SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  102
‘Train the Trainers’
Workshop Year 2
จุดประสงค์
เมื่อสิ้นสุดการอบรมเชิงปฏิบัติการผู้เข้าร่วมอบรมสามารถ
1.เข้าใจปรัชญาและแนวปฏิบัติที่สำาคัญของโครงการ
inspiring science ซึ่งประกอบด้วย
-การจัดการเรียนการสอนที่ใช้บริบทเป็นฐาน
-วัฏจักรการเรียนรู้แบบ 5E
* การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่มีการชี้แนะ
แนวทาง
* รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบคอนสตรัคติวิสต์
-การจัดการเรียนการสอนแบบกระตืนรือร้น
-การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
2. นำาสื่อการเรียนรู้ ไปใช้เป็นแนวปฏิบัติในการจัดการ
เรียนการสอนตามหลักปรัชญา Inspiring science
จุดประสงค์ (ต่อ)
• กำาหนดแผนปฏิบัติการเพื่อจัดการฝึกอบรมและติดตาม
ช่วยเหลือครูผู้เข้าร่วมโครงการ 2 คนจาก 10 โรงเรียน
ในเขตพื้นที่การศึกษา
• จัดฝึกอบรมครูอย่างน้อย 20 คนในเขตพื้นที่การศึกษา
โดยใช้สื่อการเรียนรู้ที่มีปรัชญาและแนวปฏิบัติตาม
โครงการ Inspiring science
• ให้ความช่วยเหลือติดตามครูที่ผ่านการอบรมด้วย
กระบวนการ
– monitoring
– coaching and mentoring
– คู่สะท้อนความคิด
กำาหนดการ
โครงการอบรมวันที่ 1
• แนะนำาโครงการ Inspiring science หลัก
ปรัชญาและแนวปฏิบัติของโครงการ
• ทำากิจกรรมหน่วย “ไอศครีม (Ice cream
unit)”
วันที่ 2
• ทำากิจกรรม “ค่ายดาราศาสตร์ (astro
camp)”
• ทำากิจกรรม “การออกแบบบ้านพักตาก
วันที่ 3
• ทำากิจกรรมหน่วย “กล้วยไม้ไทย (The
Orchid unit)”
• หน้าที่และความรับผิดชอบ การ
วางแผนปฏิบัติการเพื่อขยายผลและ
ติดตามช่วยเหลือในเขตพื้นที่การ
ศึกษา
• สร้างกลุ่มเครือข่ายในเฟสบุค
กำาหนดการโครงการ
อบรม (ต่อ)
Session 1:
แนะนำาโครงการ
Inspiring Science
องค์ประกอบสำาคัญ
การพัฒนา
หลักสูตร
การพัฒนา
ศักยภาพ
การให้ความช่วยเหลือ
แบบยั่งยืนเพื่อการา
จัดการเรียนการสอน
วิทยาศาสตร์
เป้าหมายของโครงการ Inspiring Science
• พัฒนา กลุ่มครูวิทยาศาสตร์ นักการศึกษา
และบุคลากรสังกัด สพฐ. ให้เป็นผู้เชี่ยวชาญ
ด้านการพัฒนาหลักสูตร
• พัฒนาสื่อการสอนที่มีคุณภาพสูงรวมทั้ง
เว็บไซต์ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
เพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน
วิทยาศาสตร์ในระดับชั้น ม.1-ม.3
• ขยายผลสื่อสอนไปทั่วประเทศด้วย
กระบวนการพัฒนาวิชาชีพครู
• พัฒนาศักยภาพทางวิทยาศาสตร์ การ
ทำางานเป็นกลุ่ม การแก้ปัญหา การ
สื่อสาร ความเป็นผู้นำา ไอซีที และทักษะ
การคิดของนักเรียนทั่วประเทศ ซึ่งจะ
กลายเป็นทรัพยากรบุคคลของประเทศ
ในอนาคต
สนับสนุนการพัฒนาวิชาชีพครู
วิทยาศาสตร์
• การจัดการเรียนการสอนที่ใช้บริบทเป็นฐาน
• การจัดการเรียนการสอนที่ใช้การสืบเสาะเป็นฐาน
• การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ
• วัฏจักรการเรียนรู้แบบ 5E
• การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
• ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์
• การพัฒนาทักษะสำาคัญต่าง ๆ
• การพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาน และการคิด
สร้างสรรค์
• การพัฒนาทักษะ ICT
• การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์โดยใช้ภาษา
อังกฤษ
การพัฒนาศักยภาพ• พัฒนา กลุ่มครูวิทยาศาสตร์ นักการศึกษา และบุคลากรสังกัด สพฐ.
จำานวน 40 คน ให้เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาหลักสูตร ที่สามารถ
สร้างสื่อประกอบหลักสูตรแบบใช้บริบทเป็นฐาน
– ‘backwards design’
– หน่วยการเรียนรู้ที่มีบริบทเรื่องราว
– การจัดการเรียนรู้ที่ใช้การสืบเสาะเป็นฐาน
– การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
– การวัดผลตามสภาพจริง
– การวัดสมรรถนะตามสภาพจริง
– เน้นทักษะสำาคัญ/การพัฒนาศักยภาพของบุคคล
– การคิดอย่างมีวิจารณญานและการคิดสร้างสรรค์
– การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผ่านวัฏจักรการเรียนรู้แบบ 5E
• อบรมปฏิบัติการเพื่อสร้างสื่อประกอบหลักสูตร 3 ครั้งต่อปี
• ดำาเนินกระบวนการเป็นขั้นตอน
สื่อการสอนสื่อการสอนที่มีคุณภาพเพื่อส่งเสริมการเรียนการสอนในระดับ
มัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ที่ประกอบด้วย,
• PPT สำาหรับครูเพื่อใช้ในการดำาเนินการสอนในแต่ละแผน
ผ่านบริบทการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบ 5E
• มีวีดิโอคลิปประกอบ
• มีใบงานสำาหรับผู้เรียน
• มีคู่มือครูที่มีรายละเอียดเพื่อช่วยครูในการเรียนการสอน
แบบ 5E ที่ประกอบด้วย
– การใช้วีดีโอคลิปในห้องเรียน
– การอ้างอิง/เชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์
– การเตรียมตัวสอน
• การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
•
หน่วยการเรียนรู้
• ครอบคลุมหลักสูตร
• ประกอบด้วย 4 แผนการเรียนรู้ โดยจะมี 1 แผน ที่เน้น
การสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์
• 4 context-based learning episodes (one of which is
a scientific enquiry)
• มีสื่อการเรียนรู้ที่ประกอบด้วย
– PPT
– วีดิโอคลิป
– คู่มือครูในระดับหน่วยการเรียนรู้และ
แผนการจัดการเรียนรู้
– ใบกิจกรรมสำาหรับผู้เรียน
• การบ้าน (กิจกรรมนอกเวลาเรียน)
• แบบทดสอบ
• วีดิโอเพื่อช่วยในการพัฒนาวิชาชีพครู
Website
• Home page
• Resources
– Strand
– Unit
• Student
• Gallery
• Support
• http://212.84.74.159/~inspirin/
การอบรมขยายผล
• มีสื่อการอบรมที่มีคุณภาพรวมทั้งวีดิโอคลิปประกอบ
• การอบรมวิทยากรแกนนำา
• อบรมขยายผล ศึกษานิเทศก์และครูวิทยาศาสตร์
จากเขตพื้นที่การศึกษา 225 เขต
– แนะนำารูปแบบการสอน
– แนะนำาสื่อการสอนและเว็บไซต์
– ยุทธวิธีในการสอนแนะ การจับคู่สะท้อนคิด การสร้าง
กลุ่มวิจัยปฏิบัติการ
– หน้าที่และความรับผิดชอบของวิทยากรแกนนำา
• การขยายผลที่ดำาเนินการโดยวิทยากรแกนนำา
สำาหรับโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษา อย่างน้อย
10 โรง โดยใช้สื่อการสอนและเว็บไซต์
การติดตามช่วยเหลือ
• ศึกษานิเทศก์/วิทยากรแกนนำา ติดตามให้
ความช่วยเหลือผู้เข้าร่วมอบรมโดย
– ส่ง Email และโทรศัพท์ทุกเดือน
– นิเทศโรงเรียนภาคเรียนละ 1 ครั้ง
– ประชุมกลุ่มครูที่ผ่านการอบรมภาคเรียน
ละ 1 ครั้ง
– ถามตอบผ่านเครือข่ายใน Facebook
– ส่รายงานการดำาเนินงานของเขตพื้นที่
การศึกษาและโรงเรียนผ่านเว็บไซต์
• การช่วยเหลือสนับสนุนในโรงเรียน
– แผนปฏิบัติการและการเตรียมความ
พร้อมในกลุ่ม
– การจับคู่สะท้อนคิด
– จัดประชุมเพื่อดำาเนินการ
• การวิจัยเพื่อศึกษาสภาพก่อนดำาเนินการโครงการ
• การอบรมปฏิบัติการเพื่อสร้างสื่อประกอบหลักสูตร
• การทดลองใช้สื่อการเรียนรู้
• การอบรมขยายผลสำาหรับวิทยากรแกนนำา
• การนำาไปใช้และการ embedding
• การนำาไปใช้จะส่งผลต่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่องของ
โครงการ
การประเมินผล
การจัดการเรียนการสอนอย่าง
มีบริบท
• ใช้บริบทจากชีวิตจริงที่
เหมาะสม
• สอนแนวคิดวิทยาศาสตร์
ให้เชื่อมโยงกับนักเรียน
• สอนให้เชื่อมโยงระหว่าง
แนวคิดวิทยาศาสตร์
• บริบทที่ใช้จะบูรณาการ
เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของ
บริบทการเรียนรู้
• แนวคิดที่เชื่อมโยงกับบริบท
จะทำาให้ผู้เรียนเรียนรู้อย่าง
มีความหมายมากขึ้นและส่ง
เสริมให้ผู้เรียนสร้างแผนผัง
ความคิดที่มีความเชื่อมโยง
มากขึ้น
• บริบทที่มีความเชื่อมโยง
และเป็นของจริง กระตุ้น
การให้เกิดการพัฒนาการ
สื่อสารทางวิทยาศาสตร์และ
เพราะเหตุใดจึงต้องใช้การเรียน
การสอนแบบกระตือรือร้น
• นักเรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้
• พัฒนาความเข้าใจแนวคิดมากขึ้น
• กระตุ้นรูปแบบการเรียนที่หลากหลาย
ของผู้เรียน
• พัฒนาศักยภาพและทักษะสำาคัญของ
แต่ละบุคคล
• เพิ่มแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์และความ
สนใจ
ลักษณะของการเรียนการสอน
แบบกระตือรือร้น• การทำางานเป็นกลุ่ม
• เน้นการเรียนเรียนรู้แบบความร่วมมือ
• การเรียนรู้แบบใช้แหล่งเรียนรู้เป็นฐาน
• นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง
• ครูมีบทบาทเป็นผู้ให้ความช่วยเหลือ
• แนวคิดและการทำางานเป็นของผู้เรียน
• ให้ความสำาคัญกับทักษะกระบวนการ
• ความมีวินัยในตนเอง
• ผู้เรียนมีบทบาทเป็นแหล่งความรู้และแนวคิด
• ผู้เรียนมีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการการเรียน
• ผู้เรียนมีส่วนเกี่ยวข้องในการเรียนอย่างกระตือรือร้น
รูปแบบการเรียนการสอนที่
หลากหลาย
• Active reading
• Active writing
• Group discussion
• Simulation
• Models
• Investigation
• Experiment
การจัดการเรียนการสอนที่ใช้
การสืบเสาะเป็นฐาน
• ผู้เรียนสร้างความเข้าใจโดยใช้ทักษะด้านการคิดและ
ลงมือปฏิบัติเพื่อรวบรวมหลักฐานเกี่ยวกับปรากฏการณ์
ทางธรรมชาติทั้งที่เกิดขึ้นเองและมนุษย์สร้างขึ้น
• การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นกิจกรรมที่มี
หลายมิติประกอบด้วย
- การสังเกต
- การตั้งคำาถาม
- การค้นคว้าจากหนังสือหรือแหล่งข้อมูลอื่น เพื่อศึกษา
ความรู้ที่มีการค้นพบแล้ว
- การวางแผนการสำารวจตรวจสอบ การตรวจสอบความรู้
ที่ค้นพบแล้วโดยเน้นหลักฐานจากการทดลอง
- ใช้เรื่องมือในการรวบรวมวิเคราะห์และตีความข้อมูล
สิ่งที่จำาเป็นต่อการสืบเสาะหาความรู้
-การระบุสมมติฐาน
-การคิดเชิงวิภากษ์
-การคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผล
-การพิจารณาคำาอธิบายอื่นที่อาจเป็นไปได้
การผนวกการสืบเสาะเข้ากับ
5E
• การผนวกเอาการสืบ
เสาะแบบมีการแนะนำา
เข้ากับ วัฐจักรการเรียน
รู้แบบ 5E
• ขั้นสร้างความสนใจ
(Engage)
• ขั้นสำารวจ (Explore)
• ขั้นอธิบาย (Explain)
ขั้นสร้างความสนใจ
• แนะนำาบริบทที่เกี่ยวข้อง
• กำาหนดเหตุการณ์สำาหรับบทเรียน
• ชี้ให้เห็นประเด็นของการเรียนรู้
• ริเริ่มให้เกิดความอยากรู้อยากเห็นใน
“แนวคิดหลัก”
• ดึงแนวคิดของผู้เรียนที่มีอยู่แล้ว
• ช่วยผู้เรียนค้นหาสิ่งที่รู้แล้ว และสิ่งที่เป็น
แนวคิดคลาดเคลื่อน
ขั้นสำารวจ
• น่าจะเป็นขั้นที่สำาคัญที่สุด
• ผู้เรียนสร้างความเข้าใจในแนวคิดจากประสบการณ์ตรง
• เริ่มให้คำาตอบของคำาถามสำาคัญ ยกตัวอย่างเช่น
• ออกแบบการทดลองเพื่อสำารวจตรวจสอบปรากฏการณ์
ที่ไม่สามารถอธิบายได้
• ค้นพบแบบรูป
• ออกแบบวิธีการแก้ไขปัญหา
• ทั้งนี้ไม่ได้หมายความว่า ผู้เรียนต้องค้นพบทุกอย่างด้วยตัว
เอง ผู้เรียนสามารถได้รับ
• คำาแนะนำา
• ข้อมูลที่สำาคัญและเทคนิคต่างๆ เพื่ออำานวยให้เกิดการ
เรียนรู้
• สิ่งที่สำาคัญที่สุดคือ ผู้เรียนมีความเป็นเจ้าของใน
กระบวนการและผลลัพธ์ อย่างมีนัยสำาคัญ
ขั้นอธิบาย
• ขั้นนี้จะเกี่ยวข้องกับการสนันสนุนจากผู้สอน โดยเมื่อผู้
เรียนได้สร้างความเข้าใจในแนวคิดได้มากเท่าที่จะ
ทำาได้แล้ว ขั้นนี้จะเสริมสร้างแนวคิดให้มีระเบียบ
แบบแผนจาก
• คำาศัพท์เฉพาะ
• คำานิยาม
• แบบจำาลอง
• ความคล้ายคลึง
• ผู้สอนควรให้ผู้เรียนสร้างคำาอธิบายและเสริมสร้าง
แนวคิดผ่านการสะท้อนคิดถึงสิ่งที่ได้ค้นพบจากขั้น
สำารวจ โดยใช้ลำาดับคำาถามอย่างระมัดระวัง
• ถ้าจำาเป็น ผู้สอนสามารถเพิ่มแนวคิดอื่นๆ ผ่านขั้นต่างๆ
เช่นเดิม กล่าวคือ ขั้นสำารวจ → ขั้นอธิบาย → ขั้น
สำารวจ → ขั้นอธิบาย
ขั้นขยายความรู้
• รวบรวมความเข้าใจในแนวคิดเข้า
ด้วยกัน ให้มีความลึกซึ้งและครอบคลุม
โดยให้ฝึกประยุกต์ใช้ความเข้าใจใน
แนวคิด
• ให้ปัญหากับผู้เรียน เพื่อให้รู้ซึ้งถึง
แนวคิดหลักในสภาพความเป็นจริง
• การทำาเช่นนี้จะทำาให้ง่ายต่อการบ่ง
บอกว่าจะใช้แนวคิดหลักอย่างไร 
ขั้นประเมินผล
• การประเมินผ่านวิธีการและภาระงาน
ต่างๆ
• ควรมีในตอนท้ายของแต่ละขั้น เพื่อ
ตรวจสอบพัฒนาการของความเข้าใจ
ในผู้เรียน ซึ่งก็คือ การประเมินเพื่อ
ปรับปรุงการเรียนการสอน (formative
assessment)
• เมื่อกระทำาในตอนท้ายของหน่วยการ
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้
เชิงวิทยาศาสตร์
• การตั้งคำาถาม
• การระบุตัวแปรต่างๆ
• การระบุตัวแปรอิสระ
• การตั้งสมมติฐาน
• การวางแผน
• การดำาเนินการ
• การวัด
• การเก็บรวบรวมข้อมูล
• การวิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูล
• การสร้างข้อสรุป
• การประเมินประจักษ์พยาน
• การสื่อสาร
การสนับสนุนกระบวนการสืบ
เสาะหาความรู้
• หนึ่งกระบวนการสืบเสาะ
หาความรู้ต่อหนึ่งหน่วย
การเรียนรู้
• คำาถามชี้นำา
• การเสริมต่อการเรียนรู้
• ใบวางแผนงาน
• จุดเริ่มต้นที่แตกต่างกัน
• คำาแนะนำาเพิ่มเติมใน
ข้อแนะนำาเพื่อความสำาเร็จ
• พัฒนาทักษะกระบวนการ และนำามาใช้ในการสืบเสาะ
หาความรู้เชิงวิทยาศาสตร์
• ให้เริ่มจากการสำารวจตรวจสอบแบบ “ปิด” โดยให้คำา
ตอบของคำาถามชี้นำาต่างๆ แล้วจึงค่อยๆ จัดให้มีการ
สำารวจตรวจสอบแบบ “เปิด” มากขึ้นเรื่อยๆ
• ในช่วงต้น ให้เน้นยำ้าเกี่ยวกับแนวคิดเรื่อง ‘Fair Test’
กล่าวคือ เมื่อเปลี่ยนสิ่งใดสิ่งหนึ่ง (ตัวแปรอิสระ) โดย
จัดให้สิ่งอื่นๆ เหมือนกัน (ตัวแปรควบคุม) แล้วจึงวัดสิ่ง
ที่สนใจศึกษา (ตัวแปรตาม)
• กระตุ้นให้ผู้เรียนพัฒนาจิตวิทยาศาสตร์ประการหนึ่ง
นั่นคือ เมื่อเปลี่ยนตัวแปรอิสระซึ่งต้องสามารถวัดได้
ต้องควบคุมตัวแปรควบคุมอย่างสามารถวัดได้เช่นกัน
การพัฒนาทักษะสำาคัญ
• การทำางานเป็นทีม
• การแก้ปัญหา
• ภาวะความเป็นผู้นำา
• การสื่อสาร
• การคิดอย่างมี
วิจารณญาณและอย่าง
สร้างสรรค์
• ไอซีที
Session 2:
ตัวอย่างของปรัชญาและ
แนวคิดของInspiring
Science
Sessions 3 and 4
บริบท
• นักเรียนช่วยคุณแพรวพรรณและเพื่อขอเธอจัด
เตรียมร้านไอศครีมบนเกาะเสม็ด
• พวกเขาจะใช้บริบทนี้ในการศึกษาสมบัติของ
ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส รวมทั้งสมบัติในระดับ
macroscopic ของแบบจำาลองอนุภาคเหล่านี้
• นักเรียนจะได้รู้จักคอลลอยด์ผ่านการศึกษาส่วน
ประกอบต่างๆ ในอาหาร รวมทั้งสมบัติของคอลลอยด์
และสารแขวนลอย
• นักเรียนทำาการสืบเสาะการใช้ประโยชน์และหน้าที่
ของอิมัลซิฟายเออร์ (emulsifiers)
• แผนการจัดการเรียนรู้สุดท้าย นักเรียนออกแบบ
การนำาเสนอความรู้และผลการค้นคว้าที่ได้ศึกษาเพื่อ
เนื้อหา
สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร
มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่าง
สมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง
อนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยา
ศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการ
เปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกิด
ปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยา
ศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และ
จิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา
รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้น ส่วนใหญ่มีรูป
แบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในเวลานั้นๆ เข้าใจว่า
วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ
สัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
.
การสะท้อนความคิด
• บริบทของแผนการจัดการเรียนรู้นี้คืออะไร
• เราจะสร้างความสนใจแก่นักเรียนได้อย่างไร
• เราจะดึงความรู้เดิมของนักเรียนได้อย่างไร
• นักเรียนสำารวจและเริ่มต้นพัฒนาความคิดเกี่ยวกับแนวคิด
ทางวิทยาวิทยาศาสตร์ที่สำาคัญได้อย่างไร
• นักเรียนและครูจะอธิบายคว่ามคิดของเขาได้อย่างไร
• นักเรียนจะขยายความคิดได้อย่างไร
• นักเรียนจะประเมินผลความเข้าใจของตัวเองได้อย่างไร
• แนวคิดทางวิทยาศาสตร์ที่สำาคัญและทักษะที่ถูกพัฒนาใน
แผนการจัดการเรียนรู้คืออะไร
• การสอนแบบเชิงรุกและแนวคิดในการเรียนรู้ที่นำามาใช้คือ
อะไร
• ครูจะช่วยนักเรียนให้เรียนรู้แบบสืบเสาะได้อย่างไร
แผนการจัดการเรียนรู้อื่นๆ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่
1: เตรียมเปิดร้าน
นักเรียนได้รับการเชิญชวน
ให้เปิดร้านขายของริม
ชายหาดบนเกาะเสม็ด และ
ช่วยกันเสนอว่าควรจะขาย
อาหารและเครื่องดื่มประเภท
ไหน เพื่อนำาเข้าสู่ประเด็น
การจัดเก็บสิ่งของในร้านตาม
สถานะของสาร (ของแข็ง
ของเหลว และแก๊ส) และ
อธิบายความแตกต่างของ
แต่ละสถานะ โดยการใช้
แผนการจัดการเรียนรู้อื่นๆ
(ต่อ)
แผนการจัดการ
เรียนรู้ที่ 3:
เก็บร้าน ทำาความ
สะอาด
นักเรียนจะต้องหาวิธี
ที่เหมาะสม ในการล้าง
ภาชนะที่สกปรกจาก
สารในกลุ่มที่ไม่ลายนำ้า
เช่น ไขมันและโปรตีน
ซึ่งจะทำาให้นักเรียนได้
เข้าใจสมบัติและหน้าที่
ของสารที่เป็น อิมัลซิ
ไฟเออร์ที่ดีซึ่งสามารถ
แผนการจัดการเรียนรู้อื่นๆ
(ต่อ)
ตอน4 ป้ายติดกำาแพง
ให้นักเรียนสังเคราะห์
ความเข้าใจ และ
แสดงออกมาเพื่อที่
จะดึงดูด และ
ครอบคลุมหัวข้อ
สำาคัญเพื่อที่จะให้ผู้
อ่านหลายๆวัยเกิด
ความเข้าใจ
ทบทวนแผนการจัดการเรียนรู้
อื่นๆ
• ให้สมาชิกในกลุ่มร่วมกันทบทวนแผนการ
จัดการเรียนรู้อื่นๆในหน่วยการเรียนรู้นี้
• จัดเอกสารในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้
อย่างมีระบบทีละขั้นตอน โดยวางคู่มือครู
ไว้ข้างหน้า วางสไลด์ไว้ด้านซ้ายและวาง
ใบกิจกรรมของนักเรียนไว้ด้านขวา
• เขียนรายการความคิดเห็น คำาถามหรือข้อ
เสนอแนะ
ข้อควรจำา
• บริบทของแผนการจัดการเรียนรู้นี้คืออะไร
• เราจะสร้างความสนใจแก่นักเรียนได้อย่างไร
• เราจะดึงความรู้เดิมของนักเรียนได้อย่างไร
• นักเรียนสำารวจและเริ่มต้นพัฒนาความคิดเกี่ยวกับ
แนวคิดทางวิทยาวิทยาศาสตร์ที่สำาคัญได้อย่างไร
• นักเรียนและครูจะอธิบายคว่ามคิดของเขาได้
อย่างไร
• นักเรียนจะขยายความคิดได้อย่างไร
• นักเรียนจะประเมินผลความเข้าใจของตัวเองได้
อย่างไร
• แนวคิดทางวิทยาศาสตร์ที่สำาคัญและทักษะที่ถูก
พัฒนาในแผนการจัดการเรียนรู้คืออะไร
• การสอนแบบเชิงรุกและแนวคิดในการเรียนรู้ที่นำา
มาใช้คืออะไร
งานที่มอบหมาย
• ใช้ดีวีดีที่ได้รับเพื่อทบทวนในบทวัฐจักรหิน
• ขั้นแรกอ่านข้อแนะนำาและดูในแต่ละตอน อ่าน
คู่มือครูเป็นขั้นๆ แผ่นสไลด์ ใบกิจกรรม และ
สุดท้ายให้ดูการบ้านกิจกรรมและคำาถามตอบ ทำา
ข้อแนะนำาเป็นข้อๆ และคำาถามที่สงสัย
ข้อควรจำา
• บริบทของแผนการจัดการเรียนรู้นี้คืออะไร
• เราจะสร้างความสนใจแก่นักเรียนได้อย่างไร
• เราจะดึงความรู้เดิมของนักเรียนได้อย่างไร
• นักเรียนสำารวจและเริ่มต้นพัฒนาความคิดเกี่ยวกับ
แนวคิดทางวิทยาวิทยาศาสตร์ที่สำาคัญได้อย่างไร
• นักเรียนและครูจะอธิบายคว่ามคิดของเขาได้
อย่างไร
• นักเรียนจะขยายความคิดได้อย่างไร
• นักเรียนจะประเมินผลความเข้าใจของตัวเองได้
อย่างไร
• แนวคิดทางวิทยาศาสตร์ที่สำาคัญและทักษะที่ถูก
พัฒนาในแผนการจัดการเรียนรู้คืออะไร
• การสอนแบบเชิงรุกและแนวคิดในการเรียนรู้ที่นำา
มาใช้คืออะไร
Day 2: Sessions 1 and 2
บริบท
ในค่ายดาราศาสตร์ กลุ่มของนักเรียน
Make, Win and Earth ไปยังค่ายพิเศษเพื่อ
เรียนดาราศาสตร์ นักเรียนเหล่านี้โชคดีที่ได้
ทำางานกับ Dr. Sunny, นักดาราศาสตร์ที่หอดู
ดาวสิริธร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เขาให้
นักเรียนทำางานเพื่อทดสอบความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับจักรวาล บทนี้นำากิจกรรมเข้าสู่โรงเรียน
ซึ่งสามารถจัดค่ายดาราศาสตร์เพื่อให้นักเรียน
– ดูวิวัฒนาการของจักรวาลและแกแลกซี่
– สร้างแบบจำาลองระบบสุริยะ
– สำารวจความเร็วการเคลื่อนที่ของดวงดาว
– พิจารณาผลกระทบของอุกาบาตขนาดใหญ่ต่อโลก
เนื้อหา
มาตรฐาน
ว 7.1 เข้าใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ
กาแล็กซีและเอกภพ การปฏิสัมพันธ์
ภายในระบบสุริยะ และผลต่อสิ่งมีชีวิตบน
โลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และ
จิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำา
ความรู้ไปใช้ประโยชน์
ว 7.1 ม. 3/2 สืบค้นและอธิบายองค์ประกอบ
ของเอกภพ กาแล็กซี และ ระบบสุริยะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
.
การสะท้อนความคิด
• อะไรคือบริบทของตอนนี้
• นักเรียนมีส่วนร่วมอย่างไร
• แนวคิดเริ่มแรกของนักเรียนเป็นอย่างไร
• นักเรียนสำารวจและเริ่มพัฒนาแนวคิดเกี่ยวกับคำา
สำาคัญหลักอย่างไร
• นักเรียนและครูอธิบายแนวคิดอย่างไร
• แนวคิดถูกอธิบายเพิ่มเติมได้อย่างไร
• ความเข้าใจนักเรียนถูกประเมินอย่างไร
• อะไรเป็นคำาหลักและทักษะที่ถูกพัฒนาในตอนนี้
• การเรียนการสอนแบบเชิงรุกอะไรที่ถูกนำามาใช้
• นักเรียนจะถูกสนับสนุนผ่านการสืบเสาะได้อย่างไร
แผนการจัดการเรียนรู้อื่นๆ
แผนการจัดการเรียน
รู้ที่ 1: เอกภพ
• Make, Win and
Earth มาถึงหอดูดาว
และพบกับ Dr.
Sunny. เขาแนะนำา
นักเรียนเพื่อทำางานที่
หอดูดาวและถาม
คำาถาม ‘จักรวาลกว้าง
ขนาดไหน และ
ประกอบด้วยอะไร
แผนการจัดการเรียนรู้อื่นๆ
(ต่อ)
แผนการจัดการเรียนรู้
ที่ 2:ระบบสุริยะ
นักเรียนพัฒนาแบบ
จำาลองระบบสุริยะ และ
ถ่ายทอดประสบการณ์
ไปสู่นอกบทเรียนเพื่อ
ช่วยนักเรียนสร้างแบบ
จำาลองที่ตรงตามสเกล
ของรบบสุริยะ เพื่อที่จะ
สร้างการวัดเพื่อสร้าง
แบบจำาลอง นักเรียนใน
กลุ่มจัดการเพื่อทำาการ
ประมาณดาวเคราะห์
และใส่ในตาราง ใช้
ข้อมูลเหล่านี้ในการ
แผนการจัดการเรียนรู้อื่นๆ
(ต่อ)
แผนการจัดการเรียน
รู้ที่ 3: วงโคจรดาว
เคราะห์
• นักเรียนดำาเนินการ
สำารวจ การเคลื่อนตัว
ของดาวเคราะห์รอบ
ดวงอาทิตย์ ระยะเวลา
การโคจรรอบดวง
อาทิตย์มีความสัมพันธ์
กับระยะห่างจากดวง
อาทิตย์ ใช้ข้อมูลดัง
ทบทวนแผนการจัดการเรียนรู้
อื่นๆ
• ในกลุ่มให้ทบทวนตอนอื่นๆ ในบทนี้
• ให้จำาไว้ว่าจัดการเอกสารให้นักเรียนสามารถ
ผ่านแต่ละตอนแบบเป็นขั้นเป็นตอนตามคู่มือครู
สไลด์ทางซ้าย และใบกิจกรรมทางขวา
• ทำาข้อแนะนำาเป็นข้อๆ และเตรียมคำาถามที่สงสัย
ข้อควรจำา
• อะไรคือบริบทของตอนนี้
• นักเรียนมีส่วนร่วมอย่างไร
• แนวคิดเริ่มแรกของนักเรียนเป็นอย่างไร
• นักเรียนสำารวจและเริ่มพัฒนาแนวคิดเกี่ยวกับคำา
สำาคัญหลักอย่างไร
• นักเรียนและครูอธิบายแนวคิดอย่างไร
• แนวคิดถูกอธิบายเพิ่มเติมได้อย่างไร
• ความเข้าใจนักเรียนถูกประเมินอย่างไร
• อะไรเป็นคำาหลักและทักษะที่ถูกพัฒนาในตอนนี้
• การเรียนการสอนแบบเชิงรุกอะไรที่ถูกนำามาใช้
• นักเรียนจะถูกสนับสนุนผ่านการสืบเสาะได้อย่างไร
วันที่ 2: Sessions 3 and 4
บริบทนักเรียนจะได้รับบทบาทเป็นนักวิจัยทำางานด้าน
การออกแบบบ้านพักตากอากาศที่เป็นมิตรกับสิ่ง
แวดล้อมสำาหรับประเทศไทย โดยนักเรียนได้รับมอบ
หมายงานจากคุณ สุธี เกศศิริ กรรมการผู้จัดการบริษัท
Bangkok House Builder จำากัด ซึ่งนักเรียนจะต้อง
ทำาการศึกษาเกี่ยวกับวัสดุและการออกแบบบ้านพักตาก
อากาศด้วยการเน้นความสำาคัญด้านอุณหภูมิของตัว
อาคารที่สร้างขึ้น ในหน่วยการเรียนรู้นี้นักเรียนจะต้อง
ทำาการสำารวจตรวจสอบทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับ
คุณสมบัติของวัสดุที่ใช้สร้างบ้านและประยุกต์ความรู้
ความเข้าใจที่ได้เข้ากับบริบทตามสภาพแวดล้อมจริง
เนื้อหา
สาระที่ 5 : พลังงาน
มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับ
การดำารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสาร
และพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม
มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำา
ความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด
ว. 5.1 ม. 1/1 ทดลองและอธิบายอุณหภูมิและการวัด
อุณหภูมิ
ว. 5.1 ม. 1/2 สังเกต และอธิบายการถ่ายโอนความ
ร้อน และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ว. 5.1 ม. 1/3 อธิบายการดูดกลืน การคายความร้อน
โดยการแผ่รังสีและความรู้ไปใช้
ประโยชน์
ว. 5.1 ม. 1/4 อธิบายสมดุลความร้อนและผลของความ
ร้อนต่อการขยายตัวของสาร และนำา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
การสะท้อนความคิด
• บริบทของแผนการจัดการเรียนรู้นี้คืออะไร
• เราจะสร้างความสนใจแก่นักเรียนได้อย่างไร
• เราจะดึงความรู้เดิมของนักเรียนได้อย่างไร
• นักเรียนสำารวจและเริ่มต้นพัฒนาความความคิดเกี่ยว
กับแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ ที่สำาคัญได้อย่างไร
• นักเรียนและครูจะอธิบายความคิดของเขาได้อย่างไร
• นักเรียนจะขยายความคิดได้อย่างไร
• นักเรียนจะประเมินผลความเข้าใจของตนเองได้
อย่างไร
• แนวคิดทางวิทยาศาสตร์ที่สำาคัญและทักษะที่ถูก
พัฒนาในแผนการจัดการเรียนรู้นี้คืออะไร
• การสอนแบบเชิงรุกและแนวคิดในการเรียนรู้ที่นำามา
ใช้คืออะไร
• ครูจะช่วยนักเรียนให้เรียนรู้แบบสืบเสาะได้อย่างไร
แผนการจัดการเรียนรู้อื่นๆ
แผนการจัดการเรียนรู้
ที่ 1: สร้างผนัง
• นักเรียนจะศึกษาเกี่ยว
กับวัสดุที่เป็นฉนวน
สำาหรับการสร้างผนัง
นักเรียนจะต้องทำาการ
สำารวจตรวจสอบทาง
วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับ
วัสดุหลากหลายชนิด
และเลือกวัสดุที่เหมาะสม
ที่สุดสำาหรับสร้างผนัง
ซึ่งครูควรจะใช้แผนการ
จัดการเรียนรู้นี้ให้มี
ความครอบคลุมองค์
แผนการจัดการเรียนรู้อื่นๆ
(ต่อ)
แผนการจัดการเรียนรู้
ที่ 2:
รูปร่างของบ้าน
• นักเรียนจะศึกษาเกี่ยว
กับการถ่ายโอนความ
ร้อนภายในบ้าน โดย
วิธีการพาความร้อนเกิด
ได้อย่างไรและสามารถ
ใช้วิธีนี้ในการทำาให้
บ้านเย็นลงในช่วงเวลา
กลางวันได้อย่างไร
จากนั้นนักเรียนจะต้อง
ประยุกต์ความรู้ที่ได้สู่
การออกแบบบ้านพัก
ตากอากาศ โดยครูควร
ทบทวนแผนการจัดการเรียนรู้
อื่นๆ
• ให้สมาชิกในกลุ่มร่วมกันทบทวน
แผนการจัดการเรียนรู้อื่นๆในหน่วย
การเรียนรู้นี้
• จัดเอกสารในแต่ละแผนการจัดการ
เรียนรู้อย่างมีระบบทีละขั้นตอน โดย
วางคู่มือครูไว้ข้างหน้าวางสไลด์ไว้
ด้านซ้าย และวางใบกิจกรรมของ
นักเรียนไว้ด้านขวา
• เขียนรายการความคิดเห็น คำาถามหรือ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4:
ส่วน
ประกอบที่สมบูรณ์
นักเรียนช่วยกันนำาความรู้
และความเข้าใจที่ได้จาก
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ผ่านมา
นำามาใช้ในการออกแบบบ้านพัก
ตากอากาศและส่วนประกอบต่าง
ๆ ของที่พัก สิ่งนี้จะทำาให้
นักเรียนนำาแนวคิด มาใช้
ออกแบบบ้านพักตากอากาศ
แต่ละหลังและสถานที่ต่าง ๆ
ทั้งหมดในบริเวณบ้านพักนั้น
นักเรียนจะต้องแสดงให้เห็นว่า
นักเรียนมีความเข้าใจในเรื่อง
การถ่ายโอนความร้อนด้วยวิธี
แผนการจัดการเรียนรู้อื่นๆ
(ต่อ)
ข้อควรจำา
• บริบทของแผนการจัดการเรียนรู้นี้คืออะไร
• เราจะสร้างความสนใจแก่นักเรียนได้อย่างไร
• เราจะดึงความรู้เดิมของนักเรียนได้อย่างไร
• นักเรียนสำารวจและเริ่มต้นพัฒนาความความคิดเกี่ยว
กับแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ ที่สำาคัญได้อย่างไร
• นักเรียนและครูจะอธิบายความคิดของเขาได้อย่างไร
• นักเรียนจะขยายความคิดได้อย่างไร
• นักเรียนจะประเมินผลความเข้าใจของตนเองได้
อย่างไร
• แนวคิดทางวิทยาศาสตร์ที่สำาคัญและทักษะที่ถูก
พัฒนาในแผนการจัดการเรียนรู้นี้คืออะไร
• การสอนแบบเชิงรุกและแนวคิดในการเรียนรู้ที่นำามา
ใช้คืออะไร
• ครูจะช่วยนักเรียนให้เรียนรู้แบบสืบเสาะได้อย่างไร
งานที่มอบหมาย
• ใช้แผ่นดีวีดี ที่คุณได้รับเพื่อทบทวนหน่วย
การเรียนรู้ เรื่อง ทีมสำารวจ
อวกาศ
• อันดับแรกให้อ่านคู่มือหน่วยการเรียนรู้
แล้วศึกษาแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้
อย่างเป็นระบบ อ่านคู่มือ, สไลด์ และ ใบ
กิจกรรมของนักเรียน จากนั้นจึงศึกษา
การบ้าน และแบบทดสอบ
• เขียนรายการความคิดเห็น คำาถามหรือข้อ
เสนอแนะ
• บริบทของแผนการจัดการเรียนรู้นี้คืออะไร
• เราจะสร้างความสนใจแก่นักเรียนได้อย่างไร
• เราจะดึงความรู้เดิมของนักเรียนได้อย่างไร
• นักเรียนสำารวจและเริ่มต้นพัฒนาความความคิดเกี่ยว
กับแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ ที่สำาคัญได้อย่างไร
• นักเรียนและครูจะอธิบายความคิดของเขาได้อย่างไร
• นักเรียนจะขยายความคิดได้อย่างไร
• นักเรียนจะประเมินผลความเข้าใจของตนเองได้
อย่างไร
• แนวคิดทางวิทยาศาสตร์ที่สำาคัญและทักษะที่ถูก
พัฒนาในแผนการจัดการเรียนรู้นี้คืออะไร
• การสอนแบบเชิงรุกและแนวคิดในการเรียนรู้ที่นำามา
ใช้คืออะไร
• ครูจะช่วยนักเรียนให้เรียนรู้แบบสืบเสาะได้อย่างไร
ข้อควรจำา
Day 3: Sessions 1 and 2
บริบท
• ในหน่วยการเรียนรู้เรื่อง กล้วยไม้ไทย นี้ นักเรียน
จะได้พัฒนาอุตสาหกรรมการส่งออกพืช
ประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกกล้วยไม้รายใหญ่ที่สุด
ของโลกและมีความชำานาญเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยง
เนื้อเยื่อพืช นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับความสำาคัญของ
พืชที่มีความสำาคัญทางเศรษฐกิจและเรียนรู้คำาศัพท์
ที่เกี่ยวกับส่วนต่างๆ พืช นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับวิธี
การสืบพันธุ์แบบต่างๆ ที่สามารถเพิ่มจำานวนของพืช
ให้ได้ปริมาณมาก รวมถึงวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
พืชด้วย นักเรียนยังจะได้ศึกษาเกี่ยวกับสภาพ
แวดล้อมที่เหมาะสมสำาหรับการเจริญเติบโตของพืช
รวมถึงความต้องการแสง คาร์บอนไดออกไซด์
สำาหรับการสังเคราะห์ด้วยแสง และความสำาคัญของ
เนื้อหา
มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมี
ชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของ
ระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทำางานสัมพันธ์กัน มี
กระบวนสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำา
ความรู้ไปใช้ในการดำารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่ง
มีชีวิต
ตัวชี้วัด
ว 1.1 ม.1/5 ทดลองหาปัจจัยบางประการที่จำาเป็น
ต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช และอธิบายว่าแสง
คลอโรฟิลล์ แก๊ส คาร์บอนได- ออกไซด์ นำ้า เป็น
ปัจจัยที่จำาเป็นต้องใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง
ว 1.1 ม.1/6 ทดลองและอธิบายผลที่ได้จากการ
ว 1.1 ม.1/9 สังเกตและอธิบายโครงสร้างที่
เกี่ยวกับระบบลำาเลียงนำ้าและอาหารของพืช
ว 1.1 ม.1/10 ทดลองและอธิบายโครงสร้างของ
ดอกที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืช
ว 1.1 ม.1/11 อธิบายกระบวนการสืบพันธุ์แบบ
อาศัยเพศของพืชดอกและการสืบพันธุ์แบบไม่
อาศัยเพศของพืช โดยใช้ส่วนต่างๆ ของพืชเพื่อ
ช่วยในการขยายพันธุ์
ว 1.1 ม.1/12 ทดลองและอธิบายการตอบสนอง
ของพืชต่อแสง นำ้า และการสัมผัส
ว 1.1 ม.1/13 อธิบายหลักการและผลของการ
ใช้เทคโนโลยี ชีวภาพในการขยายพันธุ์
ปรับปรุงพันธุ์ เพิ่มผลผลิตของพืชและ
เนื้อหา (ต่อ)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
การสะท้อนความคิด
• บริบทของแผนการจัดการเรียนรู้นี้คืออะไร
• เราจะสร้างความสนใจแก่นักเรียนได้อย่างไร
• เราจะดึงความรู้เดิมของนักเรียนได้อย่างไร
• นักเรียนสำารวจและเริ่มต้นพัฒนาความความคิดเกี่ยว
กับแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ ที่สำาคัญได้อย่างไร
• นักเรียนและครูจะอธิบายความคิดของเขาได้อย่างไร
• นักเรียนจะขยายความคิดได้อย่างไร
• นักเรียนจะประเมินผลความเข้าใจของตนเองได้
อย่างไร
• แนวคิดทางวิทยาศาสตร์ที่สำาคัญและทักษะที่ถูก
พัฒนาในแผนการจัดการเรียนรู้นี้คืออะไร
• การสอนแบบเชิงรุกและแนวคิดในการเรียนรู้ที่นำามา
ใช้คืออะไร
• ครูจะช่วยนักเรียนให้เรียนรู้แบบสืบเสาะได้อย่างไร
แผนการจัดการเรียนรู้อื่นๆ
แผนการจัดการเรียน
รู้ที่ 1: ส่วนประกอบ
ของพืช
ดร.ปัญญานำา
นักเรียนเข้าสู่การเรียน
รู้ โดยให้นักเรียนระบุ
ชื่อพืชที่มีความสำาคัญ
ทางเศรษฐกิจ นักเรียน
เขียนชื่อพืชและคำา
ศัพท์ ที่ถูก
ต้องของส่วนประกอบ
ของพืช วาดภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่
2:
การขยายพันธุ์พืช
นักเรียนศึกษา
กิจกรรมเกี่ยวกับการ
ทำาให้พืชเจริญเติบโต
อย่างรวดเร็วและพร้อม
จำาหน่ายในตลาดต่าง
ประเทศ นักเรียนจะได้
ศึกษาถึงความแตกต่าง
ระหว่างการสืบพันธุ์แบบ
อาศัยเพศและการสืบพันธุ์
แผนการจัดการเรียนรู้อื่นๆ
(ต่อ)
แผนการจัดการ
เรียนรู้ที่ 3:
การเติบโต
ของพืช
ศึกษาการเจริญ
เติบโตของพืชสัมพันธ์
กับการสังเคราะห์ด้วย
แสง นักเรียนทำา
กิจกรรมเพื่อศึกษาสาร
ตั้งต้นและสาร
แผนการจัดการเรียนรู้อื่นๆ
(ต่อ)
ทบทวนแผนการจัดการเรียนรู้
อื่นๆ
• ให้สมาชิกในกลุ่มร่วมกันทบทวน
แผนการจัดการเรียนรู้อื่นๆในหน่วย
การเรียนรู้นี้
• จัดเอกสารในแต่ละแผนการจัดการ
เรียนรู้อย่างมีระบบทีละขั้นตอน โดย
วางคู่มือครูไว้ข้างหน้าวางสไลด์ไว้
ด้านซ้าย และวางใบกิจกรรมของ
นักเรียนไว้ด้านขวา
• เขียนรายการความคิดเห็น คำาถามหรือ
ข้อควรจำา
• บริบทของแผนการจัดการเรียนรู้นี้คืออะไร
• เราจะสร้างความสนใจแก่นักเรียนได้อย่างไร
• เราจะดึงความรู้เดิมของนักเรียนได้อย่างไร
• นักเรียนสำารวจและเริ่มต้นพัฒนาความความคิดเกี่ยว
กับแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ ที่สำาคัญได้อย่างไร
• นักเรียนและครูจะอธิบายความคิดของเขาได้อย่างไร
• นักเรียนจะขยายความคิดได้อย่างไร
• นักเรียนจะประเมินผลความเข้าใจของตนเองได้
อย่างไร
• แนวคิดทางวิทยาศาสตร์ที่สำาคัญและทักษะที่ถูก
พัฒนาในแผนการจัดการเรียนรู้นี้คืออะไร
• การสอนแบบเชิงรุกและแนวคิดในการเรียนรู้ที่นำามา
ใช้คืออะไร
• ครูจะช่วยนักเรียนให้เรียนรู้แบบสืบเสาะได้อย่างไร
Session 3
หน้าที่และความรับผิดชอบ การ
วางแผนปฏิบัติการเพื่อขยายผล
และติดตามช่วยเหลือในเขตพื้นที่
การศึกษา
บทบาทหน้าที่ของศึกษานิเทศก์
• จัดการและดำาเนินการฝึกอบรม ระยะเวฃา 3 วัน สำาหรับครู 2 คน จาก 10
โรงเรียน 10 โรง ในเขตพื้นที่การศึกษา
• สร้างทีมในโรงเรียน
• ให้ความช่วยเหลือและติดตามแต่ละโรงเรียน โดย
– ส่ง Email และ โทรศัพท์เดือนละ 1 ครั้ง
– นิเทศโรงเรียน ภาคเรียนละ 1 ครั้ง (ในกรณีที่โรงเรียนมีปัญหาสามารถเข้า
นิเทศได้มากกว่า 1 ครั้ง หรือนิเทศให้เร็วขึ้นได้)
• จัดการประชุมพบปะ ในวัน Magnifier day สำาหรับกลุ่มโรงเรียนที่เข้า
ร่วมโครงการเมื่อสิ้นสุดภาคเรียน เพื่อนำาเสนอประสบการณ์และผลการ
ดำาเนินงาน
• จัดวัน ‘voice confident’ เพื่อให้โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการแล้วนำาเสนอ
ต่อโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการใหม่เมื่อสิ้นสุดปีการศึกษา
• จัดทำารายงานประจำาเดือนและส่งผ่านเครือข่ายสังคม Facebook
• ตรวจสอบว่าโรงเรียนได้ส่งรายงานผ่านเครือข่ายสังคม Facebook แล้ว
การช่วยเหลือ
• ตรวจสอบให้แน่ใจว่าทุกเรียนสามารถเข้าถึงสื่อ
การเรียนการสอน Inspiring Science ได้
• ช่วยแก้ปัญหาหรือตอบคำาถามของครูหรือ
โรงเรียนผ่านการสื่อสารทาง Email หรือ
โทรศัพท์
• ติดต่อหัวหน้ากลุ่มในโรงเรียนเป็นประจำาทุก
เดือนผ่านทาง Email หรือ โทรศัพท์
• นิเทศโรงเรียนทุกภาคเรียน
การรายงานผล
• แต่ละโรงเรียนเขียนรายงานสั้น ๆ ประจำาแต่ละ
เดือน ส่งไปยังศึกษานิเทศก์
• ศึกษานิเทศก์สรุปรายงานประจำาแต่ละเดือนแล้ว
อัพโหลดขึ้นเครือข่ายสังคมออนไลน์ Facebook
• แต่ละโรงเรียนสรุปรายงานเพื่อนำาเสนอในวันที่
มีการประชุมพบปะ ในช่วงท้ายของภาคเรียน
รายงานฉบับนี้ต้องอัพโหลดขึ้น Facebook ด้วย
การวางแผน
สิ่งที่ต้องวางแผน
• เตรียมการอบรมขยายผล
• การส่งอีเมลล์ประจำาแต่ละเดือนของโรงเรียนและ
การโทรศัพท์ติดตาม
• การนิเทศโรงเรียน
• Magnifier day (การประชุมพบปะในช่วงท้ายของ
ภาคเรียน)
• Voice confident day (การประชุมพบปะในช่วง
ท้ายของปีการศึกษา)
การเตรียมตัวครูผู้สอนในการใช้
หลักสูตร Inspiring Science
• เตรียมการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการสำาหรับครู
วิทยาศาสตร์ชั้น ม.1-3 จาก 10 โรงเรียนในเขตพื้นที่
การศึกษาของท่าน
• ในการอบรมเชิงปฏิบัติการนำาเสนอหัวข้อต่อไปนี้
– หลักสูตร Inspiring Science
– เว็บไซต์ Inspiring Science สื่อ และแหล่งการเรียนการสอน
– วัฏจักรการเรียนรู้แบบ 5E และการสืบเสาะหาความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์
– สร้างกลุ่มครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน
– ศึกษารายละเอียดของหน่วยการเรียนรู้ทั้ง 4 หน่วย
– การสะท้อนความเข้าใจของแต่ละบุคคล
– การนิเทศแบบ Coaching (การสอนแนะ, การสอนงาน)
87
การสร้างกลุ่ม
• สร้างกลุ่มครูผู้สอนวิทยาศาสตร์โดยมีสมาชิกกลุ่มละ 2 คน
• ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ แต่ละกลุ่มศึกษาหน่วยการเรียนรู้ร่วม
กันและวางแผนเพื่อเตรียมตัวในการใช้หน่วยการเรียนรู้ทั้ง
ระหว่างการอบรมเชิงปฏิบัติการและเมื่อกลับไปปฏิบัติหน้าที่ใน
โรงเรียน
• เป็นคู่สะท้อนความคิด (ครู 2 คน) เพื่อให้เป็นผู้รับฟังและแลก
เปลี่ยนการสะท้อนความคิด
• จากกลุ่ม 4 คน กำาหนดการสอนแนะแบบจัตุรัส (coaching
square)
• รวมกลุ่มของแต่ละโรงเรียนรวมเป็นกลุ่มสังคมของผู้วิจัยปฏิบัติ
การ
88
การจับคู่สะท้อนความคิด
• ครูในแต่ละทีมจับคู่เพื่อเป็นคู่สะท้อนความคิด
• คู่สะท้อนความคิดสังเกตชั้นเรียนทุกเดือน (สังเกตให้ครบทั้งแผนการ
จัดการเรียนรู้) ในการสังเกตชั้นเรียนใช้คำาถามต่อไปนี้ในแต่ละขั้น
ของ 5E
– ผู้เรียนเรียนเข้าใจหรือไม่ว่าต้องทำาอะไร
– ผู้เรียนได้ทำาตามที่คาดหวังหรือไม่
– การช่วยเหลือของครูเพื่อให้เกิดการเรียนรู้มีประสิทธิภาพอย่างไร
– ประสิทธิภาพในการใช้คำาถามต่อผู้เรียนเป็นอย่างไร (คำาถามปลาย
เปิด)
– ประสิทธิภาพในการทำางานกลุ่มของผู้เรียนเป็นอย่างไร
– บรรลุเป้าหมายของการเรียนรู้หรือไม่
– ครูสอนในบริบท (บริบทของแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้) หรือไม่
– ครูกระตุ้นและส่งเสริมการเรียนการสอนที่ใช้การสืบเสาะหาความรู้
เป็นฐานหรือไม่ 89
• หลังจากการสังเกตชั้นเรียน คู่สะท้อนความคิดควรจะพูดคุยและ
ให้ข้อเสนอแนะ โดยใช้คำาถามต่อไปนี้
– การสอนบรรลุจุดประสงค์หรือไม่
– คุณคิดว่านักเรียนรู้สึกอย่างไรเกี่ยวกับบทเรียนนี้
– คุณรู้สึกอย่างไรเกี่ยวกับบทเรียนนี้
– สิ่งใดที่ดำาเนินไปได้ด้วยดี
– สิ่งใดที่ไม่ค่อยดีนัก
– จะปรับปรุงอย่างไรในการเรียนการสอนครั้งต่อไป
– การสอนดำาเนินไปได้ดีหรือไม่ อย่างไร
– มีเป้าหมายอย่างไรในเดือนต่อไป
• สลับกันถามโดยใช้คำาถามเดิม ควรจะบันทึกสิ่งที่สะท้อนออกมา
ใน logbook
90
การจับคู่สะท้อนความคิด (ต่อ)
Action Research Communities
• แต่ละโรงเรียนสร้างกลุ่มทำางานที่เรียกว่า (ARC)
• กระตุ้นให้สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มสะท้อนความ
คิด
• กระตุ้นให้ครูมีบทบาทสำาคัญและเป็นผู้ตัดสินใจ
ในรูปแบบหรือวิธีการพัฒนาวิชาชีพครูอย่างต่อ
เนื่อง (CPD) ด้วยกระบวนการวิจัยปฏิบัติการ
• พัฒนาความรู้และความเข้าใจในการวิจัยเชิง
ปฏิบัติการ ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของการพัฒนา
วิชาชีพครูวิทยาศาสตร์อย่างต่อเนื่อง
91
Action Research Approaches
• ครูแต่ละคนควรจะมีสมุดบันทึกที่เรียกว่า logbook เพื่อ
บันทึกกิจกรรม รวมทั้งร่องรอยหลักฐานต่าง ๆ เช่น
– รูปถ่าย
– ตัวอย่างชิ้นงานของนักเรียนในชั้นเรียน
– บันทึกและแผนการทำางานของแต่ละคน
• สามารถใช้เครื่องมือวิจัยดังต่อไปนี้
– อนุทินของผู้เรียน
– การสังเกต (ดูคำาถามหลังการสังเกตในหัวข้อการจับคู่สะท้อน
ความคิด)
– แบบสอบถาม
– ความการสะท้อนจากเพื่อนร่วมงาน (การจับคู่สะท้อนตคิด)
– การสัมภาษณ์ผู้เรียน หรือการสัมภาษณ์กลุ่ม 92
คำาถามสำาหรับการเขียนอนุทินของผู้
เรียน
• วันนี้นักเรียนได้เรียนรู้อะไร
• นักเรียนได้พัฒนาทักษะอะไรบ้าง
• อะไรบ้างที่นักเรียนรู้สึกเพลิดเพลิน
• อะไรบ้างที่นักเรียนไม่เข้าใจ
• มีประเด็นอื่นอะไรบ้างที่นักเรียนชอบในบทเรียนนี้
• คำาถามเหล่านี้สามารถใช้เป็นคำาถามในการสัมภาษณ์ราย
บุคคลและกลุ่มได้ด้วย 
93
แบบสอบถามสำาหรับผู้เรียน
ประเด็น เห็นด้วย
อย่างยิ่ง
เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย
อย่างยิ่ง
ฉันรู้สึก
เพลิดเพลิน
กับ...............
ฉันได้พัฒนา
ทักษะ..........
ฉันได้เรียนรู้
ว่า .........
ฉันเข้าใจ
ว่า.............
ฉันได้มีส่วน
ร่วมในการ
ทำางานกลุ่มได้
ดี
เมื่อ................
94
วัฏจักรการวิจัยปฏิบัติการ
95
Press Conference
Thailand
Inspiring Science Workshop
International Science, Mathematics and
Technology Education Conference 2013
Thailand
Inspiring Science Workshop
for ASEAN Community
Malaysia
Inspiring Science Workshop
for ASEAN Community
Thailand ,Cambodia & Myanmar
Inspiring Science Workshop
for ASEAN Community
Creating a Facebook Page
http://www.facebook.com/InspiringScienceThailand
รายละเอียดสำาหรับการ
ติดต่อ
ติดต่อคณะทำางานโครงการ
Inspiring Science ที่
inspiring_science@hotmail.com

Contenu connexe

Tendances

Best practices
Best practicesBest practices
Best practices
thkitiya
 
บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydl
บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydlบทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydl
บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydl
panida428
 
สังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียนสังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียน
Wiparat Khangate
 
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
ดอกหญ้า ธรรมดา
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
Kobwit Piriyawat
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
Jiraprapa Suwannajak
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
tyehh
 
1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร
sasiton sangangam
 

Tendances (20)

Best practices
Best practicesBest practices
Best practices
 
บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydl
บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydlบทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydl
บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydl
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
สังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียนสังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียน
 
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
 
งานคอม (1)
งานคอม (1)งานคอม (1)
งานคอม (1)
 
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตรความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
 
ส่วนที่ ๔
ส่วนที่  ๔ส่วนที่  ๔
ส่วนที่ ๔
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอน
 
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
 
จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่  6จุดเน้นที่  6
จุดเน้นที่ 6
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
 
1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร
 

Similaire à Inspiring science train the trainers 2013 (thai)

ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
Jiramet Ponyiam
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
Pitsiri Lumphaopun
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8 ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8
Fary Love
 
กุลนันท์
กุลนันท์กุลนันท์
กุลนันท์
Fary Love
 
ใบงาน2 8
ใบงาน2 8ใบงาน2 8
ใบงาน2 8
Fary Love
 
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
tassanee chaicharoen
 
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียนขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
yana54
 
จุดเน้นที่ 3
จุดเน้นที่ 3จุดเน้นที่ 3
จุดเน้นที่ 3
Suwakhon Phus
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
krupornpana55
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56
krupornpana55
 

Similaire à Inspiring science train the trainers 2013 (thai) (20)

ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
lertlah
lertlahlertlah
lertlah
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8 ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
กุลนันท์
กุลนันท์กุลนันท์
กุลนันท์
 
ใบงาน2 8
ใบงาน2 8ใบงาน2 8
ใบงาน2 8
 
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
 
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียนขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
 
จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่ 6จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่ 6
 
จุดเน้นที่ 3
จุดเน้นที่ 3จุดเน้นที่ 3
จุดเน้นที่ 3
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
วิชาการ
วิชาการวิชาการ
วิชาการ
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56
 
จุดเน้นที่ 6 ใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนการสอนระดับห้องเรียนตามมาตรฐานห้...
จุดเน้นที่  6 ใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนการสอนระดับห้องเรียนตามมาตรฐานห้...จุดเน้นที่  6 ใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนการสอนระดับห้องเรียนตามมาตรฐานห้...
จุดเน้นที่ 6 ใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนการสอนระดับห้องเรียนตามมาตรฐานห้...
 
Utq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdfUtq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdf
 

Plus de ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข

Plus de ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข (20)

สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
 
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 

Inspiring science train the trainers 2013 (thai)

Notes de l'éditeur

  1. 82-102