln,cefixime
,
fluoroquinolone(1-2%) bactrim
(<1%)
Organism : Clostridium difficle
การรักษา Clostridium
difficile diarrhea
อาการไม่รุนแรง:หยุดยา
ปฏิชีวนะ+supportive tx ดีขึ้น
อาการรุนแรง :metronidazole
(oral) 10-14 วัน
*If not relieve ,no tolerance to
drug ,pregnancy, <10
years old , severe colitis*
การเลือกใช้ยารักษาอาการ
ท้องร่วง
เด็ก
ไม่แนะนำา opioid derivative
(eg.+atropine) :serious S/E
ไม่แนะนำา ยาที่ใช้ในการดูดซับ
เชื้อ/สารพิษจากเชื้อ
:ไม่มีการศึกษาถึงประสิทธิภาพที่เพียง
พอ+ลดการดูดซึม
การเลือกใช้ยารักษาอาการ
ท้องร่วง
หญิงตั้งครรภ์
แนะนำา : ยาที่มีฤทธิ์ดูดซับ
ไม่แนะนำา
 loperamide (limited safety
information)
 diphenoxylate (ทารกวิรูป)
Anticonstipation ;ยาแก้อาการ
ท้องผูก->laxatives/cathartics
อาการท้องผูก
(constipation)
 อาการที่ผู้ป่วยมีอุจจาระแข็ง
 ถ่ายอุจจาระไม่บ่อย (น้อยกว่า 3
ครั้งต่อสัปดาห์)
 มีความจำาเป็นต้องเบ่งอุจจาระ
 มีความรู้สึกว่าถ่ายอุจจาระไม่เสร็จ
 ใช้เวลาในการถ่ายอุจจาระนาน
มาก
การรักษา
1. หาสาเหตุและรักษา/เลี่ยง
สาเหตุ เช่น
 กินอาหารกากใยน้อย
 ขาดการออกกำาลังกาย
 ยาบางชนิด เช่น ยาลดกรด
(aluminium hydroxide)
ธาตุเหล็ก อนุพันธุ์ฝิ่น
การรักษา
2.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
 รับประทานอาหารที่มีกากไย : ผล
ไม้ ผัก ธัญพืช
 ดื่มนำ้ามาก ๆ
 การออกกำาลังกาย เช่น เดิน วิ่ง
การรักษา
3.การใช้ยา
 Bulk–forming laxatives
 Lubricant
 Stool softeners /emollient
laxatives
 Stimulant laxatives
 Osmotic laxatives
Bulk -forming laxatives
ยาที่ทำาให้อุจจาระเป็นก้อนหรือเพิ่ม
กาก e.g.
 สารสกัดจากเมล็ดแมงลัก
 วุ้น
 เมล็ดจำาพวกเทียนเกล็ดหอย
(Ispaghula seed ,Plantago,
Psyllium)
กลไก
 ยาไม่ถูกย่อย/ไม่ถูกดูดซึมทาง GI
จึงมีความสามารถ
ในการดูดนำ้าเข้าไว้ในตัวเอง เป็นการ
เพิ่มปริมาณอุจจาระ
ทำาให้อุจจาระเป็นก้อนอ่อนนุ่มขึ้น
 กระตุ้นการบีบตัวของลำาไส้ ทำาให้
Bulk -forming laxatives
 ต้องใช้เวลาประมาณ 1 wk จึงจะ
เห็นผล
 ใช้กับอาการท้องผูกแบบรุนแรงไม่
ค่อยได้ผล
Bulk -forming laxatives
ADR;
 fiberย่อยสลายโดยแบคทีเรีย
(ลำาไส้)gas
ท้องอืด ปวดท้อง มีลมในท้อง
 fiber + ดื่มนำ้าไม่เพียงพอ ลำาไส้
อุดตัน
Drug interaction ; รบกวนการ
Bulk -forming laxatives
Lubricant laxatives
ยาหล่อลื่น เป็นพวกนำ้ามัน e.g.
 Mineral oil (synonym)
 นำ้ามันแร่ (synonym)
 liquid paraffin (synonym)
 ELP(Emulsion of liquid
paraffin) (synonym)
กลไก ;
 เคลือบอุจจาระ ทำาให้หล่อลื่นและ
ถ่ายอุจจาระออก
ได้ง่ายขึ้น
 ยับยั้งการดูดซึมนำ้ากลับเข้าสู่
ร่างกาย เป็นการเพิ่ม
นำ้าหนักอุจจาระ เป็นการลดเวลาที่
Lubricant laxatives
ADR;
 lipoid pneumonia (ปอด
อักเสบ) เมื่อมีการสำาลักยา
เข้าปอด ดังนั้น
- ไม่แนะนำาให้ยาก่อนนอน
- ไม่แนะนำาให้ยาแก่ผู้ป่วยที่อยู่ในท่า
นอน
Lubricant laxatives
 รั่วออกทางทวารหนัก ทำาให้คัน
และเปรอะเปื้อน
เสื้อผ้าได้
 ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์
(เหตุผล;drug interaction)
Drug interaction;
ยาจะลดการดูดซึมวิตามินที่ละลาย
Lubricant laxatives
Stool softeners /emollient
laxatives
e.g. Docusate
กลไก
 ลดแรงตึงผิวทำาให้นำ้าและนำ้ามัน
สามารถซึมผ่านเข้าสู่
ก้อนอุจจาระทำาให้อุจจาระอ่อนนุ่มลง
 เพิ่มการหลั่งนำ้าและอิเล็กโทรไลต์
**ยาไม่ดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย ;เหมาะ
ADR ; น้อย ระคายเคืองบริเวณลำา
คอ ปวดเกร็งท้อง
ไม่สบายท้อง ผื่นแพ้
Drug interaction;
เพิ่มการดูดซึมของยาอื่น ๆ เช่น
mineral,phenolpthalein
Stool softeners /emollient
laxatives
e.g. มะขามแขก(senna) , bisacodyl
(dulcolax®
),phenolpthalein,
นำ้ามันละหุ่ง(castor oil), dehydrocholic
acid(Decholin®
)
กลไก;
 กระตุ้นการเคลื่อนไหวของลำาไส้
 ทำาให้เกิดการระคายเคืองที่เยื่อเมือกบุลำาไส้
 เพิ่มการหลั่งนำ้า/ของเหลวในลูเมนของ
Stimulant laxatives
ADR;
Bisacodyl e.g.ปวดท้อง
คลื่นไส้
Phenolpthalein e.g.ปัสสาวะ
เปลี่ยนสีเป็นชมพูหรือแดง
Castor oil (นำ้ามันละหุ่ง) e.g.มดลูก
หดตัว **ห้ามใช้ใน
Stimulant laxatives
Drug interaction; e.g.
bisacodyl (enteric coated
tablet ให้แตกตัวที่ลำาไส้ใหญ่)
“ภาวะด่าง”จะทำาลายสารเคลือบบนผิว
ยา ยาแตกตัวใน
กระเพาะอาหาร  ระคาย
เคือง/ปวดมวนท้อง
Stimulant laxatives
ข้อควรระวัง
 ไม่ควรใช้ยาติดต่อกัน > 1 wk
 หากใช้เวลานานเป็นปี จะทำาให้
ระบบการขับถ่ายตาม
ธรรมชาติเปลี่ยนไป/หยุดการ
ทำางานcathartic colon
(การติดยาถ่าย) ทำาให้ต้องใช้ยา
Stimulant laxatives
ข้อควรระวัง
 enteric coated tablet ไม่ควร
บด/เคี้ยว ป้องกันการแตก
ตัวที่กระเพาะ (แทนที่จะออกฤทธิ์ที่
ลำาไส้ใหญ่) และอาจ
ทำาให้ระคายเคืองกระเพาะอาหารได้
Stimulant laxatives
Osmotic laxatives
ยามีคุณสมบัติเป็นสารออสโมติก e.g.
 กลุ่มเกลือ
-Magnesium sulfate, citrate,
hydroxide
(M.O.M/milk of magnesia)
-Sodium phosphate
(xubil®
;Monobasic Na
Osmotic laxatives
 Glycerine
 Sorbitol
 Lactulose
 Lactitol
Osmotic laxatives
กลไก; (ถูกดูดซึมได้น้อยหรือไม่ถูก
ดูดซึมใน GI)
 ดึงนำ้าให้อยู่ในท่อทางเดินอาหาร
ด้วยแรงออสโมติก
(osmotic action) ลำาไส้มีนำ้ามาก
ขึ้น เกิดการเคลื่อนไหว
ของลำาไส้
Osmotic laxatives
Drug interation ;
กลุ่มเกลือ เมื่อใช้ร่วมกับยาขับ
ปัสสาวะอาจทำาให้เกิด
ภาวะขาดนำ้ารุนแรงได้
Osmotic laxatives
ข้อควรระวัง
 เลี่ยงการใช้เกลือโซเดียม :ในผู้
ป่วยที่จำากัดเกลือ
- ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
-โรคหัวใจ
- มีภาวะบวม
-ไตบกพร่อง
Osmotic laxatives
 เลี่ยงใช้ยากลุ่มเกลือในหญิงให้นม
บุตร หญิงตั้งครรภ์
เพราะยาถูกขับออกทางนำ้านม และ
ทำาให้เกิด electrolyte
imbalance ยกเว้น M.O.M
สามารถใช้ได้
 ระวังการใช้ lactulose ในผู้ป่วย
Hepatic encephalopathy
ภาวะปกติ
กรดอะมิโนหรือโปรตีน
↓
แอมโมเนีย
↓
ถูกจับด้วยเซลล์ตับ
↓
ยูเรีย ถูกขับออกทางปัสสาวะ
สลา
ย
เข้า
ตับ
ถูก metabolize
เปลี่ยนเป็น
Hepatic encephalopathy
ภาวะตับเสื่อม eg. cirrhosis
แอมโมเนีย
↓
ยูเรีย
↓
แอมโมเนีย
↓
ถูก metabolize
เปลี่ยนเป็น
Hepatic
อาการของ hepatic
encephalopathy
สับสน กระสับกระส่าย หลงลืม
พูดเพ้อเจ้อ
เฉยเมย
ง่วง
กล้ามเนื้อสั่น ชักเกร็ง
หายใจเร็ว
หมดสติ
การใช้ lactulose รักษา
hepatic encephalopathy
Others ;ยาสวนทวารหนัก
(enemas)
e.g.
นำ้า (tap water)
นำ้าเกลือ =NaCl = eg.unison
enema
 sorbitol
นำ้าสบู่ (soap solution)กลไก; ฉีดสวนทางทวารหนัก
เกิดแรงดันที่ผนังไส้ตรง กระตุ้น
การหดตัวของไส้ตรง ขับ
การเลือกใช้ยาระบาย
คนทั่วไป :
bulk forming agents + life
modification
(กากใย ดื่มนำ้า ออกกำาลังกาย ฝึกการขับถ่ายเป็นเวลา)ไม่ได้ผล
  laxatives
ท้องผูกเฉียบพลัน :
ยาเหน็บ/ยาสวนทวารหนัก ไม่ได้
การเลือกใช้ยาระบาย
ผู้ป่วยที่กินอาหารที่มีกากใยน้อย
bulk forming agents
อุจจาระลักษณะแข็งมากหรือต้อง
หลีกเลี่ยงการเบ่ง
lubricant/stool softener ได้ผลดี
กว่า bulk forming agents
ต้องการความเร็วในการระบาย
การเลือกใช้ยาระบาย
ผู้ป่วยนอนเตียง/ผู้สูงอายุ
bulk forming agentsไม่ได้
ผลbisacodyl
/senna/M.O.M/(lactulose;low
dose) แต่ไม่ได้ให้บ่อย
หญิงตั้งครรภ์ (ยาระบายที่ไม่ดูด
ซึมเข้าสู่ร่างกาย)
การเลือกใช้ยาระบาย
เด็กทารกหรือเด็กเล็ก :
ปรับเปลี่ยนอาหารที่เพิ่มกากใย  ยา
เหน็บ e.g.glycerin
suppo/ยาสวนทวารหนัก
ถ้าไม่ได้ผลหรือไม่มียาข้างต้น ;
M.O.M./senna
ผู้ป่วยที่ต้องการขับสารพิษ :
ยาบรรเทาอาการท้องอืดเฟ้อ
(antiflatulants)
อาการท้องอืดเฟ้อ
(flatulence)
เกิดความรู้สึกตึงแน่น อึดอัด ไม่
สบายท้อง อาจเพราะมีก๊าซในทาง
เดินอาหาร
สาเหตุ e.g.
ระบบย่อยอาหารบกพร่อง
อาหารบางประเภท
โรค/สภาวะของร่างกายบางอย่าง
ยาบรรเทาอาการท้องอืดเฟ้อ
(antiflatulants)
กลุ่มนำ้ามันหอมระเหย (volatile
oils)
กลุ่มต้านการเกิดฟอง
(defoaming agent)
กลุ่มนำ้ามันหอมระเหย (volatile
oils)
e.g. pepermint oil , fennel
oil ,cinnamon oil,
Cardamom, ยาธาตุนำ้าแดง
(stomachica mixture),
ทิงเจอร์ คาร์มิเนทีฟ (carminative
ยาบรรเทาอาการท้องอืดเฟ้อ
(antiflatulants)
กลุ่มนำ้ามันหอมระเหย (volatile
oils)
กลไก
ทำาให้รู้สึกอุ่นที่ทางเดินอาหาร
ช่วยในการขับก๊าซออกมา
นำ้ามันหอมระเหย:กระตุ้นระบบ
ประสาท
ยาบรรเทาอาการท้องอืดเฟ้อ
(antiflatulants)
รู้สึกสบายข
ยาบรรเทาอาการท้องอืดเฟ้อ
(antiflatulants)
ไม่ควรใช้ Mixture
Carminative ขององค์การ
เภสัชกรรมในหญิงมีครรภ์
เนื่องจาก มี Alcohol ประกอบอยู่
ประมาณร้อยละ 8.8 ซึ่งสตรีมี
ครรภ์ควรหลีกเลี่ยงแอลกอฮอล์ แม้
 ในปริมาณน้อยก็ตาม
กลุ่มต้านการเกิดฟอง
(defoaming agent)
e.g.Simeticone tab,susp.
Trade name :AIR-X , Belcid
compound
กลไก :ลดแรงตึงผิวของฟองก๊าซใน
ทางเดินอาหาร ช่วย
ยาบรรเทาอาการท้องอืดเฟ้อ
(antiflatulants)
ข้อควรปฏิบัติเพื่อป้องกัน
อาการท้องอืดเฟ้อ
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่
ทำาให้เกิดก๊าซ e.g.
ถั่วต่าง ๆ นำ้าอัดลม
รับประทานอาหารที่ย่อยง่าย
เคี้ยวอาหารให้ละเอียด

Contenu connexe

Tendances

3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้าน3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้านPa'rig Prig
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
ยาระงับปวด
ยาระงับปวดยาระงับปวด
ยาระงับปวดJumpon Utta
 
4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวาน4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวานPa'rig Prig
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfpraphan khunti
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPrachaya Sriswang
 
การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก Utai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านบทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านPa'rig Prig
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กOzone Thanasak
 
Ppt.หูเสื่อม
Ppt.หูเสื่อมPpt.หูเสื่อม
Ppt.หูเสื่อมPrachaya Sriswang
 
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวด
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวดยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวด
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวดtopsaby99
 
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานBLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานPaleenui Jariyakanjana
 

Tendances (20)

3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้าน3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้าน
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 
ยาระงับปวด
ยาระงับปวดยาระงับปวด
ยาระงับปวด
 
Pharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patientPharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patient
 
4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวาน4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวาน
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านม
 
Ppt.stroke
Ppt.strokePpt.stroke
Ppt.stroke
 
การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก
 
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านบทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็ก
 
Ppt.หูเสื่อม
Ppt.หูเสื่อมPpt.หูเสื่อม
Ppt.หูเสื่อม
 
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
 
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวด
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวดยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวด
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวด
 
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานBLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
 
Agent used in hyperlipidemia
Agent used in hyperlipidemiaAgent used in hyperlipidemia
Agent used in hyperlipidemia
 

Similaire à Finish giตัด

การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมการบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมUtai Sukviwatsirikul
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555Rachanont Hiranwong
 
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมการบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมUtai Sukviwatsirikul
 
Psychoactive substance
Psychoactive substancePsychoactive substance
Psychoactive substancetaveena
 
การทำร้านยาสู่ Gpp
การทำร้านยาสู่ Gppการทำร้านยาสู่ Gpp
การทำร้านยาสู่ GppKanon Thamcharoen
 
PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsCAPD AngThong
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)Junee Sara
 

Similaire à Finish giตัด (10)

การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมการบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555
 
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมการบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
 
Bio psy social_therapy
Bio psy social_therapyBio psy social_therapy
Bio psy social_therapy
 
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 
Psychoactive substance
Psychoactive substancePsychoactive substance
Psychoactive substance
 
การทำร้านยาสู่ Gpp
การทำร้านยาสู่ Gppการทำร้านยาสู่ Gpp
การทำร้านยาสู่ Gpp
 
Pompea2
Pompea2Pompea2
Pompea2
 
PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptoms
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
 

Finish giตัด