SlideShare a Scribd company logo
1 of 108
การให้คำาแนะนำาการใช้ยา
เทคนิคพิเศษ
และยาลักษณะพิเศษ
Outline
1.Insulin
(อินซูลิน)
2.ยาเหน็บช่อง
คลอด
3.ยาครีมใส่
ช่องคลอด
4.ยาสวนทวาร
หนัก
8.ยาหยอดหู
9.ยารักษาโรคหัวใจ
(อมใต้ลิ้น)
10.Warfarin
11.ยาสูดพ่นทางปาก
12.ยาสูดพ่นทางจมูก
13.การสวนล้างจมูก
Insulin (อินซูลิน)
Insulin ชนิด
ขวด+syringe
Novopen+mixtard
70/30 Penfill
Lantus
Insulin (อินซูลิน) ชนิด
ขวด+syringe
Novopen+mixtard 70/30 Penfill
Lantus
การออกฤทธิ์ของอินซูลินแต่ละ
ชนิด
ucdmc.ucdavis.edu/chronicdisease/diabetes_education/insu
การฉีดอินซูลินผสมสองชนิด
ชนิดออกฤทธิ์เร็ว (นำ้าใส)
Regular insulin=RI=actrapid
ชนิดออกฤทธิ์ปานกลาง (นำ้า
ขุ่น)
NPH= Humulin N= insulatard
มา
ผสม
กับ
การฉีดยาอินซูลินแบบเข็มฉีด
(syringe) ชนิดเดียว
ล้างมือให้สะอาดแล้ว
เช็ดให้แห้ง
คลึงขวดยาอินซูลิน
เพื่อ……
ใช้สำาลีชุบแอลกอฮอล์
เช็ดจุกยางของขวด
ดูดลมเข้ามาในหลอด
ฉีดยา=ปริมาณยาที่จะ
ต้องใช้
การฉีดยาอินซูลินแบบเข็มฉีด
(syringe) ชนิดเดียว
แทงเข็มเข้าไปในขวด
ยาแล้วดันอากาศ
เข้าไปในขวด การใส่
ลมในขวดนี้
เพื่อ……………..
ควำ่าขวดยาลงแล้วดูด
ยาอินซูลินเข้าหลอด
ฉีดยา
การฉีดยาอินซูลินแบบเข็มฉีด
(syringe) ชนิดเดียว
7.ตรวจดูฟองอากาศ
หากมีฟองอากาศให้
ฉีดยาเข้าไปในขวดใหม่
แล้วดูดกลับเข้ามาช้าๆ
จนได้ปริมาณที่ต้องการ
หรือหากใช้เข็มซำ้า
ให้…………
ทำาไมต้องไล่ฟอง
อากาศ???.....
การฉีดยาอินซูลินแบบเข็มฉีด
(syringe) ชนิดเดียว
ใช้
สำาลี…………
……
ดูดลมเข้ามาใน
หลอดฉีดยาให้มี
จำานวน = ปริมาณ
ยานำ้าขุ่นที่จะ
ต้องการฉีด แล้วฉีด
การฉีดอินซูลินผสมสองชนิด
ดูดลมเข้ามาในหลอดฉีด
ยานำ้าใสให้มีจำานวน=ปริ
มาณยานำ้าใสที่จะ
ต้องการฉีดแล้วฉีดลม
เข้าไปในขวดอินซูลิน
เข้าหลอดฉีดยาใน
ปริมาณที่ต้องการ
การฉีดอินซูลินผสมสองชนิด
ดูดอินซูลินนำ้าใสออก
มา=ปริมาณที่ต้องการ
ฉีด
การฉีดอินซูลินผสมสองชนิด
กลับมาดูดอินซูลินชนิด
นำ้าขุ่นในปริมาณที่
แพทย์สั่งแล้วนำาไปฉีด
ทันที
-ระวัง ถ้าโดยอุบัติเหตุดูดอินซูลินนำ้าขุ่นมากกว่า
ปกติ ห้ามดันยา กลับเข้าไปในขวดแต่ให้ทิ้ง
อินซูลินและเริ่มดูดยาทั้งสองชนิดใหม่
-เมื่อดูดยาสองชนิดผสมในเข็มเดียวกัน ควรฉีด
การฉีดอินซูลินผสมสองชนิด
จะเกิดอะไรขึ้นหากดูดสลับขวด??
ทำาให้อินซูลินนำ้าใสมีลักษณะ
เปลี่ยนไป
หากดูดนำ้าขุ่นก่อนนำ้า
ใส ยาที่เป็นนำ้าขุ่น
อาจเข้าไปผสมกับนำ้า
ใส
ปัญหาที่พบบ่อยเกี่ยวกับการฉีด
insulin
เข็ม 100 ยูนิต
เข็ม 50 ยูนิต
แตกต่างกันไหม ?
การฉีดยาอินซูลินเข้าสู่ร่างกาย
หลังจากได้บรรจุยาอินซูลินในหลอดฉีดยาแล้ว
ควรรอให้อุณหภูมิของอินซูลินเท่ากับอุณหภูมิ
ห้องก่อน
ใช้สำาลีชุบแอลกอฮอล์
ทำาความสะอาด
ผิวหนังบริเวณที่ฉีดยา
การฉีดยาอินซูลินเข้าสู่ร่างกาย
ใช้มือข้างหนึ่งดึง
ผิวหนังบริเวณที่จะฉีด
ยกให้สูงขึ้นเป็นลำา แล้ว
แทงเข็มฉีดยาเข้าไปให้
ตรง ให้ตั้งฉากกับผิว
เข้าชั้นใต้ผิวหนัง ให้
มิดเข็ม
การฉีดยาอินซูลินเข้าสู่ร่างกาย
กดลูกสูบดันยาลงไปให้สุดจนหมด
การฉีดยาอินซูลินเข้าสู่ร่างกาย
ถอนเข็มฉีดยาออก
ใช้สำาลีกดเบา ๆ ตรง
ตำาแหน่งที่ฉีด
ถ้ามีเลือดออกหรือรู้สึก
ปวดหรือมีนำ้าใสไหล
ออกมา ไม่ควรคลึง
เลือดหรือนวดบริเวณที่
***ห้ามฉีดซำ้า
ที่เดิมมากกว่า
1 ครั้ง ใน 1 -
2 เดือน
เพราะ…อาจ
ทำาให้บริเวณ
ที่ฉีดเกิดเป็น
ก้อนไตแข็ง 
และในการฉีด
ครั้งต่อไปควร
ฉีดห่างจากจุด
เดิม 1 นิ้ว ***
ฉีดอินซูลินบริเวณไหนได้บ้าง
การเก็บรักษาเข็มและอินซูลิน
เข็มฉีดยา ใช้แล้วทิ้งหรือเก็บไว้ใช้ได้อีก
2-3 วัน โดยสวมปลอก นำาไปไว้ในตู้เย็นและ
นำามาใช้ได้อีก (อย่านำาเข็มไปล้างหรือเช็ด
เพราะ…………………………………)
การเก็บรักษาเข็มและอินซูลิน
ห้ามเก็บอินซูลินไว้กลางแดดจัด หรือที่อุณหภูมิตำ่า
มากๆ เช่น ในช่องแช่แข็งของตู้เย็น เพราะ …ยา
เสื่อมคุณภาพ และไม่แนะนำาเก็บที่ฝาตู้เย็น
ประเภท
อินซูลิน
ยังไม่เปิด
+แช่เย็น
(2-8 c° )° )
ยังไม่เปิด
+ไม่แช่เย็น
(เหมือน
เปิดไม่แช่)
เปิด
ใช้+แช่
เย็น
(2-8 c° )° )
เปิดใช้+
ไม่แช่เย็น
ปากกา
(mixtar
d)
Exp.ข้าง
หลอด
45 วัน ไม่แนะนำา
แช่เย็น
45 วัน
ปากกา
(lantus)
Exp.ข้าง
หลอด
30 วัน ไม่แนะนำา
แช่เย็น
30 วัน
ขวด Exp.ข้าง
ขวด
30 วัน 45 วัน 30 วัน
ฉีดอินซูลินแล้วต้องระวังนำ้าตาลใน
เลือดตำ่าอย่างไร
ภาวะนำ้าตาลตำ่า (Hypoglycemia ;< 60 -70 มก./ดล. )
 shock
อาการรุนแรงอาจ
การจัดการเมื่อระดับนำ้าตาลใน
เลือดตำ่า
รไม่มาก และเกิดขึ้นใกล้เวลาอาหาร
ารค่อนข้างมาก แต่ยังรู้สึกตัว  ให้ดื่มนำ้าหวาน ½ - 1 แก้ว
หรืออมลูกอม 1-2 เม็ด หรือ
นำ้าตาล 2 ก้อน อาการควร
จะดีขึ้นภายใน 5-10 นาที
แล้วรีบรับประทานข้าว หรือ
อาหารประเภทแป้ง
ควรรีบรับประทานทันที หรือ
รีบ
รับประทานของว่าง เช่น
ขนมปัง
นม ผลไม้รสหวานก่อน
ารรุนแรงถึงขั้นหมดสติไม่รู้สึกตัวห้ามให้ลูกอม หรือ ดื่มนำ้า
หวาน เพราะอาจ
ทำาให้สำาลัก รีบนำาส่งโรง
พยาบาล หรือ
การใช้ยาเหน็บช่องคลอด
การใช้ยาเหน็บช่องคลอด
-ล้างมือให้สะอาด
-แกะยา ถ้าเป็นยาเม็ดแข็งให้จุ่มในนํ้าสะอาด
พอชื้น (ประมาณ 1-2 วินาที)
-นอนหงาย โดยชันหัวเข่าขึ้นและแยกขาออก
การใช้ยาเหน็บช่องคลอด
-สอดยาเข้าไปในช่องคลอด โดยใช้นิ้วช่วยดันยา
เข้าไปให้ลึกที่สุด
-นอนพักในท่าเดิมสัก 15 นาที เพื่อรอให้ตัวยา
ละลาย
การใช้ยาเหน็บช่องคลอด
ข้อแนะนําเพิ่มเติมสําหรับยา
เหน็บช่องคลอด
1.ควรเหน็บยาติดต่อกันทุกวัน
ตามที่แพทย์สั่ง
2.ไม่ควรใช้ยาเหน็บช่องคลอด
ขณะมีประจําเดือน
3.ควรงดการมีเพศสัมพันธ์ขณะ
รักษา
การใช้ยาครีมใส่ช่องคลอด ;การ
ใช้เครื่องสอดยา
การใช้ยาครีมใส่ช่องคลอด ;การ
ใช้เครื่องสอดยา
-ล้างมือให้สะอาด
-เปิดฝายาครีม
-สวมเครื่องสอดยา ลง
ในหลอดยาครีมที่เปิดไว้
โดยการหมุนเกลียวให้
แน่น
การใช้ยาครีมใส่ช่องคลอด
-ดึงก้านสูบของเครื่อง
สอดออกมา จนได้
ปริมาณตามต้องการ
(บริเวณก้านสูบจะมีเส้น
ระบุปริมาณ)
-ควํ่าหลอดยาครีมลง
พร้อมกับค่อยๆบีบยาครีม
ออกมา
การใช้ยาครีมใส่ช่องคลอด
-นอนหงายโดยชันหัว
เข่าขึ้นและแยกขา
ออก (ห้ามนั่งยอง)-จับตัวเครื่องมือสอด
ยาที่ใส่ยาแล้วด้วยนิ้ว
หัวแม่มือและนิ้วกลาง
ส่วนนิ้วชี้ให้แตะอยู่บน
ปลายก้านสูบ
-หันปลายที่มียาเข้าไป
ในช่องคลอด ค่อย ๆ
การใช้ยาครีมใส่ช่องคลอด
เมื่อสอดเข้าไปลึก
พอควร ให้ใช้นิ้วชี้ดัน
ก้านสูบเพื่อไล่ตัวยา
ออกจากเครื่องมือ
โดยยาจะตกอยู่ใน
ช่องคลอด
การใช้ยาครีมใส่ช่องคลอด
-นอนในท่าเดิมสักครู่ประมาณ 15 นาทีเพื่อไม่ให้
ยาไหลออกจากช่องคลอด
-หลังจากใช้เครื่องมือทุกครั้ง ต้องทําความสะอาด
เครื่องมือสอดด้วยนํ้าอุ่นและสบู่ (ห้ามใช้นํ้าเดือด
เพราะทําให้เครื่องมือเสียได้) แล้วเช็ดเครื่องมือให้
แห้ง เก็บไว้ใช้ได้ครั้งต่อไป
การใช้ยาสวนทวารหนัก
การใช้ยาสวนทวารหนัก
ยาที่มีใช้ในโรงพยาบาล คือ Unison enema
วิธีการใช้ยาสวนทวารหนัก
1. ล้างมือให้สะอาด
2. ถ้ามีฝาปิดหลอดสวนให้เอาฝาปิดออกก่อน
และหล่อลื่นปลายหลอดสวนด้วยสารหล่อลื่น
หรือหล่อลื่นปลายหลอดสวนด้วยการบีบนํ้ายา
ออกมาชโลมปลายหลอดเล็กน้อย
การใช้ยาสวนทวารหนัก
3. นอนตะแคง โดยให้ขาล่างเหยียดตรง และ
งอขาบนขึ้นจนหัวเข่าจรดกับหน้าอก
การใช้ยาสวนทวารหนัก
4. สอดปลายหลอด
สวนเข้าไปในทวาร
หนัก โดยค่อยๆหมุน
ขวดยาเข้าไปอย่าง
ช้าๆ และเบาๆ ขณะ
สอดควรให้หายใจ
เข้าลึกๆ จะทําให้
สอดง่ายขึ้น ผู้ใหญ่
ควรสอดลึกเกิน 15
การใช้ยาสวนทวารหนัก
5. ค่อยๆบีบยาจากขวดหรือภาชนะบรรจุนํ้ายา
อย่างช้าๆ จนนํ้ายาหมด หรือตามปริมาณที่แพทย์
สั่ง
6. พยายามขมิบทวารหนักไว้ 2-3 วินาที
7. ให้นอนในท่าเดิมประมาณ 15-30 นาที แม้จะ
มีความรู้สึกอยากถ่ายก็กลั้นไว้ก่อน หากลุกไป
ถ่ายทันทีหลังจากสวนยาจะทําให้ยาออกจาก
ทวารหนักก่อนที่จะออกฤทธิ์ได้เต็มที่ หากเป็นไป
ได้ให้กลั้นไว้นานที่สุดเท่าที่จะทําได้
การใช้ยาเหน็บทวารหนัก
การใช้ยาเหน็บทวารหนัก
วิธีการใช้ยาเหน็บทวาร
หนัก
1. ล้างมือให้สะอาด
2. ถ้ายาเหน็บนิ่มให้แช่ยา
ในตู้เย็นก่อนหรืออาจแช่
ในนํ้าเย็นก็ได้ เพื่อให้ยา
แข็งตัวและสอดง่ายขึ้น
3. แกะยาออกจากกระดาษ
ห่อ
การใช้ยาเหน็บทวารหนัก
4. นอนตะแคง
โดยให้ขาล่าง
เหยียดตรง และงอ
ขาบนขึ้นจนหัวเข่า
จรดกับหน้าอก
การใช้ยาเหน็บทวารหนัก
5. สอดยาเหน็บเข้าไป
ในทวารหนัก โดยเอา
ด้านที่มีปลายแหลม
กว่าเข้าไปก่อน โดย
ใช้นิ้วดันยาเข้าไป
อย่างช้าๆและเบาๆ
พยายามสอดให้ลึก
ที่สุด เพื่อไม่ให้ยา
เหน็บไหลออกมา (ใน
การใช้ยาเหน็บทวารหนัก
6.นอนในท่าเดิมสักครู่หนึ่งประมาณ 15
นาที ถ้าเป็นยาระบาย ควรนอนในท่าเดิมไม่ตํ่า
กว่า 15-20 นาที จึงจะลุกไปถ่ายอุจจาระ
แม้ว่าหลังจากสอดยาแล้วจะมีความรู้สึกอยาก
ถ่ายก็ตามก็ต้องกลั้นอุจจาระไว้ก่อน หากลุก
ไปถ่ายทันทีหลังจากสอดยา จะทําให้ยาออก
จากทวารหนักก่อนที่ยาจะออกฤทธิ์ได้เต็มที่
การใช้ยาหยอดตา
การใช้ยาหยอดตา
1.ล้างมือให้สะอาดก่อนที่จะ
ใช้ยาหยอดตา
2.อ่านวิธีใช้ยาบนฉลากยา
ตรวจสอบวันหมดอายุของยา
ทุกครั้งที่ใช้
3.เขย่าขวดยาก่อนใช้ยา
หยอดตา
4.เปิดเกลียวจุกของขวดยา
ไว้ (สําหรับขวดที่มีหลอด
การใช้ยาหยอดตา
5.นอน หรือนั่งลงให้ศีรษะ
เอนไปทางด้านหลัง พร้อม
กับมองแหงนตาขึ้น กรณีผู้
ป่วยเป็นเด็ก ควรหยอดใน
ท่านอนสะดวกกว่า และไม่
ควรหยอดตาในขณะที่เด็ก
ร้องไห้
6.ค่อยๆใช้มือข้างหนึ่งดึง
หนังตาล่างลงมาให้เป็นกระ
การใช้ยาหยอดตา
7.หยอดยา โดยให้ปลาย
หลอดอยู่ใกล้ตา แต่อย่าให้
สัมผัสกับตาหรือขนตา
8.หยดยาตามจํานวนที่แพทย์
สั่งลงตรงกระพุ้ง ด้านในของ
เปลือกตาล่าง
9.ใช้นิ้วมือกดตรงหัวตาด้าน
ในเบาๆประมาณ 1-2 นาที
การใช้ยาหยอดตา
10.ปิดตาเบาๆ(อย่าขยี้ตา) ใช้กระดาษทิชชู
ซับนํ้ายาส่วนเกินออก หลับตาอย่างน้อย 2
นาที
11.ถ้าต้องหยอดยาตามากกว่า 1 ชนิด ควร
หยอดยาตาแต่ละชนิดห่างกันอย่างน้อย 5
นาที ถ้ามีทั้งยาหยอดตาและยาป้ายตาพร้อมๆ
กัน ควรจะใช้ยาหยอดตาก่อน ทิ้งระยะ 10
นาทีแล้วจึงป้ายตา
12.หลังจากหยอดยา ป้ายยาเรียบร้อยแล้ว ปิด
การใช้ยาป้ายตา
การใช้ยาป้ายตา
•ล้างมือให้สะอาด
•นอนหรือนั่งแหงนหน้า
ขึ้น
•ค่อยๆใช้มือข้างหนึ่ง
ดึงหนังตาล่างลงมาให้
เป็นกระพุ้ง และเหลือบ
การใช้ยาป้ายตา•ให้ใช้มืออีกข้างหนึ่ง
จับหลอดขี้ผึ้ง และบีบขี้
ผึ้งขนาดยาวประมาณ 1
เซนติเมตร หรือประมาณ
ครึ่งนิ้ว ลงในด้านใน
ของเปลือกตาล่าง โดย
เริ่มป้ายยาจากหัวตาไป
ประมาณครึ่งตา ระวัง
อย่าให้ปลายหลอดยา
แตะถูกตาหรือขนตา
การใช้ยาป้ายตา
•ค่อย ๆปิดตา และกลอก
ลูกตาไปมาทุกทิศทุกทาง
ขณะที่ยังปิดตาอยู่สักครู่
หนึ่งประมาณ 1-2
วินาที เพื่อให้ยากระจาย
ได้ทั่วตา เมื่อลืมตาขึ้น
ตาอาจจะพร่าเล็กน้อย
หากมีขี้ผึ้งไหลออกมาน
อกตาให้เช็ดด้วย
กระดาษทิชชู
ปิดฝาจุกหลอดยาให้สนิท
-ยาหยอดตา/ยาป้ายตาหลังจากเปิดฝาแล้ว
มีอายุ 1 เดือน
-ยาหยอดตาบางชนิด  ตู้เย็น (2-8 องศา)
เช่น Chloramphenical
-ใช้ยาขี้ผึ้งป้ายตา 2 ชนิดขึ้นไป ห่างกัน
~10 นาที
-ยาหยอดตา+ป้ายตายาหยอดตาก่อน ~10
นาที ขี้ผึ้งป้ายตา
คำาแนะนำาอื่นๆในการใช้ยาหยอด
ตาและยาป้ายตา
-  ยาหยอดตา 2 ชนิด   หยอดตาห่างกัน ~
5-10 นาที
-หากมีขี้ตามาก ให้ล้างตาด้วยนำ้า
ยาล้างตา/เช็ด ขี้ตาก่อนป้ายตา
-การป้ายตาอาจทำาให้ตาพร่า
ไม่ควรขับรถ/ทำางานเสี่ยงต่อ
อันตราย จนกว่าตาจะมองเห็นได้
ชัดเจนตามปกติ
-ยาหยอดเปลี่ยนสีหรือขุ่น ห้าม
ใช้
-ใส่เลนส์สัมผัส ถอด
คำาแนะนำาอื่นๆในการใช้ยาหยอด
ตาและยาป้ายตา
การใช้ยาหยอดหู
การใช้ยาหยอดหู
-ล้างมือ
-ยาหยอดหู (ตู้เย็น) เช่น
...ก่อนใช้ให้เอาขวดยาใส่
ในฝ่ามือและกำาไว้ 2-3 นาที
เพื่อให้อุณหภูมิของยาใกล้
เคียงกับอุณหภูมิของร่างกาย
(ถ้าเป็นยานำ้าแขวนตะกอน
ให้เขย่าขวดก่อนใช้ )
-นอนตะแคง/เอียงศีรษะให้หู
-หยอดยา แต่ไม่ควรเอา
หลอดหยดสอดเข้าไปในรู
หู เพราะหลอดหยดอาจ
ทำาให้เกิดบาดแผลต่อหูได้
และไม่ควรให้หลอดหยด
สัมผัสกับสิ่งใดๆ เพื่อ
ป้องกันสิ่งปนเปื้อนเข้าไป
ในยา
-นอนตะแคงหรือเอียง
การใช้ยาหยอดหู
การใช้ยารักษาโรคหัวใจ(อมใต้
ลิ้น) eg. Isodil sl
เมื่อปวดเค้นอก อมยา
ใต้ลิ้นทันที
อมไว้ใต้ลิ้น ไม่เคี้ยว ไม่กลืนหรือกลืนนำ้าลาย และนั่ง
ทำาไมต้องอม ไม่กลืน
หรือกินไปเลย
ใต้ลิ้นมีหลอด
เลือดนำายาเข้าสู่กระแส
เลือดหลอดเลือดโคโรนารีที่
อุดตัน/ตีบอยู่ ขยายตัว
ออกเลือดจึงไหลผ่านไปเลี้ยง
กล้ามเนื้อหัวใจได้ดีขึ้น
อาการเจ็บหน้าอกลด
No GI absorb 
??
ทำาไมต้องนั่งหรือนอน อม ?
ความดันโลหิตตำ่าลง บางรายเป็นหน้ามืด เป็นลม
หมดสติได้
อาการปวดศีรษะ
การใช้ยารักษาโรคหัวใจ(อมใต้
ลิ้น)
หากอมยาเม็ดแรก
อาการไม่ดีขึ้น ภายใน 5 นา
อมยาเม็ดที่ 2
อาการไม่ดีขึ้น ภายใน 5 นา
อมยาเม็ดที่ 3
พบแพทย์ด่วน
สังเกตว่าเวลาอมยานี้จะรู้สึกซ่า
ถ้าไม่ซ่าแสดงว่ายาเสื่อมสภาพ
หมดฤทธิ์ทางการรักษา
การเก็บยาประเภทนี้ต้องเก็บใน
วาร์ฟาริน (warfarin)
วาร์ฟาริน (warfarin) คืออะไร
ยากันเลือดแข็งตัว (Warfarin)
ต้านการแข็งตัวของเลือด
เลือดแข็งตัวช้ากว่าปกติ
ป้องกันการเกิดลิ่มเลือด
ลดการอุดตันในระบบไหล
เวียนของเลือด
-หลังผ่าตัดใส่ลิ้นหัวใจเทียม
-โรคลิ้นหัวใจรูมาติค (RHD)
-ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ (AF)
-ภาวะลิ่มเลือดอุดตันเส้นเลือดใน
ปอด
-เส้นเลือดแดงบริเวณ แขน ขา/
เส้นเลือดดำา
ใหญ่อุดตันจากลิ่มเลือด
-ประวัติเส้นเลือดสมองอุดตัน
วาร์ฟารินมีข้อบ่งใช้อะไรบ้าง
ทำาไมต้องเจาะเลือดทุกครั้งที่มา
พบแพทย์
ใช้ขนาดเดิม
จนกว่าจะได้รับการเจาะเลือด
และพบแพทย์
วจฤทธิ์ของยาที่ให้ ทุก 1-3 เดือน
ปรับยาตามคำาสั่งของแพทย์
ากไม่สามารถพบแพทย์ได้ตามนัด
ต้องกินยานี้ไปนานแค่ไหนสามารถ
หยุดกินเองได้หรือไม่
ใช้ต่อเนื่อง เลือดออกผิดปกติ เช่น ไรฟัน
ปัสสาวะ ไออาเจียน อุจจาระ
บาดแผลเลือดออกมาก มีรอยชำ้า
ตามตัว ประจำาเดือนออกมากผิด
ปกติหยุดรับประทานยา และมาพบ
แพทย์ทันที
เจาะเลือดดูว่ารับประทานยามาก
เกินไปหรือเปล่า
หากรับประทานยานี้อยู่แต่ต้องการทำาฟัน
หรือผ่าตัดจะทำาอย่างไร
บอกแพทย์ว่ากินยาบอกแพทย์ว่ากินยา
ชนิดนี้อยู่ชนิดนี้อยู่
เพราะเพราะ..................................................
........................
แพทย์จะให้หยุดยาอย่าง
น้อย 3-4 วันก่อนผ่าตัด
ทำาอย่างไรหากเกิดอุบัติเหตุ/มีบาดแผล
ระหว่างที่ใช้ยานี้
ใช้มือกดไว้ให้แน่นตรง
บาดแผล
เลือดจะหยุดออก หรือออก
น้อยลง
ให้รีบไปโรงพยาบาล
ทันที
พบแพทย์หรือพยาบาล
แจ้งว่าท่านรับประทานยากัน
เลือดแข็งตัวอยู่
หากท่านหมดสติไปจะทำาอย่างไรให้คน
อื่นรู้ว่าเรากินยานี้อยู่
นำาให้แพทย์หรือทันตแพทย์ดู
พกบัตรประจำาตัวผู้ป่วยวาร์
ฟาริน (warfarin card)
ติดตัวตลอด
เมื่อไปรับการตรวจรักษาที่
สถานพยาบาลอื่นหรือเกิด
อุบัติเหตุฉุกเฉิน
หากจะซื้อยาอื่นมารับประทานร่วมกับ
ยานี้ควรทำาอย่างไร
วรปรึกษาแพทย์/เภสัชกร
ยาบางชนิด+ยาวาร์ฟาริน
ยาวาร์ฟาริน หรือยาอื่นที่ใช้ร่วมกัน
ยนแปลงระดับยาในกระแสเลือด
หากจะซื้อยาอื่นมารับประทานร่วม
กับยานี้ควรทำาอย่างไร
ฤทธิ์ของวาร์ฟารินEg.Carbamazepi
ne ,Phenytoin
Rifampicin
,Griseofulvinฤทธิ์ของวาร์ฟารินEg.Indomethacin,
diclofenac ,NSAID
s
Cephalosporins
ยาสมุนไพร ยาหม้อ ยาลูกกลอน หรือยา
แผนโบราณอื่นๆ ก็อาจมีผลต่อระดับยาวาร์
 อาหารมีผลต่อการออกฤทธิ์ของ
ยาวาร์ฟารินหรือไม่
อาหารบางชนิด+ยาวาร์ฟาริน
อาหารที่มีวิตามิน เค สูง เช่น ผักใบเขียว
อาหารที่มีวิตามิน อี สูง เช่น นำ้ามันพืช ปลา
อาหารเสริมหรืออาหารสมุนไพรบางชนิด เช่น
 โสม ขิง แปะก๊วย กระเทียม
ไม่ควรเปลี่ยนแปลงปริมาณการรับประทานอาหาร
เหล่านี้ในแต่ละวัน
การดื่มเหล้า เบียร์ สูบบุหรี่ มีผลต่อระดับ
ยาวาร์ฟารินหรือไม่
บยาวาร์ฟารินในเลือดเปลี่ยนแปลง
หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเหล่านี้
หากรับประทานยานี้อยู่สามารถ
ตั้งครรภ์ได้หรือไม่
มีผลต่อทารกในครรภ์
โดยเฉพาะในระยะ 3 เดือน
แรก
ของการตั้งครรภ์
หากท่านตั้งครรภ์หรือมี
โครงการจะมีบุตร ควร
ปรึกษาแพทย์
สามารถให้นมบุตระหว่างใช้ยา
นี้ได้หรือไม่
นี้สามารถขับผ่านทางนำ้านมได้
แต่ Based on limited data, warfarin has not been detected in human milk. However,
changes in prothrombin time in breast-feeding infants of mothers treated with
warfarin have been reported. The manufacturer recommends that caution be used
when administering warfarin to nursing women.
Ref: http://www.drugs.com/pregnancy/warfarin.html
หากลืมกินยานี้จะทำาอย่างไร
 ห้ามเพิ่มขนาดยา ที่รับ
ประทานเป็น 2 เท่าโดย
เด็ดขาด
 กรณีลืมรับประทานยาที่
ยังไม่ถึง 12 ชั่วโมง ให้
รีบรับประทานยาทันทีที่
นึกได้ ในขนาดเดิม
 กรณีที่ลืมรับประทานยา
และเลย 12 ชั่วโมงไป
วิธีเก็บรักษายาทำาอย่างไร
 เก็บยาให้พ้นแสงและ
ความชื้น
 เก็บยาให้พ้นมือเด็ก
หากมีปัญหาเกี่ยวกับโรคและใช้ยา
สามารถสอบถามได้ที่ไหน
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารด้านยา
กลุ่มงาน
เภสัชกรรม โรงพยาบาล
อุตรดิตถ์
โทร ต่อ 1124
ยาสูดพ่นใช้ในโรคระบบทาง
เดินหายใจ
ยาสูดพ่น
ทางจมูก
ยาสูดพ่นทางปาก
Metered-dose
inhaler (MDI)
Turbuhaler
Accuhaler
Handihaler
Swinghaler
Breezhaler
ประเภทของเครื่องสูดพ่นทางปาก
1.ยาขยายหลอดลม ใช้สูดพ่นเมื่อมีอาการ
หอบเหนื่อย
:หลอดลมขยายตัว ทำาให้บรรเทาอาการหอบ
เหนื่อย
ยาสูดพ่นทางปากที่ใช้ในการรักษาโรค
หอบหืด/
ปอดอุดกั้นเรื้อรัง
2.คอร์ติโคสเตียรอยด์
ใช้เป็นประจำาทุกวัน :ทำาให้การอักเสบในผนัง
หลอดลมลดลง +ทำาให้การกำาเริบของโรคหืดลด
ลง
อย่าลืม  ทำาความสะอาดช่องปากทุกครั้งหลัง
3.ยาขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์
ยาว
ใช้เป็นประจำาทุกวัน ขยาย
หลอดลม+ป้องกันการเกิดอาการหอบหืดกำาเริบ
แบ่งออกเป็น 2 แบบ ได้แก่3.1 ยาขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์ยาวเดี่ยวๆ
ยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์ยาว
3.2 ยาขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์ยาวผสมยา
คอร์ติโคสเตียรอยด์
อย่าลืม  ทำาความสะอาดช่องปากทุกครั้งหลัง
วิดีโอเทคนิคการใช้ยาสูดพ่น
ทางปาก
การทำาความสะอาดเครื่องสูดพ่น
ทางปาก
ถอดส่วนที่หลอดยาโลหะออกจากกระบอก
พลาสติก แล้วนำาส่วนที่เป็นกระบอกพลาสติกไป
ล้างด้วยนำ้าอุ่น แล้วผึ่งให้แห้ง
1.Metered dose inhaler (MDI)
นำา mouth piece หรือ spacer ไปล้างด้วย
นำ้าอุ่นแล้วผึ่งให้แห้ง
spacermouth piece
I + mouth piece หรือ spacer
ใช้ผ้าแห้งเช็ดบริเวณปากเครื่องสูดพ่น (บริเวณ
ที่วงกลม)
ler,Breezhaler, Turbuhaler, Swing
1.เปิดฝาครอบกันฝุ่นและ
ปากกระบอกยาขึ้น และเปิด
ฐานบรรจุยาโดยดันปุ่ม
เขียวขึ้น
2.ล้างเครื่องสูดพ่นด้วยนำ้า
อุ่น
ส่วนด้านนอกของปาก
กระบอกให้ใช้กระดาษทิชชู
ชื้นหมาด ๆ เช็ดทำาความ
.Handihaler
3.เทนำ้าออกให้หมด
4.วางทิ้งไว้ให้แห้งเอง โดย
เปิดฝาครอบกันฝุ่น ปาก
กระบอกยาและฐานบรรจุยาไว้
หมายเหตุ : ห้ามใช้เครื่องสูดพ่นขณะที่เครื่อง
Handihaler
การทดสอบยาเหลือ
ยาหมด
1.กดเครื่องสูดพ่นยา
แล้วไม่มีควันออกมา
2.จับหลอดยาแล้วเบา
ยาเหลือ
1.กดเครื่องสูดพ่นยา
แล้วมีควันออกมา
2.จับหลอดยาแล้ว
หนัก
tered dose inhaler (MDI)
แสดงว่า ยาเหลือใช้อีก 124 สูด
แสดงว่า ยาหมด
etered dose inhaler (MDI)
แสดงว่า ยาเหลือใช้อีก 120 สูด
แสดงว่า ยาหมด
.Turbuhaler
แสดงว่า ยาเหลือใช้
อีก 60 สูด
แสดงว่า ยาหมด
. Accuhaler
จะต้องทิ้งแคปซูลยาทุกครั้งหลังจากพ่นยาเสร็จ
andihaler, Breezhaler
งว่า ยาเหลือใช้อีก 200 สูด
แสดงว่า ยาหมด
Swinghaler
ใช้รักษาอาการผิด
ปกติทางจมูก
(นำ้ามูกไหล คัดจมูก
คันจมูก และจาม)
+
อาการผิดปกติทางตา
(คัน/แสบตา นำ้าตา
ไหลและตาแดง) จาก
โรคเยื่อบุจมูกอักเสบ
ยาสูดพ่นทางจมูก
steroids
เทคนิคการสูดพ่นยาทางจมูก
เทคนิคการใช้ยาพ่นทาง
จมูกแบบกดประเภทที่
1(nasacort)
เทคนิคการใช้ยาพ่นทางจมูก
แบบกด ประเภทที่ 2
(avamys)
การสวนล้างจมูก
reference
สวนล้างจมูกhttp://www.youtube.com/watch?
v=NYpQLyCzBOw
Mix insulinhttp://www.youtube.com/watch?
v=WIYcAy6P-hE
http://www.si.mahidol.ac.th/office_h/p
harmacy/WarfarinClinicPatientEducatio
nPage.htm#1
http://www.youtube.com/watc
h?v=2qWGnWH07iQ
Insul
in
http://www.pharmyaring.com/
download/doc100512222600.
pdf
Warfarin
การใช้ยาเทคนิคพิเศษ
http://www.heart.kku.ac.thการใช้ยาอมใต้ลิ้น
http://www.si.mahidol.ac.th

More Related Content

What's hot

ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านบทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านPa'rig Prig
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์Utai Sukviwatsirikul
 
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscineความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscineAiman Sadeeyamu
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58Junee Sara
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)yahapop
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555Rachanont Hiranwong
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Utai Sukviwatsirikul
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองCAPD AngThong
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กOzone Thanasak
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)Junee Sara
 
ยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาคู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาamy69
 

What's hot (20)

ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
GPP for community pharmacist
GPP for community pharmacistGPP for community pharmacist
GPP for community pharmacist
 
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านบทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
 
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscineความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็ก
 
Insulin
InsulinInsulin
Insulin
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
 
ยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวาน
 
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาคู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
 

Viewers also liked

Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)saowaluk2556
 
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ, เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ, Utai Sukviwatsirikul
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57Sirinoot Jantharangkul
 
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลการเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลRachanont Hiranwong
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...Rachanont Hiranwong
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...Rachanont Hiranwong
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง Rachanont Hiranwong
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...Rachanont Hiranwong
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...Rachanont Hiranwong
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...Rachanont Hiranwong
 
เอกสารประกอบการประชุม Controversial in asthma (20 22 mar 2016) final
เอกสารประกอบการประชุม  Controversial in asthma (20 22 mar 2016) finalเอกสารประกอบการประชุม  Controversial in asthma (20 22 mar 2016) final
เอกสารประกอบการประชุม Controversial in asthma (20 22 mar 2016) finalUtai Sukviwatsirikul
 
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรมจรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรมSurang Judistprasert
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัด
มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัดมาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัด
มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัดkalzitem
 

Viewers also liked (20)

Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
 
Eye medication slide
Eye medication slideEye medication slide
Eye medication slide
 
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ, เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
 
Insulin22
Insulin22Insulin22
Insulin22
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
 
Teenage pregnancy
Teenage pregnancyTeenage pregnancy
Teenage pregnancy
 
Cardiovascular drugs
Cardiovascular drugsCardiovascular drugs
Cardiovascular drugs
 
เครื่องพิมพ์ฉลากยา 400USB #8,900.-
เครื่องพิมพ์ฉลากยา 400USB #8,900.-เครื่องพิมพ์ฉลากยา 400USB #8,900.-
เครื่องพิมพ์ฉลากยา 400USB #8,900.-
 
Ravali ppt
Ravali pptRavali ppt
Ravali ppt
 
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลการเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
 
Acutecare(webversion)
Acutecare(webversion)Acutecare(webversion)
Acutecare(webversion)
 
เอกสารประกอบการประชุม Controversial in asthma (20 22 mar 2016) final
เอกสารประกอบการประชุม  Controversial in asthma (20 22 mar 2016) finalเอกสารประกอบการประชุม  Controversial in asthma (20 22 mar 2016) final
เอกสารประกอบการประชุม Controversial in asthma (20 22 mar 2016) final
 
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรมจรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัด
มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัดมาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัด
มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัด
 

Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)