SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  16
แนวทางการจัดกิจกรรมโครง
         งาน


การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.١
วิธีการทำาโครง
                               งาน
      โครงงาน คือ งานวิจัยเล็ก ๆ สำาหรับนักเรียน เป็นการแก้
ปัญหาหรือข้อสงสัยโดยใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
หากเนื้อหาหรือข้อสงสัยเป็นไปตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ใด จะ
เรียกว่า โครงงานกลุ่มสาระการเรียนรูนั้นๆ
                                   ้
 การทำาโครงงาน
               1. กำาหนดปัญหา กำาหนดหัวข้อเรื่อง
               2. ตั้งสมมุติฐาน หรือคำาตอบชั่วคราว
               3. ออกแบบการศึกษาค้นคว้า การทดลอง
               4. ลงมือปฏิบัติ
               5. สรุปผลโดยการจัดทำารายงานโครงงาน ... ที่เกิดขึ้นนำา
                                                       (ปัญหาใหม่
                  ......อาจมีปัญหาใหม่เกิดขึ้น ...............
                                                       ไปสู่โครงงานเรื่องต่อ ๆ
               6. นำาเสนอผลงาน ประเมินผล ไป โดยมีขั้นตอนการทำา
               7. จัดนิทรรศการ ส่งประกวด               โครงงานเหมือนข้อ 1-5)
   หัวข้อการเขียนรายงาน
             โครงงาน
       โครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้ .............. เรื่อง ....................
       ผู้จัดทำา ........ อาจารย์ที่ปรึกษา ...... โรงเรียน ........
สังกัด ......... ระดับชั้น .......
       บทคัดย่อ
       กิตติกรรมประกาศ
       บทที่ 1 บทนำา ทีมาและความสำาคัญของโครงงาน .........
                                ่
วัตถุประสงค์ .............
          สมมุติฐานของการศึกษาค้นคว้า ............ ขอบเขตการ
ศึกษาค้นคว้า .....
          ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี) ....................
       บทที่ 2 บทเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการทำาโครงงานเรื่องนี้
       บทที่ 3 อุปกรณ์ วิธีดำาเนินการศึกษา
       บทที่ 4 ผลการศึกษา และอภิปรายผล
       บทที่ 5 สรุปผล ประโยชน์ ข้อเสนอแนะ
       เอกสารอ้างอิง
หมายเหตุ : ตัวอย่างโครงงานเป็นของนักเรียน จึงมีรูปแบบหลาก
หลายตามความสามารถ
ของนักเรียนแต่ละระดับชั้น



             ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้
                       การงานอาชีพ
              และเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่อง หมด
      ที่มาและความสำาคัญของ
      โครงงาน
       จากการที่คณะผู้จัดทำาโครงงานและเพื่อนๆ ได้สังเกตการทำา
อาหารของคุณแม่ทบ้านและจากการรับประทานอาหารกลางวันที่
                     ี่
โรงเรียนพบว่า อาหารที่ปรุงด้วยปลาทุกชนิดจะมีกลิ่นคาวทำาให้
เพื่อนๆ ส่วนใหญ่ไม่ชอบกินปลา คณะผู้จัดทำาโครงงาน จึงได้ทำา
โครงงานเรื่องนี้ขึ้นเพื่อหาวิธีดับกลิ่นคาวปลา เพื่อจะทำาให้เด็กๆ
ได้รับประทานอาหารที่ปรุงจากปลามากขึ้น เพราะปลาเป็นอาหาร
ที่มประโยชน์ต่อร่างกาย และราคาถูก
    ี

    วัตถุประสงค์ของการศึกษา

        เพื่อศึกษาว่าสารชนิดใดใช้ดับกลิ่นคาวปลาได้ดีที่สุด
        สามารถใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์อย่างง่ายได้
        นำาความรูที่ศึกษาไปใช้ในชีวิตประจำาวันได้
                  ้
    ขอบเขตการ
    ศึกษา
       สถานที่ โรงเรียนอนุบาลสงขลา อำาเภอเมืองสงขลา
จังหวัดสงขลา
       สารที่ใช้ในการศึกษาคือ ใบชา มะนาวพร้อมเปลือก
เกลือแกง หัวหอมแดง ตะไคร้ นำ้าส้มสายชู นำ้าซาวข้าว นำ้าปูนใส
มะขามเปียก แป้งมันสำาปะหลัง
       ระยะเวลาทีใช้ในการศึกษาค้นคว้า วันที่ 5-20
                   ่
พฤศจิกายน 2545
    สมมุติฐานการ
    ศึกษา
     ถ้าสารสามารถกำาจัดกลิ่นคาวปลาได้ดังนั้นการใช้สารต่าง
ชนิดกันย่อมกำาจัดกลิ่นคาวได้
ผลต่างกัน
ตัวแปรที่ศึกษา

     ตัวแปรต้น ใบชา มะนาวพร้อมเปลือก เกลือแกง หัวหอมแดง
ตะไคร้ นำ้าส้มสายชู          นำ้าซาวข้าว นำ้าปูนใส มะขามเปียก
แป้งมันสำาปะหลัง
     ตัวแปรตาม การกำาจัดกลิ่นคาวปลาของสารแต่ละชนิด



    อุปกรณ์ที่ใช้ในการ
ศึกษา
      1. ปลา              จำานวน 900           กรัม
      2. ใบชา             จำานวน 3             ช้อนตวง
      3. มะนาว            จำานวน 3             ช้อนตวง
      4. เกลือ            จำานวน 6             ช้อนตวง
      5. หัวหอมแดง        จำานวน 6             ช้อนตวง
      6. ตะไคร้           จำานวน 6             ช้อนตวง
      7. นำ้าส้มสายชู     จำานวน 3             ช้อนตวง
      8. นำ้าซาวข้าว      จำานวน 3             ช้อนตวง
      9. นำ้าปูนใส        จำานวน 3             ช้อนตวง
      10.                 มะขามเปียก           จำานวน ٣
      ช้อนตวง
      11.                 แป้งมันสำาปะหลัง จำานวน     6
      ช้อนตวง
      12.                 นำ้า        จำานวน   24 ช้อนตวง
      13.                 กะละมังเล็ก          จำานวน 1     ใบ
      14.                 ถ้วย        จำานวน   30 ใบ
      15.                 ถ้วยตวง จำานวน       1 ชุด
      16.                 ช้อนตวง จำานวน       1 ชุด
      17.                 เครื่องชั่ง จำานวน   1 เครื่อง
      18.                 มีด         จำานวน   3 เล่ม
      19.                 เขียง       จำานวน   1 อัน
      20.                 ครก         จำานวน   1 ใบ
      21.                 กล้องถ่ายรูป         จำานวน 1
      กล้อง
วิธีการศึกษา

      ในการศึกษาแบ่งออกเป็น 12 ขั้นตอน และศึกษาซำ้า 3 ครั้ง
(ทำาการศึกษาพร้อมกัน 3 ชุด ในเวลาเดียวกัน เพื่อป้องกัน
ความคลาดเคลื่อนและให้ผลการทดลองน่าเชื่อถือ ดังนี้
      ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมสารกำาจัดกลิ่นคาวปลา
                  1. การเตรียมนำ้าใบชา
                  2. การเตรียมนำ้ามะนาว
                  3. การเตรียมนำ้าเกลือ
                  4. การเตรียมนำ้าหัวหอมแดง
                  5. การเตรียมนำ้าตะไคร้
                  6. การเตรียมนำ้าส้มสายชู
                  7. การเตรียมนำ้าซาวข้าว
                  8. การเตรียมนำ้าปูนใส
                  9. การเตรียมนำ้ามะขามเปียก
                  10. การเตรียมแป้งมันสำาปะหลัง
                  11. การทดสอบกลิ่นคาวปลา
      ขั้นตอนที่ 2 การเตรียมเนื้อปลาดุก
                  1. หั่นเนื้อปลาดุกเป็นชิ้นๆ หนักชิ้นละ 30
กรัม จำานวน 30 ชิ้น
                  2. นำาปลาไปล้างนำ้าเปล่าให้สะอาด แล้วใส่
ภาชนะไว้ให้สะเด็ดนำ้า
      ขั้นตอนที่     3       การเตรียมนำ้าใบชา
                  1. ต้มนำ้าให้เดือด แล้วชงใบชาให้เข้มข้น ตั้งไว้
ให้เย็น
                  2. ตวงใบนำ้าชา ใส่ภาชนะทดลอง 1 ช้อนตวง
      ขั้นตอนที่     4       การเตรียมนำ้ามะนาว
                  1. นำามะนาวล้างนำ้าให้สะอาด
2. คั้นนำ้ามะนาว 1 ช้อนตวง พร้อมเปลือก
มะนาว
    ขั้นตอนที่       5      การเตรียมนำ้าเกลือ
                  1. เตรียมเกลือแกง 1 ช้อนชา ละลายในนำ้า 1
ช้อนตวง
                  2. นำ้าเกลือแกง 1 ช้อนตวง



     ขั้นตอนที่      6       การเตรียมนำ้าหัวหอม
                  1. หัวหอมปอกเปลือก ล้างนำ้าให้สะอาด ตำาให้
ละเอียด 1 ช้อนตวง
                  2. นำาหัวหอมละลายนำ้า 1 ช้อนตวง
       ขั้นตอนที่ 7 การเตรียมนำ้าตะไคร้
                  1. เตรียมใบตะไคร้ และนำามาหั่นชิ้นเล็กๆ ตำาให้
ละเอียด
                     จำานวน 1 ช้อนตวง
                  2. นำาตะไคร้ละลายนำ้า 1 ช้อนตวง
       ขั้นตอนที่ 8 การเตรียมนำ้าส้มสายชู
                  เตรียมนำ้าส้มสายชู 1 ช้อนตวง
       ขั้นตอนที่ 9 การเตรียมนำ้าซาวข้าว
                  1. นำาข้าวสาร 1 ถ้วยตวง ซาวกับนำ้า 1 ถ้วยตวง
                  2. เตรียมนำ้าซาวข้าว 1 ช้อนตวง
       ขั้นตอนที่    10      การเตรียมนำ้าปูนใส
                  1. นำาปูนกินกับหมาก 1 ช้อนตวง ละลายในนำ้า
1 ช้อนตวง
                     ตั้งให้ตกตะกอน
                  2. เตรียมนำ้าปูนใส 1 ช้อนตวง
       ขั้นตอนที่ 11         การเตรียมนำ้ามะขามเปียก
                  1. นำาเนื้อมะขามเปียก 1 ช้อนตวง ละลายใน
นำ้า 1 ช้อนตวง
                  2. เตรียมนำ้ามะขามเปียก 1 ช้อนตวง
       ขั้นตอนที่ 12         การเตรียมแป้งมันสำาปะหลัง
                  1 แป้งมันสำาปะหลัง 1 ช้อนตวง ละลายนำ้า 1
ช้อนตวง
                  2. เตรียมนำ้าแป้งมันสำาปะหลัง 1 ช้อนตวง
ขั้นตอนที่ 13          การทดสอบกลิ่นคาวปลา
                 1. เขียนหมายเลขกำากับปิดทีถ้วยทดลอง
                                                ่
จำานวน 3 ชุด คือ ชุดที่ 1
                    ชุดที่ 2 และชุดที่ 3 ชุดละ 10 ใบ ดังนี้
                    หมายเลข 1.1 2.1 3.1 หมายถึง                 นำ้า
ใบชา
                    หมายเลข 1.2 2.2 3.2 หมายถึง                 นำ้า
มะนาว
                    หมายเลข 1.3 2.3 3.3 หมายถึง                 นำ้า
เกลือแกง
                    หมายเลข 1.4 2.4 3.4 หมายถึง                 นำ้า
หัวหอม




                      หมายเลข      1.5 2.5 3.5 หมายถึง          นำ้า
ตะไคร้
                      หมายเลข      1.6 2.6 3.6 หมายถึง
     นำ้าส้มสายชู
                      หมายเลข      1.7 2.7 3.7 หมายถึง          นำ้า
ซาวข้าว
                      หมายเลข      1.8 2.8 3.8 หมายถึง          นำ้า
ปูนใส
                      หมายเลข      1.9 2.9 3.9 หมายถึง          นำ้า
มะขามเปียก
                      หมายเลข      1.10 2.10 3.10 หมายถึง       นำ้า
แป้งมันสำาปะหลัง
                    2. นำาสารที่เตรียมไว้ใส่ในถ้วยทดลอง ทัง 30
                                                          ้
ใบ ตามปริมาณ
                       ที่กำาหนด
                    3.        นำาชิ้นปลาที่มีนำ้าหนักเท่าๆ กัน ใส่ใน
                       ถ้วยทดลอง ทัง 30 ใบคลุกเคล้าให้เข้ากัน
                                       ้
                       ทิ้งไว้ 5 นาที แล้วนำาไปล้างนำ้าให้สะอาด
                    4.        ทดสอบกลิ่นคาวปลา โดยใช้นักเรียน
                       ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำานวน 5 คน นักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำานวน 5 คน
                  แม่ครัว จำานวน 5 คน รวมทังหมด 15 คน
                                              ้
                  ช่วยดมกลิ่น โดยผลัดกันดมกลิ่น แล้วเปรียบ
                  เทียบ กลิ่นคาวปลาในแต่ละถ้วย
               5.        ผู้ทดสอบกลิ่น บันทึกการดมกลิ่น
                  คาวปลา ในตารางบันทึก
                  โดยเรียงลำาดับ จากกลิ่นคาวน้อยที่สุดไป
                  หากลิ่นคาวมากที่สุด ทดสอบวิธีการเดียวกัน
                  ทั้ง 3 ชุด




    ผลการศึกษา

      จากการศึกษาทดลองดับกลิ่นคาวปลาในสาร 10 ชนิด ใน
เวลา 5 นาที ผลการศึกษา
ขั้นตอนที่ 13 ทัง 3 ชุด ปรากฏดังตาราง
                ้
      ตารางที่ 1ผลการศึกษาชุดที่ 1

                               ผลการศึกษา

หมายเล       ชื่อสาร       จำานวน ลักษณะของ
                                      ปลา    หมายเห
  ข                       สารช้อน
                                               ตุ
                             ตวง  คะแน วย
                                     ในถ้ ผล
                                      น
1.1     ใบชา                   1        34      8
    1.2     มะนาวพร้อม             1        8       1
    1.3     เปลือก                 1        40      9
    1.4     เกลือแกง               1        22      3
    1.5     หัวหอมแดง              1        23      4
    1.6     ตะไคร้                 1        32      6
    1.7     นำ้าส้มสายชู           1        30      5
    1.8     นำ้าซาวข้าว            1        42      10
    1.9     นำ้าปูนใส              1        33      7
      1.1   มะขามเปียก             1        11      2
0           แป้งมันสำาปะหลัง


      จากตารางที่ 1 พบว่า จากการทดสอบดับกลิ่นคาวปลาจาก
สาร 10 ชนิด ปรากฏผลดังนี้
นำ้ามะนาว ดับกลิ่นคาวได้ดีที่สุด แป้งมันสำาปะหลัง หัวหอมแดง
ตะไคร้ นำ้าซาวข้าว นำ้าส้มสายชู มะขามเปียก ใบชา เกลือแกง
และนำ้าปูนใส ดับกลิ่นได้ตามลำาดับ นำ้าปูนใส ดับกลิ่นได้น้อยที่สุด




       ตารางที่ 2ผลการศึกษาชุดที่ 2

                                     ผลการศึกษา
หมาย             ชื่อสาร                  ลักษณะ
                                  จำานวน
 เลข                                      ของปลา          หมายเ
                                    สาร
                                           ในถ้วย          หตุ
                                   ช้อน คะแ ผล
                                         นน
2.1     ใบชา                   1       26   4
    2.2     มะนาวพร้อมเปลือก       1       8    1
    2.3     เกลือแกง               1       31   5
    2.4     หัวหอมแดง              1       39   9
    2.5     ตะไคร้                 1       33   7
    2.6     นำ้าส้มสายชู           1       31   5
    2.7     นำ้าซาวข้าว            1       23   3
    2.8     นำ้าปูนใส              1       39   9
    2.9     มะขามเปียก             1       37   8
      2.1   แป้งมันสำาปะหลัง       1       8    1
0



       จากตารางที่ 2 พบว่า จากการทดสอบดับกลิ่นคาวปลาจาก
สาร 10 ชนิด ปรากฏผลดังนี้
นำ้ามะนาว ดับกลิ่นคาวได้ดีที่สุด นำ้าซาวข้าว ใบชา เกลือแกง
นำ้าส้มสายชู ตะไคร้ มะขามเปียก
นำ้าปูนใส และหัวหอมแดง ดับกลิ่นได้ตามลำาดับนำ้าปูนใส และหัว
หอมแดง ดับกลิ่นได้น้อยที่สุด




       ตารางที่ 3     ผลการศึกษาชุดที่ 3

                                   ผลการศึกษา
ลักษณะของ
หมายเล         ชื่อสาร          จำานวน             หมายเห
                                           ปลา
  ข                            สารช้อน               ตุ
                                          ในถ้วย
                                       คะแน ผล
                                  ตวง
 3.1       ใบชา                    1     น
                                        41      10
 3.2       มะนาวพร้อม              1     7      1
 3.3       เปลือก                  1    36      8
 3.4       เกลือแกง                1    32      7
 3.5       หัวหอมแดง               1    21      3
 3.6       ตะไคร้                  1    30      4
 3.7       นำ้าส้มสายชู            1    31      5
 3.8       นำ้าซาวข้าว             1    31      5
 3.9       นำ้าปูนใส               1    37      9
 3.10      มะขามเปียก              1     9      2
           แป้งมันสำาปะหลัง



      จากตารางที่ 3 พบว่า จากการทดสอบดับกลิ่นคาวปลาจาก
สาร 10 ชนิด ปรากฏผลดังนี้
นำ้ามะนาว ดับกลิ่นคาวได้ดีที่สุด แป้งมันสำาปะหลัง ตะไคร้ นำ้าส้ม
สายชู นำ้าซาวข้าว นำ้าปูนใส
หัวหอมแดง เกลือแกง นำ้ามะขามเปียก และใบชา ดับกลิ่นได้ตาม
ลำาดับ ใบชา ดับกลิ่นได้น้อยที่สุด
ตารางที่ 4ผลการศึกษาชุดที่ 4


                                     ผลการศึกษา
                                         ลักษณะของ
หมายเล         ชื่อสาร         จำานวน                หมายเห
                                             ปลา
  ข                           สารช้อน                  ตุ
                                            ในถ้วย
                                         คะแน ผล
                                 ตวง
 4.1       ใบชา                   1        น
                                         101      7
 4.2       มะนาวพร้อม             1       23      1
 4.3       เปลือก                 1      107      8
 4.4       เกลือแกง               1       93      5
 4.5       หัวหอมแดง              1       79      3
 4.6       ตะไคร้                 1       93      5
 4.7       นำ้าส้มสายชู           1       84      4
 4.8       นำ้าซาวข้าว            1      112      10
 4.9       นำ้าปูนใส              1      107      8
 ٤.10      มะขามเปียก             1       28      2
           แป้งมันสำาปะหลัง



      จากตารางที่ 4 พบว่า เมื่อรวมทั้ง 3 ชุด แล้ว สรุปผลการ
ศึกษาได้ดังนี้ มะนาวดับกลิ่นได้ดีที่สุด แป้งมันสำาปะหลัง ตะไคร้
นำ้าซาวข้าว นำ้าส้มสายชู หัวหอมแดง ใบชา มะขามเปียก
เกลือแกง และนำ้าปูนใส ดับกลิ่นได้ตามลำาดับนำ้าปูนใส ดับกลิ่นได้
น้อยที่สุด
สรุปผลการศึกษา

       จากการศึกษาเปรียบเทียบกลิ่นคาวปลา ทีล้างด้วยสาร 10
                                               ่
ชนิด เพื่อต้องการทราบว่า
ล้างปลาด้วยสารชนิดใด จึงจะมีกลิ่นคาวน้อยที่สุด โดยเปรียบ
เทียบจากการดมกลิ่นของผูทดสอบกลิ่น 15 คน แล้วบันทึกผล
                             ้
แสดงว่า ล้างปลาด้วยนำ้ามะนาวพร้อมเปลือกมะนาว มีกลินคาว่
น้อยที่สุด รองลงมาคือ แป้งมันสำาปะหลัง ตะไคร้ นำ้าซาวข้าว
นำ้าส้มสายชู หัวหอมแดง ใบชา ตามลำาดับ ส่วนนำ้าปูนใส
เกลือแกง มะขามเปียก ดับกลิ่นคาวได้น้อย
       ดังนั้น เราควรดับกลิ่นคาวปลาด้วยนำ้ามะนาว หรือแป้งมัน
สำาปะหลัง ซึ่งเราสามารถ
หาได้ง่ายทุกครอบครัว เพื่อเด็กๆ จะได้หันมารับประทานปลามาก
ขึ้น

         ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน

         ได้ทราบว่า นำ้ามะนาวเปลือกมะนาว ใช้ดับกลิ่นคาวปลาได้ดี
ที่สุด
      ได้นำาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำาวัน และนำาไปเผยแพร่ให้ผู้
อื่นทราบ
      ได้ฝึกกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
      ได้ฝึกการทำางานเป็นกลุ่ม
      ได้ฝึกความรับผิดชอบต่อหน้าที่

         ข้อเสนอแนะ

     ควรศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับสารดับกลิ่นคาวชนิดต่างๆ ว่า
สามารถดับกลิ่นคาวได้ดีกว่านำ้ามะนาว เปลือกมะนาว และมัน
สำาปะหลัง
เอกสารอ้างอิง

     พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. สารานุกรมไทยสำาหรับเยาว
ชนฯ เล่มที่ 5. กรุงเทพฯ:
           ด่านสุทธาการพิมพ์, 2523.
     พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. สารานุกรมไทยสำาหรับเยาว
     ชนฯ เล่มที่ 7. กรุงเทพฯ:
           ด่านสุทธาการพิมพ์, 2525.
     อำานาจ เจริญศิลป์. เกลือ สารานุกรมวิทยาศาสตร์สำาหรับ
     เยาวชน เล่ม 2. กรุงเทพฯ: ม.ป.ป.
           www.teenee. Com/mnsiobox/dog.php



           ที่มา:    โครงงานเรื่องหมดกลิ่นสิ้นคาว
                 ชนะการประกวดโครงงานครั้งที่ 3 ปีการศึกษา
2545
                จากโรงเรียนอนุบาลสงขลา อำาเภอเมืองสงขลา
จังหวัดสงขลา
ข้อแนะนำาสำาหรับนักเรียน
       ในการเลือกเรื่องที่จะทำาโครงงาน

       การเรียนรู้โดยกิจกรรมการทำาโครงงาน เป็นการส่งเสริมให้
นักเรียนได้แสดงความสามารถและพัฒนาตนเองได้อย่างเต็มที่
โดยเป็นไปตามธรรมชาติ ตามความถนัด และความสนใจ เน้น
ในเรื่องคุณธรรม และกระบวนการเรียนรู้อย่างมีขั้นตอน ทั้งใน
เรื่องที่เกี่ยวกับตนเอง สังคม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย ความรู้
และ ทักษะด้านคณิตศาสตร์ ด้านภาษา การประกอบอาชีพเพื่อ
ให้สามารถนำาไปใช้ในการดำารงชีวิตได้อย่างมีความสุข การฝึกทำา
โครงงาน จึงเป็นพื้นฐานของการฝึกทักษะ กระบวนการคิด
 การแก้ปัญหาจากสถานการณ์ต่างๆ เป็นการเรียนรูที่เกิดขึ้นได้ทุก
                                                 ้
เวลา ทุกสถานที่ ทังเป็นการประสานความร่วมมือกับทุกฝ่ายของ
                       ้
ชุมชน นักเรียนจะได้เรียนรู้อย่างมีความสุข เกิดการพัฒนา
ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคมอย่างสมบูรณ์
สามารถประเมินผลการเรียนรู้ควบคู่ไปกับการร่วมกิจกรรมตาม
ความเหมาะสมกับวัย และระดับความสามารถของนักเรียนเอง
       ฉะนั้น เมื่อนักเรียนได้รวมกิจกรรมการเรียนการสอนจากครู
                               ่
อาจารย์ผู้สอนแล้ว นักเรียนจะต้องเป็นผู้คิดกำาหนดหัวข้อโครง
งานที่จะศึกษาค้นคว้า ดำาเนินการวางแผนออกแบบ สำารวจ
ทดลอง ประดิษฐ์ เก็บรวบรวมข้อมูล แปรผล สรุปผล และ
เสนอผลงานโดยตัวนักเรียนเอง
ครูอาจารย์จะเป็นเพียงผู้ดูแลและให้คำาปรึกษาเท่านั้น โครงงาน
แรกที่นักเรียนได้ทำาและประสบผลสำาเร็จจะสร้างความมั่นใจ และ
เป็นแรงผลักดันให้นักเรียนทำาโครงงานต่อๆ ไปได้ นักเรียนจึง
ควรเลือกโครงงานที่เหมาะสมกับความรู้ความสามารถของนักเรียน
เอง ทั้งนี้เพราะการเริ่มต้นด้วยความสำาเร็จย่อมเป็นการเริ่มต้นที่ดี
เสมอ จึงขอแนะนำาให้นักเรียนเริ่มทำาโครงงานประเภทสำารวจก่อน
โครงงานประเภททดลองและประเภทสิ่งประดิษฐ์ ในที่นี้ได้ยก
ตัวอย่างหัวข้อโครงงาน
ให้นักเรียนได้ใช้เป็นแนวทางในการทำาโครงงานต่อไปแล้ว

Contenu connexe

Tendances

ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบwanchalerm sotawong
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงBoomCNC
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนmadechada
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้เทวัญ ภูพานทอง
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 

Tendances (20)

ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 

Similaire à ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ

8 ชุดการเรียนรู้ น้ำพริกตะไคร้
8 ชุดการเรียนรู้ น้ำพริกตะไคร้8 ชุดการเรียนรู้ น้ำพริกตะไคร้
8 ชุดการเรียนรู้ น้ำพริกตะไคร้rdschool
 
เล่ม 6 แตงไทยย้อนยุค
เล่ม 6 แตงไทยย้อนยุคเล่ม 6 แตงไทยย้อนยุค
เล่ม 6 แตงไทยย้อนยุคPatcharee Kongpun
 
โครงงาน5.doc
โครงงาน5.docโครงงาน5.doc
โครงงาน5.docssuserc535fa
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์Aphinya Tantikhom
 
โครงงานกล้วยแขก
โครงงานกล้วยแขก โครงงานกล้วยแขก
โครงงานกล้วยแขก Rut' Np
 
Http --www thaikasetsart-com-เห็ดแปรรูปสารพัดเมนู-
Http --www thaikasetsart-com-เห็ดแปรรูปสารพัดเมนู-Http --www thaikasetsart-com-เห็ดแปรรูปสารพัดเมนู-
Http --www thaikasetsart-com-เห็ดแปรรูปสารพัดเมนู-pyde99
 
วิจัยการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการบ่มกล้วย
วิจัยการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการบ่มกล้วยวิจัยการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการบ่มกล้วย
วิจัยการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการบ่มกล้วยjamjuree_ben
 
สูตรยำผักบุ้งกรอบ
สูตรยำผักบุ้งกรอบสูตรยำผักบุ้งกรอบ
สูตรยำผักบุ้งกรอบSEoZa
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงkasetpcc
 
บทที่ 3ปรับปรุง
บทที่ 3ปรับปรุงบทที่ 3ปรับปรุง
บทที่ 3ปรับปรุงkasetpcc
 
การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554Lsilapakean
 
โครงงานเพคติน Power Point
โครงงานเพคติน Power Pointโครงงานเพคติน Power Point
โครงงานเพคติน Power Pointampornchai
 
โครงงานกลุ่มที่ 6
โครงงานกลุ่มที่ 6โครงงานกลุ่มที่ 6
โครงงานกลุ่มที่ 60892827602
 
ตัวอย่าง
ตัวอย่างตัวอย่าง
ตัวอย่างFary Love
 

Similaire à ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ (20)

8 ชุดการเรียนรู้ น้ำพริกตะไคร้
8 ชุดการเรียนรู้ น้ำพริกตะไคร้8 ชุดการเรียนรู้ น้ำพริกตะไคร้
8 ชุดการเรียนรู้ น้ำพริกตะไคร้
 
184 bb10
184 bb10184 bb10
184 bb10
 
เล่ม 6 แตงไทยย้อนยุค
เล่ม 6 แตงไทยย้อนยุคเล่ม 6 แตงไทยย้อนยุค
เล่ม 6 แตงไทยย้อนยุค
 
โครงงาน5.doc
โครงงาน5.docโครงงาน5.doc
โครงงาน5.doc
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงงานกล้วยแขก
โครงงานกล้วยแขก โครงงานกล้วยแขก
โครงงานกล้วยแขก
 
M6 144 60_3
M6 144 60_3M6 144 60_3
M6 144 60_3
 
Http --www thaikasetsart-com-เห็ดแปรรูปสารพัดเมนู-
Http --www thaikasetsart-com-เห็ดแปรรูปสารพัดเมนู-Http --www thaikasetsart-com-เห็ดแปรรูปสารพัดเมนู-
Http --www thaikasetsart-com-เห็ดแปรรูปสารพัดเมนู-
 
วิจัยการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการบ่มกล้วย
วิจัยการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการบ่มกล้วยวิจัยการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการบ่มกล้วย
วิจัยการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการบ่มกล้วย
 
สูตรยำผักบุ้งกรอบ
สูตรยำผักบุ้งกรอบสูตรยำผักบุ้งกรอบ
สูตรยำผักบุ้งกรอบ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
 
บทที่ 3ปรับปรุง
บทที่ 3ปรับปรุงบทที่ 3ปรับปรุง
บทที่ 3ปรับปรุง
 
การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554
 
โครงงานเพคติน Power Point
โครงงานเพคติน Power Pointโครงงานเพคติน Power Point
โครงงานเพคติน Power Point
 
Is สมบ รณ ๆ
Is สมบ รณ ๆIs สมบ รณ ๆ
Is สมบ รณ ๆ
 
โครงงานกลุ่มที่ 6
โครงงานกลุ่มที่ 6โครงงานกลุ่มที่ 6
โครงงานกลุ่มที่ 6
 
โครงงานกลุ่มที่ 6.doc
โครงงานกลุ่มที่ 6.docโครงงานกลุ่มที่ 6.doc
โครงงานกลุ่มที่ 6.doc
 
ตัวอย่าง
ตัวอย่างตัวอย่าง
ตัวอย่าง
 

Plus de sariya25

การสื่อสาร New [โหมดความเข้ากันได้]
การสื่อสาร New [โหมดความเข้ากันได้]การสื่อสาร New [โหมดความเข้ากันได้]
การสื่อสาร New [โหมดความเข้ากันได้]sariya25
 
คำอธิบายรายวิชา ม.2
คำอธิบายรายวิชา ม.2คำอธิบายรายวิชา ม.2
คำอธิบายรายวิชา ม.2sariya25
 
คำอธิบายรายวิชา ม.1
คำอธิบายรายวิชา ม.1คำอธิบายรายวิชา ม.1
คำอธิบายรายวิชา ม.1sariya25
 
คำอธิบายรายวิชา ม.1
คำอธิบายรายวิชา ม.1คำอธิบายรายวิชา ม.1
คำอธิบายรายวิชา ม.1sariya25
 
แบบฝึกหัดทบทวนความรู้
แบบฝึกหัดทบทวนความรู้แบบฝึกหัดทบทวนความรู้
แบบฝึกหัดทบทวนความรู้sariya25
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4sariya25
 
Communication
CommunicationCommunication
Communicationsariya25
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสารsariya25
 
ฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอนฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอนsariya25
 

Plus de sariya25 (11)

การสื่อสาร New [โหมดความเข้ากันได้]
การสื่อสาร New [โหมดความเข้ากันได้]การสื่อสาร New [โหมดความเข้ากันได้]
การสื่อสาร New [โหมดความเข้ากันได้]
 
คำอธิบายรายวิชา ม.2
คำอธิบายรายวิชา ม.2คำอธิบายรายวิชา ม.2
คำอธิบายรายวิชา ม.2
 
คำอธิบายรายวิชา ม.1
คำอธิบายรายวิชา ม.1คำอธิบายรายวิชา ม.1
คำอธิบายรายวิชา ม.1
 
คำอธิบายรายวิชา ม.1
คำอธิบายรายวิชา ม.1คำอธิบายรายวิชา ม.1
คำอธิบายรายวิชา ม.1
 
แบบฝึกหัดทบทวนความรู้
แบบฝึกหัดทบทวนความรู้แบบฝึกหัดทบทวนความรู้
แบบฝึกหัดทบทวนความรู้
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
208
208208
208
 
208
208208
208
 
Communication
CommunicationCommunication
Communication
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสาร
 
ฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอนฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอน
 

ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ

  • 1. แนวทางการจัดกิจกรรมโครง งาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.١
  • 2. วิธีการทำาโครง งาน โครงงาน คือ งานวิจัยเล็ก ๆ สำาหรับนักเรียน เป็นการแก้ ปัญหาหรือข้อสงสัยโดยใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หากเนื้อหาหรือข้อสงสัยเป็นไปตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ใด จะ เรียกว่า โครงงานกลุ่มสาระการเรียนรูนั้นๆ ้ การทำาโครงงาน 1. กำาหนดปัญหา กำาหนดหัวข้อเรื่อง 2. ตั้งสมมุติฐาน หรือคำาตอบชั่วคราว 3. ออกแบบการศึกษาค้นคว้า การทดลอง 4. ลงมือปฏิบัติ 5. สรุปผลโดยการจัดทำารายงานโครงงาน ... ที่เกิดขึ้นนำา (ปัญหาใหม่ ......อาจมีปัญหาใหม่เกิดขึ้น ............... ไปสู่โครงงานเรื่องต่อ ๆ 6. นำาเสนอผลงาน ประเมินผล ไป โดยมีขั้นตอนการทำา 7. จัดนิทรรศการ ส่งประกวด โครงงานเหมือนข้อ 1-5) หัวข้อการเขียนรายงาน โครงงาน  โครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้ .............. เรื่อง ....................  ผู้จัดทำา ........ อาจารย์ที่ปรึกษา ...... โรงเรียน ........ สังกัด ......... ระดับชั้น .......  บทคัดย่อ  กิตติกรรมประกาศ  บทที่ 1 บทนำา ทีมาและความสำาคัญของโครงงาน ......... ่ วัตถุประสงค์ ............. สมมุติฐานของการศึกษาค้นคว้า ............ ขอบเขตการ ศึกษาค้นคว้า ..... ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี) ....................  บทที่ 2 บทเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการทำาโครงงานเรื่องนี้  บทที่ 3 อุปกรณ์ วิธีดำาเนินการศึกษา  บทที่ 4 ผลการศึกษา และอภิปรายผล  บทที่ 5 สรุปผล ประโยชน์ ข้อเสนอแนะ  เอกสารอ้างอิง หมายเหตุ : ตัวอย่างโครงงานเป็นของนักเรียน จึงมีรูปแบบหลาก หลายตามความสามารถ
  • 3. ของนักเรียนแต่ละระดับชั้น ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ และเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่อง หมด ที่มาและความสำาคัญของ โครงงาน จากการที่คณะผู้จัดทำาโครงงานและเพื่อนๆ ได้สังเกตการทำา อาหารของคุณแม่ทบ้านและจากการรับประทานอาหารกลางวันที่ ี่ โรงเรียนพบว่า อาหารที่ปรุงด้วยปลาทุกชนิดจะมีกลิ่นคาวทำาให้ เพื่อนๆ ส่วนใหญ่ไม่ชอบกินปลา คณะผู้จัดทำาโครงงาน จึงได้ทำา โครงงานเรื่องนี้ขึ้นเพื่อหาวิธีดับกลิ่นคาวปลา เพื่อจะทำาให้เด็กๆ ได้รับประทานอาหารที่ปรุงจากปลามากขึ้น เพราะปลาเป็นอาหาร ที่มประโยชน์ต่อร่างกาย และราคาถูก ี วัตถุประสงค์ของการศึกษา  เพื่อศึกษาว่าสารชนิดใดใช้ดับกลิ่นคาวปลาได้ดีที่สุด  สามารถใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์อย่างง่ายได้  นำาความรูที่ศึกษาไปใช้ในชีวิตประจำาวันได้ ้ ขอบเขตการ ศึกษา  สถานที่ โรงเรียนอนุบาลสงขลา อำาเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา  สารที่ใช้ในการศึกษาคือ ใบชา มะนาวพร้อมเปลือก เกลือแกง หัวหอมแดง ตะไคร้ นำ้าส้มสายชู นำ้าซาวข้าว นำ้าปูนใส มะขามเปียก แป้งมันสำาปะหลัง  ระยะเวลาทีใช้ในการศึกษาค้นคว้า วันที่ 5-20 ่ พฤศจิกายน 2545 สมมุติฐานการ ศึกษา ถ้าสารสามารถกำาจัดกลิ่นคาวปลาได้ดังนั้นการใช้สารต่าง ชนิดกันย่อมกำาจัดกลิ่นคาวได้ ผลต่างกัน
  • 4. ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรต้น ใบชา มะนาวพร้อมเปลือก เกลือแกง หัวหอมแดง ตะไคร้ นำ้าส้มสายชู นำ้าซาวข้าว นำ้าปูนใส มะขามเปียก แป้งมันสำาปะหลัง ตัวแปรตาม การกำาจัดกลิ่นคาวปลาของสารแต่ละชนิด อุปกรณ์ที่ใช้ในการ ศึกษา 1. ปลา จำานวน 900 กรัม 2. ใบชา จำานวน 3 ช้อนตวง 3. มะนาว จำานวน 3 ช้อนตวง 4. เกลือ จำานวน 6 ช้อนตวง 5. หัวหอมแดง จำานวน 6 ช้อนตวง 6. ตะไคร้ จำานวน 6 ช้อนตวง 7. นำ้าส้มสายชู จำานวน 3 ช้อนตวง 8. นำ้าซาวข้าว จำานวน 3 ช้อนตวง 9. นำ้าปูนใส จำานวน 3 ช้อนตวง 10. มะขามเปียก จำานวน ٣ ช้อนตวง 11. แป้งมันสำาปะหลัง จำานวน 6 ช้อนตวง 12. นำ้า จำานวน 24 ช้อนตวง 13. กะละมังเล็ก จำานวน 1 ใบ 14. ถ้วย จำานวน 30 ใบ 15. ถ้วยตวง จำานวน 1 ชุด 16. ช้อนตวง จำานวน 1 ชุด 17. เครื่องชั่ง จำานวน 1 เครื่อง 18. มีด จำานวน 3 เล่ม 19. เขียง จำานวน 1 อัน 20. ครก จำานวน 1 ใบ 21. กล้องถ่ายรูป จำานวน 1 กล้อง
  • 5. วิธีการศึกษา ในการศึกษาแบ่งออกเป็น 12 ขั้นตอน และศึกษาซำ้า 3 ครั้ง (ทำาการศึกษาพร้อมกัน 3 ชุด ในเวลาเดียวกัน เพื่อป้องกัน ความคลาดเคลื่อนและให้ผลการทดลองน่าเชื่อถือ ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมสารกำาจัดกลิ่นคาวปลา 1. การเตรียมนำ้าใบชา 2. การเตรียมนำ้ามะนาว 3. การเตรียมนำ้าเกลือ 4. การเตรียมนำ้าหัวหอมแดง 5. การเตรียมนำ้าตะไคร้ 6. การเตรียมนำ้าส้มสายชู 7. การเตรียมนำ้าซาวข้าว 8. การเตรียมนำ้าปูนใส 9. การเตรียมนำ้ามะขามเปียก 10. การเตรียมแป้งมันสำาปะหลัง 11. การทดสอบกลิ่นคาวปลา ขั้นตอนที่ 2 การเตรียมเนื้อปลาดุก 1. หั่นเนื้อปลาดุกเป็นชิ้นๆ หนักชิ้นละ 30 กรัม จำานวน 30 ชิ้น 2. นำาปลาไปล้างนำ้าเปล่าให้สะอาด แล้วใส่ ภาชนะไว้ให้สะเด็ดนำ้า ขั้นตอนที่ 3 การเตรียมนำ้าใบชา 1. ต้มนำ้าให้เดือด แล้วชงใบชาให้เข้มข้น ตั้งไว้ ให้เย็น 2. ตวงใบนำ้าชา ใส่ภาชนะทดลอง 1 ช้อนตวง ขั้นตอนที่ 4 การเตรียมนำ้ามะนาว 1. นำามะนาวล้างนำ้าให้สะอาด
  • 6. 2. คั้นนำ้ามะนาว 1 ช้อนตวง พร้อมเปลือก มะนาว ขั้นตอนที่ 5 การเตรียมนำ้าเกลือ 1. เตรียมเกลือแกง 1 ช้อนชา ละลายในนำ้า 1 ช้อนตวง 2. นำ้าเกลือแกง 1 ช้อนตวง ขั้นตอนที่ 6 การเตรียมนำ้าหัวหอม 1. หัวหอมปอกเปลือก ล้างนำ้าให้สะอาด ตำาให้ ละเอียด 1 ช้อนตวง 2. นำาหัวหอมละลายนำ้า 1 ช้อนตวง ขั้นตอนที่ 7 การเตรียมนำ้าตะไคร้ 1. เตรียมใบตะไคร้ และนำามาหั่นชิ้นเล็กๆ ตำาให้ ละเอียด จำานวน 1 ช้อนตวง 2. นำาตะไคร้ละลายนำ้า 1 ช้อนตวง ขั้นตอนที่ 8 การเตรียมนำ้าส้มสายชู เตรียมนำ้าส้มสายชู 1 ช้อนตวง ขั้นตอนที่ 9 การเตรียมนำ้าซาวข้าว 1. นำาข้าวสาร 1 ถ้วยตวง ซาวกับนำ้า 1 ถ้วยตวง 2. เตรียมนำ้าซาวข้าว 1 ช้อนตวง ขั้นตอนที่ 10 การเตรียมนำ้าปูนใส 1. นำาปูนกินกับหมาก 1 ช้อนตวง ละลายในนำ้า 1 ช้อนตวง ตั้งให้ตกตะกอน 2. เตรียมนำ้าปูนใส 1 ช้อนตวง ขั้นตอนที่ 11 การเตรียมนำ้ามะขามเปียก 1. นำาเนื้อมะขามเปียก 1 ช้อนตวง ละลายใน นำ้า 1 ช้อนตวง 2. เตรียมนำ้ามะขามเปียก 1 ช้อนตวง ขั้นตอนที่ 12 การเตรียมแป้งมันสำาปะหลัง 1 แป้งมันสำาปะหลัง 1 ช้อนตวง ละลายนำ้า 1 ช้อนตวง 2. เตรียมนำ้าแป้งมันสำาปะหลัง 1 ช้อนตวง
  • 7. ขั้นตอนที่ 13 การทดสอบกลิ่นคาวปลา 1. เขียนหมายเลขกำากับปิดทีถ้วยทดลอง ่ จำานวน 3 ชุด คือ ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 และชุดที่ 3 ชุดละ 10 ใบ ดังนี้ หมายเลข 1.1 2.1 3.1 หมายถึง นำ้า ใบชา หมายเลข 1.2 2.2 3.2 หมายถึง นำ้า มะนาว หมายเลข 1.3 2.3 3.3 หมายถึง นำ้า เกลือแกง หมายเลข 1.4 2.4 3.4 หมายถึง นำ้า หัวหอม หมายเลข 1.5 2.5 3.5 หมายถึง นำ้า ตะไคร้ หมายเลข 1.6 2.6 3.6 หมายถึง นำ้าส้มสายชู หมายเลข 1.7 2.7 3.7 หมายถึง นำ้า ซาวข้าว หมายเลข 1.8 2.8 3.8 หมายถึง นำ้า ปูนใส หมายเลข 1.9 2.9 3.9 หมายถึง นำ้า มะขามเปียก หมายเลข 1.10 2.10 3.10 หมายถึง นำ้า แป้งมันสำาปะหลัง 2. นำาสารที่เตรียมไว้ใส่ในถ้วยทดลอง ทัง 30 ้ ใบ ตามปริมาณ ที่กำาหนด 3. นำาชิ้นปลาที่มีนำ้าหนักเท่าๆ กัน ใส่ใน ถ้วยทดลอง ทัง 30 ใบคลุกเคล้าให้เข้ากัน ้ ทิ้งไว้ 5 นาที แล้วนำาไปล้างนำ้าให้สะอาด 4. ทดสอบกลิ่นคาวปลา โดยใช้นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำานวน 5 คน นักเรียน
  • 8. ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำานวน 5 คน แม่ครัว จำานวน 5 คน รวมทังหมด 15 คน ้ ช่วยดมกลิ่น โดยผลัดกันดมกลิ่น แล้วเปรียบ เทียบ กลิ่นคาวปลาในแต่ละถ้วย 5. ผู้ทดสอบกลิ่น บันทึกการดมกลิ่น คาวปลา ในตารางบันทึก โดยเรียงลำาดับ จากกลิ่นคาวน้อยที่สุดไป หากลิ่นคาวมากที่สุด ทดสอบวิธีการเดียวกัน ทั้ง 3 ชุด ผลการศึกษา จากการศึกษาทดลองดับกลิ่นคาวปลาในสาร 10 ชนิด ใน เวลา 5 นาที ผลการศึกษา ขั้นตอนที่ 13 ทัง 3 ชุด ปรากฏดังตาราง ้ ตารางที่ 1ผลการศึกษาชุดที่ 1 ผลการศึกษา หมายเล ชื่อสาร จำานวน ลักษณะของ ปลา หมายเห ข สารช้อน ตุ ตวง คะแน วย ในถ้ ผล น
  • 9. 1.1 ใบชา 1 34 8 1.2 มะนาวพร้อม 1 8 1 1.3 เปลือก 1 40 9 1.4 เกลือแกง 1 22 3 1.5 หัวหอมแดง 1 23 4 1.6 ตะไคร้ 1 32 6 1.7 นำ้าส้มสายชู 1 30 5 1.8 นำ้าซาวข้าว 1 42 10 1.9 นำ้าปูนใส 1 33 7 1.1 มะขามเปียก 1 11 2 0 แป้งมันสำาปะหลัง จากตารางที่ 1 พบว่า จากการทดสอบดับกลิ่นคาวปลาจาก สาร 10 ชนิด ปรากฏผลดังนี้ นำ้ามะนาว ดับกลิ่นคาวได้ดีที่สุด แป้งมันสำาปะหลัง หัวหอมแดง ตะไคร้ นำ้าซาวข้าว นำ้าส้มสายชู มะขามเปียก ใบชา เกลือแกง และนำ้าปูนใส ดับกลิ่นได้ตามลำาดับ นำ้าปูนใส ดับกลิ่นได้น้อยที่สุด ตารางที่ 2ผลการศึกษาชุดที่ 2 ผลการศึกษา หมาย ชื่อสาร ลักษณะ จำานวน เลข ของปลา หมายเ สาร ในถ้วย หตุ ช้อน คะแ ผล นน
  • 10. 2.1 ใบชา 1 26 4 2.2 มะนาวพร้อมเปลือก 1 8 1 2.3 เกลือแกง 1 31 5 2.4 หัวหอมแดง 1 39 9 2.5 ตะไคร้ 1 33 7 2.6 นำ้าส้มสายชู 1 31 5 2.7 นำ้าซาวข้าว 1 23 3 2.8 นำ้าปูนใส 1 39 9 2.9 มะขามเปียก 1 37 8 2.1 แป้งมันสำาปะหลัง 1 8 1 0 จากตารางที่ 2 พบว่า จากการทดสอบดับกลิ่นคาวปลาจาก สาร 10 ชนิด ปรากฏผลดังนี้ นำ้ามะนาว ดับกลิ่นคาวได้ดีที่สุด นำ้าซาวข้าว ใบชา เกลือแกง นำ้าส้มสายชู ตะไคร้ มะขามเปียก นำ้าปูนใส และหัวหอมแดง ดับกลิ่นได้ตามลำาดับนำ้าปูนใส และหัว หอมแดง ดับกลิ่นได้น้อยที่สุด ตารางที่ 3 ผลการศึกษาชุดที่ 3 ผลการศึกษา
  • 11. ลักษณะของ หมายเล ชื่อสาร จำานวน หมายเห ปลา ข สารช้อน ตุ ในถ้วย คะแน ผล ตวง 3.1 ใบชา 1 น 41 10 3.2 มะนาวพร้อม 1 7 1 3.3 เปลือก 1 36 8 3.4 เกลือแกง 1 32 7 3.5 หัวหอมแดง 1 21 3 3.6 ตะไคร้ 1 30 4 3.7 นำ้าส้มสายชู 1 31 5 3.8 นำ้าซาวข้าว 1 31 5 3.9 นำ้าปูนใส 1 37 9 3.10 มะขามเปียก 1 9 2 แป้งมันสำาปะหลัง จากตารางที่ 3 พบว่า จากการทดสอบดับกลิ่นคาวปลาจาก สาร 10 ชนิด ปรากฏผลดังนี้ นำ้ามะนาว ดับกลิ่นคาวได้ดีที่สุด แป้งมันสำาปะหลัง ตะไคร้ นำ้าส้ม สายชู นำ้าซาวข้าว นำ้าปูนใส หัวหอมแดง เกลือแกง นำ้ามะขามเปียก และใบชา ดับกลิ่นได้ตาม ลำาดับ ใบชา ดับกลิ่นได้น้อยที่สุด
  • 12. ตารางที่ 4ผลการศึกษาชุดที่ 4 ผลการศึกษา ลักษณะของ หมายเล ชื่อสาร จำานวน หมายเห ปลา ข สารช้อน ตุ ในถ้วย คะแน ผล ตวง 4.1 ใบชา 1 น 101 7 4.2 มะนาวพร้อม 1 23 1 4.3 เปลือก 1 107 8 4.4 เกลือแกง 1 93 5 4.5 หัวหอมแดง 1 79 3 4.6 ตะไคร้ 1 93 5 4.7 นำ้าส้มสายชู 1 84 4 4.8 นำ้าซาวข้าว 1 112 10 4.9 นำ้าปูนใส 1 107 8 ٤.10 มะขามเปียก 1 28 2 แป้งมันสำาปะหลัง จากตารางที่ 4 พบว่า เมื่อรวมทั้ง 3 ชุด แล้ว สรุปผลการ ศึกษาได้ดังนี้ มะนาวดับกลิ่นได้ดีที่สุด แป้งมันสำาปะหลัง ตะไคร้ นำ้าซาวข้าว นำ้าส้มสายชู หัวหอมแดง ใบชา มะขามเปียก เกลือแกง และนำ้าปูนใส ดับกลิ่นได้ตามลำาดับนำ้าปูนใส ดับกลิ่นได้ น้อยที่สุด
  • 13. สรุปผลการศึกษา จากการศึกษาเปรียบเทียบกลิ่นคาวปลา ทีล้างด้วยสาร 10 ่ ชนิด เพื่อต้องการทราบว่า ล้างปลาด้วยสารชนิดใด จึงจะมีกลิ่นคาวน้อยที่สุด โดยเปรียบ เทียบจากการดมกลิ่นของผูทดสอบกลิ่น 15 คน แล้วบันทึกผล ้ แสดงว่า ล้างปลาด้วยนำ้ามะนาวพร้อมเปลือกมะนาว มีกลินคาว่ น้อยที่สุด รองลงมาคือ แป้งมันสำาปะหลัง ตะไคร้ นำ้าซาวข้าว นำ้าส้มสายชู หัวหอมแดง ใบชา ตามลำาดับ ส่วนนำ้าปูนใส เกลือแกง มะขามเปียก ดับกลิ่นคาวได้น้อย ดังนั้น เราควรดับกลิ่นคาวปลาด้วยนำ้ามะนาว หรือแป้งมัน สำาปะหลัง ซึ่งเราสามารถ หาได้ง่ายทุกครอบครัว เพื่อเด็กๆ จะได้หันมารับประทานปลามาก ขึ้น ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน ได้ทราบว่า นำ้ามะนาวเปลือกมะนาว ใช้ดับกลิ่นคาวปลาได้ดี ที่สุด ได้นำาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำาวัน และนำาไปเผยแพร่ให้ผู้ อื่นทราบ ได้ฝึกกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้ฝึกการทำางานเป็นกลุ่ม ได้ฝึกความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ข้อเสนอแนะ ควรศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับสารดับกลิ่นคาวชนิดต่างๆ ว่า สามารถดับกลิ่นคาวได้ดีกว่านำ้ามะนาว เปลือกมะนาว และมัน สำาปะหลัง
  • 14. เอกสารอ้างอิง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. สารานุกรมไทยสำาหรับเยาว ชนฯ เล่มที่ 5. กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์, 2523. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. สารานุกรมไทยสำาหรับเยาว ชนฯ เล่มที่ 7. กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์, 2525. อำานาจ เจริญศิลป์. เกลือ สารานุกรมวิทยาศาสตร์สำาหรับ เยาวชน เล่ม 2. กรุงเทพฯ: ม.ป.ป. www.teenee. Com/mnsiobox/dog.php ที่มา: โครงงานเรื่องหมดกลิ่นสิ้นคาว ชนะการประกวดโครงงานครั้งที่ 3 ปีการศึกษา 2545 จากโรงเรียนอนุบาลสงขลา อำาเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
  • 15. ข้อแนะนำาสำาหรับนักเรียน ในการเลือกเรื่องที่จะทำาโครงงาน การเรียนรู้โดยกิจกรรมการทำาโครงงาน เป็นการส่งเสริมให้ นักเรียนได้แสดงความสามารถและพัฒนาตนเองได้อย่างเต็มที่ โดยเป็นไปตามธรรมชาติ ตามความถนัด และความสนใจ เน้น ในเรื่องคุณธรรม และกระบวนการเรียนรู้อย่างมีขั้นตอน ทั้งใน เรื่องที่เกี่ยวกับตนเอง สังคม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย ความรู้ และ ทักษะด้านคณิตศาสตร์ ด้านภาษา การประกอบอาชีพเพื่อ ให้สามารถนำาไปใช้ในการดำารงชีวิตได้อย่างมีความสุข การฝึกทำา โครงงาน จึงเป็นพื้นฐานของการฝึกทักษะ กระบวนการคิด การแก้ปัญหาจากสถานการณ์ต่างๆ เป็นการเรียนรูที่เกิดขึ้นได้ทุก ้ เวลา ทุกสถานที่ ทังเป็นการประสานความร่วมมือกับทุกฝ่ายของ ้ ชุมชน นักเรียนจะได้เรียนรู้อย่างมีความสุข เกิดการพัฒนา ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคมอย่างสมบูรณ์ สามารถประเมินผลการเรียนรู้ควบคู่ไปกับการร่วมกิจกรรมตาม ความเหมาะสมกับวัย และระดับความสามารถของนักเรียนเอง ฉะนั้น เมื่อนักเรียนได้รวมกิจกรรมการเรียนการสอนจากครู ่ อาจารย์ผู้สอนแล้ว นักเรียนจะต้องเป็นผู้คิดกำาหนดหัวข้อโครง งานที่จะศึกษาค้นคว้า ดำาเนินการวางแผนออกแบบ สำารวจ ทดลอง ประดิษฐ์ เก็บรวบรวมข้อมูล แปรผล สรุปผล และ เสนอผลงานโดยตัวนักเรียนเอง ครูอาจารย์จะเป็นเพียงผู้ดูแลและให้คำาปรึกษาเท่านั้น โครงงาน แรกที่นักเรียนได้ทำาและประสบผลสำาเร็จจะสร้างความมั่นใจ และ เป็นแรงผลักดันให้นักเรียนทำาโครงงานต่อๆ ไปได้ นักเรียนจึง
  • 16. ควรเลือกโครงงานที่เหมาะสมกับความรู้ความสามารถของนักเรียน เอง ทั้งนี้เพราะการเริ่มต้นด้วยความสำาเร็จย่อมเป็นการเริ่มต้นที่ดี เสมอ จึงขอแนะนำาให้นักเรียนเริ่มทำาโครงงานประเภทสำารวจก่อน โครงงานประเภททดลองและประเภทสิ่งประดิษฐ์ ในที่นี้ได้ยก ตัวอย่างหัวข้อโครงงาน ให้นักเรียนได้ใช้เป็นแนวทางในการทำาโครงงานต่อไปแล้ว