SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  32
82




         คำำอธิบำยรำยวิชำ
      ระดับมัธยมศึกษำตอนต้น
 กลุมสำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำ
    ่
และวัฒนธรรม




 โครงสร้ำงหลักสูตรกลุ่มสำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ
              ศำสนำและวัฒนธรรม
            ระดับมัธยมศึกษำตอนต้น

       หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
83

รำยวิชำพื้นฐำน
ส 21101           สังคมศึกษา 20 ชั่วโมง           0.5
1                                                 หน่วยกิต
ส 21102                       20 ชั่วโมง          0.5
ประวัติศาสตร์ 1                                   หน่วยกิต
ส 21103           พระพุทธ     40 ชั่วโมง          1.0
ศาสนา 1                                           หน่วยกิต
ส 21104                       20 ชั่วโมง          0.5
สังคมศึกษา 2                                      หน่วยกิต
ส 21105                       20 ชั่วโมง          0.5
ประวัติศาสตร์ 2                                   หน่วยกิต
ส 21106           พระพุทธ     40 ชั่วโมง          1.0
ศาสนา 2                                           หน่วยกิต
ส 22101                       20 ชั่วโมง          0.5
สังคมศึกษา 3                                      หน่วยกิต
ส 22102                       20 ชั่วโมง          0.5
ประวัติศาสตร์ 3                                   หน่วยกิต
ส 22103           พระพุทธ     40 ชั่วโมง          1.0
ศาสนา 3                                           หน่วยกิต
ส 22104                       20 ชั่วโมง          0.5
สังคมศึกษา 4                                      หน่วยกิต
ส 22105                       20 ชั่วโมง          0.5
ประวัติศาสตร์ 4                                   หน่วยกิต
ส 22106            พระพุทธ    40 ชั่วโมง          1.0
ศาสนา 4                                           หน่วยกิต
ส 23101                       20 ชั่วโมง          0.5
สังคมศึกษา 5                                      หน่วยกิต
ส 23102                       20 ชั่วโมง          0.5
ประวัติศาสตร์ 5                                   หน่วยกิต
ส 23103            พระพุทธ    40 ชั่วโมง          1.0
ศาสนา 5                                           หน่วยกิต
ส 23104                       20 ชั่วโมง          0.5
สังคมศึกษา 6                                      หน่วยกิต
ส 23105                       20 ชั่วโมง          0.5
ประวัติศาสตร์ 6                                   หน่วยกิต


           หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
84

ส 23106               พระพุทธ       40 ชั่วโมง               1.0
ศาสนา 6                                                      หน่วยกิต




                       คำำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน
รหัส ส 21101 สังคมศึกษำ 1                                     กลุ่มสำระ
กำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1 ภำคเรียนที่ ١
เวลำ 20 ชั่วโมง จำำนวน 0.5 หน่วยกิต
----------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------
      ศึกษา กฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลกฎหมายการ
คุ้มครองเด็ก กฎหมายการศึกษากฎหมายการคุ้มครองผู้บริโภค
กฎหมายลิขสิทธิ์ ประโยชน์ของการปฏิบัติตนตามกฎหมายการ
คุ้มครองสิทธิของบุคคล วิเคราะห์ สังเคราะห์ บทบาทและหน้าที่
ของเยาวชนที่มีต่อสังคมและประเทศชาติ โดยเน้นจิตสาธารณะ เช่น
เคารพกติกาสังคม ปฏิบัติตนตามกฎหมาย มีส่วนร่วมและรับผิดชอบ
ในกิจกรรมทางสังคม อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ รักษา
สาธารณประโยชน์
      เปรียบเทียบ ความคล้ายคลึงและความแตกต่างระหว่าง
วัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ วัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ
นำาไปสู่    ความเข้าใจผิดต่อกัน ปฏิบัติตนในการเคารพในสิทธิของ
ตนเองและผู้อื่น ผลที่ได้จากการเคารพในสิทธิของตนเองและผู้อื่น
      ศึกษาความหมายและความสำาคัญของเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
ความหมายของคำาว่าทรัพยากรมีจำากัดกับ ความต้องการมีไม่จำากัด
ความขาดแคลนการเลือกและค่าเสียโอกาส วิเคราะห์ความสำาคัญของ
การบริโภคอย่างมีประสิทธิภาพหลักการในการบริโภคที่ดีปัจจัยที่มี

             หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
85

อิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภคค่านิยมและพฤติกรรมของการบริโภค
ของคนในสังคมปัจจุบัน รวมทังผลดีและผลเสียของพฤติกรรมดังกล่าว
                                 ้
      ศึกษาความเป็นมาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลักการทรงงาน
ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรวมทั้งโครงการตามพระราชดำาริ
หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง ประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอ
เพียง ในการดำารงชีวต วิเคราะห์ความสำาคัญ คุณค่าและประโยชน์ของ
                      ิ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงต่อสังคมไทย
      ศึกษาเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ (ลูกโลก แผนที่ กราฟ แผนภูมิ
ฯลฯ) ทีแสดงลักษณะทางกายภาพ และสังคมของประเทศไทยและ
          ่
ทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และ โอเชียเนีย เส้นแบ่งเวลาของ
ประเทศไทยกับทวีปต่าง ๆ ความแตกต่างของเวลา มาตรฐานกับเวลา
ท้องถิ่น
      วิเคราะห์เชื่อมโยง สาเหตุ แนวทางป้องกัน ภัยธรรมชาติและการ
ระวังภัยที่เกิดขึ้นในประเทศไทยและทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย โอเชีย
เนีย
      เสนอแนวทางการใช้ทรัพยากรของคนในชุมชนให้ใช้ได้นานขึ้น
โดยมีจิตสำานึกรู้คุณค่าของทรัพยากรแผนอนุรักษ์ทรัพยากรในทวีป
เอเชียความร่วมมือระหว่างประเทศในทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย
โอเชียเนีย ที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ
      เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่างสภาพ
แวดล้อมทางภูมิศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ
กับระบบเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เห็นความสำาคัญของการปรับตัว
ให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม ตลอดจนตระหนักถึงการมีส่วนร่วมในการเสนอ
แนวทางในการป้องกัน แก้ไข อนุรักษ์พัฒนาสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ
และสังคมของทวีปเอเชีย
      เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์เปรียบเทียบ
ความเหมือนความแตกต่างความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ต่าง ๆ รวม
ทั้งสามารถแก้ปัญหาและประยุกต์ใช้เพื่อให้สามารถนำาผลการเรียนรู้ไป
ใช้ในชีวิตประจำาวันและอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุขและ
สันติสุข

มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
ส 2.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4
ส 3.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3
ส 5.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3


           หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
86


รวมทั้งหมด 10 ตัวชี้วัด




                       คำำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน
รหัส ส 21102 ประวัติศำสตร์ไทย 1                         กลุ่มสำระกำร
เรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1        ภำคเรียนที่ ١
เวลำ 20 ชั่วโมง จำำนวน 0.5 หน่วยกิต
----------------------------------------------------------------------------
              -----------------------------------------------
      วิเคราะห์ความสำาคัญของเวลา และช่วงเวลาสำาหรับการศึกษา
ประวัติศาสตร์ ความสัมพันธ์และความสำาคัญของอดีตที่มีต่อปัจจุบัน
และอนาคต ตัวอย่างการใช้เวลา ช่วงเวลาและยุคสมัย ทีปรากฏใน      ่
เอกสารประวัติศาสตร์ไทย
      ศึกษาวิธีการเทียบศักราชต่างๆ และตัวอย่าง การเทียบตัวอย่าง
การใช้ศักราชต่าง ๆ ทีปรากฏในเอกสารประวัติศาสตร์ไทย ทีมาของ
                        ่                                        ่


             หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
87

ศักราชที่ปรากฏในเอกสารประวัติศาสตร์ไทย ได้แก่ จ.ศ. / ม.ศ. /
ร.ศ./ พ.ศ. / ค.ศ. และ ฮ.ศ.
       ศึกษาความหมายและความสำาคัญของประวัตศาสตร์ และวิธีการ
                                               ิ
ทางประวัติศาสตร์ที่มีความ สัมพันธ์เชื่อมโยงกันตัวอย่างหลักฐานในการ
ศึกษาประวัตศาสตร์ไทยสมัยสุโขทัย ทั้งหลักฐานชั้นต้น และหลักฐาน
            ิ
ชั้นรอง ( เชื่อมโยงกับ มฐ.ส ๔.๓) เช่น ข้อความ ในศิลาจารึก สมัย
สุโขทัย เป็นต้นนำาวิธีการทางประวัติศาสตร์ไปใช้ศึกษาเรื่องราวของ
ประวัติศาสตร์ไทยที่มีอยู่ในท้องถิ่นตนเองในสมัยใดก็ได้ (สมัยก่อน
ประวัติศาสตร์ สมัยก่อนสุโขทัย สมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา
สมัยธนบุรี สมัยรัตนโกสินทร์ ) และเหตุการณ์สำาคัญในสมัยสุโขทัย
          เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
การใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ การสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับ
ประวัติศาสตร์ ภาคภูมิใจในภูมิปัญญาท้องถิ่นและความเป็นไทยเห็น
คุณค่าและความสามารถและความเสียสละของบรรพบุรุษ

มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
 ส 4.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3

รวมทั้งหมด 3 ตัวชี้วัด




                       คำำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน
รหัส ส 21103 พระพุทธศำสนำ 1                                  กลุ่มสำระ
กำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1 ภำคเรียนที่ ١
เวลำ 40 ชั่วโมง จำำนวน 1.0 หน่วยกิต
----------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------



             หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
88

       ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกปฏิบัติ สร้างความคิดรวบยอด นำาภูมิปัญญา
ท้องถิ่น สภาพปัญหาชีวิต สภาพแวดล้อม เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของ
กระบวนการเรียนรู้ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักและเห็นคุณค่า
ในเรื่องต่อไปนี้
      พระพุทธ เกี่ยวกับประวัติและควำมสำำคัญของพระพุทธ
ศำสนำ เรื่องการสังคายนา
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศไทย พระพุทธศาสนากับการ
พัฒนาตนและครอบครัว               พุทธประวัติ สรุปและวิเคราะห์พุทธ
ประวัติเรื่อง ประสูติ เทวทูต ๔ การบำาเพ็ญทุกรกิริยา
การแสวงหาความรู้ ชำดก เรื่องอัมพชาดก วันสำำคัญทำงพระพุทธ
ศำสนำเรื่อง ระเบียบพิธี พิธีเวียนเทียน การปฏิบัติตนในวันมาฆบูชา
วันวิสาขบูชา วันอัฏฐมีบูชา วันอาสาฬหบูชา ศึกษา วิเคราะห์คุณค่า
ผลงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านพระพุทธศาสนา มุงอนุรักษ์ศาสนวัตถุ
                                             ่
และศาสนสถานในท้องถิ่น
      พระธรรม เกี่ยวกับหลักธรรมทำงพระพุทธศำสนำ เรื่อง พระ
รัตนตรัย(พุทธคุณ ๙) อริยสัจ ๔ ทุกข์(ธรรมที่ควรรู) : ขันธ์ ๕,
                                                 ้
สมุทัย(ธรรมที่ควรละ) : หลักกรรม นิโรธ(ธรรมที่ควรบรรลุ) : สุข ๒
(กายิก,เจตสิก), มรรค(ธรรมที่ควรเจริญ) : ไตรสิกขา กรรมฐาน ๒
มงคล ๓๘ ในเรื่องไม่คบคนพาล คบบัณฑิต พุทธศำสนสุภำษิต คือ
ยำ เว เสวติ ตาทิโส (คบคนเช่นไร เป็นคนเช่นนั้น) อตฺตนา โจทยตฺ
ตานำ (จงเตือนตนด้วยตน) พระไตรปิฎกโครงสร้าง ชื่อคัมภีร์ และ
สาระสังเขปของพระวินยปิฎก กำรบริหำรจิตและเจริญปัญญำ สวด
                       ั
มนต์แปล และแผ่เมตตา วิธีปฏิบัติและประโยชน์ของการบริหารจิตและ
เจริญปัญญา ฝึกการบริหารจิตและเจริญปัญญาตามหลักสติปัฏฐานเน้น
อานาปานสติ นำาวิธีการบริหารจิตและเจริญปัญญาไปใช้ในชีวิตประจำา
วัน พัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ ๒ วิธีคือ วิธีคิด
แบบคุณค่าแท้-คุณค่าเทียม และความคิดแบบคุณ –โทษ และ
ทางออก ศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นในการนำาหลักธรรมไปใช้ในชีวิต
ประจำาวัน
      พระสงฆ์ เกี่ยวกับประวัติพุทธสำวก พุทธสำวิกำ พระมหากัสส
ปะ พระอุบาลี
ชำวพุทธตัวอย่ำง พระเจ้าอโศกมหาราช หน้ำที่ชำวพุทธ เรื่องวิถี
ชีวิตของพระภิกษุที่ต้องศึกษาคันถธุระและวิปัสสนาธุระ การปฏิบัติตัวที่
เหมาะสมด้านกาย วาจา และใจ การเป็นเพื่อนที่ดีตามหลักทิศเบื้อง
ซ้ายในทิศ ๖ มิตรแท้-มิตรเทียม มรรยำทชำวพุทธและกำรปฏิบัติ

           หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
89

ตนต่อพระภิกษุ เรื่องการไปวัด การแต่งกาย และการนำาเด็กไปวัด
การปฏิบัติตนในเขตวัด การเข้าพบพระภิกษุ การแสดงความเคารพ (
การประนมมือ การไหว้ การกราบ การเคารพพระรัตนตรัย ศำสนพิธี
เรื่อง การจัดโต๊ะหมู่บูชา (แบบหมู่ ๔ หมู่ ๕ หมู่ ๗ และหมู่ ๙) และ
ศึกษาศาสนพิธีและการปฏิบัติตนเป็นชาวพุทธที่ดีในท้องถิ่นต่างๆ
สัมมนำพระพุทธศำสนำกับกำรแก้ปัญหำและกำรพัฒนำ เรื่อง
พระพุทธศาสนากับการพัฒนาตนและครอบครัว
           เพื่อให้เกิดศรัทธาอย่างยิ่งต่อพระรัตนตรัย และรักการเรียน
รู้พระพุทธศาสนา ประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี มี
คุณธรรม จริยธรรมในการอยูร่วมกันในสังคม และสามารถนำาหลักธรรม
                            ่
ไปใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ การทำางานอย่างมีคุณค่าต่อชีวิต
ตนเองและสังคมโดยส่วนรวม

มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
ส 1.1
ม.1/1,ม.1/3,ม.1/4,ม.1/5,ม.1/6,ม.1/7,ม.1/8,ม.1/9,ม.1/10,ม.1/11
ส 1.2 ม.1/1,ม.1/2,ม.1/3,ม.1/5

รวมทั้งหมด 14 ตัวชี้วัด




           หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
90




                       คำำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน
 รหัส ส 21104          สังคมศึกษำ 2                           กลุ่มสำระ
กำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1 ภำคเรียนที่ ٢
เวลำ 20 ชั่วโมง จำำนวน 0.5 หน่วยกิต
----------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------
      ศึกษา หลักการ เจตนารมณ์ โครงสร้าง และสาระสำาคัญของ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับปัจจุบันการแบ่งอำานาจ และ
การถ่วงดุลอำานาจอธิปไตยทั้ง ๓ ฝ่าย คือนิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ
ตามทีระบุในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบัน ปฏิบัติตน
       ่
ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบน                ั
เกี่ยวกับสิทธิ เสรีภาพและหน้าที่ ความหมายและความเป็นมาของ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
      ศึกษาความหมาย ประเภท และความสำาคัญของสถาบันการเงินที่
มีต่อระบบเศรษฐกิจ บทบาทหน้าทีและความสำาคัญของธนาคารกลาง
                                      ่
การหารายได้ รายจ่าย การออม การลงทุนซึ่งแสดงความสัมพันธ์
ระหว่างผู้ผลิต ผู้บริโภค และสถาบันการเงิน ยกตัวอย่างที่สะท้อนให้
เห็นการพึ่งพาอาศัยกันและกัน การแข่งขันกันทางเศรษฐกิจในประเทศ
ปัญหาเศรษฐกิจในชุมชน ประเทศ และเสนอแนวทางแก้ไข
      ศึกษาความหมายและกฎอุปสงค์ อุปทาน ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ
การกำาหนดอุปสงค์และอุปทานความสำาคัญของทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายที่เกี่ยวกับการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาพอสังเขปตัวอย่าง
การละเมิดแห่งทรัพย์สินทางปัญญาแต่ละประเภท
      วิเคราะห์การเปลียนแปลงประชากร เศรษฐกิจ สังคม และ
                        ่
วัฒนธรรมในทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย การก่อเกิดสิ่ง
แวดล้อมใหม่ทางสังคม แนวทางการใช้ทรัพยากรของคนในชุมชนให้
ใช้ได้นานขึ้น โดยมีจิตสำานึกรู้คุณค่าของทรัพยากร แผนอนุรักษ์
ทรัพยากรในทวีปเอเชีย ความร่วมมือระหว่างประเทศในทวีปเอเชีย
ออสเตรเลีย โอเชียเนีย ทีมีผลต่อสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ
                            ่



             หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
91

      ศึกษา ทำาเลที่ตั้งกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมในทวีปเอเชีย
ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย เช่น ศูนย์กลางการคมนาคม โดยใช้
ข้อมูลที่หลากหลาย วิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและสังคมที่มีผลต่อ
การเลื่อนไหลของความคิด เทคโนโลยี สินค้า และประชากรในทวีป
เอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย
      เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์เปรียบเทียบ
ความเหมือนความแตกต่างความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ต่าง ๆ รวมทัง          ้
สามารถแก้ปัญหาและประยุกต์ใช้เพื่อให้สามารถนำาผลการเรียนรูไปใช้ ้
ในชีวิตประจำาวันและอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุขและสันติสุข
มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
ส 2.2 ม.1/1, ม.1/2,ม.1/3,
ส 3.2 ม.1/1, ม.1/2,ม.1/3,ม.1/4
ส 5.2 ม.1/1, ม.1/2,ม.1/3,ม.1/4
รวมทั้งหมด        11 ตัวชี้วัด
                       คำำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน
รหัส ส 21105 ประวัติศำสตร์ไทย 2                               กลุ่มสำระ
กำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1 ภำคเรียนที่ ٢
เวลำ 20 ชั่วโมง จำำนวน 0.5 หน่วยกิต
----------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------
      ศึกษา ทีตั้งและสภาพทางภูมิศาสตร์ของประเทศต่าง ๆ ใน
                ่
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทีมีผลต่อพัฒนาการทางด้านต่างๆ
                                       ่
วิเคราะห์พัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ความร่วมมือ
ผ่านการรวมกลุ่มเป็นอาเซียน ของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้
      ศึกษาที่ตั้งและความสำาคัญของแหล่งอารยธรรมในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ เช่นแหล่งมรดกโลกในประเทศต่าง ๆของเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ อิทธิพลของอารยธรรมโบราณในดินแดนไทยที่มีต่อ
พัฒนาการของสังคมไทยในปัจจุบัน
      ศึกษาสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนไทย โดยสังเขป รัฐ
โบราณในดินแดนไทย เช่น ศรีวิชัยตามพรลิงค์ ทวารวดี เป็นต้นรัฐ
ไทย ในดินแดนไทย เช่น ล้านนา นครศรีธรรมราช สุพรรณภูมิ เป็นต้น
การสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย และ ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง (ปัจจัยภายใน
และ ปัจจัยภายนอก )

             หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
92

       วิเคราะห์พัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัย ในด้านการเมืองการ
ปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
วัฒนธรรมสมัยสุโขทัย เช่น ภาษาไทย วรรณกรรม ประเพณีสำาคัญ
ศิลปกรรมไทย ภูมิปัญญาไทยในสมัยสุโขทัย เช่นการชลประทาน
เครื่องสังคมโลกความเสื่อมของอาณาจักรสุโขทัย
       เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
พัฒนาการของมนุษยชาติ การสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์
ภาคภูมิใจในภูมิปัญญาท้องถิ่นและความเป็นไทยเห็นคุณค่าและความ
สามารถและความเสียสละของบรรพบุรุษ

มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
ส 4.2 ม.1/1, ม.1/2
ส 4.3 ม.1/1,ม.1/2,ม.1/3

รวมทั้งหมด 5 ตัวชี้วัด




                       คำำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน
รหัส ส 21106 พระพุทธศำสนำ 2                               กลุ่มสำระกำร
เรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1          ภำคเรียนที่ ٢
เวลำ 40 ชั่วโมง จำำนวน 1.0 หน่วยกิต
----------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------
      ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกปฏิบัติ สร้างความคิดรวบยอด นำา
ภูมิปัญญาท้องถิ่น สภาพปัญหาชีวิต สภาพแวดล้อม เข้ามาเป็น
ส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ เพื่อให้มีความรูความเข้าใจ
                                              ้
ตระหนักและเห็นคุณค่าในเรื่องต่อไปนี้



             หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
93

    พระพุทธ เกี่ยวกับประวัติและควำมสำำคัญของพระพุทธ
ศำสนำ เรื่อง ความสำาคัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทยใน
ฐานะเป็นศาสนาประจำาชาติ สถาบันหลักของสังคมไทย สภาพ
แวดล้อมที่กว้างขวางและครอบคลุมสังคมไทย พระพุทธศาสนา
กับการพัฒนาตนและครอบครัว พุทธประวัติ สรุปและวิเคราะห์
พุทธประวัติเรื่อง ชำดก เรื่อง ติตติรชาดก วันสำำคัญทำง
พระพุทธศำสนำเรื่อง ประวัติและความสำาคัญของวันธรรมสวนะ
และเทศกาลสำาคัญ คือ วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา และวันเท
โวโรหณะ ศึกษา วิเคราะห์คุณค่าผลงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้าน
พระพุทธศาสนา มุ่งอนุรักษ์ศาสนวัตถุ และศาสนสถานในท้องถิ่น
      พระธรรม เกี่ยวกับหลักธรรมทำงพระพุทธศำสนำ เรื่อง
อริยสัจ ๔ ทุกข์(ธรรมที่ควรรู) : ธาตุ ๔, สมุทัย(ธรรมที่ควรละ) :
                            ้
อบายมุข ๖ นิโรธ(ธรรมที่ควรบรรลุ) : คิหิสุข, มรรค(ธรรมที่ควร
เจริญ) : ปธาน ๔ โกศล ๓ มงคล ๓๘ ในเรื่อง บูชาผู้ควรบูชา
พุทธศำสนสุภำษิต คือ นิสมฺม กรณำ เสยฺโย(ใคร่ครวญก่อนทำา
จึงดี) ทุราวาสา ฆรา ทุกฺขา(เรือนที่ครองไม่ดี นำาทุกข์มาให้) พระ
ไตรปิฎก เรื่องน่ำรู้จำกพระไตรปิฎก (อภิณหปัจจเวกขณ์ ๕)
ศัพท์ทำงพระพุทธศำสนำ คือ ปริยัติ-ปฏิบัต-ปฏิเวธ กำร
                                              ิ
บริหำรจิตและเจริญปัญญำ สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา วิธี
ปฏิบัติและประโยชน์ของการบริหารจิตและเจริญปัญญา ฝึกการ
บริหารจิตและเจริญปัญญาตามหลักสติปัฏฐานเน้นอานาปานสติ
นำาวิธีการบริหารจิตและเจริญปัญญาไปใช้ในชีวิตประจำาวัน
พัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธคิดแบบโยนิโสมนสิการ ๒ วิธีคือ วิธีคด
                       ี                                     ิ
แบบคุณค่าแท้-คุณค่าเทียม และความคิดแบบคุณ –โทษ และ
ทางออก ศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นในการนำาหลักธรรมไปใช้ใน
ชีวิตประจำาวัน
     พระสงฆ์ เกี่ยวกับประวัติพุทธสำวก พุทธสำวิกำ อนาถ
บิณฑิกะ นางวิสาขา ชำวพุทธตัวอย่ำง พระโสณะ และพระอุต
ตระ หน้ำที่ชำวพุทธ เรื่อง การเข้าค่ายคุณธรรม การเข้าร่วม
พิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ
มรรยำทชำวพุทธและกำรปฏิบัติตนต่อพระภิกษุ เรื่อง การ
ฟังเจริญพระพุทธมนต์ การฟังสวดพระอภิธรรม การฟังพระธรรม

          หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
94

เทศนา) ศำสนพิธี เรื่อง การจุดธูปเทียน จัดเครื่องประกอบ
โต๊ะหมู่บูชา คำาอาราธนาต่างๆ และศึกษาศาสนพิธและการปฏิบัติ
                                              ี
ตนเป็นชาวพุทธทีดีในท้องถิ่นต่างๆ สัมมนำพระพุทธศำสนำ
                  ่
กับกำรแก้ปัญหำและกำรพัฒนำ เรื่อง พระพุทธศาสนากับ
การพัฒนาตนและครอบครัว
     เพื่อให้เกิดศรัทธาอย่างยิ่งต่อพระรัตนตรัย และรักการเรียนรู้
พระพุทธศาสนา ประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี มี
คุณธรรม จริยธรรมในการอยู่ร่วมกันในสังคม และสามารถนำาหลัก
ธรรมไปใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ การทำางานอย่างมีคุณค่า
ต่อชีวตตนเองและสังคมโดยส่วนรวม
      ิ

มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
ส 1.1 ม.1/2,ม.1/4,,ม.1/5,ม.1/6,ม.1/7,ม.1/8,
ม.1/9,ม.1/10,ม.1/11
ส 1.2 ม.1/2,ม.1/4,ม.1/5

รวมทั้งหมด 12 ตัวชี้วัด




           หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
95


                       คำำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน
รหัส ส 22101 สังคมศึกษำ 3                                   กลุ่มสำระกำร
เรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2 ภำคเรียนที่ ١
เวลำ 20 ชั่วโมง จำำนวน 0.5 หน่วยกิต
----------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------
      ศึกษาการใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์
และนำาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม
วัฒนธรรมและประชากรของทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา รวมทั้ง
สามารถระบุแนวทางในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง
แวดล้อมในทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา การสำารวจ อภิปรายประเด็น
ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปยุโรปและทวีป
แอฟริกา
      ศึกษาความหมาย ความสำาคัญของการลงทุนและการออมต่อ
ระบบเศรษฐกิจ การบริหารจัดการเงินออมและการลงทุนภาคครัวเรือน
ปัจจัยการลงทุนและการออม คือ ดอกเบี้ย รวมทังปัจจัยอื่นๆ เช่น ค่า
                                                     ้
ของเงิน เทคโนโลยี การคาดเดาเกี่ยวกับอนาคต ปัญหาการลงทุน
และการออมในสังคมไทย ศึกษาความหมาย ความสำาคัญและหลัก
การผลิตสินค้า และการบริการอย่างมีประสิทธิภาพ มีการสำารวจการ
ผลิตสินค้าในท้องถิ่น การนำาเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิตสินค้า และ
การบริการ นำาหลักการผลิตมาวิเคราะห์การผลิตสินค้าและบริการใน
ท้องถิ่น ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม รูและเข้าใจระบบ
                                                          ้
เศรษฐกิจแบบต่างๆ ยกตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นการพึ่งพาอาศัยกัน
และการแข่งขันกันทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย
      ศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ในเรื่อง
กฎหมายเกี่ยวกับความสามารถของผู้เยาว์ กฎหมายบัตรประจำาตัว
ประชาชน กฎหมายแพ่งเกี่ยวกับครอบครัว เช่น การหมัน การสมรส      ้
การรับรองบุตร การรับบุตรบุญธรรม รวมทังศึกษากฎหมายที่เกี่ยวกับ
                                               ้
ชุมชนและประเทศ โดยสังเขปเกี่ยวกับกฎหมายการอนุรักษ์ธรรมชาติ
กฎหมายภาษีอากรและเน้นการกรอกแบบแสดงรายการภาษีเงินได้
บุคคลธรรมดา กฎหมายแรงงานและกฎหมายปกครอง และ
กระบวนการตรากฎหมาย ขั้นตอน
การตรากฎหมาย ผู้มีสิทธิในการตรากฎหมาย การมีส่วนร่วมของ
ประชาชนในการตรากฎหมาย รวมทั้งเห็นคุณค่าในการปฏิบัติตนตาม

             หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
96

สถานภาพ บทบาท สิทธิเสรีภาพ หน้าทีในฐานะพลเมืองดีตามวิถี
                                        ่
ประชาธิปไตย เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในการอยูร่วมกันในการ
                                                 ่
ดำาเนินชีวิตในสังคมได้อย่างสันติสุข

มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
ส 2.1 ม.2/1,ม.2/2, ส 2.2 ม.2/1
ส 3.1 ม.2/1,ม.2/2, ส 3.2 ม.2/1,ม.2/2,
ส 5.1 ม.2/1,ม.2/2, ส 5.2 ม.2/2, ม.2/3,

รวมทั้งหมด 11 ตัวชี้วัด
                         คำำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน
รหัส ส 22102 ประวัติศำสตร์ไทย 3                               กลุ่มสำระกำร
เรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2           ภำคเรียนที่ ١                         เวลำ
20 ชั่วโมง                จำำนวน 0.5 หน่วยกิต
----------------------------------------------------------------------------
                 -----------------------------------------------
       ศึกษาวิธีการประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์ในลักษณะต่างๆ อย่างง่าย เช่น การศึกษาภูมิหลังของ
ผู้ทำาหรือผู้เกี่ยวข้อง สาเหตุ ช่วงระยะเวลา รูปลักษณ์ของหลักฐาน
ทางประวัติศาสตร์ การแยกแยะระหว่างของมูลกับความคิดเห็นรวมทั้ง
ความจริงกับข้อเท็จจริงจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เห็นความ
สำาคัญของข้อมูลและการตีความทางประวัติศาสตร์
       รู้และเข้าใจเกี่ยวกับที่ตั้ง และสภาพทางภูมิศาสตร์ของภูมิภาค
ต่างๆ ในทวีปเอเชีย ยกเว้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีผลต่อ
พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ สังคม เศรษฐกิจ และการเมืองการ
ปกครองของภูมิภาคเอเชีย ยกเว้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
       ศึกษาการพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา และธนบุรีในด้านต่างๆ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักร
อยุธยาในด้านการเมือง การปกครอง สังคม เศรษฐกิจ และความ
สัมพันธ์ระหว่างประเทศ ภูมิปัญญา และวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา
วีรกรรมของบรรพบุรุษไทยผลงานของบุคคลสำาคัญของไทยที่มีส่วน
สร้างสรรค์ชาติไทย เช่น สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2
พระศรีสุริโยทัย พระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
มำตรฐำน/ตัวชี้วัด


             หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
97

ส 4.1 ม.2/1,ม.2/2,
ส 4.2 ม.2/1
ส 4.3 ม.2/1,ม.2/3,
รวมทั้งหมด 5 ตัวชี้วัด




                       คำำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน
รหัส ส 22103 พระพุทธศำสนำ 3                                   กลุ่มสำระ
กำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2        ภำคเรียนที่ ١
เวลำ 40 ชั่วโมง จำำนวน 1.0 หน่วยกิต
----------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------
      ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกปฏิบัติ สร้างความคิดรวบยอด นำาภูมิปัญญา
ท้องถิ่น สภาพปัญหาชีวิต สภาพแวดล้อมเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของ
กระบวนการเรียนรู้ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักและเห็น
คุณค่าในเรื่องต่อไปนี้
      พระพุทธ เกี่ยวกับประวัติและควำมสำำคัญของพระพุทธ
ศำสนำ เรื่องการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การ
นับถือพระพุทธศาสนาของประเทศเพื่อนบ้านในปัจจุบันความสำาคัญ
ของพระพุทธศาสนาในฐานะที่ช่วยเสริมสร้างความเข้าใจอันดีกับ
ประเทศเพื่อนบ้าน
พุทธประวัติ สรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติเรื่อง การผจญมาร การ
ตรัสรู้ การสั่งสอน ชำดก เรื่องมิตตวินทุกชาดก วันสำำคัญทำง
พระพุทธศำสนำ เรื่อง ระเบียบพิธีและการปฏิบัติตนในวันธรรมสวนะ
และเทศกาลสำาคัญ วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา และวันเทโวโรหณะ


             หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
98

ศึกษา วิเคราะห์คุณค่าผลงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านพระพุทธศาสนา
มุ่งอนุรักษ์ศาสนวัตถุและศาสนสถานในท้องถิ่น
       พระธรรม เกี่ยวกับหลักธรรมทำงพระพุทธศำสนำ เรื่อง พระ
รัตนตรัย(ธรรมคุณ ๖) อริยสัจ ๔ (ทุกข์(ธรรมที่ควรรู) : ขันธ์ ๕
                                                      ้
สมุทัย(ธรรมที่ควรละ) : หลักกรรม – สมบัติ ๔ วิบัติ ๔      นิโรธ(ธรรม
ที่ควรบรรลุ) : สุข ๒(สามิส , นิรามิส) มรรค(ธรรมที่ควรเจริญ) : บุพ
พนิมิตของมัชฌิมาปฏิปทา ดรุณธรรม ๖ กุลจิรัฏฐิติธรรม ๔ มงคล
๓๘ ในเรื่องประพฤติธรรม เว้นจากความชั่ว พุทธศำสนสุภำษิต
คือ กมฺมุนา วตฺตตี โลโก (สัตว์โลก ย่อมเป็นไปตามกรรม) กลฺยาณกา
รี กลฺยาณำ ปาปการี จ ปาปกำ (ทำาดีได้ดี ทำาชั่วได้ชั่ว) พระไตรปิฎก
เรื่องน่ำรู้จำกพระไตรปิฎก(จูฬกัมมวิภังคสูตร) ศัพท์ทำงพระพุทธ
ศำสนำ คือ ฌาน-ญาณ กำรบริหำรจิตและเจริญปัญญำ สวดมนต์
เแปล และแผ่เมตตา วิธีปฏิบัติและประโยชน์ของการบริหารจิตและ
เจริญปัญญา ฝึกการบริหารจิตและเจริญปัญญาตามหลักสติปัฏฐานเน้น
อานาปานสติ นำาวิธีการบริหารจิตและเจริญปัญญาไปใช้ในชีวิตประจำา
วัน พัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ ๒ วิธีคือ วิธีคิด
แบบอุบายปลุกเร้าคุณธรรมและวิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ ศึกษา
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการนำาหลักธรรมไปใช้ในชีวิตประจำาวัน
       พระสงฆ์ เกี่ยวกับประวัติพุทธสำวก พุทธสำวิกำ เรื่องพระสารี
บุตร พระโมคคัลลานะ ชำวพุทธตัวอย่ำง เรื่อง สมเด็จพระมหาสมณ
เจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส หน้ำที่ชำวพุทธ เรื่องการเข้าใจ
บทบาทของพระภิกษุในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา การแสดงธรรม
ปาฐกถาธรรม การประพฤติตนให้เป็นแบบอย่าง การฝึกบทบาทของ
ตนเองในการช่วยเผยแผ่พระพุทธศาสนา การบรรยายธรรม มรรยำท
ชำวพุทธและกำรปฏิบัติตนต่อพระภิกษุ เรื่อง การ
ต้อนรับ(ปฏิสันถาร) มรรยาทของผู้เป็นแขก ฝึกปฏิบัติระเบียบพิธี การ
ยืน การให้ที่นง การเดินสวน การสนทนา การรับสิ่งของ ศำสนพิธี
              ั่
เรื่องการทำาบุญตักบาตร การถวายภัตตาหาร สิ่งของที่ควรถวายและ
สิ่งของต้องห้ามสำาหรับพระภิกษุ การถวายสังฆทาน เครื่องสังฆทาน
การถวายผ้าอาบนำ้าฝน การจัดเครื่องไทยธรรม เครื่องไทยธรรม การก
รวดนำ้า สัมมนำพระพุทธศำสนำกับกำรแก้ปัญหำและกำรพัฒนำ
เรื่องพระพุทธศาสนากับการพัฒนาชุมชนและการจัดระเบียบสังคม
     เพื่อให้เกิดศรัทธาอย่างยิ่งต่อพระรัตนตรัย และรักการเรียนรู้
พระพุทธศาสนา ประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี มีคุณธรรม
จริยธรรมในการอยู่รวมกันในสังคม และสามารถนำาหลักธรรมไปใช้เป็น
                    ่

           หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
99

เครื่องมือในการเรียนรู้ การทำางานอย่างมีคุณค่าต่อชีวิตตนเองและ
สังคมโดยส่วนรวม

มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
ส 1.1 ม.2/1,ม.2/2,ม.2/5,ม.2/6,ม.2/7,ม.2/8,
ม.2/9,ม.2/10,ม.2/11
ส 1.2 ม.2/1,ม.2/2,ม.2/3,ม.2/4,ม.2/5

รวม 14 ตัวชี้วัด




                       คำำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน
รหัส ส 22104 สังคมศึกษำ 4                                   กลุ่มสำระกำร
เรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2         ภำคเรียนที่ ٢
เวลำ 20 ชั่วโมง จำำนวน 0.5 หน่วยกิต
----------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------
      ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพ เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรมและประชากรของทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา รวม


             หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
100

ทั้งศึกษาการก่อเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ในการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรมและประชากร อันเป็นผลจากการเปลียนแปลงทาง่
ธรรมชาติและทางสังคมของทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา รูและเข้าใจ
                                                       ้
เหตุผลและผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากการเปลียนแปลงสิ่ง
                                                   ่
แวดล้อมในทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา
       ศึกษาหลักการและเป้าหมายปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การ
สำารวจปัญหาการผลิตสินค้าและการบริการในท้องถิ่น นำาหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงมาพัฒนาและประยุกต์ใช้ในการผลิตสินค้าและ
การบริการในท้องถิ่น รู้และเข้าใจกฎหมาย แนวทางการรักษา
คุ้มครองสิทธิประโยชน์ของผู้บริโภค รวมทั้งดำาเนินกิจกรรมเพื่อพิทักษ์
สิทธิและผลประโยชน์ตามกฎหมายปกป้องสิทธิและผลประโยชน์ใน
ฐานะผูบริโภค ศึกษาการกระจายของทรัพยากรในโลกที่ส่งผลต่อ
        ้
ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ เช่น นำ้ามัน ป่าไม้
ทองคำา ถ่านหิน แร่ การแข่งขันการค้าในประเทศและต่างประเทศที่
ส่งผลต่อคุณภาพสินค้า ปริมาณ การผลิต และราคาสินค้า
       ศึกษาบทบาทความสำาคัญและความสัมพันธ์ของสถาบันทาง
สังคม เช่น สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา
สถาบันเศรษฐกิจ สถาบันการเมืองการปกครอง ความล้ายคลึงและ
ความแตกต่างของวัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมของประเทศใน
ภูมิภาคเอเชีย วัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยสำาคัญในการสร้างความเข้าใจอัน
ดีระหว่างกัน หลักการเลือกข้อมูลเหตุการณ์ข่าวสารทางการเมืองการ
ปกครอง และการเปลี่ยนแปลงสำาคัญของระบอบการปกครองของไทย
ที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน

มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
ส 2.1 ม.2/3,ม.2/4,
ส 2.2 ม.2/2
ส 3.1 ม.2/3,ม.2/4,
ส 3.2 ม.2/3,ม.2/4
ส 5.1 ม.2/2
ส 5.2 ม.2/1, ม.2/4,

รวมทั้งหมด 10 ตัวชี้วัด
                     คำำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน
รหัส ส 22105 ประวัติศำสตร์ไทย 4                    กลุ่มสำระกำร
เรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม

           หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
101

ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2 ภำคเรียนที่ ٢                                  เวลำ
20 ชั่วโมง               จำำนวน 0.5 หน่วยกิต
----------------------------------------------------------------------------
                -----------------------------------------------
       ศึกษาและเห็นความสำาคัญของการตีความหลักฐานทางประวัต
ศาสตร์ไทยที่น่าเชื่อถือสมัยอยุธยา และธนบุรี ตัวอย่างการประเมิน
ความน่าเชื่อถือทางหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทยตัวอย่างข้อมูลจาก
เอกสารต่างๆ ในสมัยอยุธยาและธนบุรี เช่น ข้อความบางตนในพระ
ราชพงศาวดารอยุธยาจดหมายเหตุชาวต่างชาติ ตัวอย่างการตีความ
ข้อมูลจากหลักฐานที่แสดงเหตุการณ์สำาคัญในสมัยอยุธยาและธนบุรี
       รู้และเข้าใจเกี่ยวกับที่ตั้งและความสำาคัญของแหล่งอารยธรรม
ตะวันออก และแหล่งมรดกโลกในประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชียรวม
ทั้งอิทธิพลของอารยธรรมโบราณที่มีต่อภูมิภาคเอเชียในปัจจุบัน ระบุ
ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี เช่น การควบคุม
กำาลังคนและศิลปวัฒนธรรม การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 1 และการกู้
เอกราชการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 การกู้เอกราช และการสถาปนา
อาณาจักรธนบุรี วีรกรรมของบรรพบุรุษไทย ผลงานของบุคคลสำาคัญ
ของไทยที่มีส่วนสร้างสรรค์ชาติไทย เช่น สมเด็จพระเจ้าตากสิน
มหาราช พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สมเด็จ
พระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาถ อิทธิพลของภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
ไทยสมัยอยุธยา และธนบุรี ต่อการพัฒนาชาติไทยในยุคต่อมา

มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
ส 4.1 ม.2/3
ส 4.2 ม.2/2
ส 4.3 ม.2/2, ม.2/3,

รวมทั้งหมด 4 ตัวชี้วัด




             หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
102


                       คำำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน
รหัส ส 22106 พระพุทธศำสนำ 4                                   กลุ่มสำระ
กำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2 ภำคเรียนที่ ٢
เวลำ 40 ชั่วโมง จำำนวน 1.0 หน่วยกิต
----------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------
      ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกปฏิบัติ สร้างความคิดรวบยอด นำาภูมิปัญญา
ท้องถิ่น สภาพปัญหาชีวิต สภาพแวดล้อมเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของ
กระบวนการเรียนรู้ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักและเห็น
คุณค่าในเรื่องต่อไปนี้
       พระพุทธ เกี่ยวกับประวัติและควำมสำำคัญของพระพุทธ
ศำสนำ เรื่อง ความสำาคัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทยในฐานะ
เป็นรากฐานวัฒนธรรม เอกลักษณ์และมรดกของชาติ พระพุทธศาสนา
กับการพัฒนาชุมชนและการจัดระเบียบสังคม พุทธประวัติ ชำดก
เรื่อง ราโชวาทชาดก วันสำำคัญทำงพระพุทธศำสนำ เรื่อง ระเบียบ
พิธีและการปฏิบัติตนในวันธรรมสวนะและเทศกาลสำาคัญ วันเข้าพรรษา
วันออกพรรษา และวันเทโวโรหณะ ศึกษา วิเคราะห์คุณค่าผลงาน
ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านพระพุทธศาสนา มุงอนุรักษ์ศาสนวัตถุและศาสน
                                     ่
สถานในท้องถิ่น
      พระธรรม เกี่ยวกับหลักธรรมทำงพระพุทธศำสนำ เรื่อง พระ
รัตนตรัย(ธรรมคุณ ๖) อริยสัจ ๔ (ทุกข์(ธรรมที่ควรรู) : อายตนะ
                                                  ้
สมุทัย(ธรรมที่ควรละ) : อกุศลกรรมบถ ๑๐ อบายมุข ๖ นิโรธ(ธรรม
ที่ควรบรรลุ) : สุข ๒(สามิส , นิรามิส) มรรค(ธรรมที่ควรเจริญ) :
กุศลกรรมบถ ๑๐ สติปัฏฐาน ๔ มงคล ๓๘ ในเรื่อง เว้นจากการดื่ม
นำ้าเมา พุทธศำสนสุภำษิต คือ สุโข ปุญฺสฺส อุจฺจโย (การ
สั่งสมบุญ นำาสุขมาให้) ปูชโก ลภเต ปูชำ วนฺทโก ปฏิวนฺทนำ (ผู้บูชา
เขาย่อมได้รับการบูชาตอบ ผู้ไหว้เขาย่อมได้รับการไหว้ตอบ) พระ
ไตรปิฎก เรื่องน่ำรู้จำกพระไตรปิฎก(จูฬกัมมวิภังคสูตร) ศัพท์ทำง
พระพุทธศำสนำ คือ ฌาน-ญาณ กำรบริหำรจิตและเจริญปัญญำ
สวดมนต์เแปล และแผ่เมตตา วิธีปฏิบัติและประโยชน์ของการบริหาร
จิตและเจริญปัญญา ฝึกการบริหารจิตและเจริญปัญญาตามหลักสติปัฏ
ฐานเน้นอานาปานสติ นำาวิธีการบริหารจิตและเจริญปัญญาไปใช้ในชีวิต
ประจำาวัน พัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ ๒ วิธีคือ วิธี

             หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
103

คิดแบบอุบายปลุกเร้าคุณธรรมและวิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์
ศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นในการนำาหลักธรรมไปใช้ในชีวิตประจำาวัน
      พระสงฆ์ เกี่ยวกับประวัติพุทธสำวก พุทธสำวิกำ เรื่องพระสารี
บุตร พระโมคคัลลานะ ชำวพุทธตัวอย่ำง เรื่อง พระมหาธรรมราชาลิ
ไท หน้ำที่ชำวพุทธ เรื่อง การจัดนิทรรศการ การเข้าค่ายคุณธรรม
การเข้าร่วมพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา การเป็นลูกที่ดีตามหลักทิศ
เบื้องหน้าในทิศ ๖ การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ มรรยำทชำวพุทธ
และกำรปฏิบัติตนต่อพระภิกษุ เรื่อง การแต่งกายไปวัด การแต่งกาย
ไปงานมงคล งานอวมงคล ศำสนพิธี เรื่อง การทอดกฐิน การทอด
ผ้าป่า และการปฏิบัติตนเป็นชาวพุทธที่ดีในท้องถินต่างๆ สัมมนำ
                                              ่
พระพุทธศำสนำกับกำรแก้ปัญหำและกำรพัฒนำ เรื่องพระพุทธ
ศาสนากับการพัฒนาชุมชนและการจัดระเบียบสังคม
       เพื่อให้เกิดศรัทธาอย่างยิ่งต่อพระรัตนตรัย และรักการเรียนรู้
พระพุทธศาสนา ประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี มีคุณธรรม
จริยธรรมในการอยู่รวมกันในสังคม และสามารถนำาหลักธรรมไปใช้เป็น
                      ่
เครื่องมือในการเรียนรู้ การทำางานอย่างมีคุณค่าต่อชีวิตตนเองและ
สังคมโดยส่วนรวม


มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
ส 1.1 ม.2/3,ม.2/4,ม.2/6,ม.2/7,ม.2/8,ม.2/9,ม.2/10,ม.2/11
ส 1.2 ม.2/1,ม.2/2,ม.2/3,ม.2/4,ม.2/5

รวมทั้งหมด 13 ตัวชี้วัด




           หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
104




                       คำำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน
 รหัส ส 23101          สังคมศึกษำ 5                         กลุ่มสำระกำร
เรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3 ภำคเรียนที่ ١
เวลำ 20 ชั่วโมง จำำนวน 0.5 หน่วยกิต
----------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------
              ศึกษา ความแตกต่างของการกระทำาความผิดระหว่างคดี
อาญาและคดีแพ่ง ลักษณะการกระทำาความผิดทางอาญา ลักษณะ
การกระทำาความผิดทางแพ่ง และโทษ การมีสวนร่วมในการปกป้อง
                                          ่
คุ้มครองผู้อื่นตามหลักสิทธิมนุษยชน ศึกษาความหมาย และความ
สำาคัญของสิทธิมนุษยชน ระบอบการปกครองแบบต่างๆ ทีใช้ในยุค
                                                    ่
ปัจจุบัน วิเคราะห์ เปรียบเทียบระบอบการปกครองของไทยกับประเท
ศอื่นๆ ทีมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย ความแตกต่าง ความ
           ่
คล้ายคลึงของการปกครองของไทย กับประเทศอื่นๆ ที่มีการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตย
      ศึกษากลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ ความหมายและประเภทของ
ตลาด ความหมายและตัวอย่างของอุปสงค์และอุปทาน วิเคราะห์ความสำาคัญ
ของกลไกราคาและการกำาหนดราคาในระบบเศรษฐกิจ หลักการปรับ
และเปลียนแปลงราคาสินค้าและบริการ มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา
         ่
และพัฒนาท้องถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วิเคราะห์สภาพ
ปัญหาท้องถิ่นทั้งทางด้านสังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมโดยใช้
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางการแก้ไขและพัฒนาท้องถิ่น
ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง
แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับระบบสหกรณ์ ความสัมพันธ์ระหว่าง



             หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
105

แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับหลักการและระบบของสหกรณ์เพื่อ
ประยุกต์ใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน
      ศึกษาวิธีใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์ และ
นำาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีป
อเมริกาเหนือ และอเมริกาใต้ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะ
ทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกาใต้
วิเคราะห์การก่อเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคม อันเป็นผลจากการ
เปลียนแปลงทางธรรมชาติและทางสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและ
    ่
อเมริกาใต้ การเปลี่ยนแปลงประชากร เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
ของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ แนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากร
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในทวีป อเมริกาเหนือและ
อเมริกาใต้
      เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์เปรียบเทียบ
ความเหมือนความแตกต่างความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ต่างๆรวมทัง         ้
สามารถแก้ปัญหาและประยุกต์ใช้เพื่อให้สามารถนำาผลการเรียนรูไปใช้ ้
ในชีวิตประจำาวันและอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุขและสันติสุข
มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
ส 2.1 ม.3/1,ม.3/2, ส 2.2 ม.3/1,ม.3/2, ส 3.1
ม.3/1,ม.3/2,ม.3/3,
ส 5.1 ม.3/1,ม.3/2, ส 5.2 ม.3/1,ม.3/2
รวมทั้งหมด 11 ตัวชี้วัด
                       คำำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน
รหัส ส 23102 ประวัติศำสตร์ไทย 5                             กลุ่มสำระกำร
เรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3 ภำคเรียนที่ ١
เวลำ 20 ชั่วโมง จำำนวน 0.5 หน่วยกิต
----------------------------------------------------------------------------
              -----------------------------------------------
      ศึกษาขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์สำาหรับการศึกษา
เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ อธิบายเรื่องราวเหตุการณ์สำาคัญทาง
ประวัติศาสตร์ได้อย่างมีเหตุผลตามวิธีการทางประวัติศาสตร์ ศึกษา
วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่าง ๆ ทีตนสนใจที่เกิด
                                                          ่
ขึ้นในท้องถิ่นตนเอง วิเคราะห์เหตุการณ์สำาคัญในสมัยรัตนโกสินทร์
โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์

             หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
106

      ศึกษาพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาค
ต่างๆในโลกโดยสังเขป ทีตั้งและสภาพทางภูมิศาสตร์ของภูมิภาค
                            ่
ต่างๆของโลก (ยกเว้นเอเชีย)ทีมีผลต่อพัฒนาการทางสังคม
                                ่
เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาคต่างๆในโลก พัฒนาการทางสังคม
เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาคต่างๆของโลก (ยกเว้นเอเชีย)
      วิเคราะห์พัฒนาการของไทย สมัยรัตนโกสินทร์ในด้านต่างๆ
ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ และอิทธิพลต่อการ
พัฒนาชาติไทย
      เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์การใช้
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ การสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์
ภาคภูมิใจในภูมิปัญญาท้องถิ่นและความเป็นไทยเห็นคุณค่าและความ
สามารถและความเสียสละของบรรพบุรุษ

มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
ส 4.1 ม.3/1, ม.3/2,
ส 4.2 ม.3/1,
ส 4.3 ม.3/1

รวมทั้งหมด 4 ตัวชี้วัด




                       คำำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน
รหัส ส 23103 พระพุทธศำสนำ 5                                    กลุ่มสำระ
กำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3        ภำคเรียนที่ ١
เวลำ 40 ชั่วโมง จำำนวน 1.0 หน่วยกิต
----------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------


             หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
107

      ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกปฏิบัติ สร้างความคิดรวบยอด นำา
ภูมิปัญญาท้องถิ่น สภาพปัญหาชีวิตสภาพแวดล้อมเข้ามาเป็น
ส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ เพื่อให้มีความรูความเข้าใจ
                                              ้
ตระหนักและเห็นคุณค่าในเรื่องต่อไปนี้
      พระพุทธ เกี่ยวกับประวัติและควำมสำำคัญของพระพุทธ
ศำสนำ เรื่องการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศต่าง ๆ ทั่ว
โลก การนับถือพระพุทธศาสนาของประเทศเหล่านั้นในปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับเศรษฐกิจพอเพียง พุทธประวัติ สรุปและ
วิเคราะห์พุทธประวัติเรื่องปฐมเทศนา โอวาทปาฏิโมกข์ ชำดก
เรื่องนันทิวิสาลชาดก วันสำำคัญทำงพระพุทธศำสนำ เรื่อง
ประวัติของวันสำาคัญทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย วัน
วิสาขบูชาวันสำาคัญสากล หลักปฏิบัติตน การฟังพระธรรม
เทศนา การแต่งกายในการประกอบศาสนพิธีที่วัด ศึกษา
วิเคราะห์คุณค่าผลงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านพระพุทธศาสนา มุ่ง
อนุรักษ์ศาสนวัตถุและศาสนสถานในท้องถิ่น
     พระธรรม เกี่ยวกับหลักธรรมทำงพระพุทธศำสนำ เรื่อง
พระรัตนตรัย(สังฆคุณ ๙) อริยสัจ ๔ ทุกข์(ธรรมที่ควรรู) : ขันธ์
                                                     ้
๕, สมุทัย(ธรรมที่ควรละ) : หลักกรรม – วัฏฏะ ๓ ปปัญจธรรม ๓
, นิโรธ(ธรรมที่ควรบรรลุ) : อัตถะ ๓, มรรค(ธรรมที่ควรเจริญ) :
มรรคมีองค์ ๘ ปัญญา ๓ สัปปุริสธรรม ๗ มงคล ๓๘ ในเรื่องมี
ศิลปวิทยา พบสมณะ พุทธศำสนสุภำษิต คือ อตฺตา หเว ชิตำ
เสยฺโย(ชนะตนนั่นแลดีกว่า) ธมฺมจารี สุขำ เสติ (ผู้ประพฤติธรรม
ย่อมอยู่เป็นสุข) พระไตรปิฎก โครงสร้าง ชื่อคัมภีร์ และสาระ
สังเขปของพระอภิธรรมปิฎก กำรบริหำรจิตและเจริญปัญญำ
สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา วิธีปฏิบัติและประโยชน์ของการ
บริหารจิตและเจริญปัญญา ฝึกการบริหารจิตและเจริญปัญญา
ตามหลักสติปัฏฐานเน้นอานาปานสติ นำาวิธีการบริหารจิตและ
เจริญปัญญาไปใช้ในชีวิตประจำาวัน พัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคดิ
แบบโยนิโสมนสิการ ๒ วิธคือ วิธีคิดแบบอริยสัจ และวิธีคดแบบ
                         ี                             ิ
สืบสาวเหตุปัจจัย ศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นในการนำาหลักธรรม
ไปใช้ในชีวิตประจำาวัน


          หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
7หลักสูตรสังคมศึกษาต้น
7หลักสูตรสังคมศึกษาต้น
7หลักสูตรสังคมศึกษาต้น
7หลักสูตรสังคมศึกษาต้น
7หลักสูตรสังคมศึกษาต้น
7หลักสูตรสังคมศึกษาต้น

Contenu connexe

Similaire à 7หลักสูตรสังคมศึกษาต้น

โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)Nattayaporn Dokbua
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓krusuparat01
 
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยบทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยairja
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3Ch Khankluay
 
การพัฒนาหลักสูตร สว
การพัฒนาหลักสูตร สวการพัฒนาหลักสูตร สว
การพัฒนาหลักสูตร สวdeegree
 
การพัฒนาหลักสูตร สว
การพัฒนาหลักสูตร สวการพัฒนาหลักสูตร สว
การพัฒนาหลักสูตร สวdeegree
 
โครงสร้าง
โครงสร้างโครงสร้าง
โครงสร้างSumontira Niyama
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2hadradchai7515
 

Similaire à 7หลักสูตรสังคมศึกษาต้น (20)

อังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลายอังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลาย
 
สังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลายสังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลาย
 
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
 
Hist m1
Hist m1Hist m1
Hist m1
 
Hist m1
Hist m1Hist m1
Hist m1
 
History-m1.pdf
History-m1.pdfHistory-m1.pdf
History-m1.pdf
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
Focus3
Focus3Focus3
Focus3
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
แผนฉบับย่อ
แผนฉบับย่อแผนฉบับย่อ
แผนฉบับย่อ
 
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยบทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
การพัฒนาหลักสูตร สว
การพัฒนาหลักสูตร สวการพัฒนาหลักสูตร สว
การพัฒนาหลักสูตร สว
 
การพัฒนาหลักสูตร สว
การพัฒนาหลักสูตร สวการพัฒนาหลักสูตร สว
การพัฒนาหลักสูตร สว
 
โครงสร้าง
โครงสร้างโครงสร้าง
โครงสร้าง
 
วิทยาศาสตร์ ปลาย
วิทยาศาสตร์  ปลายวิทยาศาสตร์  ปลาย
วิทยาศาสตร์ ปลาย
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
 

Plus de sasiton sangangam

6หลักสูตรวิทยาศาตร์
6หลักสูตรวิทยาศาตร์6หลักสูตรวิทยาศาตร์
6หลักสูตรวิทยาศาตร์sasiton sangangam
 
11หลักสูตรภาษาต่างประเทศ
11หลักสูตรภาษาต่างประเทศ11หลักสูตรภาษาต่างประเทศ
11หลักสูตรภาษาต่างประเทศsasiton sangangam
 
9หลักสูตรสาระศิลปะ
9หลักสูตรสาระศิลปะ9หลักสูตรสาระศิลปะ
9หลักสูตรสาระศิลปะsasiton sangangam
 
8หลักสูตรสุขศึกษา
8หลักสูตรสุขศึกษา8หลักสูตรสุขศึกษา
8หลักสูตรสุขศึกษาsasiton sangangam
 
6หลักสูตรวิทยาศาตร์
6หลักสูตรวิทยาศาตร์6หลักสูตรวิทยาศาตร์
6หลักสูตรวิทยาศาตร์sasiton sangangam
 
5หลักสูตรคณิตศาสตร์ต้น
5หลักสูตรคณิตศาสตร์ต้น5หลักสูตรคณิตศาสตร์ต้น
5หลักสูตรคณิตศาสตร์ต้นsasiton sangangam
 
5หลักสูตรคณิตศาสตร์
5หลักสูตรคณิตศาสตร์5หลักสูตรคณิตศาสตร์
5หลักสูตรคณิตศาสตร์sasiton sangangam
 
4หลักสูตรภาษาไทย
4หลักสูตรภาษาไทย4หลักสูตรภาษาไทย
4หลักสูตรภาษาไทยsasiton sangangam
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น sasiton sangangam
 
1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตรsasiton sangangam
 
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผลsasiton sangangam
 
10หลักสูตรการงานอาชีพ ฯ
10หลักสูตรการงานอาชีพ ฯ10หลักสูตรการงานอาชีพ ฯ
10หลักสูตรการงานอาชีพ ฯsasiton sangangam
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์sasiton sangangam
 
การสมัคร Hotmail
การสมัคร Hotmailการสมัคร Hotmail
การสมัคร Hotmailsasiton sangangam
 
การสมัคร Hotmail
การสมัคร Hotmailการสมัคร Hotmail
การสมัคร Hotmailsasiton sangangam
 

Plus de sasiton sangangam (18)

6หลักสูตรวิทยาศาตร์
6หลักสูตรวิทยาศาตร์6หลักสูตรวิทยาศาตร์
6หลักสูตรวิทยาศาตร์
 
11หลักสูตรภาษาต่างประเทศ
11หลักสูตรภาษาต่างประเทศ11หลักสูตรภาษาต่างประเทศ
11หลักสูตรภาษาต่างประเทศ
 
9หลักสูตรสาระศิลปะ
9หลักสูตรสาระศิลปะ9หลักสูตรสาระศิลปะ
9หลักสูตรสาระศิลปะ
 
8หลักสูตรสุขศึกษา
8หลักสูตรสุขศึกษา8หลักสูตรสุขศึกษา
8หลักสูตรสุขศึกษา
 
6หลักสูตรวิทยาศาตร์
6หลักสูตรวิทยาศาตร์6หลักสูตรวิทยาศาตร์
6หลักสูตรวิทยาศาตร์
 
5หลักสูตรคณิตศาสตร์ต้น
5หลักสูตรคณิตศาสตร์ต้น5หลักสูตรคณิตศาสตร์ต้น
5หลักสูตรคณิตศาสตร์ต้น
 
5หลักสูตรคณิตศาสตร์
5หลักสูตรคณิตศาสตร์5หลักสูตรคณิตศาสตร์
5หลักสูตรคณิตศาสตร์
 
4หลักสูตรภาษาไทย
4หลักสูตรภาษาไทย4หลักสูตรภาษาไทย
4หลักสูตรภาษาไทย
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น
 
2สารบัญ
2สารบัญ2สารบัญ
2สารบัญ
 
1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร
 
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
 
10หลักสูตรการงานอาชีพ ฯ
10หลักสูตรการงานอาชีพ ฯ10หลักสูตรการงานอาชีพ ฯ
10หลักสูตรการงานอาชีพ ฯ
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
การสมัคร Hotmail
การสมัคร Hotmailการสมัคร Hotmail
การสมัคร Hotmail
 
การสมัคร Hotmail
การสมัคร Hotmailการสมัคร Hotmail
การสมัคร Hotmail
 
อิอิอิ
อิอิอิอิอิอิ
อิอิอิ
 
อิอิอิ
อิอิอิอิอิอิ
อิอิอิ
 

7หลักสูตรสังคมศึกษาต้น

  • 1. 82 คำำอธิบำยรำยวิชำ ระดับมัธยมศึกษำตอนต้น กลุมสำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำ ่ และวัฒนธรรม โครงสร้ำงหลักสูตรกลุ่มสำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม ระดับมัธยมศึกษำตอนต้น หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 2. 83 รำยวิชำพื้นฐำน ส 21101 สังคมศึกษา 20 ชั่วโมง 0.5 1 หน่วยกิต ส 21102 20 ชั่วโมง 0.5 ประวัติศาสตร์ 1 หน่วยกิต ส 21103 พระพุทธ 40 ชั่วโมง 1.0 ศาสนา 1 หน่วยกิต ส 21104 20 ชั่วโมง 0.5 สังคมศึกษา 2 หน่วยกิต ส 21105 20 ชั่วโมง 0.5 ประวัติศาสตร์ 2 หน่วยกิต ส 21106 พระพุทธ 40 ชั่วโมง 1.0 ศาสนา 2 หน่วยกิต ส 22101 20 ชั่วโมง 0.5 สังคมศึกษา 3 หน่วยกิต ส 22102 20 ชั่วโมง 0.5 ประวัติศาสตร์ 3 หน่วยกิต ส 22103 พระพุทธ 40 ชั่วโมง 1.0 ศาสนา 3 หน่วยกิต ส 22104 20 ชั่วโมง 0.5 สังคมศึกษา 4 หน่วยกิต ส 22105 20 ชั่วโมง 0.5 ประวัติศาสตร์ 4 หน่วยกิต ส 22106 พระพุทธ 40 ชั่วโมง 1.0 ศาสนา 4 หน่วยกิต ส 23101 20 ชั่วโมง 0.5 สังคมศึกษา 5 หน่วยกิต ส 23102 20 ชั่วโมง 0.5 ประวัติศาสตร์ 5 หน่วยกิต ส 23103 พระพุทธ 40 ชั่วโมง 1.0 ศาสนา 5 หน่วยกิต ส 23104 20 ชั่วโมง 0.5 สังคมศึกษา 6 หน่วยกิต ส 23105 20 ชั่วโมง 0.5 ประวัติศาสตร์ 6 หน่วยกิต หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 3. 84 ส 23106 พระพุทธ 40 ชั่วโมง 1.0 ศาสนา 6 หน่วยกิต คำำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน รหัส ส 21101 สังคมศึกษำ 1 กลุ่มสำระ กำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1 ภำคเรียนที่ ١ เวลำ 20 ชั่วโมง จำำนวน 0.5 หน่วยกิต ---------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------- ศึกษา กฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลกฎหมายการ คุ้มครองเด็ก กฎหมายการศึกษากฎหมายการคุ้มครองผู้บริโภค กฎหมายลิขสิทธิ์ ประโยชน์ของการปฏิบัติตนตามกฎหมายการ คุ้มครองสิทธิของบุคคล วิเคราะห์ สังเคราะห์ บทบาทและหน้าที่ ของเยาวชนที่มีต่อสังคมและประเทศชาติ โดยเน้นจิตสาธารณะ เช่น เคารพกติกาสังคม ปฏิบัติตนตามกฎหมาย มีส่วนร่วมและรับผิดชอบ ในกิจกรรมทางสังคม อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ รักษา สาธารณประโยชน์ เปรียบเทียบ ความคล้ายคลึงและความแตกต่างระหว่าง วัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ วัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ นำาไปสู่ ความเข้าใจผิดต่อกัน ปฏิบัติตนในการเคารพในสิทธิของ ตนเองและผู้อื่น ผลที่ได้จากการเคารพในสิทธิของตนเองและผู้อื่น ศึกษาความหมายและความสำาคัญของเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น ความหมายของคำาว่าทรัพยากรมีจำากัดกับ ความต้องการมีไม่จำากัด ความขาดแคลนการเลือกและค่าเสียโอกาส วิเคราะห์ความสำาคัญของ การบริโภคอย่างมีประสิทธิภาพหลักการในการบริโภคที่ดีปัจจัยที่มี หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 4. 85 อิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภคค่านิยมและพฤติกรรมของการบริโภค ของคนในสังคมปัจจุบัน รวมทังผลดีและผลเสียของพฤติกรรมดังกล่าว ้ ศึกษาความเป็นมาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลักการทรงงาน ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรวมทั้งโครงการตามพระราชดำาริ หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง ประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพียง ในการดำารงชีวต วิเคราะห์ความสำาคัญ คุณค่าและประโยชน์ของ ิ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงต่อสังคมไทย ศึกษาเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ (ลูกโลก แผนที่ กราฟ แผนภูมิ ฯลฯ) ทีแสดงลักษณะทางกายภาพ และสังคมของประเทศไทยและ ่ ทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และ โอเชียเนีย เส้นแบ่งเวลาของ ประเทศไทยกับทวีปต่าง ๆ ความแตกต่างของเวลา มาตรฐานกับเวลา ท้องถิ่น วิเคราะห์เชื่อมโยง สาเหตุ แนวทางป้องกัน ภัยธรรมชาติและการ ระวังภัยที่เกิดขึ้นในประเทศไทยและทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย โอเชีย เนีย เสนอแนวทางการใช้ทรัพยากรของคนในชุมชนให้ใช้ได้นานขึ้น โดยมีจิตสำานึกรู้คุณค่าของทรัพยากรแผนอนุรักษ์ทรัพยากรในทวีป เอเชียความร่วมมือระหว่างประเทศในทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย โอเชียเนีย ที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่างสภาพ แวดล้อมทางภูมิศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ กับระบบเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เห็นความสำาคัญของการปรับตัว ให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม ตลอดจนตระหนักถึงการมีส่วนร่วมในการเสนอ แนวทางในการป้องกัน แก้ไข อนุรักษ์พัฒนาสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ และสังคมของทวีปเอเชีย เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์เปรียบเทียบ ความเหมือนความแตกต่างความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ต่าง ๆ รวม ทั้งสามารถแก้ปัญหาและประยุกต์ใช้เพื่อให้สามารถนำาผลการเรียนรู้ไป ใช้ในชีวิตประจำาวันและอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุขและ สันติสุข มำตรฐำน/ตัวชี้วัด ส 2.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4 ส 3.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3 ส 5.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3 หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 5. 86 รวมทั้งหมด 10 ตัวชี้วัด คำำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน รหัส ส 21102 ประวัติศำสตร์ไทย 1 กลุ่มสำระกำร เรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1 ภำคเรียนที่ ١ เวลำ 20 ชั่วโมง จำำนวน 0.5 หน่วยกิต ---------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------- วิเคราะห์ความสำาคัญของเวลา และช่วงเวลาสำาหรับการศึกษา ประวัติศาสตร์ ความสัมพันธ์และความสำาคัญของอดีตที่มีต่อปัจจุบัน และอนาคต ตัวอย่างการใช้เวลา ช่วงเวลาและยุคสมัย ทีปรากฏใน ่ เอกสารประวัติศาสตร์ไทย ศึกษาวิธีการเทียบศักราชต่างๆ และตัวอย่าง การเทียบตัวอย่าง การใช้ศักราชต่าง ๆ ทีปรากฏในเอกสารประวัติศาสตร์ไทย ทีมาของ ่ ่ หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 6. 87 ศักราชที่ปรากฏในเอกสารประวัติศาสตร์ไทย ได้แก่ จ.ศ. / ม.ศ. / ร.ศ./ พ.ศ. / ค.ศ. และ ฮ.ศ. ศึกษาความหมายและความสำาคัญของประวัตศาสตร์ และวิธีการ ิ ทางประวัติศาสตร์ที่มีความ สัมพันธ์เชื่อมโยงกันตัวอย่างหลักฐานในการ ศึกษาประวัตศาสตร์ไทยสมัยสุโขทัย ทั้งหลักฐานชั้นต้น และหลักฐาน ิ ชั้นรอง ( เชื่อมโยงกับ มฐ.ส ๔.๓) เช่น ข้อความ ในศิลาจารึก สมัย สุโขทัย เป็นต้นนำาวิธีการทางประวัติศาสตร์ไปใช้ศึกษาเรื่องราวของ ประวัติศาสตร์ไทยที่มีอยู่ในท้องถิ่นตนเองในสมัยใดก็ได้ (สมัยก่อน ประวัติศาสตร์ สมัยก่อนสุโขทัย สมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา สมัยธนบุรี สมัยรัตนโกสินทร์ ) และเหตุการณ์สำาคัญในสมัยสุโขทัย เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ การใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ การสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์ ภาคภูมิใจในภูมิปัญญาท้องถิ่นและความเป็นไทยเห็น คุณค่าและความสามารถและความเสียสละของบรรพบุรุษ มำตรฐำน/ตัวชี้วัด ส 4.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3 รวมทั้งหมด 3 ตัวชี้วัด คำำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน รหัส ส 21103 พระพุทธศำสนำ 1 กลุ่มสำระ กำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1 ภำคเรียนที่ ١ เวลำ 40 ชั่วโมง จำำนวน 1.0 หน่วยกิต ---------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------- หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 7. 88 ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกปฏิบัติ สร้างความคิดรวบยอด นำาภูมิปัญญา ท้องถิ่น สภาพปัญหาชีวิต สภาพแวดล้อม เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของ กระบวนการเรียนรู้ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักและเห็นคุณค่า ในเรื่องต่อไปนี้ พระพุทธ เกี่ยวกับประวัติและควำมสำำคัญของพระพุทธ ศำสนำ เรื่องการสังคายนา การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศไทย พระพุทธศาสนากับการ พัฒนาตนและครอบครัว พุทธประวัติ สรุปและวิเคราะห์พุทธ ประวัติเรื่อง ประสูติ เทวทูต ๔ การบำาเพ็ญทุกรกิริยา การแสวงหาความรู้ ชำดก เรื่องอัมพชาดก วันสำำคัญทำงพระพุทธ ศำสนำเรื่อง ระเบียบพิธี พิธีเวียนเทียน การปฏิบัติตนในวันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอัฏฐมีบูชา วันอาสาฬหบูชา ศึกษา วิเคราะห์คุณค่า ผลงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านพระพุทธศาสนา มุงอนุรักษ์ศาสนวัตถุ ่ และศาสนสถานในท้องถิ่น พระธรรม เกี่ยวกับหลักธรรมทำงพระพุทธศำสนำ เรื่อง พระ รัตนตรัย(พุทธคุณ ๙) อริยสัจ ๔ ทุกข์(ธรรมที่ควรรู) : ขันธ์ ๕, ้ สมุทัย(ธรรมที่ควรละ) : หลักกรรม นิโรธ(ธรรมที่ควรบรรลุ) : สุข ๒ (กายิก,เจตสิก), มรรค(ธรรมที่ควรเจริญ) : ไตรสิกขา กรรมฐาน ๒ มงคล ๓๘ ในเรื่องไม่คบคนพาล คบบัณฑิต พุทธศำสนสุภำษิต คือ ยำ เว เสวติ ตาทิโส (คบคนเช่นไร เป็นคนเช่นนั้น) อตฺตนา โจทยตฺ ตานำ (จงเตือนตนด้วยตน) พระไตรปิฎกโครงสร้าง ชื่อคัมภีร์ และ สาระสังเขปของพระวินยปิฎก กำรบริหำรจิตและเจริญปัญญำ สวด ั มนต์แปล และแผ่เมตตา วิธีปฏิบัติและประโยชน์ของการบริหารจิตและ เจริญปัญญา ฝึกการบริหารจิตและเจริญปัญญาตามหลักสติปัฏฐานเน้น อานาปานสติ นำาวิธีการบริหารจิตและเจริญปัญญาไปใช้ในชีวิตประจำา วัน พัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ ๒ วิธีคือ วิธีคิด แบบคุณค่าแท้-คุณค่าเทียม และความคิดแบบคุณ –โทษ และ ทางออก ศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นในการนำาหลักธรรมไปใช้ในชีวิต ประจำาวัน พระสงฆ์ เกี่ยวกับประวัติพุทธสำวก พุทธสำวิกำ พระมหากัสส ปะ พระอุบาลี ชำวพุทธตัวอย่ำง พระเจ้าอโศกมหาราช หน้ำที่ชำวพุทธ เรื่องวิถี ชีวิตของพระภิกษุที่ต้องศึกษาคันถธุระและวิปัสสนาธุระ การปฏิบัติตัวที่ เหมาะสมด้านกาย วาจา และใจ การเป็นเพื่อนที่ดีตามหลักทิศเบื้อง ซ้ายในทิศ ๖ มิตรแท้-มิตรเทียม มรรยำทชำวพุทธและกำรปฏิบัติ หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 8. 89 ตนต่อพระภิกษุ เรื่องการไปวัด การแต่งกาย และการนำาเด็กไปวัด การปฏิบัติตนในเขตวัด การเข้าพบพระภิกษุ การแสดงความเคารพ ( การประนมมือ การไหว้ การกราบ การเคารพพระรัตนตรัย ศำสนพิธี เรื่อง การจัดโต๊ะหมู่บูชา (แบบหมู่ ๔ หมู่ ๕ หมู่ ๗ และหมู่ ๙) และ ศึกษาศาสนพิธีและการปฏิบัติตนเป็นชาวพุทธที่ดีในท้องถิ่นต่างๆ สัมมนำพระพุทธศำสนำกับกำรแก้ปัญหำและกำรพัฒนำ เรื่อง พระพุทธศาสนากับการพัฒนาตนและครอบครัว เพื่อให้เกิดศรัทธาอย่างยิ่งต่อพระรัตนตรัย และรักการเรียน รู้พระพุทธศาสนา ประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี มี คุณธรรม จริยธรรมในการอยูร่วมกันในสังคม และสามารถนำาหลักธรรม ่ ไปใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ การทำางานอย่างมีคุณค่าต่อชีวิต ตนเองและสังคมโดยส่วนรวม มำตรฐำน/ตัวชี้วัด ส 1.1 ม.1/1,ม.1/3,ม.1/4,ม.1/5,ม.1/6,ม.1/7,ม.1/8,ม.1/9,ม.1/10,ม.1/11 ส 1.2 ม.1/1,ม.1/2,ม.1/3,ม.1/5 รวมทั้งหมด 14 ตัวชี้วัด หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 9. 90 คำำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน รหัส ส 21104 สังคมศึกษำ 2 กลุ่มสำระ กำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1 ภำคเรียนที่ ٢ เวลำ 20 ชั่วโมง จำำนวน 0.5 หน่วยกิต ---------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------- ศึกษา หลักการ เจตนารมณ์ โครงสร้าง และสาระสำาคัญของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับปัจจุบันการแบ่งอำานาจ และ การถ่วงดุลอำานาจอธิปไตยทั้ง ๓ ฝ่าย คือนิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ ตามทีระบุในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบัน ปฏิบัติตน ่ ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบน ั เกี่ยวกับสิทธิ เสรีภาพและหน้าที่ ความหมายและความเป็นมาของ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ศึกษาความหมาย ประเภท และความสำาคัญของสถาบันการเงินที่ มีต่อระบบเศรษฐกิจ บทบาทหน้าทีและความสำาคัญของธนาคารกลาง ่ การหารายได้ รายจ่าย การออม การลงทุนซึ่งแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างผู้ผลิต ผู้บริโภค และสถาบันการเงิน ยกตัวอย่างที่สะท้อนให้ เห็นการพึ่งพาอาศัยกันและกัน การแข่งขันกันทางเศรษฐกิจในประเทศ ปัญหาเศรษฐกิจในชุมชน ประเทศ และเสนอแนวทางแก้ไข ศึกษาความหมายและกฎอุปสงค์ อุปทาน ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ การกำาหนดอุปสงค์และอุปทานความสำาคัญของทรัพย์สินทางปัญญา กฎหมายที่เกี่ยวกับการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาพอสังเขปตัวอย่าง การละเมิดแห่งทรัพย์สินทางปัญญาแต่ละประเภท วิเคราะห์การเปลียนแปลงประชากร เศรษฐกิจ สังคม และ ่ วัฒนธรรมในทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย การก่อเกิดสิ่ง แวดล้อมใหม่ทางสังคม แนวทางการใช้ทรัพยากรของคนในชุมชนให้ ใช้ได้นานขึ้น โดยมีจิตสำานึกรู้คุณค่าของทรัพยากร แผนอนุรักษ์ ทรัพยากรในทวีปเอเชีย ความร่วมมือระหว่างประเทศในทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย โอเชียเนีย ทีมีผลต่อสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ่ หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 10. 91 ศึกษา ทำาเลที่ตั้งกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมในทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย เช่น ศูนย์กลางการคมนาคม โดยใช้ ข้อมูลที่หลากหลาย วิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและสังคมที่มีผลต่อ การเลื่อนไหลของความคิด เทคโนโลยี สินค้า และประชากรในทวีป เอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์เปรียบเทียบ ความเหมือนความแตกต่างความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ต่าง ๆ รวมทัง ้ สามารถแก้ปัญหาและประยุกต์ใช้เพื่อให้สามารถนำาผลการเรียนรูไปใช้ ้ ในชีวิตประจำาวันและอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุขและสันติสุข มำตรฐำน/ตัวชี้วัด ส 2.2 ม.1/1, ม.1/2,ม.1/3, ส 3.2 ม.1/1, ม.1/2,ม.1/3,ม.1/4 ส 5.2 ม.1/1, ม.1/2,ม.1/3,ม.1/4 รวมทั้งหมด 11 ตัวชี้วัด คำำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน รหัส ส 21105 ประวัติศำสตร์ไทย 2 กลุ่มสำระ กำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1 ภำคเรียนที่ ٢ เวลำ 20 ชั่วโมง จำำนวน 0.5 หน่วยกิต ---------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------- ศึกษา ทีตั้งและสภาพทางภูมิศาสตร์ของประเทศต่าง ๆ ใน ่ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทีมีผลต่อพัฒนาการทางด้านต่างๆ ่ วิเคราะห์พัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ความร่วมมือ ผ่านการรวมกลุ่มเป็นอาเซียน ของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ศึกษาที่ตั้งและความสำาคัญของแหล่งอารยธรรมในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ เช่นแหล่งมรดกโลกในประเทศต่าง ๆของเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ อิทธิพลของอารยธรรมโบราณในดินแดนไทยที่มีต่อ พัฒนาการของสังคมไทยในปัจจุบัน ศึกษาสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนไทย โดยสังเขป รัฐ โบราณในดินแดนไทย เช่น ศรีวิชัยตามพรลิงค์ ทวารวดี เป็นต้นรัฐ ไทย ในดินแดนไทย เช่น ล้านนา นครศรีธรรมราช สุพรรณภูมิ เป็นต้น การสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย และ ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง (ปัจจัยภายใน และ ปัจจัยภายนอก ) หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 11. 92 วิเคราะห์พัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัย ในด้านการเมืองการ ปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ วัฒนธรรมสมัยสุโขทัย เช่น ภาษาไทย วรรณกรรม ประเพณีสำาคัญ ศิลปกรรมไทย ภูมิปัญญาไทยในสมัยสุโขทัย เช่นการชลประทาน เครื่องสังคมโลกความเสื่อมของอาณาจักรสุโขทัย เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ พัฒนาการของมนุษยชาติ การสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ภาคภูมิใจในภูมิปัญญาท้องถิ่นและความเป็นไทยเห็นคุณค่าและความ สามารถและความเสียสละของบรรพบุรุษ มำตรฐำน/ตัวชี้วัด ส 4.2 ม.1/1, ม.1/2 ส 4.3 ม.1/1,ม.1/2,ม.1/3 รวมทั้งหมด 5 ตัวชี้วัด คำำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน รหัส ส 21106 พระพุทธศำสนำ 2 กลุ่มสำระกำร เรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1 ภำคเรียนที่ ٢ เวลำ 40 ชั่วโมง จำำนวน 1.0 หน่วยกิต ---------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------- ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกปฏิบัติ สร้างความคิดรวบยอด นำา ภูมิปัญญาท้องถิ่น สภาพปัญหาชีวิต สภาพแวดล้อม เข้ามาเป็น ส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ เพื่อให้มีความรูความเข้าใจ ้ ตระหนักและเห็นคุณค่าในเรื่องต่อไปนี้ หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 12. 93 พระพุทธ เกี่ยวกับประวัติและควำมสำำคัญของพระพุทธ ศำสนำ เรื่อง ความสำาคัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทยใน ฐานะเป็นศาสนาประจำาชาติ สถาบันหลักของสังคมไทย สภาพ แวดล้อมที่กว้างขวางและครอบคลุมสังคมไทย พระพุทธศาสนา กับการพัฒนาตนและครอบครัว พุทธประวัติ สรุปและวิเคราะห์ พุทธประวัติเรื่อง ชำดก เรื่อง ติตติรชาดก วันสำำคัญทำง พระพุทธศำสนำเรื่อง ประวัติและความสำาคัญของวันธรรมสวนะ และเทศกาลสำาคัญ คือ วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา และวันเท โวโรหณะ ศึกษา วิเคราะห์คุณค่าผลงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้าน พระพุทธศาสนา มุ่งอนุรักษ์ศาสนวัตถุ และศาสนสถานในท้องถิ่น พระธรรม เกี่ยวกับหลักธรรมทำงพระพุทธศำสนำ เรื่อง อริยสัจ ๔ ทุกข์(ธรรมที่ควรรู) : ธาตุ ๔, สมุทัย(ธรรมที่ควรละ) : ้ อบายมุข ๖ นิโรธ(ธรรมที่ควรบรรลุ) : คิหิสุข, มรรค(ธรรมที่ควร เจริญ) : ปธาน ๔ โกศล ๓ มงคล ๓๘ ในเรื่อง บูชาผู้ควรบูชา พุทธศำสนสุภำษิต คือ นิสมฺม กรณำ เสยฺโย(ใคร่ครวญก่อนทำา จึงดี) ทุราวาสา ฆรา ทุกฺขา(เรือนที่ครองไม่ดี นำาทุกข์มาให้) พระ ไตรปิฎก เรื่องน่ำรู้จำกพระไตรปิฎก (อภิณหปัจจเวกขณ์ ๕) ศัพท์ทำงพระพุทธศำสนำ คือ ปริยัติ-ปฏิบัต-ปฏิเวธ กำร ิ บริหำรจิตและเจริญปัญญำ สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา วิธี ปฏิบัติและประโยชน์ของการบริหารจิตและเจริญปัญญา ฝึกการ บริหารจิตและเจริญปัญญาตามหลักสติปัฏฐานเน้นอานาปานสติ นำาวิธีการบริหารจิตและเจริญปัญญาไปใช้ในชีวิตประจำาวัน พัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธคิดแบบโยนิโสมนสิการ ๒ วิธีคือ วิธีคด ี ิ แบบคุณค่าแท้-คุณค่าเทียม และความคิดแบบคุณ –โทษ และ ทางออก ศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นในการนำาหลักธรรมไปใช้ใน ชีวิตประจำาวัน พระสงฆ์ เกี่ยวกับประวัติพุทธสำวก พุทธสำวิกำ อนาถ บิณฑิกะ นางวิสาขา ชำวพุทธตัวอย่ำง พระโสณะ และพระอุต ตระ หน้ำที่ชำวพุทธ เรื่อง การเข้าค่ายคุณธรรม การเข้าร่วม พิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ มรรยำทชำวพุทธและกำรปฏิบัติตนต่อพระภิกษุ เรื่อง การ ฟังเจริญพระพุทธมนต์ การฟังสวดพระอภิธรรม การฟังพระธรรม หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 13. 94 เทศนา) ศำสนพิธี เรื่อง การจุดธูปเทียน จัดเครื่องประกอบ โต๊ะหมู่บูชา คำาอาราธนาต่างๆ และศึกษาศาสนพิธและการปฏิบัติ ี ตนเป็นชาวพุทธทีดีในท้องถิ่นต่างๆ สัมมนำพระพุทธศำสนำ ่ กับกำรแก้ปัญหำและกำรพัฒนำ เรื่อง พระพุทธศาสนากับ การพัฒนาตนและครอบครัว เพื่อให้เกิดศรัทธาอย่างยิ่งต่อพระรัตนตรัย และรักการเรียนรู้ พระพุทธศาสนา ประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี มี คุณธรรม จริยธรรมในการอยู่ร่วมกันในสังคม และสามารถนำาหลัก ธรรมไปใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ การทำางานอย่างมีคุณค่า ต่อชีวตตนเองและสังคมโดยส่วนรวม ิ มำตรฐำน/ตัวชี้วัด ส 1.1 ม.1/2,ม.1/4,,ม.1/5,ม.1/6,ม.1/7,ม.1/8, ม.1/9,ม.1/10,ม.1/11 ส 1.2 ม.1/2,ม.1/4,ม.1/5 รวมทั้งหมด 12 ตัวชี้วัด หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 14. 95 คำำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน รหัส ส 22101 สังคมศึกษำ 3 กลุ่มสำระกำร เรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2 ภำคเรียนที่ ١ เวลำ 20 ชั่วโมง จำำนวน 0.5 หน่วยกิต ---------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------- ศึกษาการใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์ และนำาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและประชากรของทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา รวมทั้ง สามารถระบุแนวทางในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อมในทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา การสำารวจ อภิปรายประเด็น ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปยุโรปและทวีป แอฟริกา ศึกษาความหมาย ความสำาคัญของการลงทุนและการออมต่อ ระบบเศรษฐกิจ การบริหารจัดการเงินออมและการลงทุนภาคครัวเรือน ปัจจัยการลงทุนและการออม คือ ดอกเบี้ย รวมทังปัจจัยอื่นๆ เช่น ค่า ้ ของเงิน เทคโนโลยี การคาดเดาเกี่ยวกับอนาคต ปัญหาการลงทุน และการออมในสังคมไทย ศึกษาความหมาย ความสำาคัญและหลัก การผลิตสินค้า และการบริการอย่างมีประสิทธิภาพ มีการสำารวจการ ผลิตสินค้าในท้องถิ่น การนำาเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิตสินค้า และ การบริการ นำาหลักการผลิตมาวิเคราะห์การผลิตสินค้าและบริการใน ท้องถิ่น ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม รูและเข้าใจระบบ ้ เศรษฐกิจแบบต่างๆ ยกตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นการพึ่งพาอาศัยกัน และการแข่งขันกันทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย ศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ในเรื่อง กฎหมายเกี่ยวกับความสามารถของผู้เยาว์ กฎหมายบัตรประจำาตัว ประชาชน กฎหมายแพ่งเกี่ยวกับครอบครัว เช่น การหมัน การสมรส ้ การรับรองบุตร การรับบุตรบุญธรรม รวมทังศึกษากฎหมายที่เกี่ยวกับ ้ ชุมชนและประเทศ โดยสังเขปเกี่ยวกับกฎหมายการอนุรักษ์ธรรมชาติ กฎหมายภาษีอากรและเน้นการกรอกแบบแสดงรายการภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา กฎหมายแรงงานและกฎหมายปกครอง และ กระบวนการตรากฎหมาย ขั้นตอน การตรากฎหมาย ผู้มีสิทธิในการตรากฎหมาย การมีส่วนร่วมของ ประชาชนในการตรากฎหมาย รวมทั้งเห็นคุณค่าในการปฏิบัติตนตาม หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 15. 96 สถานภาพ บทบาท สิทธิเสรีภาพ หน้าทีในฐานะพลเมืองดีตามวิถี ่ ประชาธิปไตย เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในการอยูร่วมกันในการ ่ ดำาเนินชีวิตในสังคมได้อย่างสันติสุข มำตรฐำน/ตัวชี้วัด ส 2.1 ม.2/1,ม.2/2, ส 2.2 ม.2/1 ส 3.1 ม.2/1,ม.2/2, ส 3.2 ม.2/1,ม.2/2, ส 5.1 ม.2/1,ม.2/2, ส 5.2 ม.2/2, ม.2/3, รวมทั้งหมด 11 ตัวชี้วัด คำำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน รหัส ส 22102 ประวัติศำสตร์ไทย 3 กลุ่มสำระกำร เรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2 ภำคเรียนที่ ١ เวลำ 20 ชั่วโมง จำำนวน 0.5 หน่วยกิต ---------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------- ศึกษาวิธีการประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ในลักษณะต่างๆ อย่างง่าย เช่น การศึกษาภูมิหลังของ ผู้ทำาหรือผู้เกี่ยวข้อง สาเหตุ ช่วงระยะเวลา รูปลักษณ์ของหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์ การแยกแยะระหว่างของมูลกับความคิดเห็นรวมทั้ง ความจริงกับข้อเท็จจริงจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เห็นความ สำาคัญของข้อมูลและการตีความทางประวัติศาสตร์ รู้และเข้าใจเกี่ยวกับที่ตั้ง และสภาพทางภูมิศาสตร์ของภูมิภาค ต่างๆ ในทวีปเอเชีย ยกเว้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีผลต่อ พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ สังคม เศรษฐกิจ และการเมืองการ ปกครองของภูมิภาคเอเชีย ยกเว้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ศึกษาการพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา และธนบุรีในด้านต่างๆ ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักร อยุธยาในด้านการเมือง การปกครอง สังคม เศรษฐกิจ และความ สัมพันธ์ระหว่างประเทศ ภูมิปัญญา และวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา วีรกรรมของบรรพบุรุษไทยผลงานของบุคคลสำาคัญของไทยที่มีส่วน สร้างสรรค์ชาติไทย เช่น สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 พระศรีสุริโยทัย พระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระนารายณ์มหาราช มำตรฐำน/ตัวชี้วัด หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 16. 97 ส 4.1 ม.2/1,ม.2/2, ส 4.2 ม.2/1 ส 4.3 ม.2/1,ม.2/3, รวมทั้งหมด 5 ตัวชี้วัด คำำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน รหัส ส 22103 พระพุทธศำสนำ 3 กลุ่มสำระ กำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2 ภำคเรียนที่ ١ เวลำ 40 ชั่วโมง จำำนวน 1.0 หน่วยกิต ---------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------- ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกปฏิบัติ สร้างความคิดรวบยอด นำาภูมิปัญญา ท้องถิ่น สภาพปัญหาชีวิต สภาพแวดล้อมเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของ กระบวนการเรียนรู้ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักและเห็น คุณค่าในเรื่องต่อไปนี้ พระพุทธ เกี่ยวกับประวัติและควำมสำำคัญของพระพุทธ ศำสนำ เรื่องการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การ นับถือพระพุทธศาสนาของประเทศเพื่อนบ้านในปัจจุบันความสำาคัญ ของพระพุทธศาสนาในฐานะที่ช่วยเสริมสร้างความเข้าใจอันดีกับ ประเทศเพื่อนบ้าน พุทธประวัติ สรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติเรื่อง การผจญมาร การ ตรัสรู้ การสั่งสอน ชำดก เรื่องมิตตวินทุกชาดก วันสำำคัญทำง พระพุทธศำสนำ เรื่อง ระเบียบพิธีและการปฏิบัติตนในวันธรรมสวนะ และเทศกาลสำาคัญ วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา และวันเทโวโรหณะ หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 17. 98 ศึกษา วิเคราะห์คุณค่าผลงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านพระพุทธศาสนา มุ่งอนุรักษ์ศาสนวัตถุและศาสนสถานในท้องถิ่น พระธรรม เกี่ยวกับหลักธรรมทำงพระพุทธศำสนำ เรื่อง พระ รัตนตรัย(ธรรมคุณ ๖) อริยสัจ ๔ (ทุกข์(ธรรมที่ควรรู) : ขันธ์ ๕ ้ สมุทัย(ธรรมที่ควรละ) : หลักกรรม – สมบัติ ๔ วิบัติ ๔ นิโรธ(ธรรม ที่ควรบรรลุ) : สุข ๒(สามิส , นิรามิส) มรรค(ธรรมที่ควรเจริญ) : บุพ พนิมิตของมัชฌิมาปฏิปทา ดรุณธรรม ๖ กุลจิรัฏฐิติธรรม ๔ มงคล ๓๘ ในเรื่องประพฤติธรรม เว้นจากความชั่ว พุทธศำสนสุภำษิต คือ กมฺมุนา วตฺตตี โลโก (สัตว์โลก ย่อมเป็นไปตามกรรม) กลฺยาณกา รี กลฺยาณำ ปาปการี จ ปาปกำ (ทำาดีได้ดี ทำาชั่วได้ชั่ว) พระไตรปิฎก เรื่องน่ำรู้จำกพระไตรปิฎก(จูฬกัมมวิภังคสูตร) ศัพท์ทำงพระพุทธ ศำสนำ คือ ฌาน-ญาณ กำรบริหำรจิตและเจริญปัญญำ สวดมนต์ เแปล และแผ่เมตตา วิธีปฏิบัติและประโยชน์ของการบริหารจิตและ เจริญปัญญา ฝึกการบริหารจิตและเจริญปัญญาตามหลักสติปัฏฐานเน้น อานาปานสติ นำาวิธีการบริหารจิตและเจริญปัญญาไปใช้ในชีวิตประจำา วัน พัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ ๒ วิธีคือ วิธีคิด แบบอุบายปลุกเร้าคุณธรรมและวิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ ศึกษา ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการนำาหลักธรรมไปใช้ในชีวิตประจำาวัน พระสงฆ์ เกี่ยวกับประวัติพุทธสำวก พุทธสำวิกำ เรื่องพระสารี บุตร พระโมคคัลลานะ ชำวพุทธตัวอย่ำง เรื่อง สมเด็จพระมหาสมณ เจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส หน้ำที่ชำวพุทธ เรื่องการเข้าใจ บทบาทของพระภิกษุในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา การแสดงธรรม ปาฐกถาธรรม การประพฤติตนให้เป็นแบบอย่าง การฝึกบทบาทของ ตนเองในการช่วยเผยแผ่พระพุทธศาสนา การบรรยายธรรม มรรยำท ชำวพุทธและกำรปฏิบัติตนต่อพระภิกษุ เรื่อง การ ต้อนรับ(ปฏิสันถาร) มรรยาทของผู้เป็นแขก ฝึกปฏิบัติระเบียบพิธี การ ยืน การให้ที่นง การเดินสวน การสนทนา การรับสิ่งของ ศำสนพิธี ั่ เรื่องการทำาบุญตักบาตร การถวายภัตตาหาร สิ่งของที่ควรถวายและ สิ่งของต้องห้ามสำาหรับพระภิกษุ การถวายสังฆทาน เครื่องสังฆทาน การถวายผ้าอาบนำ้าฝน การจัดเครื่องไทยธรรม เครื่องไทยธรรม การก รวดนำ้า สัมมนำพระพุทธศำสนำกับกำรแก้ปัญหำและกำรพัฒนำ เรื่องพระพุทธศาสนากับการพัฒนาชุมชนและการจัดระเบียบสังคม เพื่อให้เกิดศรัทธาอย่างยิ่งต่อพระรัตนตรัย และรักการเรียนรู้ พระพุทธศาสนา ประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรมในการอยู่รวมกันในสังคม และสามารถนำาหลักธรรมไปใช้เป็น ่ หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 18. 99 เครื่องมือในการเรียนรู้ การทำางานอย่างมีคุณค่าต่อชีวิตตนเองและ สังคมโดยส่วนรวม มำตรฐำน/ตัวชี้วัด ส 1.1 ม.2/1,ม.2/2,ม.2/5,ม.2/6,ม.2/7,ม.2/8, ม.2/9,ม.2/10,ม.2/11 ส 1.2 ม.2/1,ม.2/2,ม.2/3,ม.2/4,ม.2/5 รวม 14 ตัวชี้วัด คำำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน รหัส ส 22104 สังคมศึกษำ 4 กลุ่มสำระกำร เรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2 ภำคเรียนที่ ٢ เวลำ 20 ชั่วโมง จำำนวน 0.5 หน่วยกิต ---------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------- ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและประชากรของทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา รวม หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 19. 100 ทั้งศึกษาการก่อเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ในการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและประชากร อันเป็นผลจากการเปลียนแปลงทาง่ ธรรมชาติและทางสังคมของทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา รูและเข้าใจ ้ เหตุผลและผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากการเปลียนแปลงสิ่ง ่ แวดล้อมในทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา ศึกษาหลักการและเป้าหมายปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การ สำารวจปัญหาการผลิตสินค้าและการบริการในท้องถิ่น นำาหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงมาพัฒนาและประยุกต์ใช้ในการผลิตสินค้าและ การบริการในท้องถิ่น รู้และเข้าใจกฎหมาย แนวทางการรักษา คุ้มครองสิทธิประโยชน์ของผู้บริโภค รวมทั้งดำาเนินกิจกรรมเพื่อพิทักษ์ สิทธิและผลประโยชน์ตามกฎหมายปกป้องสิทธิและผลประโยชน์ใน ฐานะผูบริโภค ศึกษาการกระจายของทรัพยากรในโลกที่ส่งผลต่อ ้ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ เช่น นำ้ามัน ป่าไม้ ทองคำา ถ่านหิน แร่ การแข่งขันการค้าในประเทศและต่างประเทศที่ ส่งผลต่อคุณภาพสินค้า ปริมาณ การผลิต และราคาสินค้า ศึกษาบทบาทความสำาคัญและความสัมพันธ์ของสถาบันทาง สังคม เช่น สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันเศรษฐกิจ สถาบันการเมืองการปกครอง ความล้ายคลึงและ ความแตกต่างของวัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมของประเทศใน ภูมิภาคเอเชีย วัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยสำาคัญในการสร้างความเข้าใจอัน ดีระหว่างกัน หลักการเลือกข้อมูลเหตุการณ์ข่าวสารทางการเมืองการ ปกครอง และการเปลี่ยนแปลงสำาคัญของระบอบการปกครองของไทย ที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน มำตรฐำน/ตัวชี้วัด ส 2.1 ม.2/3,ม.2/4, ส 2.2 ม.2/2 ส 3.1 ม.2/3,ม.2/4, ส 3.2 ม.2/3,ม.2/4 ส 5.1 ม.2/2 ส 5.2 ม.2/1, ม.2/4, รวมทั้งหมด 10 ตัวชี้วัด คำำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน รหัส ส 22105 ประวัติศำสตร์ไทย 4 กลุ่มสำระกำร เรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 20. 101 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2 ภำคเรียนที่ ٢ เวลำ 20 ชั่วโมง จำำนวน 0.5 หน่วยกิต ---------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------- ศึกษาและเห็นความสำาคัญของการตีความหลักฐานทางประวัต ศาสตร์ไทยที่น่าเชื่อถือสมัยอยุธยา และธนบุรี ตัวอย่างการประเมิน ความน่าเชื่อถือทางหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทยตัวอย่างข้อมูลจาก เอกสารต่างๆ ในสมัยอยุธยาและธนบุรี เช่น ข้อความบางตนในพระ ราชพงศาวดารอยุธยาจดหมายเหตุชาวต่างชาติ ตัวอย่างการตีความ ข้อมูลจากหลักฐานที่แสดงเหตุการณ์สำาคัญในสมัยอยุธยาและธนบุรี รู้และเข้าใจเกี่ยวกับที่ตั้งและความสำาคัญของแหล่งอารยธรรม ตะวันออก และแหล่งมรดกโลกในประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชียรวม ทั้งอิทธิพลของอารยธรรมโบราณที่มีต่อภูมิภาคเอเชียในปัจจุบัน ระบุ ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี เช่น การควบคุม กำาลังคนและศิลปวัฒนธรรม การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 1 และการกู้ เอกราชการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 การกู้เอกราช และการสถาปนา อาณาจักรธนบุรี วีรกรรมของบรรพบุรุษไทย ผลงานของบุคคลสำาคัญ ของไทยที่มีส่วนสร้างสรรค์ชาติไทย เช่น สมเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราช พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สมเด็จ พระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาถ อิทธิพลของภูมิปัญญาและวัฒนธรรม ไทยสมัยอยุธยา และธนบุรี ต่อการพัฒนาชาติไทยในยุคต่อมา มำตรฐำน/ตัวชี้วัด ส 4.1 ม.2/3 ส 4.2 ม.2/2 ส 4.3 ม.2/2, ม.2/3, รวมทั้งหมด 4 ตัวชี้วัด หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 21. 102 คำำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน รหัส ส 22106 พระพุทธศำสนำ 4 กลุ่มสำระ กำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2 ภำคเรียนที่ ٢ เวลำ 40 ชั่วโมง จำำนวน 1.0 หน่วยกิต ---------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------- ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกปฏิบัติ สร้างความคิดรวบยอด นำาภูมิปัญญา ท้องถิ่น สภาพปัญหาชีวิต สภาพแวดล้อมเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของ กระบวนการเรียนรู้ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักและเห็น คุณค่าในเรื่องต่อไปนี้ พระพุทธ เกี่ยวกับประวัติและควำมสำำคัญของพระพุทธ ศำสนำ เรื่อง ความสำาคัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทยในฐานะ เป็นรากฐานวัฒนธรรม เอกลักษณ์และมรดกของชาติ พระพุทธศาสนา กับการพัฒนาชุมชนและการจัดระเบียบสังคม พุทธประวัติ ชำดก เรื่อง ราโชวาทชาดก วันสำำคัญทำงพระพุทธศำสนำ เรื่อง ระเบียบ พิธีและการปฏิบัติตนในวันธรรมสวนะและเทศกาลสำาคัญ วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา และวันเทโวโรหณะ ศึกษา วิเคราะห์คุณค่าผลงาน ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านพระพุทธศาสนา มุงอนุรักษ์ศาสนวัตถุและศาสน ่ สถานในท้องถิ่น พระธรรม เกี่ยวกับหลักธรรมทำงพระพุทธศำสนำ เรื่อง พระ รัตนตรัย(ธรรมคุณ ๖) อริยสัจ ๔ (ทุกข์(ธรรมที่ควรรู) : อายตนะ ้ สมุทัย(ธรรมที่ควรละ) : อกุศลกรรมบถ ๑๐ อบายมุข ๖ นิโรธ(ธรรม ที่ควรบรรลุ) : สุข ๒(สามิส , นิรามิส) มรรค(ธรรมที่ควรเจริญ) : กุศลกรรมบถ ๑๐ สติปัฏฐาน ๔ มงคล ๓๘ ในเรื่อง เว้นจากการดื่ม นำ้าเมา พุทธศำสนสุภำษิต คือ สุโข ปุญฺสฺส อุจฺจโย (การ สั่งสมบุญ นำาสุขมาให้) ปูชโก ลภเต ปูชำ วนฺทโก ปฏิวนฺทนำ (ผู้บูชา เขาย่อมได้รับการบูชาตอบ ผู้ไหว้เขาย่อมได้รับการไหว้ตอบ) พระ ไตรปิฎก เรื่องน่ำรู้จำกพระไตรปิฎก(จูฬกัมมวิภังคสูตร) ศัพท์ทำง พระพุทธศำสนำ คือ ฌาน-ญาณ กำรบริหำรจิตและเจริญปัญญำ สวดมนต์เแปล และแผ่เมตตา วิธีปฏิบัติและประโยชน์ของการบริหาร จิตและเจริญปัญญา ฝึกการบริหารจิตและเจริญปัญญาตามหลักสติปัฏ ฐานเน้นอานาปานสติ นำาวิธีการบริหารจิตและเจริญปัญญาไปใช้ในชีวิต ประจำาวัน พัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ ๒ วิธีคือ วิธี หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 22. 103 คิดแบบอุบายปลุกเร้าคุณธรรมและวิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ ศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นในการนำาหลักธรรมไปใช้ในชีวิตประจำาวัน พระสงฆ์ เกี่ยวกับประวัติพุทธสำวก พุทธสำวิกำ เรื่องพระสารี บุตร พระโมคคัลลานะ ชำวพุทธตัวอย่ำง เรื่อง พระมหาธรรมราชาลิ ไท หน้ำที่ชำวพุทธ เรื่อง การจัดนิทรรศการ การเข้าค่ายคุณธรรม การเข้าร่วมพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา การเป็นลูกที่ดีตามหลักทิศ เบื้องหน้าในทิศ ๖ การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ มรรยำทชำวพุทธ และกำรปฏิบัติตนต่อพระภิกษุ เรื่อง การแต่งกายไปวัด การแต่งกาย ไปงานมงคล งานอวมงคล ศำสนพิธี เรื่อง การทอดกฐิน การทอด ผ้าป่า และการปฏิบัติตนเป็นชาวพุทธที่ดีในท้องถินต่างๆ สัมมนำ ่ พระพุทธศำสนำกับกำรแก้ปัญหำและกำรพัฒนำ เรื่องพระพุทธ ศาสนากับการพัฒนาชุมชนและการจัดระเบียบสังคม เพื่อให้เกิดศรัทธาอย่างยิ่งต่อพระรัตนตรัย และรักการเรียนรู้ พระพุทธศาสนา ประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรมในการอยู่รวมกันในสังคม และสามารถนำาหลักธรรมไปใช้เป็น ่ เครื่องมือในการเรียนรู้ การทำางานอย่างมีคุณค่าต่อชีวิตตนเองและ สังคมโดยส่วนรวม มำตรฐำน/ตัวชี้วัด ส 1.1 ม.2/3,ม.2/4,ม.2/6,ม.2/7,ม.2/8,ม.2/9,ม.2/10,ม.2/11 ส 1.2 ม.2/1,ม.2/2,ม.2/3,ม.2/4,ม.2/5 รวมทั้งหมด 13 ตัวชี้วัด หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 23. 104 คำำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน รหัส ส 23101 สังคมศึกษำ 5 กลุ่มสำระกำร เรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3 ภำคเรียนที่ ١ เวลำ 20 ชั่วโมง จำำนวน 0.5 หน่วยกิต ---------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------- ศึกษา ความแตกต่างของการกระทำาความผิดระหว่างคดี อาญาและคดีแพ่ง ลักษณะการกระทำาความผิดทางอาญา ลักษณะ การกระทำาความผิดทางแพ่ง และโทษ การมีสวนร่วมในการปกป้อง ่ คุ้มครองผู้อื่นตามหลักสิทธิมนุษยชน ศึกษาความหมาย และความ สำาคัญของสิทธิมนุษยชน ระบอบการปกครองแบบต่างๆ ทีใช้ในยุค ่ ปัจจุบัน วิเคราะห์ เปรียบเทียบระบอบการปกครองของไทยกับประเท ศอื่นๆ ทีมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย ความแตกต่าง ความ ่ คล้ายคลึงของการปกครองของไทย กับประเทศอื่นๆ ที่มีการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย ศึกษากลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ ความหมายและประเภทของ ตลาด ความหมายและตัวอย่างของอุปสงค์และอุปทาน วิเคราะห์ความสำาคัญ ของกลไกราคาและการกำาหนดราคาในระบบเศรษฐกิจ หลักการปรับ และเปลียนแปลงราคาสินค้าและบริการ มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา ่ และพัฒนาท้องถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วิเคราะห์สภาพ ปัญหาท้องถิ่นทั้งทางด้านสังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมโดยใช้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางการแก้ไขและพัฒนาท้องถิ่น ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับระบบสหกรณ์ ความสัมพันธ์ระหว่าง หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 24. 105 แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับหลักการและระบบของสหกรณ์เพื่อ ประยุกต์ใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน ศึกษาวิธีใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์ และ นำาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีป อเมริกาเหนือ และอเมริกาใต้ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะ ทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกาใต้ วิเคราะห์การก่อเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคม อันเป็นผลจากการ เปลียนแปลงทางธรรมชาติและทางสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและ ่ อเมริกาใต้ การเปลี่ยนแปลงประชากร เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ แนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในทวีป อเมริกาเหนือและ อเมริกาใต้ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์เปรียบเทียบ ความเหมือนความแตกต่างความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ต่างๆรวมทัง ้ สามารถแก้ปัญหาและประยุกต์ใช้เพื่อให้สามารถนำาผลการเรียนรูไปใช้ ้ ในชีวิตประจำาวันและอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุขและสันติสุข มำตรฐำน/ตัวชี้วัด ส 2.1 ม.3/1,ม.3/2, ส 2.2 ม.3/1,ม.3/2, ส 3.1 ม.3/1,ม.3/2,ม.3/3, ส 5.1 ม.3/1,ม.3/2, ส 5.2 ม.3/1,ม.3/2 รวมทั้งหมด 11 ตัวชี้วัด คำำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน รหัส ส 23102 ประวัติศำสตร์ไทย 5 กลุ่มสำระกำร เรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3 ภำคเรียนที่ ١ เวลำ 20 ชั่วโมง จำำนวน 0.5 หน่วยกิต ---------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------- ศึกษาขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์สำาหรับการศึกษา เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ อธิบายเรื่องราวเหตุการณ์สำาคัญทาง ประวัติศาสตร์ได้อย่างมีเหตุผลตามวิธีการทางประวัติศาสตร์ ศึกษา วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่าง ๆ ทีตนสนใจที่เกิด ่ ขึ้นในท้องถิ่นตนเอง วิเคราะห์เหตุการณ์สำาคัญในสมัยรัตนโกสินทร์ โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 25. 106 ศึกษาพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาค ต่างๆในโลกโดยสังเขป ทีตั้งและสภาพทางภูมิศาสตร์ของภูมิภาค ่ ต่างๆของโลก (ยกเว้นเอเชีย)ทีมีผลต่อพัฒนาการทางสังคม ่ เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาคต่างๆในโลก พัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาคต่างๆของโลก (ยกเว้นเอเชีย) วิเคราะห์พัฒนาการของไทย สมัยรัตนโกสินทร์ในด้านต่างๆ ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ และอิทธิพลต่อการ พัฒนาชาติไทย เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์การใช้ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ การสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ภาคภูมิใจในภูมิปัญญาท้องถิ่นและความเป็นไทยเห็นคุณค่าและความ สามารถและความเสียสละของบรรพบุรุษ มำตรฐำน/ตัวชี้วัด ส 4.1 ม.3/1, ม.3/2, ส 4.2 ม.3/1, ส 4.3 ม.3/1 รวมทั้งหมด 4 ตัวชี้วัด คำำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน รหัส ส 23103 พระพุทธศำสนำ 5 กลุ่มสำระ กำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3 ภำคเรียนที่ ١ เวลำ 40 ชั่วโมง จำำนวน 1.0 หน่วยกิต ---------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------- หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 26. 107 ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกปฏิบัติ สร้างความคิดรวบยอด นำา ภูมิปัญญาท้องถิ่น สภาพปัญหาชีวิตสภาพแวดล้อมเข้ามาเป็น ส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ เพื่อให้มีความรูความเข้าใจ ้ ตระหนักและเห็นคุณค่าในเรื่องต่อไปนี้ พระพุทธ เกี่ยวกับประวัติและควำมสำำคัญของพระพุทธ ศำสนำ เรื่องการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศต่าง ๆ ทั่ว โลก การนับถือพระพุทธศาสนาของประเทศเหล่านั้นในปัจจุบัน พระพุทธศาสนากับเศรษฐกิจพอเพียง พุทธประวัติ สรุปและ วิเคราะห์พุทธประวัติเรื่องปฐมเทศนา โอวาทปาฏิโมกข์ ชำดก เรื่องนันทิวิสาลชาดก วันสำำคัญทำงพระพุทธศำสนำ เรื่อง ประวัติของวันสำาคัญทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย วัน วิสาขบูชาวันสำาคัญสากล หลักปฏิบัติตน การฟังพระธรรม เทศนา การแต่งกายในการประกอบศาสนพิธีที่วัด ศึกษา วิเคราะห์คุณค่าผลงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านพระพุทธศาสนา มุ่ง อนุรักษ์ศาสนวัตถุและศาสนสถานในท้องถิ่น พระธรรม เกี่ยวกับหลักธรรมทำงพระพุทธศำสนำ เรื่อง พระรัตนตรัย(สังฆคุณ ๙) อริยสัจ ๔ ทุกข์(ธรรมที่ควรรู) : ขันธ์ ้ ๕, สมุทัย(ธรรมที่ควรละ) : หลักกรรม – วัฏฏะ ๓ ปปัญจธรรม ๓ , นิโรธ(ธรรมที่ควรบรรลุ) : อัตถะ ๓, มรรค(ธรรมที่ควรเจริญ) : มรรคมีองค์ ๘ ปัญญา ๓ สัปปุริสธรรม ๗ มงคล ๓๘ ในเรื่องมี ศิลปวิทยา พบสมณะ พุทธศำสนสุภำษิต คือ อตฺตา หเว ชิตำ เสยฺโย(ชนะตนนั่นแลดีกว่า) ธมฺมจารี สุขำ เสติ (ผู้ประพฤติธรรม ย่อมอยู่เป็นสุข) พระไตรปิฎก โครงสร้าง ชื่อคัมภีร์ และสาระ สังเขปของพระอภิธรรมปิฎก กำรบริหำรจิตและเจริญปัญญำ สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา วิธีปฏิบัติและประโยชน์ของการ บริหารจิตและเจริญปัญญา ฝึกการบริหารจิตและเจริญปัญญา ตามหลักสติปัฏฐานเน้นอานาปานสติ นำาวิธีการบริหารจิตและ เจริญปัญญาไปใช้ในชีวิตประจำาวัน พัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคดิ แบบโยนิโสมนสิการ ๒ วิธคือ วิธีคิดแบบอริยสัจ และวิธีคดแบบ ี ิ สืบสาวเหตุปัจจัย ศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นในการนำาหลักธรรม ไปใช้ในชีวิตประจำาวัน หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢