SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  102
Télécharger pour lire hors ligne
‘Train the Trainers’
Workshop Year 2
จุดประสงค์
เมื่อสิ้นสุดการอบรมเชิงปฏิบัติการผู้เข้าร่วมอบรมสามารถ
1. เข้าใจปรัชญาและแนวปฏิบัติที่สาคัญของโครงการ inspiring science ซึ่ง
ประกอบด้วย
-การจัดการเรียนการสอนที่ใช้บริบทเป็นฐาน
-วัฏจักรการเรียนรู้แบบ 5E
* การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่มีการชี้แนะแนวทาง
* รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบคอนสตรัคติวิสต์
-การจัดการเรียนการสอนแบบกระตืนรือร้น
-การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
2. นาสื่อการเรียนรู้ ไปใช้เป็นแนวปฏิบัติในการจัดการเรียนการสอนตามหลักปรัชญา
Inspiring science
จุดประสงค์ (ต่อ)
• กาหนดแผนปฏิบัติการเพื่อจัดการฝึกอบรมและติดตามช่วยเหลือครูผู้เข้าร่วม
โครงการ 2 คนจาก 10 โรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษา
• จัดฝึกอบรมครูอย่างน้อย 20 คนในเขตพื้นที่การศึกษาโดยใช้สื่อการเรียนรู้ที่มีปรัชญา
และแนวปฏิบัติตามโครงการ Inspiring science
• ให้ความช่วยเหลือติดตามครูที่ผ่านการอบรมด้วยกระบวนการ
– monitoring
– coaching and mentoring
– คู่สะท้อนความคิด
– สร้างกลุ่มการวิจัยปฏิบัติการ
– นิเทศโรงเรียน
– จัดการประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
กำหนดกำรโครงกำรอบรม
วันที่ 1
• แนะนาโครงการ Inspiring science หลักปรัชญาและแนวปฏิบัติ
ของโครงการ
• ทากิจกรรมหน่วย “ไอศครีม (Ice cream unit)”
วันที่ 2
• ทากิจกรรม “ค่ายดาราศาสตร์ (astro camp)”
• ทากิจกรรม “การออกแบบบ้านพักตากอากาศ (Resort Design)”
วันที่ 3
• ทากิจกรรมหน่วย “กล้วยไม้ไทย (The Orchid unit)”
• หน้าที่และความรับผิดชอบ การวางแผนปฏิบัติการเพื่อ
ขยายผลและติดตามช่วยเหลือในเขตพื้นที่การศึกษา
• สร้างกลุ่มเครือข่ายในเฟสบุค
กำหนดกำรโครงกำรอบรม (ต่อ)
Session 1:
แนะนำโครงกำร
Inspiring Science
องค์ประกอบสำคัญ
กำรพัฒนำ
หลักสูตร
กำรพัฒนำ
ศักยภำพ
การให้ความช่วยเหลือ
แบบยั่งยืนเพื่อการา
จัดการเรียนการสอน
วิทยาศาสตร์
เป้ ำหมำยของโครงกำร Inspiring Science
• พัฒนา กลุ่มครูวิทยาศาสตร์ นักการศึกษา
และบุคลากรสังกัด สพฐ. ให้เป็นผู้เชี่ยวชาญ
ด้านการพัฒนาหลักสูตร
• พัฒนำสื่อกำรสอนที่มีคุณภำพสูงรวมทั้ง
เว็บไซต์ ทั้งภำษำไทยและภำษำอังกฤษเพื่อ
สนับสนุนกำรจัดกำรเรียนกำรสอน
วิทยำศำสตร์ในระดับชั้น ม.1-ม.3
• ขยำยผลสื่อสอนไปทั่วประเทศด้วย
กระบวนกำรพัฒนำวิชำชีพครู
• พัฒนำศักยภำพทำงวิทยำศำสตร์ กำรทำงำน
เป็นกลุ่ม กำรแก้ปัญหำ กำรสื่อสำร ควำม
เป็นผู้นำ ไอซีที และทักษะกำรคิดของ
นักเรียนทั่วประเทศ ซึ่งจะกลำยเป็น
ทรัพยำกรบุคคลของประเทศในอนำคต
สนับสนุนกำรพัฒนำวิชำชีพครู
วิทยำศำสตร์
• การจัดการเรียนการสอนที่ใช้บริบทเป็นฐาน
• การจัดการเรียนการสอนที่ใช้การสืบเสาะเป็นฐาน
• การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
• วัฏจักรการเรียนรู้แบบ 5E
• การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
• ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์
• การพัฒนาทักษะสาคัญต่าง ๆ
• การพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาน และการคิด
สร้างสรรค์
• การพัฒนาทักษะ ICT
• การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์โดยใช้
ภาษาอังกฤษ
กำรพัฒนำศักยภำพ
• พัฒนา กลุ่มครูวิทยาศาสตร์ นักการศึกษา และบุคลากรสังกัด สพฐ. จานวน 40 คน ให้เป็นผู้เชี่ยวชาญด้าน
การพัฒนาหลักสูตร ที่สามารถสร้างสื่อประกอบหลักสูตรแบบใช้บริบทเป็นฐาน
– ‘backwards design’
– หน่วยการเรียนรู้ที่มีบริบทเรื่องราว
– การจัดการเรียนรู้ที่ใช้การสืบเสาะเป็นฐาน
– การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
– การวัดผลตามสภาพจริง
– การวัดสมรรถนะตามสภาพจริง
– เน้นทักษะสาคัญ/การพัฒนาศักยภาพของบุคคล
– การคิดอย่างมีวิจารณญานและการคิดสร้างสรรค์
– การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผ่านวัฏจักรการเรียนรู้แบบ 5E
• อบรมปฏิบัติการเพื่อสร้างสื่อประกอบหลักสูตร 3 ครั้งต่อปี
• ดาเนินกระบวนการเป็นขั้นตอน
• กลุ้มผู้เขียนจะได้รับการพัฒนาอย่างยั่งยืนตลอด 3 ปี ของโครงการ
สื่อกำรสอนสื่อการสอนที่มีคุณภาพเพื่อส่งเสริมการเรียนการสอนในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ที่
ประกอบด้วย,
• PPT สาหรับครูเพื่อใช้ในการดาเนินการสอนในแต่ละแผนผ่านบริบทการเรียนรู้ โดยใช้
รูปแบบการเรียนรู้แบบ 5E
• มีวีดิโอคลิปประกอบ
• มีใบงานสาหรับผู้เรียน
• มีคู่มือครูที่มีรายละเอียดเพื่อช่วยครูในการเรียนการสอนแบบ 5E ที่ประกอบด้วย
– การใช้วีดีโอคลิปในห้องเรียน
– การอ้างอิง/เชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์
– การเตรียมตัวสอน
• การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
• การวัดผลตามสภาพจริง
• การวัดผลการเรียน
หน่วยกำรเรียนรู้
• ครอบคลุมหลักสูตร
• ประกอบด้วย 4 แผนการเรียนรู้ โดยจะมี 1 แผน ที่เน้น การสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์
• 4 context-based learning episodes (one of which is a scientific enquiry)
• มีสื่อการเรียนรู้ที่ประกอบด้วย
– PPT
– วีดิโอคลิป
– คู่มือครูในระดับหน่วยการเรียนรู้และ
แผนการจัดการเรียนรู้
– ใบกิจกรรมสาหรับผู้เรียน
• การบ้าน (กิจกรรมนอกเวลาเรียน)
• แบบทดสอบ
• วีดิโอเพื่อช่วยในการพัฒนาวิชาชีพครู
Website
• Home page
• Resources
– Strand
– Unit
• Student
• Gallery
• Support
• http://212.84.74.159/~inspirin/
กำรอบรมขยำยผล
• มีสื่อการอบรมที่มีคุณภาพรวมทั้งวีดิโอคลิปประกอบ
• การอบรมวิทยากรแกนนา
• อบรมขยายผล ศึกษานิเทศก์และครูวิทยาศาสตร์ จากเขตพื้นที่การศึกษา 225
เขต
– แนะนารูปแบบการสอน
– แนะนาสื่อการสอนและเว็บไซต์
– ยุทธวิธีในการสอนแนะ การจับคู่สะท้อนคิด การสร้างกลุ่มวิจัยปฏิบัติการ
– หน้าที่และความรับผิดชอบของวิทยากรแกนนา
• การขยายผลที่ดาเนินการโดยวิทยากรแกนนาสาหรับโรงเรียนในเขตพื้นที่
การศึกษา อย่างน้อย 10 โรง โดยใช้สื่อการสอนและเว็บไซต์
กำรติดตำมช่วยเหลือ
• ศึกษานิเทศก์/วิทยากรแกนนา ติดตามให้ความช่วยเหลือผู้เข้าร่วม
อบรมโดย
– ส่ง Email และโทรศัพท์ทุกเดือน
– นิเทศโรงเรียนภาคเรียนละ 1 ครั้ง
– ประชุมกลุ่มครูที่ผ่านการอบรมภาคเรียนละ 1 ครั้ง
– ถามตอบผ่านเครือข่ายใน Facebook
– ส่รายงานการดาเนินงานของเขตพื้นที่การศึกษาและโรงเรียน
ผ่านเว็บไซต์
• การช่วยเหลือสนับสนุนในโรงเรียน
– แผนปฏิบัติการและการเตรียมความพร้อมในกลุ่ม
– การจับคู่สะท้อนคิด
– จัดประชุมเพื่อดาเนินการ coaching/mentoring เดือนละครั้ง
– กลุ่มวิจัยปฏิบัติการ
– ส่งรายงานไปยังศึกษานิเทศก์ปีละครั้ง
• การวิจัยเพื่อศึกษาสภาพก่อนดาเนินการโครงการ
• การอบรมปฏิบัติการเพื่อสร้างสื่อประกอบหลักสูตร
• การทดลองใช้สื่อการเรียนรู้
• การอบรมขยายผลสาหรับวิทยากรแกนนา
• การนาไปใช้และการ embedding
• การนาไปใช้จะส่งผลต่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่องของโครงการ
กำรประเมินผล
กำรจัดกำรเรียนกำรสอนอย่ำงมีบริบท
• ใช้บริบทจากชีวิตจริงที่เหมาะสม
• สอนแนวคิดวิทยาศาสตร์ให้เชื่อมโยง
กับนักเรียน
• สอนให้เชื่อมโยงระหว่างแนวคิด
วิทยาศาสตร์
• บริบทที่ใช้จะบูรณาการเข้าไปเป็นส่วน
หนึ่งของประสบการณ์การเรียนรู้
มากกว่าจะเป็นเพียงการสร้างความ
สนใจเท่านั้น
บริบทกำรเรียนรู้
• แนวคิดที่เชื่อมโยงกับบริบทจะทาให้ผู้เรียน
เรียนรู้อย่างมีความหมายมากขึ้นและ
ส่งเสริมให้ผู้เรียนสร้างแผนผังความคิดที่มี
ความเชื่อมโยงมากขึ้น
• บริบทที่มีความเชื่อมโยง และเป็นของจริง
กระตุ้นการให้เกิดการพัฒนาการสื่อสาร
ทางวิทยาศาสตร์และส่งเสริมความสงสัยใฝ่
รู้และการสืบเสาะหาความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์
เพรำะเหตุใดจึงต้องใช้กำรเรียนกำรสอนแบบกระตือรือร้น
• นักเรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้
• พัฒนาความเข้าใจแนวคิดมากขึ้น
• กระตุ้นรูปแบบการเรียนที่หลากหลายของผู้เรียน
• พัฒนาศักยภาพและทักษะสาคัญของแต่ละบุคคล
• เพิ่มแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์และความสนใจ
• กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้
ลักษณะของกำรเรียนกำรสอนแบบกระตือรือร้น
• การทางานเป็นกลุ่ม
• เน้นการเรียนเรียนรู้แบบความร่วมมือ
• การเรียนรู้แบบใช้แหล่งเรียนรู้เป็นฐาน
• นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง
• ครูมีบทบาทเป็นผู้ให้ความช่วยเหลือ
• แนวคิดและการทางานเป็นของผู้เรียน
• ให้ความสาคัญกับทักษะกระบวนการ
• ความมีวินัยในตนเอง
• ผู้เรียนมีบทบาทเป็นแหล่งความรู้และแนวคิด
• ผู้เรียนมีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการการเรียน
• ผู้เรียนมีส่วนเกี่ยวข้องในการเรียนอย่างกระตือรือร้น
• ใช้รูปแบบการเรียนรู้อย่างหลากหลาย
รูปแบบกำรเรียนกำรสอนที่หลำกหลำย
• Active reading
• Active writing
• Group discussion
• Simulation
• Models
• Investigation
• Experiment
• ICT
กำรจัดกำรเรียนกำรสอนที่ใช้กำรสืบเสำะเป็นฐำน
• ผู้เรียนสร้างความเข้าใจโดยใช้ทักษะด้านการคิดและลงมือปฏิบัติเพื่อรวบรวม
หลักฐานเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติทั้งที่เกิดขึ้นเองและมนุษย์สร้างขึ้น
• การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นกิจกรรมที่มีหลายมิติประกอบด้วย
- การสังเกต
- การตั้งคาถาม
- การค้นคว้าจากหนังสือหรือแหล่งข้อมูลอื่น เพื่อศึกษาความรู้ที่มีการค้นพบแล้ว
- การวางแผนการสารวจตรวจสอบ การตรวจสอบความรู้ที่ค้นพบแล้วโดยเน้นหลักฐาน
จากการทดลอง
- ใช้เรื่องมือในการรวบรวมวิเคราะห์และตีความข้อมูล
- การนาเสนอคาตอบ คาอธิบาย และการทานายผล การสื่อสารผลที่ได้
สิ่งที่จำเป็นต่อกำรสืบเสำะหำควำมรู้
- การระบุสมมติฐาน
- การคิดเชิงวิภากษ์
- การคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผล
- การพิจารณาคาอธิบายอื่นที่อาจเป็นไปได้
กำรผนวกกำรสืบเสำะเข้ำกับ 5E
• การผนวกเอาการสืบเสาะแบบมีการ
แนะนา เข้ากับ วัฐจักรการเรียนรู้
แบบ 5E
• ขั้นสร้างความสนใจ (Engage)
• ขั้นสารวจ (Explore)
• ขั้นอธิบาย (Explain)
• ขั้นขยายความรู้ (Elaborate)
• ขั้นประเมินผล (Evaluate)
ขั้นสร้ำงควำมสนใจ
• แนะนาบริบทที่เกี่ยวข้อง
• กาหนดเหตุการณ์สาหรับบทเรียน
• ชี้ให้เห็นประเด็นของการเรียนรู้
• ริเริ่มให้เกิดความอยากรู้อยากเห็นใน “แนวคิดหลัก”
• ดึงแนวคิดของผู้เรียนที่มีอยู่แล้ว
• ช่วยผู้เรียนค้นหาสิ่งที่รู้แล้ว และสิ่งที่เป็นแนวคิดคลาดเคลื่อน
• บอกผู้เรียนว่าต้องเริ่มสร้างความเข้าใจจากจุดใด
ขั้นสำรวจ
• น่าจะเป็นขั้นที่สาคัญที่สุด
• ผู้เรียนสร้างความเข้าใจในแนวคิดจากประสบการณ์ตรง
• เริ่มให้คาตอบของคาถามสาคัญ ยกตัวอย่างเช่น
• ออกแบบการทดลองเพื่อสารวจตรวจสอบปรากฏการณ์ที่ไม่สามารถอธิบายได้
• ค้นพบแบบรูป
• ออกแบบวิธีการแก้ไขปัญหา
• ทั้งนี้ไม่ได้หมายความว่า ผู้เรียนต้องค้นพบทุกอย่างด้วยตัวเอง ผู้เรียนสามารถ
ได้รับ
• คาแนะนา
• ข้อมูลที่สาคัญและเทคนิคต่างๆ เพื่ออานวยให้เกิดการเรียนรู้
• สิ่งที่สาคัญที่สุดคือ ผู้เรียนมีความเป็นเจ้าของในกระบวนการและผลลัพธ์ อย่างมีนัยสาคัญ
• ผู้เรียนควรมีความสามารถในการต่อยอดความคิดที่มีอยู่เดิม
ขั้นอธิบำย
• ขั้นนี้จะเกี่ยวข้องกับการสนันสนุนจากผู้สอน โดยเมื่อผู้เรียนได้สร้างความเข้าใจใน
แนวคิดได้มากเท่าที่จะทาได้แล้ว ขั้นนี้จะเสริมสร้างแนวคิดให้มีระเบียบแบบแผน
จาก
• คาศัพท์เฉพาะ
• คานิยาม
• แบบจาลอง
• ความคล้ายคลึง
• ผู้สอนควรให้ผู้เรียนสร้างคาอธิบายและเสริมสร้างแนวคิดผ่านการสะท้อนคิดถึงสิ่งที่
ได้ค้นพบจากขั้นสารวจ โดยใช้ลาดับคาถามอย่างระมัดระวัง
• ถ้าจาเป็น ผู้สอนสามารถเพิ่มแนวคิดอื่นๆ ผ่านขั้นต่างๆ เช่นเดิม กล่าวคือ ขั้น
สารวจ → ขั้นอธิบาย → ขั้นสารวจ → ขั้นอธิบาย
ขั้นขยำยควำมรู้
• รวบรวมความเข้าใจในแนวคิดเข้าด้วยกัน ให้มีความลึกซึ้ง
และครอบคลุม โดยให้ฝึกประยุกต์ใช้ความเข้าใจในแนวคิด
• ให้ปัญหากับผู้เรียน เพื่อให้รู้ซึ้งถึงแนวคิดหลักในสภาพ
ความเป็นจริง
• การทาเช่นนี้จะทาให้ง่ายต่อการบ่งบอกว่าจะใช้แนวคิดหลัก
อย่างไร
ขั้นประเมินผล
• การประเมินผ่านวิธีการและภาระงานต่างๆ
• ควรมีในตอนท้ายของแต่ละขั้น เพื่อตรวจสอบพัฒนาการ
ของความเข้าใจในผู้เรียน ซึ่งก็คือ การประเมินเพื่อปรับปรุง
การเรียนการสอน (formative assessment)
• เมื่อกระทาในตอนท้ายของหน่วยการเรียนรู้ มักจะทาเพื่อ
ตัดสินผลการเรียน กล่าวคือ เพื่อวัดความรู้ความสามารถ
ของผู้เรียน
กระบวนกำรสืบเสำะหำควำมรู้
เชิงวิทยำศำสตร์
• การตั้งคาถาม
• การระบุตัวแปรต่างๆ
• การระบุตัวแปรอิสระ
• การตั้งสมมติฐาน
• การวางแผน
• การดาเนินการ
• การวัด
• การเก็บรวบรวมข้อมูล
• การวิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูล
• การสร้างข้อสรุป
• การประเมินประจักษ์พยาน
• การสื่อสาร
กำรสนับสนุนกระบวนกำรสืบเสำะหำควำมรู้
• หนึ่งกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ต่อ
หนึ่งหน่วยการเรียนรู้
• คาถามชี้นา
• การเสริมต่อการเรียนรู้
• ใบวางแผนงาน
• จุดเริ่มต้นที่แตกต่างกัน
• คาแนะนาเพิ่มเติมในคู่มือครู
ข้อแนะนำเพื่อควำมสำเร็จ
• พัฒนาทักษะกระบวนการ และนามาใช้ในการสืบเสาะหาความรู้เชิงวิทยาศาสตร์
• ให้เริ่มจากการสารวจตรวจสอบแบบ “ปิด” โดยให้คาตอบของคาถามชี้นาต่างๆ แล้ว
จึงค่อยๆ จัดให้มีการสารวจตรวจสอบแบบ “เปิด” มากขึ้นเรื่อยๆ
• ในช่วงต้น ให้เน้นย้าเกี่ยวกับแนวคิดเรื่อง ‘Fair Test’ กล่าวคือ เมื่อเปลี่ยนสิ่งใดสิ่ง
หนึ่ง (ตัวแปรอิสระ) โดยจัดให้สิ่งอื่นๆ เหมือนกัน (ตัวแปรควบคุม) แล้วจึงวัดสิ่งที่
สนใจศึกษา (ตัวแปรตาม)
• กระตุ้นให้ผู้เรียนพัฒนาจิตวิทยาศาสตร์ประการหนึ่ง นั่นคือ เมื่อเปลี่ยนตัวแปรอิสระ
ซึ่งต้องสามารถวัดได้ ต้องควบคุมตัวแปรควบคุมอย่างสามารถวัดได้เช่นกัน
• กระตุ้นให้มีการวางแผนเพื่อให้เกิดความแม่นยาและมีความน่าเชื่อถือ
กำรพัฒนำทักษะสำคัญ
• การทางานเป็นทีม
• การแก้ปัญหา
• ภาวะความเป็นผู้นา
• การสื่อสาร
• การคิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่าง
สร้างสรรค์
• ไอซีที
Session 2:
ตัวอย่ำงของปรัชญำและแนวคิดของ
Inspiring Science
Sessions 3 and 4
บริบท
• นักเรียนช่วยคุณแพรวพรรณและเพื่อขอเธอจัดเตรียมร้านไอศครีมบนเกาะเสม็ด
• พวกเขาจะใช้บริบทนี้ในการศึกษาสมบัติของของแข็ง ของเหลว และแก๊ส รวมทั้ง
สมบัติในระดับ macroscopic ของแบบจาลองอนุภาคเหล่านี้
• นักเรียนจะได้รู้จักคอลลอยด์ผ่านการศึกษาส่วนประกอบต่างๆ ในอาหาร รวมทั้ง
สมบัติของคอลลอยด์และสารแขวนลอย
• นักเรียนทาการสืบเสาะการใช้ประโยชน์และหน้าที่ของอิมัลซิฟายเออร์
(emulsifiers)
• แผนการจัดการเรียนรู้สุดท้าย นักเรียนออกแบบการนาเสนอความรู้และผลการ
ค้นคว้าที่ได้ศึกษาเพื่อดึงดูดผู้บริโภคสนใจไอศครีมของทางร้าน
เนื้อหำ
สำระที่ 3 สำรและสมบัติของสำร
มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและ
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสาร
สิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิด
สารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสาร
สิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหา
ความรู้ การแก้ปัญหา
รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้น ส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและ
ตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 2
.
กำรสะท้อนควำมคิด
• บริบทของแผนการจัดการเรียนรู้นี้คืออะไร
• เราจะสร้างความสนใจแก่นักเรียนได้อย่างไร
• เราจะดึงความรู้เดิมของนักเรียนได้อย่างไร
• นักเรียนสารวจและเริ่มต้นพัฒนาความคิดเกี่ยวกับแนวคิดทางวิทยาวิทยาศาสตร์ที่สาคัญได้
อย่างไร
• นักเรียนและครูจะอธิบายคว่ามคิดของเขาได้อย่างไร
• นักเรียนจะขยายความคิดได้อย่างไร
• นักเรียนจะประเมินผลความเข้าใจของตัวเองได้อย่างไร
• แนวคิดทางวิทยาศาสตร์ที่สาคัญและทักษะที่ถูกพัฒนาในแผนการจัดการเรียนรู้คืออะไร
• การสอนแบบเชิงรุกและแนวคิดในการเรียนรู้ที่นามาใช้คืออะไร
• ครูจะช่วยนักเรียนให้เรียนรู้แบบสืบเสาะได้อย่างไร
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้อื่นๆ
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 1: เตรียมเปิดร้ำน
นักเรียนได้รับการเชิญชวนให้เปิดร้านขาย
ของริมชายหาดบนเกาะเสม็ด และช่วยกัน
เสนอว่าควรจะขายอาหารและเครื่องดื่ม
ประเภทไหน เพื่อนาเข้าสู่ประเด็นการ
จัดเก็บสิ่งของในร้านตามสถานะของสาร
(ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส) และอธิบาย
ความแตกต่างของแต่ละสถานะ โดยการใช้
แบบจาลองการจัดเรียงอนุภาคของสาร
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้อื่นๆ (ต่อ)
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 3:
เก็บร้ำน ทำควำมสะอำด
นักเรียนจะต้องหาวิธีที่เหมาะสม
ในการล้างภาชนะที่สกปรกจากสาร
ในกลุ่มที่ไม่ลายน้า เช่น ไขมันและ
โปรตีน ซึ่งจะทาให้นักเรียนได้เข้าใจ
สมบัติและหน้าที่ของสารที่เป็น
อิมัลซิไฟเออร์ที่ดีซึ่งสามารถใช้ล้าง
ภาชนะเหล่านั้นได้
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้อื่นๆ (ต่อ)
ตอน4 ป้ำยติดกำแพง
ให้นักเรียนสังเครำะห์ควำมเข้ำใจ และ
แสดงออกมำเพื่อที่จะดึงดูด และ
ครอบคลุมหัวข้อสำคัญเพื่อที่จะให้
ผู้อ่ำนหลำยๆวัยเกิดควำมเข้ำใจ
ทบทวนแผนกำรจัดกำรเรียนรู้อื่นๆ
• ให้สมาชิกในกลุ่มร่วมกันทบทวนแผนการจัดการเรียนรู้อื่นๆใน
หน่วยการเรียนรู้นี้
• จัดเอกสารในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้อย่างมีระบบทีละ
ขั้นตอน โดยวางคู่มือครูไว้ข้างหน้า วางสไลด์ไว้ด้านซ้ายและวาง
ใบกิจกรรมของนักเรียนไว้ด้านขวา
• เขียนรายการความคิดเห็น คาถามหรือข้อเสนอแนะ
ข้อควรจำ
• บริบทของแผนการจัดการเรียนรู้นี้คืออะไร
• เราจะสร้างความสนใจแก่นักเรียนได้อย่างไร
• เราจะดึงความรู้เดิมของนักเรียนได้อย่างไร
• นักเรียนสารวจและเริ่มต้นพัฒนาความคิดเกี่ยวกับแนวคิดทางวิทยา
วิทยาศาสตร์ที่สาคัญได้อย่างไร
• นักเรียนและครูจะอธิบายคว่ามคิดของเขาได้อย่างไร
• นักเรียนจะขยายความคิดได้อย่างไร
• นักเรียนจะประเมินผลความเข้าใจของตัวเองได้อย่างไร
• แนวคิดทางวิทยาศาสตร์ที่สาคัญและทักษะที่ถูกพัฒนาในแผนการจัดการ
เรียนรู้คืออะไร
• การสอนแบบเชิงรุกและแนวคิดในการเรียนรู้ที่นามาใช้คืออะไร
• ครูจะช่วยนักเรียนให้เรียนรู้แบบสืบเสาะได้อย่างไร
งำนที่มอบหมำย
• ใช้ดีวีดีที่ได้รับเพื่อทบทวนในบทวัฐจักรหิน
• ขั้นแรกอ่านข้อแนะนาและดูในแต่ละตอน อ่าน
คู่มือครูเป็นขั้นๆ แผ่นสไลด์ ใบกิจกรรม และ
สุดท้ายให้ดูการบ้านกิจกรรมและคาถามตอบ
ทาข้อแนะนาเป็นข้อๆ และคาถามที่สงสัย
ข้อควรจำ
• บริบทของแผนการจัดการเรียนรู้นี้คืออะไร
• เราจะสร้างความสนใจแก่นักเรียนได้อย่างไร
• เราจะดึงความรู้เดิมของนักเรียนได้อย่างไร
• นักเรียนสารวจและเริ่มต้นพัฒนาความคิดเกี่ยวกับแนวคิดทางวิทยา
วิทยาศาสตร์ที่สาคัญได้อย่างไร
• นักเรียนและครูจะอธิบายคว่ามคิดของเขาได้อย่างไร
• นักเรียนจะขยายความคิดได้อย่างไร
• นักเรียนจะประเมินผลความเข้าใจของตัวเองได้อย่างไร
• แนวคิดทางวิทยาศาสตร์ที่สาคัญและทักษะที่ถูกพัฒนาในแผนการจัดการ
เรียนรู้คืออะไร
• การสอนแบบเชิงรุกและแนวคิดในการเรียนรู้ที่นามาใช้คืออะไร
• ครูจะช่วยนักเรียนให้เรียนรู้แบบสืบเสาะได้อย่างไร
Day 2: Sessions 1 and 2
บริบท
ในค่ายดาราศาสตร์ กลุ่มของนักเรียน Make, Win and Earth ไปยัง
ค่ายพิเศษเพื่อเรียนดาราศาสตร์ นักเรียนเหล่านี้โชคดีที่ได้ทางานกับ Dr.
Sunny, นักดาราศาสตร์ที่หอดูดาวสิริธร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เขาให้
นักเรียนทางานเพื่อทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับจักรวาล บทนี้นา
กิจกรรมเข้าสู่โรงเรียนซึ่งสามารถจัดค่ายดาราศาสตร์เพื่อให้นักเรียน
– ดูวิวัฒนาการของจักรวาลและแกแลกซี่
– สร้างแบบจาลองระบบสุริยะ
– สารวจความเร็วการเคลื่อนที่ของดวงดาว
– พิจารณาผลกระทบของอุกาบาตขนาดใหญ่ต่อโลก
เนื้อหำ
มาตรฐาน
ว 7.1 เข้าใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซีและเอกภพ การ
ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ และผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก มี
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่
เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ว 7.1 ม. 3/2 สืบค้นและอธิบายองค์ประกอบของเอกภพ กาแล็กซี
และ ระบบสุริยะ
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 4
.
กำรสะท้อนควำมคิด
• อะไรคือบริบทของตอนนี้
• นักเรียนมีส่วนร่วมอย่างไร
• แนวคิดเริ่มแรกของนักเรียนเป็นอย่างไร
• นักเรียนสารวจและเริ่มพัฒนาแนวคิดเกี่ยวกับคา
สาคัญหลักอย่างไร
• นักเรียนและครูอธิบายแนวคิดอย่างไร
• แนวคิดถูกอธิบายเพิ่มเติมได้อย่างไร
• ความเข้าใจนักเรียนถูกประเมินอย่างไร
• อะไรเป็นคาหลักและทักษะที่ถูกพัฒนาในตอนนี้
• การเรียนการสอนแบบเชิงรุกอะไรที่ถูกนามาใช้
• นักเรียนจะถูกสนับสนุนผ่านการสืบเสาะได้อย่างไร
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้อื่นๆ
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 1: เอกภพ
• Make, Win and Earth มาถึงหอดู
ดาว และพบกับ Dr. Sunny. เขา
แนะนานักเรียนเพื่อทางานที่หอดู
ดาวและถามคาถาม ‘จักรวาลกว้าง
ขนาดไหน และประกอบด้วยอะไร
นักเรียนทางานเป็นกลุ่มเพื่อตอบ
คาถาม นักเรียนพัฒนาระบบเพื่อ
อธิบายแกแลกซี่อย่างง่าย
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้อื่นๆ (ต่อ)
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 2:ระบบสุริยะ
นักเรียนพัฒนาแบบจาลอง
ระบบสุริยะ และถ่ายทอด
ประสบการณ์ไปสู่นอกบทเรียนเพื่อ
ช่วยนักเรียนสร้างแบบจาลองที่ตรง
ตามสเกลของรบบสุริยะ เพื่อที่จะ
สร้างการวัดเพื่อสร้างแบบจาลอง
นักเรียนในกลุ่มจัดการเพื่อทาการ
ประมาณดาวเคราะห์ และใส่ใน
ตาราง ใช้ข้อมูลเหล่านี้ในการสร้าง
แบบจาลองขนาดใหญ่ของระบบ
สุริยะ
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้อื่นๆ (ต่อ)
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 3: วงโคจร
ดำวเครำะห์
• นักเรียนดาเนินการสารวจ การ
เคลื่อนตัวของดาวเคราะห์รอบดวง
อาทิตย์ ระยะเวลาการโคจรรอบ
ดวงอาทิตย์มีความสัมพันธ์กับ
ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ ใช้ข้อมูล
ดังกล่าวเพื่อจะทานายว่าในอนาคต
ดาวเคราะห์จะอยู่บริเวณใด
ทบทวนแผนกำรจัดกำรเรียนรู้อื่นๆ
• ในกลุ่มให้ทบทวนตอนอื่นๆ ในบทนี้
• ให้จาไว้ว่าจัดการเอกสารให้นักเรียนสามารถ
ผ่านแต่ละตอนแบบเป็นขั้นเป็นตอนตามคู่มือครู
สไลด์ทางซ้าย และใบกิจกรรมทางขวา
• ทาข้อแนะนาเป็นข้อๆ และเตรียมคาถามที่
สงสัย
ข้อควรจำ
• อะไรคือบริบทของตอนนี้
• นักเรียนมีส่วนร่วมอย่างไร
• แนวคิดเริ่มแรกของนักเรียนเป็นอย่างไร
• นักเรียนสารวจและเริ่มพัฒนาแนวคิดเกี่ยวกับคาสาคัญหลักอย่างไร
• นักเรียนและครูอธิบายแนวคิดอย่างไร
• แนวคิดถูกอธิบายเพิ่มเติมได้อย่างไร
• ความเข้าใจนักเรียนถูกประเมินอย่างไร
• อะไรเป็นคาหลักและทักษะที่ถูกพัฒนาในตอนนี้
• การเรียนการสอนแบบเชิงรุกอะไรที่ถูกนามาใช้
• นักเรียนจะถูกสนับสนุนผ่านการสืบเสาะได้อย่างไร
วันที่ 2: Sessions 3 and 4
บริบท
นักเรียนจะได้รับบทบาทเป็นนักวิจัยทางานด้านการออกแบบบ้านพักตาก
อากาศที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมสาหรับประเทศไทย โดยนักเรียนได้รับมอบหมาย
งานจากคุณ สุธี เกศศิริ กรรมการผู้จัดการบริษัท Bangkok House Builder จากัด
ซึ่งนักเรียนจะต้องทาการศึกษาเกี่ยวกับวัสดุและการออกแบบบ้านพักตากอากาศด้วย
การเน้นความสาคัญด้านอุณหภูมิของตัวอาคารที่สร้างขึ้น ในหน่วยการเรียนรู้นี้
นักเรียนจะต้องทาการสารวจตรวจสอบทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับคุณสมบัติของวัสดุที่
ใช้สร้างบ้านและประยุกต์ความรู้ความเข้าใจที่ได้เข้ากับบริบทตามสภาพแวดล้อมจริง
เนื้อหำ
สำระที่ 5 : พลังงำน
มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูป
พลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม
มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด
ว. 5.1 ม. 1/1 ทดลองและอธิบายอุณหภูมิและการวัดอุณหภูมิ
ว. 5.1 ม. 1/2 สังเกต และอธิบายการถ่ายโอนความร้อน และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ว. 5.1 ม. 1/3 อธิบายการดูดกลืน การคายความร้อน โดยการแผ่รังสีและความรู้ไปใช้
ประโยชน์
ว. 5.1 ม. 1/4 อธิบายสมดุลความร้อนและผลของความร้อนต่อการขยายตัวของสาร
และนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 3
กำรสะท้อนควำมคิด
• บริบทของแผนการจัดการเรียนรู้นี้คืออะไร
• เราจะสร้างความสนใจแก่นักเรียนได้อย่างไร
• เราจะดึงความรู้เดิมของนักเรียนได้อย่างไร
• นักเรียนสารวจและเริ่มต้นพัฒนาความความคิดเกี่ยวกับแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ที่สาคัญได้อย่างไร
• นักเรียนและครูจะอธิบายความคิดของเขาได้อย่างไร
• นักเรียนจะขยายความคิดได้อย่างไร
• นักเรียนจะประเมินผลความเข้าใจของตนเองได้อย่างไร
• แนวคิดทางวิทยาศาสตร์ที่สาคัญและทักษะที่ถูกพัฒนาในแผนการจัดการเรียนรู้นี้
คืออะไร
• การสอนแบบเชิงรุกและแนวคิดในการเรียนรู้ที่นามาใช้คืออะไร
• ครูจะช่วยนักเรียนให้เรียนรู้แบบสืบเสาะได้อย่างไร
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้อื่นๆ
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 1: สร้ำงผนัง
• นักเรียนจะศึกษาเกี่ยวกับวัสดุที่เป็น
ฉนวนสาหรับการสร้างผนัง นักเรียน
จะต้องทาการสารวจตรวจสอบทาง
วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับวัสดุหลากหลาย
ชนิดและเลือกวัสดุที่เหมาะสมที่สุด
สาหรับสร้างผนัง ซึ่งครูควรจะใช้
แผนการจัดการเรียนรู้นี้ให้มีความ
ครอบคลุมองค์ความรู้เกี่ยวกับการ
ถ่านโอนพลังงานความร้อนด้วย
วิธีการนาความร้อน
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้อื่นๆ (ต่อ)
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 2:
รูปร่ำงของบ้ำน
• นักเรียนจะศึกษาเกี่ยวกับการถ่าย
โอนความร้อนภายในบ้าน โดย
วิธีการพาความร้อนเกิดได้อย่างไร
และสามารถใช้วิธีนี้ในการทาให้บ้าน
เย็นลงในช่วงเวลากลางวันได้อย่างไร
จากนั้นนักเรียนจะต้องประยุกต์
ความรู้ที่ได้สู่การออกแบบบ้านพัก
ตากอากาศ โดยครูควรจะใช้
แผนการจัดการเรียนรู้นี้ให้มีความ
ครอบคลุมองค์ความรู้ในเรื่องการพา
ความร้อน
ทบทวนแผนกำรจัดกำรเรียนรู้อื่นๆ
• ให้สมาชิกในกลุ่มร่วมกันทบทวนแผนการจัดการเรียนรู้อื่นๆ
ในหน่วยการเรียนรู้นี้
• จัดเอกสารในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้อย่างมีระบบทีละ
ขั้นตอน โดยวางคู่มือครูไว้ข้างหน้าวางสไลด์ไว้ด้านซ้าย
และวางใบกิจกรรมของนักเรียนไว้ด้านขวา
• เขียนรายการความคิดเห็น คาถามหรือข้อเสนอแนะ
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 4:
ส่วนประกอบที่สมบูรณ์
นักเรียนช่วยกันนาความรู้และความเข้าใจที่ได้
จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ผ่านมานามาใช้ในการ
ออกแบบบ้านพักตากอากาศและส่วนประกอบ
ต่าง ๆ ของที่พัก สิ่งนี้จะทาให้นักเรียนนาแนวคิด
มาใช้ออกแบบบ้านพักตากอากาศแต่ละหลังและ
สถานที่ต่าง ๆ ทั้งหมดในบริเวณบ้านพักนั้น
นักเรียนจะต้องแสดงให้เห็นว่านักเรียนมีความ
เข้าใจในเรื่องการถ่ายโอนความร้อนด้วยวิธีการนา
ความร้อน การพาความร้อนและการแผ่รังสีความ
ร้อน โดยการออกแบบและระบุลักษณะของ
บ้านพักซึ่งในแผนการจัดการเรียนรู้นี้จะส่งเสริมให้
มีการนาความรู้และความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์
มาใช้ได้อย่างสร้างสรรค์
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้อื่นๆ (ต่อ)
ข้อควรจำ
• บริบทของแผนการจัดการเรียนรู้นี้คืออะไร
• เราจะสร้างความสนใจแก่นักเรียนได้อย่างไร
• เราจะดึงความรู้เดิมของนักเรียนได้อย่างไร
• นักเรียนสารวจและเริ่มต้นพัฒนาความความคิดเกี่ยวกับแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ที่สาคัญได้อย่างไร
• นักเรียนและครูจะอธิบายความคิดของเขาได้อย่างไร
• นักเรียนจะขยายความคิดได้อย่างไร
• นักเรียนจะประเมินผลความเข้าใจของตนเองได้อย่างไร
• แนวคิดทางวิทยาศาสตร์ที่สาคัญและทักษะที่ถูกพัฒนาในแผนการจัดการเรียนรู้นี้
คืออะไร
• การสอนแบบเชิงรุกและแนวคิดในการเรียนรู้ที่นามาใช้คืออะไร
• ครูจะช่วยนักเรียนให้เรียนรู้แบบสืบเสาะได้อย่างไร
งำนที่มอบหมำย
• ใช้แผ่นดีวีดี ที่คุณได้รับเพื่อทบทวนหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง
ทีมสารวจอวกาศ
• อันดับแรกให้อ่านคู่มือหน่วยการเรียนรู้ แล้วศึกษาแต่ละแผนการ
จัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ อ่านคู่มือ, สไลด์ และ ใบกิจกรรม
ของนักเรียน จากนั้นจึงศึกษาการบ้าน และแบบทดสอบ
• เขียนรายการความคิดเห็น คาถามหรือข้อเสนอแนะ
• บริบทของแผนการจัดการเรียนรู้นี้คืออะไร
• เราจะสร้างความสนใจแก่นักเรียนได้อย่างไร
• เราจะดึงความรู้เดิมของนักเรียนได้อย่างไร
• นักเรียนสารวจและเริ่มต้นพัฒนาความความคิดเกี่ยวกับแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ที่สาคัญได้อย่างไร
• นักเรียนและครูจะอธิบายความคิดของเขาได้อย่างไร
• นักเรียนจะขยายความคิดได้อย่างไร
• นักเรียนจะประเมินผลความเข้าใจของตนเองได้อย่างไร
• แนวคิดทางวิทยาศาสตร์ที่สาคัญและทักษะที่ถูกพัฒนาในแผนการจัดการเรียนรู้นี้
คืออะไร
• การสอนแบบเชิงรุกและแนวคิดในการเรียนรู้ที่นามาใช้คืออะไร
• ครูจะช่วยนักเรียนให้เรียนรู้แบบสืบเสาะได้อย่างไร
ข้อควรจำ
Day 3: Sessions 1 and 2
บริบท
• ในหน่วยการเรียนรู้เรื่อง กล้วยไม้ไทย นี้ นักเรียนจะได้พัฒนาอุตสาหกรรมการ
ส่งออกพืช ประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกกล้วยไม้รายใหญ่ที่สุดของโลกและมีความ
ชานาญเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับความสาคัญ
ของพืชที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจและเรียนรู้คาศัพท์ที่เกี่ยวกับส่วนต่างๆ พืช
นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับวิธีการสืบพันธุ์แบบต่างๆ ที่สามารถเพิ่มจานวนของพืช
ให้ได้ปริมาณมาก รวมถึงวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชด้วย นักเรียนยังจะได้
ศึกษาเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสาหรับการเจริญเติบโตของพืชรวมถึง
ความต้องการแสง คาร์บอนไดออกไซด์สาหรับการสังเคราะห์ด้วยแสง และ
ความสาคัญของน้าที่จาเป็นต่อกระบวนการคายน้าของพืช
นักเรียนใช้ความรู้ในการออกแบบเรือนเพาะกล้วยไม้
ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต
เนื้อหำ
มำตรฐำน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของ
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มี
กระบวนสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ในการ
ดารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต
ตัวชี้วัด
ว 1.1 ม.1/5 ทดลองหาปัจจัยบางประการที่จาเป็นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง
ของพืช และอธิบายว่าแสง คลอโรฟิลล์ แก๊ส คาร์บอนได- ออกไซด์ น้า เป็น
ปัจจัยที่จาเป็นต้องใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง
ว 1.1 ม.1/6 ทดลองและอธิบายผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ว 1.1 ม.1/8 ทดลองและอธิบายกลุ่มเซลล์ที่เกี่ยวข้อง
กับการลาเลียงน้าของพืช
ว 1.1 ม.1/9 สังเกตและอธิบายโครงสร้างที่เกี่ยวกับระบบลาเลียงน้าและ
อาหารของพืช
ว 1.1 ม.1/10 ทดลองและอธิบายโครงสร้างของดอกที่เกี่ยวข้องกับการ
สืบพันธุ์ของพืช
ว 1.1 ม.1/11 อธิบายกระบวนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกและ
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช โดยใช้ส่วนต่างๆ ของพืชเพื่อช่วยใน
การขยายพันธุ์
ว 1.1 ม.1/12 ทดลองและอธิบายการตอบสนองของพืชต่อแสง น้า และ
การสัมผัส
ว 1.1 ม.1/13 อธิบายหลักการและผลของการใช้เทคโนโลยี ชีวภาพในการ
ขยายพันธุ์ ปรับปรุงพันธุ์ เพิ่มผลผลิตของพืชและ
นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
เนื้อหำ (ต่อ)
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 4
กำรสะท้อนควำมคิด
• บริบทของแผนการจัดการเรียนรู้นี้คืออะไร
• เราจะสร้างความสนใจแก่นักเรียนได้อย่างไร
• เราจะดึงความรู้เดิมของนักเรียนได้อย่างไร
• นักเรียนสารวจและเริ่มต้นพัฒนาความความคิดเกี่ยวกับแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ที่สาคัญได้อย่างไร
• นักเรียนและครูจะอธิบายความคิดของเขาได้อย่างไร
• นักเรียนจะขยายความคิดได้อย่างไร
• นักเรียนจะประเมินผลความเข้าใจของตนเองได้อย่างไร
• แนวคิดทางวิทยาศาสตร์ที่สาคัญและทักษะที่ถูกพัฒนาในแผนการจัดการเรียนรู้นี้
คืออะไร
• การสอนแบบเชิงรุกและแนวคิดในการเรียนรู้ที่นามาใช้คืออะไร
• ครูจะช่วยนักเรียนให้เรียนรู้แบบสืบเสาะได้อย่างไร
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้อื่นๆ
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 1:
ส่วนประกอบของพืช
ดร.ปัญญานานักเรียนเข้าสู่
การเรียนรู้ โดยให้นักเรียนระบุชื่อ
พืชที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ
นักเรียนเขียนชื่อพืชและคาศัพท์
ที่ถูกต้องของส่วนประกอบของพืช
วาดภาพดอกแสดงส่วนประกอบ
ของดอก นักเรียนจัดแสดงผลงาน
เกี่ยวกับพืชที่นักเรียนเลือกและทา
การสืบค้นรายละเอียดต่างๆ ของ
พืชดอกจากการผ่าดูส่วนประกอบ
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 2:
กำรขยำยพันธุ์พืช
นักเรียนศึกษากิจกรรมเกี่ยวกับ
การทาให้พืชเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว
แ ล ะ พ ร้ อ ม จ า ห น่ า ย ใ น ต ล า ด
ต่างประเทศ นักเรียนจะได้ศึกษาถึง
ความแตกต่างระหว่างการสืบพันธุ์แบบ
อาศัยเพศและการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัย
เพศ รวมถึงการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
ซึ่งสามารถขยายพันธุ์พืชได้จานวนมาก
ในระยะเวลาสั้นโดยไม่ทาลาย
สิ่งแวดล้อม
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้อื่นๆ (ต่อ)
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 3:
กำรเติบโตของพืช
ศึกษาการเจริญเติบโตของพืช
สัมพันธ์กับการสังเคราะห์ด้วยแสง
นักเรียนทากิจกรรมเพื่อศึกษาสาร
ตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ของการ
สังเคราะห์ด้วยแสงและใช้ความรู้ที่
ได้ในการออกแบบสภาพแวดล้อมที่
เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของ
กล้วยไม้
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้อื่นๆ (ต่อ)
ทบทวนแผนกำรจัดกำรเรียนรู้อื่นๆ
• ให้สมาชิกในกลุ่มร่วมกันทบทวนแผนการจัดการเรียนรู้อื่นๆ
ในหน่วยการเรียนรู้นี้
• จัดเอกสารในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้อย่างมีระบบทีละ
ขั้นตอน โดยวางคู่มือครูไว้ข้างหน้าวางสไลด์ไว้ด้านซ้าย
และวางใบกิจกรรมของนักเรียนไว้ด้านขวา
• เขียนรายการความคิดเห็น คาถามหรือข้อเสนอแนะ
ข้อควรจำ
• บริบทของแผนการจัดการเรียนรู้นี้คืออะไร
• เราจะสร้างความสนใจแก่นักเรียนได้อย่างไร
• เราจะดึงความรู้เดิมของนักเรียนได้อย่างไร
• นักเรียนสารวจและเริ่มต้นพัฒนาความความคิดเกี่ยวกับแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ที่สาคัญได้อย่างไร
• นักเรียนและครูจะอธิบายความคิดของเขาได้อย่างไร
• นักเรียนจะขยายความคิดได้อย่างไร
• นักเรียนจะประเมินผลความเข้าใจของตนเองได้อย่างไร
• แนวคิดทางวิทยาศาสตร์ที่สาคัญและทักษะที่ถูกพัฒนาในแผนการจัดการเรียนรู้นี้
คืออะไร
• การสอนแบบเชิงรุกและแนวคิดในการเรียนรู้ที่นามาใช้คืออะไร
• ครูจะช่วยนักเรียนให้เรียนรู้แบบสืบเสาะได้อย่างไร
Session 3
หน้ำที่และควำมรับผิดชอบ กำร
วำงแผนปฏิบัติกำรเพื่อขยำยผลและ
ติดตำมช่วยเหลือในเขตพื้นที่กำรศึกษำ
บทบำทหน้ำที่ของศึกษำนิเทศก์
• จัดการและดาเนินการฝึกอบรม ระยะเวฃา 3 วัน สาหรับครู 2 คน
จาก 10 โรงเรียน 10 โรง ในเขตพื้นที่การศึกษา
• สร้างทีมในโรงเรียน
• ให้ความช่วยเหลือและติดตามแต่ละโรงเรียน โดย
– ส่ง Email และ โทรศัพท์เดือนละ 1 ครั้ง
– นิเทศโรงเรียน ภาคเรียนละ 1 ครั้ง (ในกรณีที่โรงเรียนมีปัญหาสามารถ
เข้านิเทศได้มากกว่า 1 ครั้ง หรือนิเทศให้เร็วขึ้นได้)
• จัดการประชุมพบปะ ในวัน Magnifier day สาหรับกลุ่มโรงเรียนที่
เข้าร่วมโครงการเมื่อสิ้นสุดภาคเรียน เพื่อนาเสนอประสบการณ์และผล
การดาเนินงาน
• จัดวัน ‘voice confident’ เพื่อให้โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการแล้ว
นาเสนอต่อโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการใหม่เมื่อสิ้นสุดปีการศึกษา
• จัดทารายงานประจาเดือนและส่งผ่านเครือข่ายสังคม Facebook
• ตรวจสอบว่าโรงเรียนได้ส่งรายงานผ่านเครือข่ายสังคม Facebook
แล้ว
กำรช่วยเหลือ
• ตรวจสอบให้แน่ใจว่าทุกเรียนสามารถเข้าถึงสื่อ
การเรียนการสอน Inspiring Science ได้
• ช่วยแก้ปัญหาหรือตอบคาถามของครูหรือ
โรงเรียนผ่านการสื่อสารทาง Email หรือ
โทรศัพท์
• ติดต่อหัวหน้ากลุ่มในโรงเรียนเป็นประจาทุก
เดือนผ่านทาง Email หรือ โทรศัพท์
• นิเทศโรงเรียนทุกภาคเรียน
กำรรำยงำนผล
• แต่ละโรงเรียนเขียนรายงานสั้น ๆ ประจาแต่ละเดือน ส่งไปยัง
ศึกษานิเทศก์
• ศึกษานิเทศก์สรุปรายงานประจาแต่ละเดือนแล้วอัพโหลดขึ้นเครือข่าย
สังคมออนไลน์ Facebook
• แต่ละโรงเรียนสรุปรายงานเพื่อนาเสนอในวันที่มีการประชุมพบปะ
ในช่วงท้ายของภาคเรียน รายงานฉบับนี้ต้องอัพโหลดขึ้น Facebook
ด้วย
กำรวำงแผน
สิ่งที่ต้องวางแผน
• เตรียมการอบรมขยายผล
• การส่งอีเมลล์ประจาแต่ละเดือนของโรงเรียนและการโทรศัพท์ติดตาม
• การนิเทศโรงเรียน
• Magnifier day (การประชุมพบปะในช่วงท้ายของภาคเรียน)
• Voice confident day (การประชุมพบปะในช่วงท้ายของปี
การศึกษา)
กำรเตรียมตัวครูผู้สอนในกำรใช้
หลักสูตร Inspiring Science
• เตรียมการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการสาหรับครูวิทยาศาสตร์ชั้น ม.1-3 จาก 10
โรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาของท่าน
• ในการอบรมเชิงปฏิบัติการนาเสนอหัวข้อต่อไปนี้
– หลักสูตร Inspiring Science
– เว็บไซต์ Inspiring Science สื่อ และแหล่งการเรียนการสอน
– วัฏจักรการเรียนรู้แบบ 5E และการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
– สร้างกลุ่มครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน
– ศึกษารายละเอียดของหน่วยการเรียนรู้ทั้ง 4 หน่วย
– การสะท้อนความเข้าใจของแต่ละบุคคล
– การนิเทศแบบ Coaching (การสอนแนะ, การสอนงาน)
– การวางแผนปฏิบัติการทางานของกลุ่ม
87
กำรสร้ำงกลุ่ม
• สร้างกลุ่มครูผู้สอนวิทยาศาสตร์โดยมีสมาชิกกลุ่มละ 2 คน
• ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ แต่ละกลุ่มศึกษาหน่วยการเรียนรู้
ร่วมกันและวางแผนเพื่อเตรียมตัวในการใช้หน่วยการเรียนรู้ทั้ง
ระหว่างการอบรมเชิงปฏิบัติการและเมื่อกลับไปปฏิบัติหน้าที่ใน
โรงเรียน
• เป็นคู่สะท้อนความคิด (ครู 2 คน) เพื่อให้เป็นผู้รับฟังและ
แลกเปลี่ยนการสะท้อนความคิด
• จากกลุ่ม 4 คน กาหนดการสอนแนะแบบจัตุรัส (coaching
square)
• รวมกลุ่มของแต่ละโรงเรียนรวมเป็นกลุ่มสังคมของผู้วิจัย
ปฏิบัติการ
88
กำรจับคู่สะท้อนควำมคิด
• ครูในแต่ละทีมจับคู่เพื่อเป็นคู่สะท้อนความคิด
• คู่สะท้อนความคิดสังเกตชั้นเรียนทุกเดือน (สังเกตให้ครบทั้งแผนการจัดการเรียนรู้) ในการสังเกตชั้นเรียน
ใช้คาถามต่อไปนี้ในแต่ละขั้นของ 5E
– ผู้เรียนเรียนเข้าใจหรือไม่ว่าต้องทาอะไร
– ผู้เรียนได้ทาตามที่คาดหวังหรือไม่
– การช่วยเหลือของครูเพื่อให้เกิดการเรียนรู้มีประสิทธิภาพอย่างไร
– ประสิทธิภาพในการใช้คาถามต่อผู้เรียนเป็นอย่างไร (คาถามปลายเปิด)
– ประสิทธิภาพในการทางานกลุ่มของผู้เรียนเป็นอย่างไร
– บรรลุเป้ าหมายของการเรียนรู้หรือไม่
– ครูสอนในบริบท (บริบทของแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้) หรือไม่
– ครูกระตุ้นและส่งเสริมการเรียนการสอนที่ใช้การสืบเสาะหาความรู้เป็นฐานหรือไม่
– นักเรียนได้พัฒนาความเข้าใจในธรรมชาติของวิทยาศาสตร์หรือไม่
89
• หลังจากการสังเกตชั้นเรียน คู่สะท้อนความคิดควรจะพูดคุยและให้ข้อเสนอแนะ โดยใช้คาถาม
ต่อไปนี้
– การสอนบรรลุจุดประสงค์หรือไม่
– คุณคิดว่านักเรียนรู้สึกอย่างไรเกี่ยวกับบทเรียนนี้
– คุณรู้สึกอย่างไรเกี่ยวกับบทเรียนนี้
– สิ่งใดที่ดาเนินไปได้ด้วยดี
– สิ่งใดที่ไม่ค่อยดีนัก
– จะปรับปรุงอย่างไรในการเรียนการสอนครั้งต่อไป
– การสอนดาเนินไปได้ดีหรือไม่ อย่างไร
– มีเป้ าหมายอย่างไรในเดือนต่อไป
• สลับกันถามโดยใช้คาถามเดิม ควรจะบันทึกสิ่งที่สะท้อนออกมาใน logbook
90
กำรจับคู่สะท้อนควำมคิด (ต่อ)
Action Research Communities
• แต่ละโรงเรียนสร้างกลุ่มทางานที่เรียกว่า (ARC)
• กระตุ้นให้สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มสะท้อนความคิด
• กระตุ้นให้ครูมีบทบาทสาคัญและเป็นผู้ตัดสินใจในรูปแบบหรือวิธีการ
พัฒนาวิชาชีพครูอย่างต่อเนื่อง (CPD) ด้วยกระบวนการวิจัย
ปฏิบัติการ
• พัฒนาความรู้และความเข้าใจในการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ซึ่งเป็นรูปแบบ
หนึ่งของการพัฒนาวิชาชีพครูวิทยาศาสตร์อย่างต่อเนื่อง
91
Action Research Approaches
• ครูแต่ละคนควรจะมีสมุดบันทึกที่เรียกว่า logbook เพื่อบันทึกกิจกรรม รวมทั้ง
ร่องรอยหลักฐานต่าง ๆ เช่น
– รูปถ่าย
– ตัวอย่างชิ้นงานของนักเรียนในชั้นเรียน
– บันทึกและแผนการทางานของแต่ละคน
• สามารถใช้เครื่องมือวิจัยดังต่อไปนี้
– อนุทินของผู้เรียน
– การสังเกต (ดูคาถามหลังการสังเกตในหัวข้อการจับคู่สะท้อนความคิด)
– แบบสอบถาม
– ความการสะท้อนจากเพื่อนร่วมงาน (การจับคู่สะท้อนตคิด)
– การสัมภาษณ์ผู้เรียน หรือการสัมภาษณ์กลุ่ม
92
คำถำมสำหรับกำรเขียนอนุทินของผู้เรียน
• วันนี้นักเรียนได้เรียนรู้อะไร
• นักเรียนได้พัฒนาทักษะอะไรบ้าง
• อะไรบ้างที่นักเรียนรู้สึกเพลิดเพลิน
• อะไรบ้างที่นักเรียนไม่เข้าใจ
• มีประเด็นอื่นอะไรบ้างที่นักเรียนชอบในบทเรียนนี้
• คาถามเหล่านี้สามารถใช้เป็นคาถามในการสัมภาษณ์รายบุคคลและกลุ่มได้ด้วย
93
แบบสอบถำมสำหรับผู้เรียน
ประเด็น เห็นด้วยอย่ำง
ยิ่ง
เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่ำง
ยิ่ง
ฉันรู้สึกเพลิดเพลินกับ
...............
ฉันได้พัฒนาทักษะ
..........
ฉันได้เรียนรู้ว่า .........
ฉันเข้าใจว่า.............
ฉันได้มีส่วนร่วมใน
การทางานกลุ่มได้ดี
เมื่อ................
94
วัฏจักรกำรวิจัยปฏิบัติกำร
การดาเนินการ
รวบรวมข้อมูล
การสะท้อน
จากข้อมูลที่
ได้รับ
การวางแผน
ปฏิบัติการ
แบ่งปันและ
ปรับแผน
95
Press Conference
Thailand
Inspiring Science Workshop
International Science, Mathematics and
Technology Education Conference 2013
Thailand
Inspiring Science Workshop
for ASEAN Community
Malaysia
Inspiring Science Workshop
for ASEAN Community
Thailand ,Cambodia & Myanmar
Inspiring Science Workshop
for ASEAN Community
Creating a Facebook Page
http://www.facebook.com/InspiringScienceThailand
รายละเอียดสาหรับการ
ติดต่อ
ติดต่อคณะทางานโครงการ
Inspiring Science ที่
inspiring_science@hotmail.com

Contenu connexe

Tendances

Best practices
Best practicesBest practices
Best practicesthkitiya
 
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียน
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียนงานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียน
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียนkrurutsamee
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศวเอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศวkomjankong
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษKobwit Piriyawat
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจShe's Kukkik Kanokporn
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยBlade HurthurtHurt
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอนguest283582b
 

Tendances (18)

Best practices
Best practicesBest practices
Best practices
 
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียน
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียนงานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียน
งานนำเสนอสรุปวิจัยบทเรียน
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
กลวิธีการสอน
กลวิธีการสอนกลวิธีการสอน
กลวิธีการสอน
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศวเอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practices
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอน
 

En vedette

ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 

En vedette (20)

ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
Inspiring science backgroup theory
Inspiring science backgroup theoryInspiring science backgroup theory
Inspiring science backgroup theory
 
Rock cycle1ss[1] thai
Rock cycle1ss[1] thaiRock cycle1ss[1] thai
Rock cycle1ss[1] thai
 
Space team1 th
Space team1 thSpace team1 th
Space team1 th
 
Space team4 0th
Space team4 0thSpace team4 0th
Space team4 0th
 
Cm rally episode 2 thai
Cm rally episode 2 thaiCm rally episode 2 thai
Cm rally episode 2 thai
 
Resort3 ฉบับไทย
Resort3 ฉบับไทยResort3 ฉบับไทย
Resort3 ฉบับไทย
 
Cm rally episode 1 thai
Cm rally episode 1 thaiCm rally episode 1 thai
Cm rally episode 1 thai
 
Astro2 pdf
Astro2 pdfAstro2 pdf
Astro2 pdf
 
Astro1 pdf
Astro1 pdfAstro1 pdf
Astro1 pdf
 
Astro3 pdf
Astro3 pdfAstro3 pdf
Astro3 pdf
 
C expo1
C expo1C expo1
C expo1
 
T soda2 thai
T soda2 thaiT soda2 thai
T soda2 thai
 
T soda3 (thai)
T soda3 (thai)T soda3 (thai)
T soda3 (thai)
 
Ice cafe1thai 2
Ice cafe1thai 2Ice cafe1thai 2
Ice cafe1thai 2
 
C expo2
C expo2C expo2
C expo2
 
Ice cafe4 thai
Ice cafe4 thaiIce cafe4 thai
Ice cafe4 thai
 
C expo4
C expo4C expo4
C expo4
 
R maker4[1]
R maker4[1]R maker4[1]
R maker4[1]
 
Orchids2
Orchids2Orchids2
Orchids2
 

Similaire à Inspiring science train the trainers 2013 (thai)

ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยPitsiri Lumphaopun
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยJiramet Ponyiam
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการPamkritsaya3147
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56krupornpana55
 
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียนขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียนyana54
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8 ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8 Fary Love
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรthana1989
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54Jiraporn
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยJutamart Bungthong
 

Similaire à Inspiring science train the trainers 2013 (thai) (20)

ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
lertlah
lertlahlertlah
lertlah
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการ
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56
 
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
 
Utq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdfUtq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdf
 
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtgครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
ส่วนที่ ๔
ส่วนที่  ๔ส่วนที่  ๔
ส่วนที่ ๔
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียนขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
 
การเรียนรู้
การเรียนรู้การเรียนรู้
การเรียนรู้
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8 ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตร
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ภารกิจครูผู้ช่วย2
ภารกิจครูผู้ช่วย2ภารกิจครูผู้ช่วย2
ภารกิจครูผู้ช่วย2
 

Plus de ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข

การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 

Plus de ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข (20)

สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
 
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 

Inspiring science train the trainers 2013 (thai)