SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  29
Télécharger pour lire hors ligne
1
2

ขอบเขตเนื้อหา
ความรูทั่วไปเกี่ยวกับ กรมบังคับคดี
ประวัติกรมบังคับคดี
วิสัยทัศน
พันธกิจและอํานาจหนาที่
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
อํานาจหนาที่ตามกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง
ประเภทของการบังคับคดี
การยึดทรัพย
การอายัดทรัพย
การบังคับคดีในการฟองขับไลรื้อถอน
การจําหนายทรัพย
การบังคับคดีลมละลาย
กระบวนการลมละลาย
การฟนฟูกิจการ
เงื่อนไขการฟนฟูกิจการ
การวางทรัพย
เหตุของการวางทรัพย
ทรัพยที่วางได
วิธีปฏิบัติและหนาที่ของผูวางทรัพย
แผนภูมิแสดงขั้นตอนการบังคับคดีแพง
แผนผังขั้นตอนการอายัดเงินในคดีแพง
แผนขั้นตอนการบังคับคดีขับไล-รื้อถอน
แผนภูมิแสดงขั้นตอนการบังคับคดีแพง
แผนภูมิแสดงขั้นตอนการฟนฟูกิจการของลูกหนี้
กฎหมายที่เกี่ยวของ
พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน 2551
ระเบียบฯ วาดวยพนักงานราชการ
ระเบียบฯ วาดวยสารบรรณ พ.ศ.2526 และที่แกไขเพิ่มเติม
สรุประเบียบงานสารบรรณ
พรฎ.วาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ.2546
สรุป หลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี
ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการงานทั่วไป
การบริหารจัดการภายในองคกร การประสานงาน การวางแผนงาน
องคประกอบขององคกรและการบริหาร
ประเภทองคการ
หลักการทั่วไปของการบริหาร
อํานาจหนาที่และความรับผิดชอบ
การจัดแผนกงาน
โครงสรางและแผนภูมิขององคการ
แผนภูมิขององคการ
ระบบการบริหารองคการ
การควบคุมองคการ
การวางแผนงาน

5
5
6
6
7
8
8
9
9
9
10
10
12
13
14
14
14
15
18
20
21
22
24
26
72
83
113
122
138
145
148
148
152
161
167
172
175
176
178
179
3
นโยบายและแผน
นโยบาย
แผน (Plan)
โครงการ (Program)
การบริหารทรัพยากรมนุษย
การวางแผนกําลังคน
การสรรหาบุคลากร
การคัดเลือก
การบรรจุ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย
การบริหารคาตอบแทน
สุขภาพและความปลอดภัย
แรงงานสัมพันธ
ระบบขอมูลการบริหารงานทรัพยากรมนุษย
แนวขอสอบ พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน 2551
แนวขอสอบ ระเบียบฯ วาดวยสารบรรณ พ.ศ.2526 และที่แกไขเพิ่มเติม
แนวขอสอบ ระเบียบฯ วาดวยพนักงานราชการ
แนวขอสบ พรฎ.วาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ.2546
แนวขอสอบ การจัดการงานทั่วไป

176
186
197
215
222
231
237
244
258
260
262
263
265
267
268
271
291
312
324
338
4

ความรูทั่วไปเกี่ยวกับกรมบังคับคดี
ประวัติกรมบังคับคดี
เดิ ม งานของกรมบั ง คั บ คดี มี ที่ ม าจากหน ว ยงานราชการระดั บ กองในสํ า นั ก
ปลัดกระทรวงยุติธรรม 2 กอง คือ กองบังคับคดีแพง และ กองบังคับคดีลมละลาย จนกระทั่ง
ป พ.ศ.2517 สมัยรัฐบาล ฯพณฯ ศาสตราจารยสัญญา ธรรมศักดิ์ เปนนายกรัฐมนตรี ทาน
กิ ต ติ สีห นนท เป น รัฐ มนตรีวา การกระทรวงยุติ ธ รรมไดเห็น ความสํ าคั ญ ของทั้ ง สองกอง
ดังกลาว ประกอบกับงานบังคับคดีแพงและงานบังคับคดีลมละลายเพิ่มขึ้นมาก หนวยงานที่
จัดไวแตเดิม ไมเหมาะสมกับงานที่นับวันแตจะทวีปริมาณมากขึ้นทุกๆ ป
ดังนั้นเพื่อใหการดําเนินงานเกี่ยวกับการบังคับคดีแพง คดีลมละลาย งานเกี่ยวกับการ
วางทรัพยไดขยายอํานาจหนาที่ทั่วราชอาณาจักร รวมทั้งงานชําระบัญชีหางหุนสวนบริษัท
หรือ นิติบุคคลตามคําสั่งศาล ไดดําเนินการโดยเจาหนาที่ที่มีความรูความสามารถชํานาญ
งานในหนาที่ไดเปนไปอยางถูกตอง มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
รัฐบาลจึงไดออกพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 216
ลงวันที่ 29 กันยายน พ.ศ.2515 (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2517 ใหยกฐานะกองบังคับคดีแพงและกอง
บังคับคดีลมละลาย รวมจัดตั้งขึ้นเปนกรมบังคับคดีอยูในสังกัดกระทรวงยุติธรรม แลวไดตรา
พระราชบั ญ ญั ติ โ อนกิ จ การบริ ห ารงานบางส ว นของสํ า นั ก งานปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม
พ.ศ.2517 โดยใหโอนบรรดาอํานาจหนาที่ในสวนเกี่ยวกับกองบังคับคดีแพงและกองบังคับ
คดี ล ม ละลาย รวมทั้ ง ให โ อนบรรดากิ จ การ ทรั พ ย สิ น หนี้ ข า ราชการ ลู ก จ า ง และเงิ น
งบประมาณของสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม เฉพาะสวนที่เกี่ยวกับกองบังคับคดีแพง
และกองบังคับคดีลมละลายไปเปนของกรมบังคับคดี และนอกจากนี้ ยังไดจัดตั้งหนวยงาน
ใหม ได แ ก สํ านั ก งานวางทรั พ ย ก ลางและงานอนุ ญ าโตตุ ล าการ เพื่ อ ชี้ ข าดถึ ง ข อ พิ พ าท
เกี่ยวกับการวางทรัพยภูมิภาคขึ้น รวม 9 ภาค กรมบังคับคดีจึงมีอํานาจหนาที่บังคับคดีแพง
และคดีลมละลาย ตลอดจนวางทรัพยทั่วประเทศ แลวเริ่มดําเนินการในฐานะเปนกรมบังคับ
คดีนับแตนั้นเปนตนมา

วิสัยทัศน
มุงมั่นพัฒนาการบังคับคดีอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เสมอภาค เปนธรรม ดวย
จิตมุงบริการ เพื่อใหประชาชนเขาถึง เชื่อมั่น ยอมรับ ไดรับประโยชนสูงสุด
5

พันธกิจและอํานาจหนาที่
ใหบริการดานการบังคับคดีแพง คดีลมละลาย การฟนฟูกิจการของลูกหนี้ การชําระ
บัญชี และการวางทรัพยอยางมีประสิทธิภาพ เสมอภาค เปนธรรม
ศึก ษา วิเ คราะห วิจั ย เพื่อ พัฒ นาระบบการปฏิ บัติ ง านของการบั ง คั บ คดี แพ ง คดี
ลมละลาย การฟนฟูกิจการของลูกหนี้ การชําระบัญชี การวางทรัพยในแตละระบบใหเปน
มาตรฐานเดียวกัน สอดคลองกับภาวะเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งเสริมสรางศักยภาพการ
เปนผูนําในดานการบังคับคดีใหสามารถแขงขันกับองคกรตาง ๆ
พั ฒ นากฏหมายที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การบั ง คั บ คดี ใ ห ทั น สมั ย และเป น มาตรฐานสากล
รองรับตอการเปลี่ยนแปลงตามสภาวการณ เพื่อเอื้ออํานวยตอการปฏิบัติงานและบริการ
ประชาชน โดยคํานึงถึงความสะดวก รวดเร็ว เปนธรรมในสังคมและสิทธิมนุษยชน
พัฒนาองคกร และระบบการบริหารจัดการใหมีประสิทธิภาพ คลองตัว โดยประสาน
สงเสริม รวมถึงสรางเครือขายความรวมมือการบังคับคดีทั้งในและตางประเทศ สามารถ
ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงตามภาวการณโดยยึดหลักธรรมาภิบาล
พัฒนาศักยภาพบุคลากรใหมีความรูความสามารถ และความเชี่ยวชาญดานการบังคับ
คดีและมีจิตสํานึกในการบริการ อยางมีคุณธรรมและจริยธรรม
เผยแพรความรูทางกฎหมายเกี่ยวกับการบังคับคดใหประชาชนไดเขาใจอยางทั่วถึง
ตลอดจนไกลเกลี่ยขอพิพาทในการบังคับคดี และสงเสริมความรวมมือการมีสวนรวมในการ
บังคับคดีของภาครัฐและภาคเอกชน

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
การบังคับคดีแพง
ในการบังคับคดีแพง ศาลตองออกหมายบังคับคดีตั้งเจาพนักงาน กรมบังคับคดีหรือ
พนักงานอื่นใด เปนเจาพนักงานบังคับคดี เพื่อจัดการบังคับคดีใหเปนไปตามคําพิพากษา
หรือคําสั่ง ทั้งนี้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 1(14) เจาพนักงาน
บังคับคดีหมายถึงเจาพนักงานในสังกัดกรมบังคับคดีหรือเจาพนักงานอื่นผูมีอํานาจตาม
บทบัญญัติแหงกฎหมายที่ใชอยูในอันที่จะปฏิบัติตามวิธีการที่บัญญัติไวในภาค 4 แหง
ประมวลกฎหมายนี้ เพื่อคุมครองสิทธิของคูความในระหวางพิจารณาหรือเพื่อบังคับคดีตาม
คําพิพากษาหรือคําสั่ง ในสวนกลาง เจาพนักงานบังคับคดี กรมบังคับคดี มีอํานาจบังคับคดี
ในเขตอํานาจของศาล ซึ่งตั้งอยูในเขตกรุงเทพมหานคร ยกเวนศาลจังหวัดมีนบุรี ในสวน
6

ภูมิภาค เจาพนักงานบังคับคดีของสํานักงานงานบังคับคดีจังหวัด สํานักงานบังคับคดีจังหวัด
สาขา เปนเจาพนักงานบังคับคดีของสํานักงานบังคับคดีจังหวัด นั้น
เดิมเจาพนักงานบังคับคดีเปนเจาพนักงานของศาล เมื่อศาลมีคําสั่งเกี่ยวกับการบังคับ
คดีอยางใดแลวเจาพนักงานบังคับคดีตองปฏิบัติตามจะอุทธรณฎีกาคัดคานคําสั่งศาลไมได
แตปจจุบันเจาพนักงานบังคับคดี กรมบังคับคดี สังกัดกระทรวงยุติธรรมจึงไมใชเจาพนักงาน
ศาล (ทั้งนี้ตามมาตรา 275 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ราช
กิจจานุเบกษา 11 ตุลาคม 2540 ประกอบกับกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการศาล
ยุติธรรม กําหนดใหสํานักงานศาลยุติธรรม เปนหนวยงานธุรการอิสระของศาลยุติธรรม แต
มิไดกําหนดใหกรมบังคดีเปนหนวยงานธุรการของศาลยุติธรรม ตามราชกิจจานุเบกษา ฉบับ
กฤษฎีกา เลม 117 ตอนที่ 103 ก วันที่ 13 พฤศจิกายน 2543) จึงจะใชสิทธิคัดคานหรือ
อุทธรณฎีกาคําสั่งศาลไดหรือไม ควรศึกษาตอไป
อํานาจหนาที่ตามกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง
1. อํานาจหนาที่เกี่ยวกับวิธีการชั่วคราวกอนมีคําพิพากษา ตามประมวลวิธีพิจารณา
ความแพงมาตรา 254 ซึ่งศาลมีคําสั่งใหยึดหรืออายัดทรัพยสินหรือกักเรือของจําเลยไว
ชั่วคราวกอนศาลจะมีคําพิพากษา เชนนี้ศาลจะออกหมายยึดทรัพยชั่วคราว หมายกักเรือ ตั้ง
เจาพนักงานบังคับคดีจัดการยึดทรัพยสินหรือเรือของจําเลยไว เพื่อไมใหจําเลยยักยายถาย
ทรัพยสิน
2. อํานาจหนาที่เกี่ยวกับการบังคับคดีอันเปนการบังคับคดีใหเปนไปตามคําพิพากษา
หรือคําสั่งตามประมวลวิธีพิจารณาความแพง เมื่อศาลมีคําพิพากษาใหคูความฝายใดแพคดี
และใหฝายแพคดี(ลูกหนี้ตามคําพิพากษา)ปฏิบัติการชําระหนี้อยางใดอยางหนึ่งตามฟอง
หากเปนกรณีที่ตองดําเนินการทางเจาพนักงานบังคับคดี โดยการบังคับคดีชําระหนี้เอาจาก
บรรดาทรัพ ยสิน ของลูกหนี้ต ามคําพิ พากษา คู ค วามฝ ายที่ช นะคดี (เจ าพนั กงานตามคํ า
พิพากษา) ชอบที่จะรองขอใหศาลออกหมายบังคับคดีตั้งเจาพนักงานบังคับคดีเพื่อจัดการ
อายัดทรัพยสิน ของลูกหนี้ตามคําพิพากษาออกขายทอดตลาด และเอาเงินชําระหนี้แกเจาหนี้
ตามคําพิพากษา หรือหากการชําระหนี้ตามคําพิพากษานั้นเปนการสงมอบทรัพยสิน กระทํา
การ งดเวนกระทําการหรือขับไลลูกหนี้ตามคําพิพากษา ศาลจะออกหมายบังคับคดีไดโดย
การกําหนดเงื่อนไขแหงการบังคับคดีลงในหมายนั้น และกําหนดการบังคับคดีเพียงเทาที่
สภาพแหงการบังคับคดีจะเปดชองใหทําไดโดยทางศาลหรือโดยทางเจาพนักงานบังคับคดี
ตามประมวลวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 276 วรรคทายอํานาจหนาที่ตามกฎหมายอื่น
7

1. กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เปนกรณีศาลในคดีอาญามีคําสั่งใหปรับ
นายประกันจําเลย ฐานผิดสัญญาประกันที่ทําไวตอศาล โดยศาลจะออกหมายบังคับคดีตั้งเจา
พนักงานบังคับคดีของศาลจัดการยึดทรัพยสิน ซึ่งนายประกันยื่นเปนหลักประกันตอศาล
แลวนําออกขายทอดตลาดนําเงินชําระคาปรับ (ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา 119)
2. กฎหมายอาญา กรณีตามประมวลหมายอาญา มาตรา 29 ผูใดตองโทษปรับ
และไมชําระคาปรับภายใน 30 วันนับแตวันที่ศาลมีคําสั่งพิพากษา ผูนั้นจะตองถูกยึดทรัพย
สินใชคาปรับ ดังนี้ศาลจะออกหมายบังคับคดีตั้งเจาพนักงานบังคับคดีของศาลจัดการยึด
ทรัพยสิน ของจําเลยขายทอดตลาดนําเงินชําระคาปรับ
3. พระราชบัญญัติลมละลาย ในทางปฏิบัติและระเบียบกระทรวงยุติธรรมวา
ดวยการบังคับคดี เจาพนักงานพิทักษทรัพยจะบังคับคดีกับทรัพยของลูกหนี้ (จําเลย) ในคดี
ลมละลายเองหรืออาจมีบันทึกเปนหนังสือแจงใหเจาพนักงานบังคับคดีทําการยึดแทน

ประเภทของการบังคับคดี
ในการออกหมายบั ง คั บ คดี ศาลจะระบุ เ งื่ อ นไขแห ง การบั ง คั บ คดี ต ามที่ ร ะบุ ไ ว ใ น
มาตรา 213 แหง ปพพ. และจะกําหนดสภาพแหงการบังคับคดีเพียงเทาที่เปดชองใหกระทํา
ทางศาลหรือโดยทางเจาพนักงานบังคับคดี
1. การยึดทรัพย
2. การอายัดทรัพย
3. การขายทอดตลาด
4. การบังคับคดีขับไล , รื้อถอน
5. อื่น ๆ เชนการหามชั่วคราว การหามทํานิติกรรม จําหนาย จาย โอน

การยึดทรัพย
การยึดทรัพยมีอยู 4 ลักษณะดังนี้คือ
1. การยึดทรัพยตามความหมายบังคับคดีรวมถึงการยึดทรัพยตามหมายยึดทรัพย
ชั่วคราว ทั้งนี้เจาพนักงานบังคับคดีมหนาที่ตองดําเนินการตามที่ศาลสั่งมาโดยเฉพาะเจาะจง
ี
จะยึดทรัพยอื่นไมได
2. การยึดทรัพยขามเขตอํานาจศาล
3. การยึดทรัพยตามหมายบังคับคดีของศาลอื่น เปนการบังคับคดีแทน
8

4. การยึดทรัพยซึ่งตั้งอยูในเขตกรุงเทพมหานครแทนศาลตางจังหวัด
สังหาริมทรัพยที่ไดรับการยกเวน ไมอยูในอํานาจหนาที่การบังคับคดี ไดแก
1. เครื่องใชสอยสวนตัว เชนที่นอน เครื่องใชครัวเรือน รวมกันเปนเงินไมเกิน 5,000
บาท หากลูกหนี้ตามคําพิพากษาประสงคจะไดรบการยกเวนเกินกวาที่กําหนด ตองไปรองตอ
ั
ศาล
2. ทรัพยสินที่ลูกหนี้มีไวใชในการประกอบอาชีพ เชน เครื่องใชตาง ๆ ดังนี้กฎหมาย
กําหนด ยกเวนใหในจํานวนเงิน 10,000 บาท หากลูกหนี้ตามคําพิพากษาประสงคจะใช
เครื่องมือเครื่องใชใดที่มจํานวนเงินเกินกวาที่กําหนด ตองไปรองตอศาล
ี
3. ทรัพยสินที่มีไวใชแทนอวัยวะ ตาง ๆ เชน แขนขาเทียม
4. ทรัพยสินที่เปนของวงศตระกูล เชน สมุด หนังสือประจําตระกูล เปนตน

การอายัดทรัพย
ตามลักษณะการปฏิบัติงานของเจาพนักงานบังคับคดีมี 2 กรณี คือ
1. การอายัดสิทธิรองขอใหชําระเงิน จํานวนหนึ่งหรือเรียกวาการอายัดเงิน
2. การขอใหงดหรือหามจําหนาย จายโอน หรือ ทํานิติกรรมเกี่ยวกับทรัพยสินหรือ
เรียกวา การอายัดหามโอน

การบังคับคดีในการฟองขับไล รื้อถอน
เมือศาลมีคําสั่งใหตั้งเจาพนักงานบังคับคดี จัดการใหเจาหนี้ตามคําพิพากษา
่
ไดครอบครองทรัพย ดังกลาว
1. กรณีที่ลูกหนี้ตามคําพิพากษาถูกศาลพิพากษาใหขับไล หรือตองออกไปจากที่
อยูอาศัย หรือทรัพยที่ครอบครอง
2. กรณีที่ลูกหนี้ตามคําพิพากษาตองรื้อถอนสิ่งปลูกสรางออกไปจาก
อสังหาริมทรัพย ที่อยูอาศัย หรือทรัพยที่ครอบครอง

การจําหนายทรัพย
การขายทอดตลาดทรัพย เจาพนักงานบังคับคดี ตองตรวจสํานวนกอนวามีการปฏิบติ
ั
ตามขั้นตอน ที่ ป.วิ.พ. มาตรา 303 และมาตรา 304
9

1. ไดมีการแจงการยึดทรัพยใหลูกหนี้ตามคําพิพากษา และผูที่มีสวนไดเสียอื่น ๆ

ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 287
2. ถาเปนอสังหาริมทรัพย หรือทรัพยที่ตองมีการเปลี่ยนแปลงทางทะเบียน ไดมีการ
แจงใหนายทะเบียนทราบ
ในการบังคับคดีนั้น เจาพนักงานบังคับคดีมอํานาจตามหมายบังคับคดีของศาลที่มี
ี
เขตอํานาจทีสํานักงานบังคับคดีตั้งอยูเทานั้น อยางไรก็ตาม หากมีการรองขอ เจาพนักงาน
่
บังคับคดียอมมีอํานาจในการบังคับคดีแทนตามหมายบังคับคดีที่ออกโดยศาลอื่นไดเชนกัน

การบังคับคดีลมละลาย
การลมละลายเกิดจากการมีหนี้สิน ลนพนตัว คือมีหนี้สินมากกวาทรั พยสิน จึงเกิด
กฎหมายลมละลายขึ้นมาเพื่อจัดระบบใหเกิดความเปนธรรม แกบรรดาเจาหนี้ทุกราย เพื่อให
ไดรับชําระหนี้เต็มจํานวนหรือโดยสวนเฉลี่ยที่เทาเทียมกัน ตามสัดสวนแหงหนี้จากหนี้ที่
ลูกหนี้มีอยูกับเจาหนี้รายนั้น ๆ ในคดีลมละลายเพื่อที่จะทราบวา ลูกหนี้คดีนี้มีเจาหนี้อยูกี่ราย
เปนจํานวนหนี้เทาใดกฎหมายจึงกําหนดใหตองมีการโฆษณาคําสั่งพิทักษทรัพย เมื่อศาลมี
คําสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาดแลว บรรดาเจาหนี้ทั้งหลายตองมายื่นคําขอรับชําระหนี้ตอเจา
พนักงานพิทักษทรัพย ภายในเวลา 2 เดือน เพื่อที่ลูกหนี้จะไดทราบวาตนเองมีหนี้สินเทาใด
หากตองการจะจัดการกับหนี้สินดังกลาวควรจะทําอยางไร เชนอาจจะยื่นคําขอประนอมหนี้
ตามจํานวนที่คิดวาจะสามารถชําระแกเจาหนี้ได หรือหากไมสามารถจะประนอมหนี้ไดก็ตอง
เปนบุคคลลมละลายตอไป เมื่อศาลมีคําสั่งพิทักษทรัพยตาม พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ.2483
แลว คําสั่งพิทักษทรัพยมี 2 อยาง คือ
1. คําสั่งพิทักษทรัพยชั่วคราว คําสั่งนี้เปนคําสั่งใหเจาพนักงานพิทักษทรัพยเขา
รวบรวมทรัพยสินของลูกหนี้ไวชั่วคราว (เปนการคุมครองเจาหนี้ชั่วคราวกอนศาลมีคําสั่ง
พิทักษทรัพยเด็ดขาด) เพื่อปองกันมิใหลูกหนี้ยักยายถายเททรัพยสินนั่นเอง
2. คําสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาด คําสั่งนี้เปนคําสั่งใหเจาพนักงานพิทักษทรัพยเขา
รวบรวมทรัพยสินของลูกหนี้โดยเด็ดขาด อันมีผลเหมือนเปนคําพิพากษา

กระบวนการลมละลาย มีดังนี้
1. การรวบรวมทรัพยสินเปนการรวบรวมทรัพยสินของเจาพนักงานพิทักษทรัพยซึ่ง
ไดมาจากการสอบสวน การรวบรวมเอกสารทางบัญชี และสืบหาทรัพยของบรรดาเจาหนี้เปน
หลักใหญ
10

การฟนฟูกิจการ
ภาวะวิกฤติเศรษฐกิจที่ไดเกิดขึ้นในประเทศไทยในป พ.ศ. 2540 ไดสงผลกระทบ
รายแรงตอเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะภาคการเงินการธนาคารที่ไดรับความเสียหาย
โดยตรง เปนเหตุใหธุรกิจจํานวนมากตองประสบวิกฤติทางการเงินและตองลมละลายไปใน
ที่สุด ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากวิกฤติเศรษฐกิจมีดังนี้ คือ
1. ความลมเหลวในดานการลงทุนของประเทศ
2. การที่ลูกหนี้ตองเลือกชําระหนี้โดยการผอนชําระเปนงวด เพื่อหลีกเลี่ยงการถูกบังคับ
ชําระหนี้โดยมาตรการของเจาหนี้
3. ความลมเหลวในดานการจางงาน เห็นไดจากการเลิกจางจํานวนมาก และอัตราการ
วางงานที่สูงของประเทศ
ในประเทศไทย พระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. 2483 เปนกฎหมายที่ไดกําหนด
กระบวนการลมละลายอยางเปนทางการ พระราชบัญญัติฉบับนี้ไดรับการแกไขในเวลาตอมา
โดยพระราชบัญญัติลมละลาย ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2541 โดยไดเพิ่มกระบวนการฟนฟูกิจการเขา
มาใหเปนอีกทางเลือกหนึ่งของการจัดการทรัพยสินลูกหนี้ที่มีหนี้สินลนพนตัว นอกเหนือจาก
การบังคับใหลมละลาย การแกไขเพิ่มเติมกฎหมายลมละลายทั้งในครั้งนี้และในครั้งตอๆมา
ลวนเปนผลมาจากความพยายามของรัฐบาลในการปรับปรุงกระบวนการลมละลายใหมีความ
สอดคลองกับยุคสมัยอยูเสมอ

เงื่อนไขเพื่อเขารับการฟนฟูกิจการ
1. ลูกหนี้ตองเปนบริษัท จํากัด, บริษทมหาชน จํากัด หรือ นิติบุคคลอื่นใด
ั
2. ลูกหนี้ตองมีหนี้สินลนพนตัว
3. ลูกหนี้ตองมีหนี้ทั้งหมดในจํานวนที่แนนอน ไมต่ํากวา 10 ลานบาท
การเริ่มกระบวนการฟนฟูกิจการกระทําไดโดยมีการยื่นคํารองขอฟนฟูกิจการตอศาล
ลมละลาย โดยศาลอาจมีคําสั่งใหฟนฟูกิจการตามที่รองขอ เมื่อศาลเห็นวามีเหตุผลสมควร
และมีชองทางที่จะฟนฟูกิจการของลูกหนี้ ทั้งนี้ กระบวนการฟนฟูกจการถือเปนการใหโอกาส


ิ
แกลูกหนี้ที่หนี้สินลนพนตัว หากแตยังมีศักยภาพทางธุรกิจที่ดีอยู ไมใหถูกพิทักษทรัพยและ
ขณะเดียวกันก็รักษาธุรกิจของตนไว และเพือดําเนินการใหกระบวนการฟนฟูกจการประสบ
่
ิ
ผลสําเร็จ กระทรวงยุติธรรมจึงไดตงสํานักฟนฟูกิจการลูกหนี้ขึ้นในวันที่ 16 เมษายน พ.ศ.
ั้
2541 โดยใหเปนหนวยงานหลักในการดําเนินการใหเปนไปตามกระบวนการฟนฟูกจการ
ิ
กฎหมายลมละลายไดกําหนดอํานาจหนาที่ของเจาพนักงานพิทักษทรัพยใน
11

สรุประเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพิ่มเติม
ความหมาย
“งานสารบรรณ” หมายความวา งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแตการ
จัดทําการรับ การสง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทําลาย
“หนังสือ” หมายความวา หนังสือราชการ
“สวนราชการ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม สํานักงาน หรือหนวยงานอื่นใดของ
รัฐทั้งในราชการบริหารสวนกลาง ราชการบริหารสวนภูมิภาค ราชการบริหารสวนทองถิ่น หรือใน
ตางประเทศและใหหมายความรวมถึงคณะกรรมการดวย
“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะบุคคลที่ไดรับมอบหมายจากทางราชการให
ปฏิบัติงานในเรื่องใด ๆ และใหหมายความรวมถึงคณะอนุกรรมการ คณะทํางาน หรือคณะบุคคล
อื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน
ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบนี้

ชนิดของหนังสือ
หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เปนหลักฐานในราชการ ไดแก
1. หนังสือที่มีไปมาระหวางสวนราชการ
2. หนังสือที่สวนราชการมีไปถึงหนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่มีไปถึง
บุคคลภายนอก
3. หนังสือที่หนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่บุคคลภายนอกมีมาถึงสวนราชการ
4. เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นเพื่อเปนหลักฐานในราชการ
5. เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับ
หนังสือ มี 6 ชนิด คือ
1. หนังสือภายนอก
2. หนังสือภายใน
3. หนังสือประทับตรา
4. หนังสือสั่งการ
5. หนังสือประชาสัมพันธ
6. หนังสือที่เจาหนาที่ทําขึ้น หรือรับไวเปนหลักฐานในราชการ
12

หนังสือภายนอก
หนังสือภายนอก คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธีโดยใชกระดาษตราครุฑเปน
หนังสือติดตอระหวางสวนราชการ หรือสวนราชการมีถึงหนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่
มีถึงบุคคลภายนอก

หนังสือภายใน
หนังสือภายใน คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธีนอยกวาหนังสือภายนอกเปน
หนังสือติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดเดียวกัน ใชกระดาษบันทึกขอความ

หนังสือประทับตรา
หนังสือประทับตรา คือ หนังสือที่ใชประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหนาสวนราชการ
ระดับกรมขึ้นไป โดยใหหัวหนาสวนราชการระดับกอง หรือผูที่ไดรับมอบหมายจากหัวหนาสวน
ราชการระดับกรมขึ้นไป เปนผูรับผิดชอบลงชื่อยอกํากับตรา หนังสือประทับตราใหใชไดทั้งระหวาง
สวนราชการกับสวนราชการ และระหวางสวนราชการกับบุคคลภายนอก เฉพาะกรณีที่ไมใชเรื่อง
สําคัญ ไดแก
1. การขอรายละเอียดเพิ่มเติม
2. การสงสําเนาหนังสือ สิ่งของ เอกสาร หรือบรรณสาร
3. การตอบรับทราบที่ไมเกี่ยวกับราชการสําคัญ หรือการเงิน
4. การแจงผลงานที่ไดดําเนินการไปแลวใหสวนราชการที่เกี่ยวของทราบ
5. การเตือนเรื่องที่คาง
6. เรื่องซึ่งหัวหนาสวนราชการระดับกรมขึ้นไปกําหนดโดยทําเปนคําสั่ง ใหใชหนังสือ
ประทับตรา
หนังสือประทับตรา ใชกระดาษตราครุฑ

หนังสือสั่งการ
หนังสือสั่งการ ใหใชตามแบบที่กําหนดไวในระเบียบนี้ เวนแตจะมีกฎหมายกําหนดแบบ
ไวโดยเฉพาะหนังสือสั่งการมี 3 ชนิด ไดแก คําสั่ง ระเบียบ และขอบังคับ
คํ า สั่ ง คื อ บรรดาข อ ความที่ ผู บั ง คั บ บั ญ ชาสั่ ง การให ป ฏิ บั ติ โ ดยชอบด ว ยกฎหมายใช
กระดาษตราครุฑ
13

สรุปสาระสําคัญ พระราชกฤษฎีกา
วาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
พระราชกฤษฎีกานี้มีผลบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
“สวนราชการ” หมายความวา สวนราชการตามกฎหมายวาดวยการปรับปรุงกระทรวง
ทบวง กรม และหนวยงานอื่นของรัฐที่อยูในกํากับของราชการฝายบริหาร แตไมรวมถึงองคกร
ปกครองสวนทองถิ่น
“รัฐวิสาหกิจ” หมายความวา รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราช
กฤษฎีกา
“ขาราชการ” หมายความรวมถึงพนักงาน ลูกจาง หรือผูปฏิบัติงานในสวนราชการ
นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชกฤษฎีกานี้

การบริหารกิจการบานเมืองที่ดี
การบริหารกิจการบานเมืองที่ดี ไดแกการบริหารราชการเพื่อบรรลุเปาหมายดังตอไปนี้
(1) เกิดประโยชนสุขของประชาชน
(2) เกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ
(3) มีประสิทธิภาพและเกิดความคุมคาในเชิงภารกิจของรัฐ
(4) ไมมีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจําเปน
(5) มีการปรับปรุงภารกิจของสวนราชการใหทันตอสถานการณ
(6) ประชาชนไดรับการอํานวยความสะดวกและไดรับการตอบสนองความตองการ
(7) มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอยางสม่ําเสมอ

การบริหารราชการเพื่อใหเกิดประโยชนสุขของประชาชน
การบริหารราชการเพื่อประโยชนสุขของประชาชน หมายถึง การปฏิบัติราชการที่
มีเปาหมายเพื่อใหเกิดความผาสุกและความเปนอยูที่ดีของประชาชน ความสงบและปลอดภัยของ
สังคมสวนรวม ตลอดจนประโยชนสูงสุดของประเทศ
ในการบริหารราชการเพื่อประโยชนสุขของประชาชน สวนราชการจะตองดําเนินการ
โดยถือวาประชาชนเปนศูนยกลางที่จะไดรับการบริการจากรัฐ และจะตองมีแนวทางการบริหาร
ราชการดังตอไปนี้
14

(1) การกําหนดภารกิจของรัฐและสวนราชการตองเปนไปเพื่อวัตถุประสงคและสอดคลอง
กับแนวนโยบายแหงรัฐและนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงตอรัฐสภา
(2) การปฏิบัติภารกิจของสวนราชการตองเปนไปโดยซื่อสัตยสุจริต สามารถตรวจสอบ
ไดและมุงใหเกิดประโยชนสุขแกประชาชนทั้งในระดับประเทศและทองถิ่น
(3) กอนเริ่มดําเนินการ ตองวิเคราะหผลดีและผลเสียใหครบถวนทุกดาน กําหนด
ขั้นตอนการดําเนินการที่โปรงใส มีกลไกตรวจสอบ
(4) รับฟงความคิดเห็นและความพึงพอใจของสังคมโดยรวมและประชาชนผูรับบริการ
เพื่อปรับปรุงหรือเสนอแนะตอผูบังคับบัญชา
(5) ในกรณีที่เกิดปญหาและอุปสรรคจากการดําเนินการ ใหรีบแกไขปญหาและอุปสรรคนั้น
โดยเร็ว

การบริหารราชการเพื่อใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ
การบริหารราชการเพื่อใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ ใหสวนราชการปฏิบัติดังตอไปนี้
(1) จัดทําแผนปฏิบัติราชการไวเปนการลวงหนา
(2) การกําหนดแผนปฏิบัติราชการของสวนราชการ ตองมีรายละเอียดของขั้นตอน
ระยะเวลาและงบประมาณที่จะตองใชในการดําเนินการของแตละขั้นตอน เปาหมายของภารกิจ
ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ และตัวชี้วัดความสําเร็จของภารกิจ
(3) มีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑและ
วิธีการที่สวนราชการกําหนดขึ้น
(4) ในกรณีที่การปฏิบัติภารกิจ หรือการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการเกิดผลกระทบตอ
ประชาชน ใหเปนหนาที่ของสวนราชการที่จะตองดําเนินการแกไขหรือบรรเทาผลกระทบนั้น หรือ
เปลี่ยนแผนปฏิบัติราชการใหเหมาะสม
สวนราชการมีหนาที่พัฒนาความรูในสวนราชการ เพื่อใหมีลักษณะเปนองคการแหง
การเรียนรูอยางสม่ําเสมอ โดยตองรับรูขอมูลขาวสารและสามารถประมวลผลความรูในดานตางๆ
เพื่อนํามาประยุกตใชในการปฏิบัติราชการไดอยางถูกตอง รวดเร็วและเหมาะสมกับสถานการณ
รวมทั้งตองสงเสริมและพัฒนาความรูความสามารถ สรางวิสัยทัศนและปรับเปลี่ยนทัศนคติของ
ขาราชการในสังกัดใหเปนบุคลากรที่มีประสิทธิภาพและมีการเรียนรูรวมกัน ทั้งนี้เพื่อประโยชนใน
การปฏิบัติราชการของสวนราชการใหสอดคลองกับการบริหารราชการใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตามพระ
ราชกฤษฎีกานี้
15

เพื่อประโยชนในการปฏิบัติราชการใหเกิดผลสัมฤทธิ์ ก.พ.ร. อาจเสนอตอคณะรัฐมนตรี
เพื่อกําหนดมาตรการกํากับการปฏิบัติราชการ โดยวิธีการจัดทําความตกลงเปนลายลักษณอักษร
หรือโดยวิธีการอื่นใด เพื่อแสดงความรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ
ใหสวนราชการจัดทําแผนปฏิบัติราชการของสวนราชการนั้น โดยจัดทําเปนแผนสี่ป
ซึ่งจะตองสอดคลองกับแผนการบริหารราชการแผนดิน
ในแตละปงบประมาณ ใหสวนราชการจัดทําแผนปฏิบัติราชการประจําปโดยใหระบุ
สาระสําคัญเกี่ยวกับนโยบายการปฏิบัติราชการของสวนราชการ เปาหมายและผลสัมฤทธิ์
ของงานรวมทั้ ง ประมาณการรายได แ ละรายจ า ยและทรั พ ยากรอื่ น ที่ จ ะต อ งใชเ สนอต อ
รัฐมนตรีเพื่อใหความเห็นชอบ และเมื่อรัฐมนตรีใหความเห็นชอบแผนปฏิบัติราชการของสวน
ราชการใด

การบริหารราชการอยางมีประสิทธิภาพและเกิดความคุมคาในเชิงภารกิจ
ของรัฐ
เพื่อใหการปฏิบัติราชการภายในสวนราชการเปนไปอยางมีประสิทธิภาพใหสวน
ราชการกําหนดเปาหมาย แผนการทํางาน ระยะเวลาแลวเสร็จของงานหรือโครงการ และ
งบประมาณที่จะตองใชในแตละงานหรือโครงการ และตองเผยแพรใหขาราชการและประชาชน
ทราบทั่วกันดวย
ให ส ว นราชการจั ด ทํ า บั ญ ชี ต น ทุ น ในงานบริ ก ารสาธารณะแต ล ะประเภทขึ้ น ตาม
หลักเกณฑและวิธีการที่กรมบัญชีกลางกําหนด
ให สํ า นั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห ง ชาติ แ ละสํ า นั ก
งบประมาณรวมกันจัดใหมีการประเมินความคุมคาในการปฏิบัติภารกิจของรัฐที่สวนราชการ
ดําเนินการอยู เพื่อรายงานคณะรัฐมนตรีสําหรับเปนแนวทางในการพิจารณาวาภารกิจใด สมควร
จะไดดําเนินการตอไปหรือยุบเลิก และเพื่อประโยชนในการจัดตั้งงบประมาณของสวนราชการในป
ตอไป ทั้งนี้ตามระยะเวลาที่คณะรัฐมนตรีกําหนด
ในการจัดซื้อหรือจัดจาง ใหสวนราชการดําเนินการโดยเปดเผยและเที่ยงธรรม โดย
พิจารณาถึงประโยชนและผลเสียทางสังคม ภาระตอประชาชน คุณภาพ วัตถุประสงค ที่จะใช
ราคา และประโยชนระยะยาวของสวนราชการที่จะไดรับประกอบกัน
ในกรณีที่วัตถุประสงคในการใชเปนเหตุใหตองคํานึงถึงคุณภาพและการดูแลรักษา
เปนสําคัญ ใหสามารถกระทําไดโดยไมตองถือราคาต่ําสุดในการเสนอซื้อหรือจางเสมอไป
16

การบริหารจัดการภายในองคกร
องคการ (Organization) มีความสัมพันธเกี่ยวของกับการบริหาร (Administration)
อยางลึกซึ้ง นักวิชาการสมัยกอนมักศึกษาการบริหารในลักษณะของกระบวนการ
(Process) และจัดองคการใหอยูในสวนหนึ่งหรือขั้นตอนหนึ่งของกระบวนการบริหาร
นักวิชาการสมัยใหมบางกลุมพิจารณาองคการกวางยิ่งขึ้นและใหความสําคัญแก
องคการมากขึ้นกวาแตกอน โดยถือวาองคการเปนโครงสรางหลักของการบริหารและเปน
ปจจัยหลักที่จะทําใหการบริหารดําเนินไปตามเปาหมาย
ซึ่งในทัศนะนี้การบริหารและ
องคการจะตองศึกษาควบคูกันไปในลักษณะของระบบ (A Systems Approach) โดยถือวา
องคการและการบริหารเปนระบบของความสัมพันธระหวางระบบยอย ๆ ภายในรวมตัวกัน
เปนระบบที่มีวัตถุประสงคเฉพาะหนึ่ง ๆ ซึ่งกอนที่เราจะไดศึกษาในรายละเอียดก็ควรจะไดทํา
ความเขาใจถึงความหมายของการบริหารและองคการใหเขาใจอยางถองแทเสียกอน
ความหมายขององคการและการบริหาร
ความหมายของการบริหาร นักวิชาการไดใหคํานิยามของคําวา "การ
บริหารหรือการจัดการ" (Administration or Management) ไวคลายคลึงกัน เชน
Ernest Dale กลาววา "การบริหารเปนการจัดการโดยมนุษย เปนการ
ตัดสินใจ และเปนกระบวนการของการรวบรวมและแจกแจงทรัพยากรเพื่อที่จะใหบรรลุ
วัตถุประสงคที่ไดตั้งเอาไว
Kast และ Rosenzweing
กลาววา "การบริหารเปนการรวมมือและ
ประสานงานกันระหวางมนุษยและทรัพยากรทางวัตถุอื่น ๆ เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคที่ไดตั้ง
เอาไว" และพวกเขายังเสนออีกวา "ปจจัยพื้นฐานในการบริหาร" จะตองมีอยางนอย 4
ประการ คือ
1. วัตถุประสงคที่ตั้งเอาไว
2. มนุษยที่พรอมจะปฏิบัติงาน
3. เทคโนโลยีในการดําเนินการ
4. องคการที่จะดําเนินการ
17

ศัพทที่สําคัญเกี่ยวกับกิจกรรมของการบริหาร
นโยบาย (Policy) หมายถึง แนวทางเบื้องตนที่จะใชในการบริหารงานเพื่อใหบรรลุ
วัตถุประสงค
การวางแผน (Planning) หมายถึง การคิดหาวิธีการที่จะใชในการบริหารเปนเรื่องที่
เกี่ยวกับรายละเอียดของงานที่จะทําในอนาคต
การจัดรูปงาน (Organization) หรือการจัดโครงสรางขององคการ หมายถึง การ
กําหนดความสัมพันธระหวางองคประกอบตาง ๆ ในเชิงกายภาพขององคการ
การบรรจุบุคคลเขาทํางาน (Staffing) หมายถึง การสรรหา คัดเลือก และบรรจุ
แตงตั้งบุคคลทํางานในตําแหนงตาง ๆ ขององคการ
การสั่งการ (Directing) หมายถึง การใชอํานาจและอิทธิพลของผูบริหารในการชัก
จูงใหผูปฏิบัติงานทํางานตามที่ไดมอบหมาย ตามตําแหนงและอํานาจหนาที่ในแตละสายงาน
การประสานงาน (Coordinating) หมายถึง การสรางความรวมมือรวมใจระหวาง
ผูปฏิบัติงานทั้งหลายภายในองคการ เพื่อใหการทํางานดําเนินไปตามเปาหมายและบรรลุ
วัตถุประสงค
การจัดทํารายงาน (Reporting) เปนการแสดงขอเท็จจริงใหเห็นถึงรายละเอียด
ของงานที่ทําไปทําใหผูบริหารทราบถึงผลงาน ความกาวหนาของงาน และอุปสรรคที่เกิดขึ้น
การจัดทํางบประมาณ (Budgeting) เปนการแสดงใหเห็นถึงรายละเอียดของการ
ใชจายในรูปของบัญชีการเงินขององคการ ทั้งนี้เพื่อชี้ใหเห็นถึงประสิทธิภาพการใชเงิน
อํานาจหนาที่ (Authority) เปนอํานาจที่มาจากตําแหนงที่กําหนดไวในองคการ
เปนอํานาจที่มีลักษณะเปนทางการ
มีการกําหนดไวในลักษณะเปนที่ รับ รูข อง
ผูใตบังคับบัญชา
การควบคุม (Controlling) หมายถึง การตรวจสอบและบังคับใหกิจกรรมตาง ๆ ใน
การบริหารดําเนินไปตามแผนงานที่ไดวางไว
การประเมินผล (Evaluation) หมายถึง การตรวจสอบเปรียบเทียบผลงานที่ทํา
สําเร็จแลว เพื่อเปรียบเทียบกับแผนงานและวัตถุประสงค
การศึกษาเกี่ยวกับลักษณะของผูปฏิบัติงานในองคการ (Concepts of Line and
Staff)
นักทฤษฎีการบริหารแบงประเภทของผูปฏิบัติงานออกเปน 2 ประเภท คือ
18

1. พนักงานปฏิบัติการ (Line Officer) คือ พนักงานที่มีอํานาจหนาที่ในการสั่ง
การ บังคับบัญชา และปฏิบัติหนาที่ตามวัตถุประสงคขององคการ รวมทั้งจะตองมีตําแหนง
อยูในสายการบังคับบัญชาขององคการและรับคําสั่งตามลําดับชั้นจากผูบังคับบัญชาสูงสุดไป
ยังผูปฏิบัติงานระดับต่ําสุด
2. พนักงานที่ปรึกษา (Staff Officer) คือ พนักงานที่คอยชวยเหลือพนักงาน
ปฏิบัติการใหทํางานไดมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เปนผูที่คอยคนควาและรวบรวมขอมูล
รวมทั้งรวบรวมปจจัยที่จําเปนในการบริหาร เชน ทรัพยากรที่จําเปน บุคลากรที่ตองใชใน
การทํางาน เพื่อปอนใหกับพนักงานปฏิบัติการ นอกจากนี้พนักงานที่ปรึกษาจะเปนเพียง
ผูใหคําแนะนํา ใหขอมูล และคอยชวยเหลือเทานั้น แตจะไมมีอํานาจหนาที่ในการสั่งการและ
ตัดสินใจใด ๆ ที่เกี่ยวกับวัตถุประสงคในการดําเนินงานขององคการ
สรุปก็คือ พวกนักทฤษฎีการบริหารเชื่อวา พนักงานที่ปรึกษาเปนสิ่งจําเปนใน
องคการขนาดใหญหรือในหนวยงานที่ซับซอน และการมีหนักงานที่ปรึกษาจํานวนมาก็อาจ
กอใหเกิดความขัดแยงในองคการขึ้นได
องคประกอบในการจัดองคการและการจัดการ
ความหมายและลักษณะของการจัดองคการ
คําวา "องคการ" นั้น ในภาษาอังกฤษจะใชคําวา Organization และ "การจัด
องคการ" ใชคําวา Organizing ซึ่งการแปลดังกลาวเปนการแปลตรงตามศัพท หากแตใน
บางครั้งคําวา "องคการ" (Organization) อาจจะใชในความหมายที่กวางกวานั้น
Chester I. Barnard กลาววา "องคการคือระบบของการรวมมือกันประกอบ
กิจการของมนุษย" (An organization is a system of cooperative human activites)
Herbert G. Hicks กลาววา "องคการคือโครงสรางของกระบวนการซึ่งไดจัด
ขึ้นสําหรับใหบุคคลฝายตาง ๆ ไดปฏิบัติงานรวมกัน ทั้งนี้เพื่อใหบรรลุถึงวัตถุประสงคที่ตั้ง
ไว" (An organization is a structured proces is which persons interact for objectives)
สมพงษ เกษมสิน กลาวา "องคการคือกลุมบุคคลกลุมหนึ่งซึ่งรวมกัน
ดําเนินการรวมมือกันอยางมีระเบียบ เพื่อใหงานบรรลุวัตถุประสงคที่กําหนดขึ้น"
สรุปก็คือ เราอาจพิจารณาลักษณะขององคการไดวา องคการเปนการ
รวมกลุมของบุคคลอยางมีแบบแผน, องคการมีความตองการหรือมีวัตถุประสงครวมกันของ
19

แนวขอสอบ ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
14.

15.

16.

"ก.พ.ค." มีชื่อเต็มวาอะไร
ก. กรรมการพิทักษคุณธรรม
ข. คณะกรรมการพิทักษระบบคุณธรรม
ค. คณะกรรมการพิทักษคุณธรรม
ง. กรรมการพิทักษระบบคุณธรรม
ตอบ ข. คณะกรรมการพิทักษระบบคุณธรรม
คณะกรรมการพิทักษระบบคุณธรรมคณะหนึ่ง เรียกโดยยอวา “ก.พ.ค.”
(พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 24)
ขอใดกลาวไมถูกตอง เกี่ยวกับ ก.พ.ค.
ก. ประกอบดวยกรรมการจํานวนหาคน
ข. กรรมการ ก.พ.ค. ตองทํางานเต็มเวลา
ค. เลขาธิการ ก.พ. เปนเลขานุการของ ก.พ.ค.
ง. กรรมการ ก.พ.ค. ตองมีอายุไมต่ํากวา 45 ป
ตอบ ก. ประกอบดวยกรรมการจํานวนหาคน
“ก.พ.ค.” ประกอบดวยกรรมการจํานวนเจ็ดคนซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ
แตงตั้งตามมาตรา 26 กรรมการ ก.พ.ค. ตองทํางานเต็มเวลา ใหเลขาธิการ ก.พ. เปน
เลขานุการของ ก.พ.ค. (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 24)
คณะกรรมการคัดเลือกกรรมการ พ.พ.ค. ประกอบดวยบุคคลใดเปนประธาน
ก. อัยการพิเศษ
ข. ผูพิพากษาศาลอุทธรณ
ค. ประธานศาลปกครองสูงสุด
ง. นายกรัฐมนตรี
ตอบ ค. ประธานศาลปกครองสูงสุด
คณะกรรมการคัดเลือกกรรมการ ก.พ.ค. ประกอบดวยประธาน ศาลปกครอง
สูงสุด เปนประธาน รองประธานศาลฎีกาที่ไดรับมอบหมายจากประธานศาลฎีกาหนึ่งคน
กรรมการ ก.พ. ผูทรงคุณวุฒิหนึ่งคนซึ่งไดรับเลือกโดย ก.พ. และใหเลขาธิการ ก.พ. เปน
กรรมการ และเลขานุการ (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 26)
20

17.

กรรมการ ก.พ.ค. พนจากตําแหนงเมื่ออายุครบกี่ป
ก. 55 ปบริบูรณ
ข. 60 ปบริบูรณ
ค. 65 ปบริบูรณ
ง. 70 ปบริบูรณ
ตอบ ง. 70 ปบริบูรณ
นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระ กรรมการ ก.พ.ค. พนจากตําแหนงเมื่อ
(1) ตาย
(2) ลาออก
(3) มีอายุครบเจ็ดสิบปบริบูรณ
(พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 30)

18.

การจัดระเบียบขาราชการพลเรือนตองเปนไปเพื่อผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ โดยให
ขาราชการปฏิบัติราชการอยางไร
ก. มีประสิทธิภาพ และคุมคา
ข. มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ
ค. มีคุณภาพ คุณธรรมและมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ง. มีประสิทธิภาพ และมีคุณธรรม
ตอบ ค. มีคุณภาพ คุณธรรมและมีคุณภาพชีวิตที่ดี
การจัดระเบียบขาราชการพลเรือนตองเปนไปเพื่อผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ
ความมีประสิทธิภาพ และความคุมคา โดยใหขาราชการปฏิบัติราชการอยางมีคุณภาพ
คุณธรรม และ มีคุณภาพชีวิตที่ดี (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 34)

19.

ขาราชการพลเรือน มีกี่ประเภท
ก. 2 ประเภท
ข. 3 ประเภท
ค. 4 ประเภท
ง. 5 ประเภท
ตอบ ก. 2 ประเภท
ขาราชการพลเรือนมี 2 ประเภท (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551
มาตรา 35)

20.

ขาราชการพลเรือนซึ่งรับราชการโดยไดรับการบรรจุแตงตั้ง ตามที่บัญญัติไวในลักษณะ 4
ของขาราชการพลเรือนสามัญเรียกวา
ก. ขาราชการพลเรือน
ข. ขาราชการพลเรือนสามัญ
21

แนวขอสอบ ระเบียบฯ งานสารบรรณ พ.ศ. 2526
แกไขเพิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548
่
32.

ในกรณีที่ตองการใหหนังสือสงถึงมือผูรับภายในเวลาที่กําหนดใหระบุคําใดลงไป แลวลง
วัน/เดือน/ปและกําหนดเวลากํากับ
ก. ดวนภายใน
ข. ดวนวันที่
ค. ดวนกําหนด
ง. ดวนถึง
ตอบ ก. ดวนภายใน
ในกรณีที่ตองการใหหนังสือสงถึงผูรับภายในเวลาที่กําหนด ใหระบุคําวา ดวน
ภายใน แลวลงวันเดือน ป และกําหนดเวลาที่ตองการใหหนังสือนั้นไปถึงผูรับกับให
เจาหนาที่สงถึงผูรับซึ่งระบุบนหนาซองภายในเวลาที่กําหนด (ขอ 28 ระเบียบฯ งานสาร
บรรณ)

33.

สําเนาหนังสือที่มีคํารับรองวาสําเนาถูกตอง ตองใหเจาหนาที่ตั้งแตระดับใดซึ่งเปนเจาของ
เรื่องลงลายมือชื่อรับรอง
ก. ระดับ 2
ข. ระดับ 3
ค. ระดับ 4
ง. ระดับ 5
ตอบ ก. ระดับ 2
สําเนาหนังสือใหมีคํารับรองวา สําเนาถูกตอง โดยใหเจาหนาที่ตั้งแตระดับ 2 หรือ
เทียบเทาขึ้นไป ซึ่งเปนเจาของเรื่องลงลายมือชื่อรับรอง พรอมทั้งลงชื่อตัวบรรจง และ
ตําแหนงที่ชอบลางของหนังสือ

34.

ขอใดกลาวไมถูกตอง
ก. หนังสือเวียนใหเพิ่มรหัสพยัญชนะ ว หนาเลขทะเบียนหนังสือสง
ข. หนังสือตางประเทศใหใชกระดาษตราครุฑ
ค. หนังสืออื่นๆ ที่มิใชภาษาอังกฤษใหใชกระดาษบันทึก
ง. สรรพนามที่ใชในหนังสือใหใชตามฐานะแหงความสัมพันธระหวางเจาของหนังสือและ
ผูรับหนังสือ
ตอบ ค. หนังสืออื่นๆ ที่มิใชภาษาอังกฤษใหใชกระดาษบันทึก
หนังสือเวียน คือ หนังสือที่มีถึงผูรับเปนจํานวนมาก มีใจความอยางเดียวกัน ให
เพิ่มรหัสตัวพยัญชนะ ว หนาเลขทะเบียนหนังสือสง
22

สรรพนามที่ใชในหนังสือ ใหใชตามฐานะแหงความสัมพันธระหวางเจาของหนังสือ
และผูรับหนังสือตามภายผนวก 2
หนังสือภาษาตางประเทศ ใหใชกระดาษตราครุฑ
(ขอ 32-34 ระเบียบฯ งานสารบรรณ)
35.

ขอใดมิใชการเก็บรักษาหนังสือ
ก. การเก็บระหวางปฏิบัติ
ข. การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแลว
ค. การเก็บไวเพื่อใชในการตรวจสอบ
ง. การเก็บเพื่อใชในการแกไข
ตอบ ง. การเก็บเพื่อใชในการแกไข
การเก็บหนังสือแบงออกเปน การเก็บระหวางปฏิบัติ การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแลว
และการเก็บไวเพื่อใชในการตรวจสอบ (ขอ 52 ระเบียบฯ งานสารบรรณ)

36.

ในการเก็บหนังสือระหวางปฏิบัตินั้น ใหกําหนดวิธีการเก็บตามลักษณะใด
ก. ความเหมาสะสมตามประเภทงาน
ข. ความเหมาะสมตามขั้นตอนปฏิบัติงาน
ค. ความเหมาะสมตามความสะดวก
ง. ความเหมาะสมตามหนวยงาน
ตอบ ข. ความเหมาะสมตามขั้นตอนปฏิบัติงาน
การเก็บระหวางปฏิบัติ คือ การเก็บหนังสือที่ปฏิบัติยังไมเสร็จใหอยูในความ
รับผิดชอบของเจาของเรื่องโดยใหกําหนดวิธีการเก็บใหเหมาะสมตามขั้นตอนของการ
ปฏิบัติงาน (ขอ 53 ระเบียบฯ งานสารบรรณ)

37.

อายุการเก็บหนังสือ โดยปกติมีระยะเวลาในการเก็บไมนอยกวากี่ป
ก. 5 ป
ข. 7 ป
ค. 10 ป
ง. 20 ป
ตอบ ค. 10 ป
อายุการเก็บหนังสือ โดยปกติใหเก็บไวไมนอยกวา 10 ป (ขอ 57 ระเบียบฯ งาน
สารบรรณ)

38.

หนังสือเก็บรักษาเปนความลับใหปฏิบัติตามกฎหมายใด
ก. ระเบียบวาดวยการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ
ข. กฎหมายของกองจดหมายเหตุแหงชาติ
ค. กฎหมายของกระทรวงการคลัง
ง. ระเบียบฯ วาดวยการรักษาความลับของทางราชการ
23

แนวขอสอบระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยพนักงาน
ราชการ พ.ศ.2547
7.พนักงานราชการมีกี่ประเภท
ก. 1 ประเภท
ข. 2 ประเภท
ค. 3 ประเภท
ง. 4 ประเภท
ตอบ ข. 2 ประเภท
พนักงานราชการมีสองประเภท (ระเบียบฯ ขอ 6)
8.พนักงานราชการที่ปฏิบัติงานในลักษณะทีตองใชความรูหรือความเชี่ยวชาญสูงมากเปน
่
พิเศษหมายถึงผูใด
ก. พนักงานราชการ
ข. พนักงานราชการทั่วไป
ค. พนักงานราชการพิเศษ
ง. พนักงานราชการเชี่ยวชาญ
ตอบ ค. พนักงานราชการพิเศษ
พนักงานราชการพิเศษ ไดแก พนักงานราชการซึ่งปฏิบัตงานในลักษณะที่ตองใช
ิ
ความรูหรือความเชี่ยวชาญสูงมากเปนพิเศษเพือปฏิบติงานในเรื่องที่มีความสําคัญและจําเปน
่
ั
เฉพาะเรื่องของสวนราชการ หรือมีความจําเปนตองใชบคคลในลักษณะดังกลาว (ระเบียบฯ
ุ
ขอ 6 (2))
9.ในการกําหนดตําแหนงของพนักงานราชการจะจําแนกเปนกลุมงานโดยพิจารณาจากสิ่งใด
ก. ลักษณะงานและผลผลิตของงาน
ข. ลักษณะงานและคุณภาพของงาน
ค. ประเภทและผลผลิตของงาน
ง. ประเภทและคุณภาพของงาน
ตอบ ก. ลักษณะงานและผลผลิตของงาน
ในการกําหนดตําแหนงของพนักงานราชการ ใหกําหนดตําแหนงโดยจําแนกเปนกลุม
งานตามลักษณะงานและผลผลิตของงาน (ระเบียบฯ ขอ 7)
(1) กลุมงานบริการ
(2) กลุมงานเทคนิค
(3) กลุมงานบริหารทั่วไป
24

(4) กลุมงานวิชาชีพเฉพาะ
(5) กลุมงานเชี่ยวชาญเฉพาะ
(6) กลุมงานเชี่ยวชาญพิเศษ
10.ตําแหนงของพนักงานราชการมีกี่กลุม
ก. 4 กลุม
ค. 6 กลุม
ตอบ ค. 6 กลุม
คําอธิบายดังขอขางตน
11.ขอใดไมใชกลุมงานของพนักงานราชการ
ก. กลุมงานบริการ
ค. กลุมงานบริหาร
ตอบ ค. กลุมงานบริหาร
คําอธิบายดังขอขางตน

ข. 5 กลุม
ง. 7 กลุม

ข. กลุมงานเทคนิค
ง. กลุมงานเชี่ยวชาญพิเศษ

12.ในการกําหนดตําแหนงของกลุมงานและกําหนดลักษณะงานใหเปนไปตามประเภทของ
ใคร
ก. อธิบดี
ข. ปลัดทบวง
ค. ปลัดกระทรวง
ง. คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ
ตอบ ง. คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ
การกําหนดใหพนักงานราชการประเภทใดมีตําแหนงในกลุมงานใด และการกําหนด
ลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะของกลุมงาน ใหเปนไปตามประกาศของคณะกรรมการ
(ระเบียบฯ ขอ 7)
13.กรอบอัตรากําลังพนักงานราชการมีระยะเวลากี่ป
ก. 2 ป
ข. 3 ป
ค. 4 ป
ง. 5 ป
ตอบ ค. 4 ป
25

แนวขอสอบ พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและ
วิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
8. ขอใดคือการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี
ก. เกิดประโยชนสุขของประชาชน
ข. เกิดผลสัมฤทธิตอภารกิจของรัฐ
์
ค. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุมคา
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
การบริ ห ารกิ จ การบ า นเมื อ งที่ ดี ได แ ก การบริ ห ารราชการเพื่ อ บรรลุ เ ป า หมาย
ดังตอไปนี้
(1) เกิดประโยชนสุขของประชาชน
(2) เกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ
(3) มีประสิทธิภาพและเกิดความคุมคาในเชิงภารกิจของรัฐ

(4) ไมมีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจําเปน
(5) มีการปรับปรุงภารกิจของสวนราชการใหทันตอสถานการณ
(6) ประชาชนไดรับการอํานวยความสะดวกและไดรับการตอบสนองความ
ตองการ
(7) มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอยางสม่ําเสมอ
9. หมวด 2 ในพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี
พ.ศ.2546 นันมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับเรื่องใด
้
่
ก. การรบริหารกิจการบานเมืองทีดี
ข. การบริหารราชการเพื่อใหเกิดประโยชนสุขของประชาชน
ค. การบริหารราชการเพื่อใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ

ง. คณะกรรมการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี
ตอบ ข. การบริหารราชการเพื่อใหเกิดประโยชนสุขของประชาชน
หมวด 2 การบริหารราชการเพื่อใหเกิดประโยชนสุขของประชาชน
10.การบริหารราชการเพื่อประโยชนสุขของประชาชน หมายถึงการปฏิบัติราชการที่มี
เปาหมายเพื่อสิ่งใด
ข้อสอบกรมบังคับคดี ปี 57 คู่มือสอบนักจัดการทั่วไป กรมบังคับคดี หนังสือ E-BOOK กรมบังคับคดี
ข้อสอบกรมบังคับคดี ปี 57 คู่มือสอบนักจัดการทั่วไป กรมบังคับคดี หนังสือ E-BOOK กรมบังคับคดี
ข้อสอบกรมบังคับคดี ปี 57 คู่มือสอบนักจัดการทั่วไป กรมบังคับคดี หนังสือ E-BOOK กรมบังคับคดี
ข้อสอบกรมบังคับคดี ปี 57 คู่มือสอบนักจัดการทั่วไป กรมบังคับคดี หนังสือ E-BOOK กรมบังคับคดี

Contenu connexe

En vedette

6 ขั้นตอนง่ายๆสำหรับการวิเคราะห์นโยบาย
6 ขั้นตอนง่ายๆสำหรับการวิเคราะห์นโยบาย6 ขั้นตอนง่ายๆสำหรับการวิเคราะห์นโยบาย
6 ขั้นตอนง่ายๆสำหรับการวิเคราะห์นโยบาย
Dr.Choen Krainara
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
Yeah Pitloke
 

En vedette (10)

แนวข้อสอบอัตนัยจำนวน 4 ข้อ
แนวข้อสอบอัตนัยจำนวน 4 ข้อแนวข้อสอบอัตนัยจำนวน 4 ข้อ
แนวข้อสอบอัตนัยจำนวน 4 ข้อ
 
แนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 ok
แนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 okแนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 ok
แนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 ok
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
 
6 ขั้นตอนง่ายๆสำหรับการวิเคราะห์นโยบาย
6 ขั้นตอนง่ายๆสำหรับการวิเคราะห์นโยบาย6 ขั้นตอนง่ายๆสำหรับการวิเคราะห์นโยบาย
6 ขั้นตอนง่ายๆสำหรับการวิเคราะห์นโยบาย
 
สรุปแนวข้อสอบการเงิน
สรุปแนวข้อสอบการเงินสรุปแนวข้อสอบการเงิน
สรุปแนวข้อสอบการเงิน
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง - จัดเก็บรายได้ ...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน   นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง  - จัดเก็บรายได้ ...แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน   นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง  - จัดเก็บรายได้ ...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง - จัดเก็บรายได้ ...
 
ตอบข้อหารือการเรียกคืนเงินทุนโครงการเศรษฐกิจชุมชน พ.ศ.2541 จ.อุดรธานี
ตอบข้อหารือการเรียกคืนเงินทุนโครงการเศรษฐกิจชุมชน พ.ศ.2541 จ.อุดรธานีตอบข้อหารือการเรียกคืนเงินทุนโครงการเศรษฐกิจชุมชน พ.ศ.2541 จ.อุดรธานี
ตอบข้อหารือการเรียกคืนเงินทุนโครงการเศรษฐกิจชุมชน พ.ศ.2541 จ.อุดรธานี
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
 
สรุป พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารพ.ศ. 2540
สรุป พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารพ.ศ. 2540สรุป พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารพ.ศ. 2540
สรุป พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารพ.ศ. 2540
 

Plus de บ.ชีทราม จก.

Plus de บ.ชีทราม จก. (15)

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
 
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
 
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
 
กรมฝนหลวงและการบินเกษตร
กรมฝนหลวงและการบินเกษตรกรมฝนหลวงและการบินเกษตร
กรมฝนหลวงและการบินเกษตร
 
216
216216
216
 
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
 
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นคณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
 
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
 
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวชข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
 

ข้อสอบกรมบังคับคดี ปี 57 คู่มือสอบนักจัดการทั่วไป กรมบังคับคดี หนังสือ E-BOOK กรมบังคับคดี

  • 1. 1
  • 2. 2 ขอบเขตเนื้อหา ความรูทั่วไปเกี่ยวกับ กรมบังคับคดี ประวัติกรมบังคับคดี วิสัยทัศน พันธกิจและอํานาจหนาที่ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน อํานาจหนาที่ตามกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง ประเภทของการบังคับคดี การยึดทรัพย การอายัดทรัพย การบังคับคดีในการฟองขับไลรื้อถอน การจําหนายทรัพย การบังคับคดีลมละลาย กระบวนการลมละลาย การฟนฟูกิจการ เงื่อนไขการฟนฟูกิจการ การวางทรัพย เหตุของการวางทรัพย ทรัพยที่วางได วิธีปฏิบัติและหนาที่ของผูวางทรัพย แผนภูมิแสดงขั้นตอนการบังคับคดีแพง แผนผังขั้นตอนการอายัดเงินในคดีแพง แผนขั้นตอนการบังคับคดีขับไล-รื้อถอน แผนภูมิแสดงขั้นตอนการบังคับคดีแพง แผนภูมิแสดงขั้นตอนการฟนฟูกิจการของลูกหนี้ กฎหมายที่เกี่ยวของ พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน 2551 ระเบียบฯ วาดวยพนักงานราชการ ระเบียบฯ วาดวยสารบรรณ พ.ศ.2526 และที่แกไขเพิ่มเติม สรุประเบียบงานสารบรรณ พรฎ.วาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ.2546 สรุป หลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการงานทั่วไป การบริหารจัดการภายในองคกร การประสานงาน การวางแผนงาน องคประกอบขององคกรและการบริหาร ประเภทองคการ หลักการทั่วไปของการบริหาร อํานาจหนาที่และความรับผิดชอบ การจัดแผนกงาน โครงสรางและแผนภูมิขององคการ แผนภูมิขององคการ ระบบการบริหารองคการ การควบคุมองคการ การวางแผนงาน 5 5 6 6 7 8 8 9 9 9 10 10 12 13 14 14 14 15 18 20 21 22 24 26 72 83 113 122 138 145 148 148 152 161 167 172 175 176 178 179
  • 3. 3 นโยบายและแผน นโยบาย แผน (Plan) โครงการ (Program) การบริหารทรัพยากรมนุษย การวางแผนกําลังคน การสรรหาบุคลากร การคัดเลือก การบรรจุ การประเมินผลการปฏิบัติงาน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย การบริหารคาตอบแทน สุขภาพและความปลอดภัย แรงงานสัมพันธ ระบบขอมูลการบริหารงานทรัพยากรมนุษย แนวขอสอบ พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน 2551 แนวขอสอบ ระเบียบฯ วาดวยสารบรรณ พ.ศ.2526 และที่แกไขเพิ่มเติม แนวขอสอบ ระเบียบฯ วาดวยพนักงานราชการ แนวขอสบ พรฎ.วาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ.2546 แนวขอสอบ การจัดการงานทั่วไป 176 186 197 215 222 231 237 244 258 260 262 263 265 267 268 271 291 312 324 338
  • 4. 4 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับกรมบังคับคดี ประวัติกรมบังคับคดี เดิ ม งานของกรมบั ง คั บ คดี มี ที่ ม าจากหน ว ยงานราชการระดั บ กองในสํ า นั ก ปลัดกระทรวงยุติธรรม 2 กอง คือ กองบังคับคดีแพง และ กองบังคับคดีลมละลาย จนกระทั่ง ป พ.ศ.2517 สมัยรัฐบาล ฯพณฯ ศาสตราจารยสัญญา ธรรมศักดิ์ เปนนายกรัฐมนตรี ทาน กิ ต ติ สีห นนท เป น รัฐ มนตรีวา การกระทรวงยุติ ธ รรมไดเห็น ความสํ าคั ญ ของทั้ ง สองกอง ดังกลาว ประกอบกับงานบังคับคดีแพงและงานบังคับคดีลมละลายเพิ่มขึ้นมาก หนวยงานที่ จัดไวแตเดิม ไมเหมาะสมกับงานที่นับวันแตจะทวีปริมาณมากขึ้นทุกๆ ป ดังนั้นเพื่อใหการดําเนินงานเกี่ยวกับการบังคับคดีแพง คดีลมละลาย งานเกี่ยวกับการ วางทรัพยไดขยายอํานาจหนาที่ทั่วราชอาณาจักร รวมทั้งงานชําระบัญชีหางหุนสวนบริษัท หรือ นิติบุคคลตามคําสั่งศาล ไดดําเนินการโดยเจาหนาที่ที่มีความรูความสามารถชํานาญ งานในหนาที่ไดเปนไปอยางถูกตอง มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รัฐบาลจึงไดออกพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 216 ลงวันที่ 29 กันยายน พ.ศ.2515 (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2517 ใหยกฐานะกองบังคับคดีแพงและกอง บังคับคดีลมละลาย รวมจัดตั้งขึ้นเปนกรมบังคับคดีอยูในสังกัดกระทรวงยุติธรรม แลวไดตรา พระราชบั ญ ญั ติ โ อนกิ จ การบริ ห ารงานบางส ว นของสํ า นั ก งานปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม พ.ศ.2517 โดยใหโอนบรรดาอํานาจหนาที่ในสวนเกี่ยวกับกองบังคับคดีแพงและกองบังคับ คดี ล ม ละลาย รวมทั้ ง ให โ อนบรรดากิ จ การ ทรั พ ย สิ น หนี้ ข า ราชการ ลู ก จ า ง และเงิ น งบประมาณของสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม เฉพาะสวนที่เกี่ยวกับกองบังคับคดีแพง และกองบังคับคดีลมละลายไปเปนของกรมบังคับคดี และนอกจากนี้ ยังไดจัดตั้งหนวยงาน ใหม ได แ ก สํ านั ก งานวางทรั พ ย ก ลางและงานอนุ ญ าโตตุ ล าการ เพื่ อ ชี้ ข าดถึ ง ข อ พิ พ าท เกี่ยวกับการวางทรัพยภูมิภาคขึ้น รวม 9 ภาค กรมบังคับคดีจึงมีอํานาจหนาที่บังคับคดีแพง และคดีลมละลาย ตลอดจนวางทรัพยทั่วประเทศ แลวเริ่มดําเนินการในฐานะเปนกรมบังคับ คดีนับแตนั้นเปนตนมา วิสัยทัศน มุงมั่นพัฒนาการบังคับคดีอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เสมอภาค เปนธรรม ดวย จิตมุงบริการ เพื่อใหประชาชนเขาถึง เชื่อมั่น ยอมรับ ไดรับประโยชนสูงสุด
  • 5. 5 พันธกิจและอํานาจหนาที่ ใหบริการดานการบังคับคดีแพง คดีลมละลาย การฟนฟูกิจการของลูกหนี้ การชําระ บัญชี และการวางทรัพยอยางมีประสิทธิภาพ เสมอภาค เปนธรรม ศึก ษา วิเ คราะห วิจั ย เพื่อ พัฒ นาระบบการปฏิ บัติ ง านของการบั ง คั บ คดี แพ ง คดี ลมละลาย การฟนฟูกิจการของลูกหนี้ การชําระบัญชี การวางทรัพยในแตละระบบใหเปน มาตรฐานเดียวกัน สอดคลองกับภาวะเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งเสริมสรางศักยภาพการ เปนผูนําในดานการบังคับคดีใหสามารถแขงขันกับองคกรตาง ๆ พั ฒ นากฏหมายที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การบั ง คั บ คดี ใ ห ทั น สมั ย และเป น มาตรฐานสากล รองรับตอการเปลี่ยนแปลงตามสภาวการณ เพื่อเอื้ออํานวยตอการปฏิบัติงานและบริการ ประชาชน โดยคํานึงถึงความสะดวก รวดเร็ว เปนธรรมในสังคมและสิทธิมนุษยชน พัฒนาองคกร และระบบการบริหารจัดการใหมีประสิทธิภาพ คลองตัว โดยประสาน สงเสริม รวมถึงสรางเครือขายความรวมมือการบังคับคดีทั้งในและตางประเทศ สามารถ ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงตามภาวการณโดยยึดหลักธรรมาภิบาล พัฒนาศักยภาพบุคลากรใหมีความรูความสามารถ และความเชี่ยวชาญดานการบังคับ คดีและมีจิตสํานึกในการบริการ อยางมีคุณธรรมและจริยธรรม เผยแพรความรูทางกฎหมายเกี่ยวกับการบังคับคดใหประชาชนไดเขาใจอยางทั่วถึง ตลอดจนไกลเกลี่ยขอพิพาทในการบังคับคดี และสงเสริมความรวมมือการมีสวนรวมในการ บังคับคดีของภาครัฐและภาคเอกชน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน การบังคับคดีแพง ในการบังคับคดีแพง ศาลตองออกหมายบังคับคดีตั้งเจาพนักงาน กรมบังคับคดีหรือ พนักงานอื่นใด เปนเจาพนักงานบังคับคดี เพื่อจัดการบังคับคดีใหเปนไปตามคําพิพากษา หรือคําสั่ง ทั้งนี้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 1(14) เจาพนักงาน บังคับคดีหมายถึงเจาพนักงานในสังกัดกรมบังคับคดีหรือเจาพนักงานอื่นผูมีอํานาจตาม บทบัญญัติแหงกฎหมายที่ใชอยูในอันที่จะปฏิบัติตามวิธีการที่บัญญัติไวในภาค 4 แหง ประมวลกฎหมายนี้ เพื่อคุมครองสิทธิของคูความในระหวางพิจารณาหรือเพื่อบังคับคดีตาม คําพิพากษาหรือคําสั่ง ในสวนกลาง เจาพนักงานบังคับคดี กรมบังคับคดี มีอํานาจบังคับคดี ในเขตอํานาจของศาล ซึ่งตั้งอยูในเขตกรุงเทพมหานคร ยกเวนศาลจังหวัดมีนบุรี ในสวน
  • 6. 6 ภูมิภาค เจาพนักงานบังคับคดีของสํานักงานงานบังคับคดีจังหวัด สํานักงานบังคับคดีจังหวัด สาขา เปนเจาพนักงานบังคับคดีของสํานักงานบังคับคดีจังหวัด นั้น เดิมเจาพนักงานบังคับคดีเปนเจาพนักงานของศาล เมื่อศาลมีคําสั่งเกี่ยวกับการบังคับ คดีอยางใดแลวเจาพนักงานบังคับคดีตองปฏิบัติตามจะอุทธรณฎีกาคัดคานคําสั่งศาลไมได แตปจจุบันเจาพนักงานบังคับคดี กรมบังคับคดี สังกัดกระทรวงยุติธรรมจึงไมใชเจาพนักงาน ศาล (ทั้งนี้ตามมาตรา 275 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ราช กิจจานุเบกษา 11 ตุลาคม 2540 ประกอบกับกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการศาล ยุติธรรม กําหนดใหสํานักงานศาลยุติธรรม เปนหนวยงานธุรการอิสระของศาลยุติธรรม แต มิไดกําหนดใหกรมบังคดีเปนหนวยงานธุรการของศาลยุติธรรม ตามราชกิจจานุเบกษา ฉบับ กฤษฎีกา เลม 117 ตอนที่ 103 ก วันที่ 13 พฤศจิกายน 2543) จึงจะใชสิทธิคัดคานหรือ อุทธรณฎีกาคําสั่งศาลไดหรือไม ควรศึกษาตอไป อํานาจหนาที่ตามกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง 1. อํานาจหนาที่เกี่ยวกับวิธีการชั่วคราวกอนมีคําพิพากษา ตามประมวลวิธีพิจารณา ความแพงมาตรา 254 ซึ่งศาลมีคําสั่งใหยึดหรืออายัดทรัพยสินหรือกักเรือของจําเลยไว ชั่วคราวกอนศาลจะมีคําพิพากษา เชนนี้ศาลจะออกหมายยึดทรัพยชั่วคราว หมายกักเรือ ตั้ง เจาพนักงานบังคับคดีจัดการยึดทรัพยสินหรือเรือของจําเลยไว เพื่อไมใหจําเลยยักยายถาย ทรัพยสิน 2. อํานาจหนาที่เกี่ยวกับการบังคับคดีอันเปนการบังคับคดีใหเปนไปตามคําพิพากษา หรือคําสั่งตามประมวลวิธีพิจารณาความแพง เมื่อศาลมีคําพิพากษาใหคูความฝายใดแพคดี และใหฝายแพคดี(ลูกหนี้ตามคําพิพากษา)ปฏิบัติการชําระหนี้อยางใดอยางหนึ่งตามฟอง หากเปนกรณีที่ตองดําเนินการทางเจาพนักงานบังคับคดี โดยการบังคับคดีชําระหนี้เอาจาก บรรดาทรัพ ยสิน ของลูกหนี้ต ามคําพิ พากษา คู ค วามฝ ายที่ช นะคดี (เจ าพนั กงานตามคํ า พิพากษา) ชอบที่จะรองขอใหศาลออกหมายบังคับคดีตั้งเจาพนักงานบังคับคดีเพื่อจัดการ อายัดทรัพยสิน ของลูกหนี้ตามคําพิพากษาออกขายทอดตลาด และเอาเงินชําระหนี้แกเจาหนี้ ตามคําพิพากษา หรือหากการชําระหนี้ตามคําพิพากษานั้นเปนการสงมอบทรัพยสิน กระทํา การ งดเวนกระทําการหรือขับไลลูกหนี้ตามคําพิพากษา ศาลจะออกหมายบังคับคดีไดโดย การกําหนดเงื่อนไขแหงการบังคับคดีลงในหมายนั้น และกําหนดการบังคับคดีเพียงเทาที่ สภาพแหงการบังคับคดีจะเปดชองใหทําไดโดยทางศาลหรือโดยทางเจาพนักงานบังคับคดี ตามประมวลวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 276 วรรคทายอํานาจหนาที่ตามกฎหมายอื่น
  • 7. 7 1. กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เปนกรณีศาลในคดีอาญามีคําสั่งใหปรับ นายประกันจําเลย ฐานผิดสัญญาประกันที่ทําไวตอศาล โดยศาลจะออกหมายบังคับคดีตั้งเจา พนักงานบังคับคดีของศาลจัดการยึดทรัพยสิน ซึ่งนายประกันยื่นเปนหลักประกันตอศาล แลวนําออกขายทอดตลาดนําเงินชําระคาปรับ (ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 119) 2. กฎหมายอาญา กรณีตามประมวลหมายอาญา มาตรา 29 ผูใดตองโทษปรับ และไมชําระคาปรับภายใน 30 วันนับแตวันที่ศาลมีคําสั่งพิพากษา ผูนั้นจะตองถูกยึดทรัพย สินใชคาปรับ ดังนี้ศาลจะออกหมายบังคับคดีตั้งเจาพนักงานบังคับคดีของศาลจัดการยึด ทรัพยสิน ของจําเลยขายทอดตลาดนําเงินชําระคาปรับ 3. พระราชบัญญัติลมละลาย ในทางปฏิบัติและระเบียบกระทรวงยุติธรรมวา ดวยการบังคับคดี เจาพนักงานพิทักษทรัพยจะบังคับคดีกับทรัพยของลูกหนี้ (จําเลย) ในคดี ลมละลายเองหรืออาจมีบันทึกเปนหนังสือแจงใหเจาพนักงานบังคับคดีทําการยึดแทน ประเภทของการบังคับคดี ในการออกหมายบั ง คั บ คดี ศาลจะระบุ เ งื่ อ นไขแห ง การบั ง คั บ คดี ต ามที่ ร ะบุ ไ ว ใ น มาตรา 213 แหง ปพพ. และจะกําหนดสภาพแหงการบังคับคดีเพียงเทาที่เปดชองใหกระทํา ทางศาลหรือโดยทางเจาพนักงานบังคับคดี 1. การยึดทรัพย 2. การอายัดทรัพย 3. การขายทอดตลาด 4. การบังคับคดีขับไล , รื้อถอน 5. อื่น ๆ เชนการหามชั่วคราว การหามทํานิติกรรม จําหนาย จาย โอน การยึดทรัพย การยึดทรัพยมีอยู 4 ลักษณะดังนี้คือ 1. การยึดทรัพยตามความหมายบังคับคดีรวมถึงการยึดทรัพยตามหมายยึดทรัพย ชั่วคราว ทั้งนี้เจาพนักงานบังคับคดีมหนาที่ตองดําเนินการตามที่ศาลสั่งมาโดยเฉพาะเจาะจง ี จะยึดทรัพยอื่นไมได 2. การยึดทรัพยขามเขตอํานาจศาล 3. การยึดทรัพยตามหมายบังคับคดีของศาลอื่น เปนการบังคับคดีแทน
  • 8. 8 4. การยึดทรัพยซึ่งตั้งอยูในเขตกรุงเทพมหานครแทนศาลตางจังหวัด สังหาริมทรัพยที่ไดรับการยกเวน ไมอยูในอํานาจหนาที่การบังคับคดี ไดแก 1. เครื่องใชสอยสวนตัว เชนที่นอน เครื่องใชครัวเรือน รวมกันเปนเงินไมเกิน 5,000 บาท หากลูกหนี้ตามคําพิพากษาประสงคจะไดรบการยกเวนเกินกวาที่กําหนด ตองไปรองตอ ั ศาล 2. ทรัพยสินที่ลูกหนี้มีไวใชในการประกอบอาชีพ เชน เครื่องใชตาง ๆ ดังนี้กฎหมาย กําหนด ยกเวนใหในจํานวนเงิน 10,000 บาท หากลูกหนี้ตามคําพิพากษาประสงคจะใช เครื่องมือเครื่องใชใดที่มจํานวนเงินเกินกวาที่กําหนด ตองไปรองตอศาล ี 3. ทรัพยสินที่มีไวใชแทนอวัยวะ ตาง ๆ เชน แขนขาเทียม 4. ทรัพยสินที่เปนของวงศตระกูล เชน สมุด หนังสือประจําตระกูล เปนตน การอายัดทรัพย ตามลักษณะการปฏิบัติงานของเจาพนักงานบังคับคดีมี 2 กรณี คือ 1. การอายัดสิทธิรองขอใหชําระเงิน จํานวนหนึ่งหรือเรียกวาการอายัดเงิน 2. การขอใหงดหรือหามจําหนาย จายโอน หรือ ทํานิติกรรมเกี่ยวกับทรัพยสินหรือ เรียกวา การอายัดหามโอน การบังคับคดีในการฟองขับไล รื้อถอน เมือศาลมีคําสั่งใหตั้งเจาพนักงานบังคับคดี จัดการใหเจาหนี้ตามคําพิพากษา ่ ไดครอบครองทรัพย ดังกลาว 1. กรณีที่ลูกหนี้ตามคําพิพากษาถูกศาลพิพากษาใหขับไล หรือตองออกไปจากที่ อยูอาศัย หรือทรัพยที่ครอบครอง 2. กรณีที่ลูกหนี้ตามคําพิพากษาตองรื้อถอนสิ่งปลูกสรางออกไปจาก อสังหาริมทรัพย ที่อยูอาศัย หรือทรัพยที่ครอบครอง การจําหนายทรัพย การขายทอดตลาดทรัพย เจาพนักงานบังคับคดี ตองตรวจสํานวนกอนวามีการปฏิบติ ั ตามขั้นตอน ที่ ป.วิ.พ. มาตรา 303 และมาตรา 304
  • 9. 9 1. ไดมีการแจงการยึดทรัพยใหลูกหนี้ตามคําพิพากษา และผูที่มีสวนไดเสียอื่น ๆ  ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 287 2. ถาเปนอสังหาริมทรัพย หรือทรัพยที่ตองมีการเปลี่ยนแปลงทางทะเบียน ไดมีการ แจงใหนายทะเบียนทราบ ในการบังคับคดีนั้น เจาพนักงานบังคับคดีมอํานาจตามหมายบังคับคดีของศาลที่มี ี เขตอํานาจทีสํานักงานบังคับคดีตั้งอยูเทานั้น อยางไรก็ตาม หากมีการรองขอ เจาพนักงาน ่ บังคับคดียอมมีอํานาจในการบังคับคดีแทนตามหมายบังคับคดีที่ออกโดยศาลอื่นไดเชนกัน การบังคับคดีลมละลาย การลมละลายเกิดจากการมีหนี้สิน ลนพนตัว คือมีหนี้สินมากกวาทรั พยสิน จึงเกิด กฎหมายลมละลายขึ้นมาเพื่อจัดระบบใหเกิดความเปนธรรม แกบรรดาเจาหนี้ทุกราย เพื่อให ไดรับชําระหนี้เต็มจํานวนหรือโดยสวนเฉลี่ยที่เทาเทียมกัน ตามสัดสวนแหงหนี้จากหนี้ที่ ลูกหนี้มีอยูกับเจาหนี้รายนั้น ๆ ในคดีลมละลายเพื่อที่จะทราบวา ลูกหนี้คดีนี้มีเจาหนี้อยูกี่ราย เปนจํานวนหนี้เทาใดกฎหมายจึงกําหนดใหตองมีการโฆษณาคําสั่งพิทักษทรัพย เมื่อศาลมี คําสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาดแลว บรรดาเจาหนี้ทั้งหลายตองมายื่นคําขอรับชําระหนี้ตอเจา พนักงานพิทักษทรัพย ภายในเวลา 2 เดือน เพื่อที่ลูกหนี้จะไดทราบวาตนเองมีหนี้สินเทาใด หากตองการจะจัดการกับหนี้สินดังกลาวควรจะทําอยางไร เชนอาจจะยื่นคําขอประนอมหนี้ ตามจํานวนที่คิดวาจะสามารถชําระแกเจาหนี้ได หรือหากไมสามารถจะประนอมหนี้ไดก็ตอง เปนบุคคลลมละลายตอไป เมื่อศาลมีคําสั่งพิทักษทรัพยตาม พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ.2483 แลว คําสั่งพิทักษทรัพยมี 2 อยาง คือ 1. คําสั่งพิทักษทรัพยชั่วคราว คําสั่งนี้เปนคําสั่งใหเจาพนักงานพิทักษทรัพยเขา รวบรวมทรัพยสินของลูกหนี้ไวชั่วคราว (เปนการคุมครองเจาหนี้ชั่วคราวกอนศาลมีคําสั่ง พิทักษทรัพยเด็ดขาด) เพื่อปองกันมิใหลูกหนี้ยักยายถายเททรัพยสินนั่นเอง 2. คําสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาด คําสั่งนี้เปนคําสั่งใหเจาพนักงานพิทักษทรัพยเขา รวบรวมทรัพยสินของลูกหนี้โดยเด็ดขาด อันมีผลเหมือนเปนคําพิพากษา กระบวนการลมละลาย มีดังนี้ 1. การรวบรวมทรัพยสินเปนการรวบรวมทรัพยสินของเจาพนักงานพิทักษทรัพยซึ่ง ไดมาจากการสอบสวน การรวบรวมเอกสารทางบัญชี และสืบหาทรัพยของบรรดาเจาหนี้เปน หลักใหญ
  • 10. 10 การฟนฟูกิจการ ภาวะวิกฤติเศรษฐกิจที่ไดเกิดขึ้นในประเทศไทยในป พ.ศ. 2540 ไดสงผลกระทบ รายแรงตอเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะภาคการเงินการธนาคารที่ไดรับความเสียหาย โดยตรง เปนเหตุใหธุรกิจจํานวนมากตองประสบวิกฤติทางการเงินและตองลมละลายไปใน ที่สุด ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากวิกฤติเศรษฐกิจมีดังนี้ คือ 1. ความลมเหลวในดานการลงทุนของประเทศ 2. การที่ลูกหนี้ตองเลือกชําระหนี้โดยการผอนชําระเปนงวด เพื่อหลีกเลี่ยงการถูกบังคับ ชําระหนี้โดยมาตรการของเจาหนี้ 3. ความลมเหลวในดานการจางงาน เห็นไดจากการเลิกจางจํานวนมาก และอัตราการ วางงานที่สูงของประเทศ ในประเทศไทย พระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. 2483 เปนกฎหมายที่ไดกําหนด กระบวนการลมละลายอยางเปนทางการ พระราชบัญญัติฉบับนี้ไดรับการแกไขในเวลาตอมา โดยพระราชบัญญัติลมละลาย ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2541 โดยไดเพิ่มกระบวนการฟนฟูกิจการเขา มาใหเปนอีกทางเลือกหนึ่งของการจัดการทรัพยสินลูกหนี้ที่มีหนี้สินลนพนตัว นอกเหนือจาก การบังคับใหลมละลาย การแกไขเพิ่มเติมกฎหมายลมละลายทั้งในครั้งนี้และในครั้งตอๆมา ลวนเปนผลมาจากความพยายามของรัฐบาลในการปรับปรุงกระบวนการลมละลายใหมีความ สอดคลองกับยุคสมัยอยูเสมอ เงื่อนไขเพื่อเขารับการฟนฟูกิจการ 1. ลูกหนี้ตองเปนบริษัท จํากัด, บริษทมหาชน จํากัด หรือ นิติบุคคลอื่นใด ั 2. ลูกหนี้ตองมีหนี้สินลนพนตัว 3. ลูกหนี้ตองมีหนี้ทั้งหมดในจํานวนที่แนนอน ไมต่ํากวา 10 ลานบาท การเริ่มกระบวนการฟนฟูกิจการกระทําไดโดยมีการยื่นคํารองขอฟนฟูกิจการตอศาล ลมละลาย โดยศาลอาจมีคําสั่งใหฟนฟูกิจการตามที่รองขอ เมื่อศาลเห็นวามีเหตุผลสมควร และมีชองทางที่จะฟนฟูกิจการของลูกหนี้ ทั้งนี้ กระบวนการฟนฟูกจการถือเปนการใหโอกาส   ิ แกลูกหนี้ที่หนี้สินลนพนตัว หากแตยังมีศักยภาพทางธุรกิจที่ดีอยู ไมใหถูกพิทักษทรัพยและ ขณะเดียวกันก็รักษาธุรกิจของตนไว และเพือดําเนินการใหกระบวนการฟนฟูกจการประสบ ่ ิ ผลสําเร็จ กระทรวงยุติธรรมจึงไดตงสํานักฟนฟูกิจการลูกหนี้ขึ้นในวันที่ 16 เมษายน พ.ศ. ั้ 2541 โดยใหเปนหนวยงานหลักในการดําเนินการใหเปนไปตามกระบวนการฟนฟูกจการ ิ กฎหมายลมละลายไดกําหนดอํานาจหนาที่ของเจาพนักงานพิทักษทรัพยใน
  • 11. 11 สรุประเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพิ่มเติม ความหมาย “งานสารบรรณ” หมายความวา งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแตการ จัดทําการรับ การสง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทําลาย “หนังสือ” หมายความวา หนังสือราชการ “สวนราชการ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม สํานักงาน หรือหนวยงานอื่นใดของ รัฐทั้งในราชการบริหารสวนกลาง ราชการบริหารสวนภูมิภาค ราชการบริหารสวนทองถิ่น หรือใน ตางประเทศและใหหมายความรวมถึงคณะกรรมการดวย “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะบุคคลที่ไดรับมอบหมายจากทางราชการให ปฏิบัติงานในเรื่องใด ๆ และใหหมายความรวมถึงคณะอนุกรรมการ คณะทํางาน หรือคณะบุคคล อื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบนี้ ชนิดของหนังสือ หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เปนหลักฐานในราชการ ไดแก 1. หนังสือที่มีไปมาระหวางสวนราชการ 2. หนังสือที่สวนราชการมีไปถึงหนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่มีไปถึง บุคคลภายนอก 3. หนังสือที่หนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่บุคคลภายนอกมีมาถึงสวนราชการ 4. เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นเพื่อเปนหลักฐานในราชการ 5. เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับ หนังสือ มี 6 ชนิด คือ 1. หนังสือภายนอก 2. หนังสือภายใน 3. หนังสือประทับตรา 4. หนังสือสั่งการ 5. หนังสือประชาสัมพันธ 6. หนังสือที่เจาหนาที่ทําขึ้น หรือรับไวเปนหลักฐานในราชการ
  • 12. 12 หนังสือภายนอก หนังสือภายนอก คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธีโดยใชกระดาษตราครุฑเปน หนังสือติดตอระหวางสวนราชการ หรือสวนราชการมีถึงหนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่ มีถึงบุคคลภายนอก หนังสือภายใน หนังสือภายใน คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธีนอยกวาหนังสือภายนอกเปน หนังสือติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดเดียวกัน ใชกระดาษบันทึกขอความ หนังสือประทับตรา หนังสือประทับตรา คือ หนังสือที่ใชประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหนาสวนราชการ ระดับกรมขึ้นไป โดยใหหัวหนาสวนราชการระดับกอง หรือผูที่ไดรับมอบหมายจากหัวหนาสวน ราชการระดับกรมขึ้นไป เปนผูรับผิดชอบลงชื่อยอกํากับตรา หนังสือประทับตราใหใชไดทั้งระหวาง สวนราชการกับสวนราชการ และระหวางสวนราชการกับบุคคลภายนอก เฉพาะกรณีที่ไมใชเรื่อง สําคัญ ไดแก 1. การขอรายละเอียดเพิ่มเติม 2. การสงสําเนาหนังสือ สิ่งของ เอกสาร หรือบรรณสาร 3. การตอบรับทราบที่ไมเกี่ยวกับราชการสําคัญ หรือการเงิน 4. การแจงผลงานที่ไดดําเนินการไปแลวใหสวนราชการที่เกี่ยวของทราบ 5. การเตือนเรื่องที่คาง 6. เรื่องซึ่งหัวหนาสวนราชการระดับกรมขึ้นไปกําหนดโดยทําเปนคําสั่ง ใหใชหนังสือ ประทับตรา หนังสือประทับตรา ใชกระดาษตราครุฑ หนังสือสั่งการ หนังสือสั่งการ ใหใชตามแบบที่กําหนดไวในระเบียบนี้ เวนแตจะมีกฎหมายกําหนดแบบ ไวโดยเฉพาะหนังสือสั่งการมี 3 ชนิด ไดแก คําสั่ง ระเบียบ และขอบังคับ คํ า สั่ ง คื อ บรรดาข อ ความที่ ผู บั ง คั บ บั ญ ชาสั่ ง การให ป ฏิ บั ติ โ ดยชอบด ว ยกฎหมายใช กระดาษตราครุฑ
  • 13. 13 สรุปสาระสําคัญ พระราชกฤษฎีกา วาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 พระราชกฤษฎีกานี้มีผลบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา “สวนราชการ” หมายความวา สวนราชการตามกฎหมายวาดวยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และหนวยงานอื่นของรัฐที่อยูในกํากับของราชการฝายบริหาร แตไมรวมถึงองคกร ปกครองสวนทองถิ่น “รัฐวิสาหกิจ” หมายความวา รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราช กฤษฎีกา “ขาราชการ” หมายความรวมถึงพนักงาน ลูกจาง หรือผูปฏิบัติงานในสวนราชการ นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชกฤษฎีกานี้ การบริหารกิจการบานเมืองที่ดี การบริหารกิจการบานเมืองที่ดี ไดแกการบริหารราชการเพื่อบรรลุเปาหมายดังตอไปนี้ (1) เกิดประโยชนสุขของประชาชน (2) เกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ (3) มีประสิทธิภาพและเกิดความคุมคาในเชิงภารกิจของรัฐ (4) ไมมีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจําเปน (5) มีการปรับปรุงภารกิจของสวนราชการใหทันตอสถานการณ (6) ประชาชนไดรับการอํานวยความสะดวกและไดรับการตอบสนองความตองการ (7) มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอยางสม่ําเสมอ การบริหารราชการเพื่อใหเกิดประโยชนสุขของประชาชน การบริหารราชการเพื่อประโยชนสุขของประชาชน หมายถึง การปฏิบัติราชการที่ มีเปาหมายเพื่อใหเกิดความผาสุกและความเปนอยูที่ดีของประชาชน ความสงบและปลอดภัยของ สังคมสวนรวม ตลอดจนประโยชนสูงสุดของประเทศ ในการบริหารราชการเพื่อประโยชนสุขของประชาชน สวนราชการจะตองดําเนินการ โดยถือวาประชาชนเปนศูนยกลางที่จะไดรับการบริการจากรัฐ และจะตองมีแนวทางการบริหาร ราชการดังตอไปนี้
  • 14. 14 (1) การกําหนดภารกิจของรัฐและสวนราชการตองเปนไปเพื่อวัตถุประสงคและสอดคลอง กับแนวนโยบายแหงรัฐและนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงตอรัฐสภา (2) การปฏิบัติภารกิจของสวนราชการตองเปนไปโดยซื่อสัตยสุจริต สามารถตรวจสอบ ไดและมุงใหเกิดประโยชนสุขแกประชาชนทั้งในระดับประเทศและทองถิ่น (3) กอนเริ่มดําเนินการ ตองวิเคราะหผลดีและผลเสียใหครบถวนทุกดาน กําหนด ขั้นตอนการดําเนินการที่โปรงใส มีกลไกตรวจสอบ (4) รับฟงความคิดเห็นและความพึงพอใจของสังคมโดยรวมและประชาชนผูรับบริการ เพื่อปรับปรุงหรือเสนอแนะตอผูบังคับบัญชา (5) ในกรณีที่เกิดปญหาและอุปสรรคจากการดําเนินการ ใหรีบแกไขปญหาและอุปสรรคนั้น โดยเร็ว การบริหารราชการเพื่อใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ การบริหารราชการเพื่อใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ ใหสวนราชการปฏิบัติดังตอไปนี้ (1) จัดทําแผนปฏิบัติราชการไวเปนการลวงหนา (2) การกําหนดแผนปฏิบัติราชการของสวนราชการ ตองมีรายละเอียดของขั้นตอน ระยะเวลาและงบประมาณที่จะตองใชในการดําเนินการของแตละขั้นตอน เปาหมายของภารกิจ ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ และตัวชี้วัดความสําเร็จของภารกิจ (3) มีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑและ วิธีการที่สวนราชการกําหนดขึ้น (4) ในกรณีที่การปฏิบัติภารกิจ หรือการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการเกิดผลกระทบตอ ประชาชน ใหเปนหนาที่ของสวนราชการที่จะตองดําเนินการแกไขหรือบรรเทาผลกระทบนั้น หรือ เปลี่ยนแผนปฏิบัติราชการใหเหมาะสม สวนราชการมีหนาที่พัฒนาความรูในสวนราชการ เพื่อใหมีลักษณะเปนองคการแหง การเรียนรูอยางสม่ําเสมอ โดยตองรับรูขอมูลขาวสารและสามารถประมวลผลความรูในดานตางๆ เพื่อนํามาประยุกตใชในการปฏิบัติราชการไดอยางถูกตอง รวดเร็วและเหมาะสมกับสถานการณ รวมทั้งตองสงเสริมและพัฒนาความรูความสามารถ สรางวิสัยทัศนและปรับเปลี่ยนทัศนคติของ ขาราชการในสังกัดใหเปนบุคลากรที่มีประสิทธิภาพและมีการเรียนรูรวมกัน ทั้งนี้เพื่อประโยชนใน การปฏิบัติราชการของสวนราชการใหสอดคลองกับการบริหารราชการใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตามพระ ราชกฤษฎีกานี้
  • 15. 15 เพื่อประโยชนในการปฏิบัติราชการใหเกิดผลสัมฤทธิ์ ก.พ.ร. อาจเสนอตอคณะรัฐมนตรี เพื่อกําหนดมาตรการกํากับการปฏิบัติราชการ โดยวิธีการจัดทําความตกลงเปนลายลักษณอักษร หรือโดยวิธีการอื่นใด เพื่อแสดงความรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ ใหสวนราชการจัดทําแผนปฏิบัติราชการของสวนราชการนั้น โดยจัดทําเปนแผนสี่ป ซึ่งจะตองสอดคลองกับแผนการบริหารราชการแผนดิน ในแตละปงบประมาณ ใหสวนราชการจัดทําแผนปฏิบัติราชการประจําปโดยใหระบุ สาระสําคัญเกี่ยวกับนโยบายการปฏิบัติราชการของสวนราชการ เปาหมายและผลสัมฤทธิ์ ของงานรวมทั้ ง ประมาณการรายได แ ละรายจ า ยและทรั พ ยากรอื่ น ที่ จ ะต อ งใชเ สนอต อ รัฐมนตรีเพื่อใหความเห็นชอบ และเมื่อรัฐมนตรีใหความเห็นชอบแผนปฏิบัติราชการของสวน ราชการใด การบริหารราชการอยางมีประสิทธิภาพและเกิดความคุมคาในเชิงภารกิจ ของรัฐ เพื่อใหการปฏิบัติราชการภายในสวนราชการเปนไปอยางมีประสิทธิภาพใหสวน ราชการกําหนดเปาหมาย แผนการทํางาน ระยะเวลาแลวเสร็จของงานหรือโครงการ และ งบประมาณที่จะตองใชในแตละงานหรือโครงการ และตองเผยแพรใหขาราชการและประชาชน ทราบทั่วกันดวย ให ส ว นราชการจั ด ทํ า บั ญ ชี ต น ทุ น ในงานบริ ก ารสาธารณะแต ล ะประเภทขึ้ น ตาม หลักเกณฑและวิธีการที่กรมบัญชีกลางกําหนด ให สํ า นั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห ง ชาติ แ ละสํ า นั ก งบประมาณรวมกันจัดใหมีการประเมินความคุมคาในการปฏิบัติภารกิจของรัฐที่สวนราชการ ดําเนินการอยู เพื่อรายงานคณะรัฐมนตรีสําหรับเปนแนวทางในการพิจารณาวาภารกิจใด สมควร จะไดดําเนินการตอไปหรือยุบเลิก และเพื่อประโยชนในการจัดตั้งงบประมาณของสวนราชการในป ตอไป ทั้งนี้ตามระยะเวลาที่คณะรัฐมนตรีกําหนด ในการจัดซื้อหรือจัดจาง ใหสวนราชการดําเนินการโดยเปดเผยและเที่ยงธรรม โดย พิจารณาถึงประโยชนและผลเสียทางสังคม ภาระตอประชาชน คุณภาพ วัตถุประสงค ที่จะใช ราคา และประโยชนระยะยาวของสวนราชการที่จะไดรับประกอบกัน ในกรณีที่วัตถุประสงคในการใชเปนเหตุใหตองคํานึงถึงคุณภาพและการดูแลรักษา เปนสําคัญ ใหสามารถกระทําไดโดยไมตองถือราคาต่ําสุดในการเสนอซื้อหรือจางเสมอไป
  • 16. 16 การบริหารจัดการภายในองคกร องคการ (Organization) มีความสัมพันธเกี่ยวของกับการบริหาร (Administration) อยางลึกซึ้ง นักวิชาการสมัยกอนมักศึกษาการบริหารในลักษณะของกระบวนการ (Process) และจัดองคการใหอยูในสวนหนึ่งหรือขั้นตอนหนึ่งของกระบวนการบริหาร นักวิชาการสมัยใหมบางกลุมพิจารณาองคการกวางยิ่งขึ้นและใหความสําคัญแก องคการมากขึ้นกวาแตกอน โดยถือวาองคการเปนโครงสรางหลักของการบริหารและเปน ปจจัยหลักที่จะทําใหการบริหารดําเนินไปตามเปาหมาย ซึ่งในทัศนะนี้การบริหารและ องคการจะตองศึกษาควบคูกันไปในลักษณะของระบบ (A Systems Approach) โดยถือวา องคการและการบริหารเปนระบบของความสัมพันธระหวางระบบยอย ๆ ภายในรวมตัวกัน เปนระบบที่มีวัตถุประสงคเฉพาะหนึ่ง ๆ ซึ่งกอนที่เราจะไดศึกษาในรายละเอียดก็ควรจะไดทํา ความเขาใจถึงความหมายของการบริหารและองคการใหเขาใจอยางถองแทเสียกอน ความหมายขององคการและการบริหาร ความหมายของการบริหาร นักวิชาการไดใหคํานิยามของคําวา "การ บริหารหรือการจัดการ" (Administration or Management) ไวคลายคลึงกัน เชน Ernest Dale กลาววา "การบริหารเปนการจัดการโดยมนุษย เปนการ ตัดสินใจ และเปนกระบวนการของการรวบรวมและแจกแจงทรัพยากรเพื่อที่จะใหบรรลุ วัตถุประสงคที่ไดตั้งเอาไว Kast และ Rosenzweing กลาววา "การบริหารเปนการรวมมือและ ประสานงานกันระหวางมนุษยและทรัพยากรทางวัตถุอื่น ๆ เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคที่ไดตั้ง เอาไว" และพวกเขายังเสนออีกวา "ปจจัยพื้นฐานในการบริหาร" จะตองมีอยางนอย 4 ประการ คือ 1. วัตถุประสงคที่ตั้งเอาไว 2. มนุษยที่พรอมจะปฏิบัติงาน 3. เทคโนโลยีในการดําเนินการ 4. องคการที่จะดําเนินการ
  • 17. 17 ศัพทที่สําคัญเกี่ยวกับกิจกรรมของการบริหาร นโยบาย (Policy) หมายถึง แนวทางเบื้องตนที่จะใชในการบริหารงานเพื่อใหบรรลุ วัตถุประสงค การวางแผน (Planning) หมายถึง การคิดหาวิธีการที่จะใชในการบริหารเปนเรื่องที่ เกี่ยวกับรายละเอียดของงานที่จะทําในอนาคต การจัดรูปงาน (Organization) หรือการจัดโครงสรางขององคการ หมายถึง การ กําหนดความสัมพันธระหวางองคประกอบตาง ๆ ในเชิงกายภาพขององคการ การบรรจุบุคคลเขาทํางาน (Staffing) หมายถึง การสรรหา คัดเลือก และบรรจุ แตงตั้งบุคคลทํางานในตําแหนงตาง ๆ ขององคการ การสั่งการ (Directing) หมายถึง การใชอํานาจและอิทธิพลของผูบริหารในการชัก จูงใหผูปฏิบัติงานทํางานตามที่ไดมอบหมาย ตามตําแหนงและอํานาจหนาที่ในแตละสายงาน การประสานงาน (Coordinating) หมายถึง การสรางความรวมมือรวมใจระหวาง ผูปฏิบัติงานทั้งหลายภายในองคการ เพื่อใหการทํางานดําเนินไปตามเปาหมายและบรรลุ วัตถุประสงค การจัดทํารายงาน (Reporting) เปนการแสดงขอเท็จจริงใหเห็นถึงรายละเอียด ของงานที่ทําไปทําใหผูบริหารทราบถึงผลงาน ความกาวหนาของงาน และอุปสรรคที่เกิดขึ้น การจัดทํางบประมาณ (Budgeting) เปนการแสดงใหเห็นถึงรายละเอียดของการ ใชจายในรูปของบัญชีการเงินขององคการ ทั้งนี้เพื่อชี้ใหเห็นถึงประสิทธิภาพการใชเงิน อํานาจหนาที่ (Authority) เปนอํานาจที่มาจากตําแหนงที่กําหนดไวในองคการ เปนอํานาจที่มีลักษณะเปนทางการ มีการกําหนดไวในลักษณะเปนที่ รับ รูข อง ผูใตบังคับบัญชา การควบคุม (Controlling) หมายถึง การตรวจสอบและบังคับใหกิจกรรมตาง ๆ ใน การบริหารดําเนินไปตามแผนงานที่ไดวางไว การประเมินผล (Evaluation) หมายถึง การตรวจสอบเปรียบเทียบผลงานที่ทํา สําเร็จแลว เพื่อเปรียบเทียบกับแผนงานและวัตถุประสงค การศึกษาเกี่ยวกับลักษณะของผูปฏิบัติงานในองคการ (Concepts of Line and Staff) นักทฤษฎีการบริหารแบงประเภทของผูปฏิบัติงานออกเปน 2 ประเภท คือ
  • 18. 18 1. พนักงานปฏิบัติการ (Line Officer) คือ พนักงานที่มีอํานาจหนาที่ในการสั่ง การ บังคับบัญชา และปฏิบัติหนาที่ตามวัตถุประสงคขององคการ รวมทั้งจะตองมีตําแหนง อยูในสายการบังคับบัญชาขององคการและรับคําสั่งตามลําดับชั้นจากผูบังคับบัญชาสูงสุดไป ยังผูปฏิบัติงานระดับต่ําสุด 2. พนักงานที่ปรึกษา (Staff Officer) คือ พนักงานที่คอยชวยเหลือพนักงาน ปฏิบัติการใหทํางานไดมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เปนผูที่คอยคนควาและรวบรวมขอมูล รวมทั้งรวบรวมปจจัยที่จําเปนในการบริหาร เชน ทรัพยากรที่จําเปน บุคลากรที่ตองใชใน การทํางาน เพื่อปอนใหกับพนักงานปฏิบัติการ นอกจากนี้พนักงานที่ปรึกษาจะเปนเพียง ผูใหคําแนะนํา ใหขอมูล และคอยชวยเหลือเทานั้น แตจะไมมีอํานาจหนาที่ในการสั่งการและ ตัดสินใจใด ๆ ที่เกี่ยวกับวัตถุประสงคในการดําเนินงานขององคการ สรุปก็คือ พวกนักทฤษฎีการบริหารเชื่อวา พนักงานที่ปรึกษาเปนสิ่งจําเปนใน องคการขนาดใหญหรือในหนวยงานที่ซับซอน และการมีหนักงานที่ปรึกษาจํานวนมาก็อาจ กอใหเกิดความขัดแยงในองคการขึ้นได องคประกอบในการจัดองคการและการจัดการ ความหมายและลักษณะของการจัดองคการ คําวา "องคการ" นั้น ในภาษาอังกฤษจะใชคําวา Organization และ "การจัด องคการ" ใชคําวา Organizing ซึ่งการแปลดังกลาวเปนการแปลตรงตามศัพท หากแตใน บางครั้งคําวา "องคการ" (Organization) อาจจะใชในความหมายที่กวางกวานั้น Chester I. Barnard กลาววา "องคการคือระบบของการรวมมือกันประกอบ กิจการของมนุษย" (An organization is a system of cooperative human activites) Herbert G. Hicks กลาววา "องคการคือโครงสรางของกระบวนการซึ่งไดจัด ขึ้นสําหรับใหบุคคลฝายตาง ๆ ไดปฏิบัติงานรวมกัน ทั้งนี้เพื่อใหบรรลุถึงวัตถุประสงคที่ตั้ง ไว" (An organization is a structured proces is which persons interact for objectives) สมพงษ เกษมสิน กลาวา "องคการคือกลุมบุคคลกลุมหนึ่งซึ่งรวมกัน ดําเนินการรวมมือกันอยางมีระเบียบ เพื่อใหงานบรรลุวัตถุประสงคที่กําหนดขึ้น" สรุปก็คือ เราอาจพิจารณาลักษณะขององคการไดวา องคการเปนการ รวมกลุมของบุคคลอยางมีแบบแผน, องคการมีความตองการหรือมีวัตถุประสงครวมกันของ
  • 19. 19 แนวขอสอบ ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 14. 15. 16. "ก.พ.ค." มีชื่อเต็มวาอะไร ก. กรรมการพิทักษคุณธรรม ข. คณะกรรมการพิทักษระบบคุณธรรม ค. คณะกรรมการพิทักษคุณธรรม ง. กรรมการพิทักษระบบคุณธรรม ตอบ ข. คณะกรรมการพิทักษระบบคุณธรรม คณะกรรมการพิทักษระบบคุณธรรมคณะหนึ่ง เรียกโดยยอวา “ก.พ.ค.” (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 24) ขอใดกลาวไมถูกตอง เกี่ยวกับ ก.พ.ค. ก. ประกอบดวยกรรมการจํานวนหาคน ข. กรรมการ ก.พ.ค. ตองทํางานเต็มเวลา ค. เลขาธิการ ก.พ. เปนเลขานุการของ ก.พ.ค. ง. กรรมการ ก.พ.ค. ตองมีอายุไมต่ํากวา 45 ป ตอบ ก. ประกอบดวยกรรมการจํานวนหาคน “ก.พ.ค.” ประกอบดวยกรรมการจํานวนเจ็ดคนซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตั้งตามมาตรา 26 กรรมการ ก.พ.ค. ตองทํางานเต็มเวลา ใหเลขาธิการ ก.พ. เปน เลขานุการของ ก.พ.ค. (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 24) คณะกรรมการคัดเลือกกรรมการ พ.พ.ค. ประกอบดวยบุคคลใดเปนประธาน ก. อัยการพิเศษ ข. ผูพิพากษาศาลอุทธรณ ค. ประธานศาลปกครองสูงสุด ง. นายกรัฐมนตรี ตอบ ค. ประธานศาลปกครองสูงสุด คณะกรรมการคัดเลือกกรรมการ ก.พ.ค. ประกอบดวยประธาน ศาลปกครอง สูงสุด เปนประธาน รองประธานศาลฎีกาที่ไดรับมอบหมายจากประธานศาลฎีกาหนึ่งคน กรรมการ ก.พ. ผูทรงคุณวุฒิหนึ่งคนซึ่งไดรับเลือกโดย ก.พ. และใหเลขาธิการ ก.พ. เปน กรรมการ และเลขานุการ (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 26)
  • 20. 20 17. กรรมการ ก.พ.ค. พนจากตําแหนงเมื่ออายุครบกี่ป ก. 55 ปบริบูรณ ข. 60 ปบริบูรณ ค. 65 ปบริบูรณ ง. 70 ปบริบูรณ ตอบ ง. 70 ปบริบูรณ นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระ กรรมการ ก.พ.ค. พนจากตําแหนงเมื่อ (1) ตาย (2) ลาออก (3) มีอายุครบเจ็ดสิบปบริบูรณ (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 30) 18. การจัดระเบียบขาราชการพลเรือนตองเปนไปเพื่อผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ โดยให ขาราชการปฏิบัติราชการอยางไร ก. มีประสิทธิภาพ และคุมคา ข. มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ ค. มีคุณภาพ คุณธรรมและมีคุณภาพชีวิตที่ดี ง. มีประสิทธิภาพ และมีคุณธรรม ตอบ ค. มีคุณภาพ คุณธรรมและมีคุณภาพชีวิตที่ดี การจัดระเบียบขาราชการพลเรือนตองเปนไปเพื่อผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ และความคุมคา โดยใหขาราชการปฏิบัติราชการอยางมีคุณภาพ คุณธรรม และ มีคุณภาพชีวิตที่ดี (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 34) 19. ขาราชการพลเรือน มีกี่ประเภท ก. 2 ประเภท ข. 3 ประเภท ค. 4 ประเภท ง. 5 ประเภท ตอบ ก. 2 ประเภท ขาราชการพลเรือนมี 2 ประเภท (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 35) 20. ขาราชการพลเรือนซึ่งรับราชการโดยไดรับการบรรจุแตงตั้ง ตามที่บัญญัติไวในลักษณะ 4 ของขาราชการพลเรือนสามัญเรียกวา ก. ขาราชการพลเรือน ข. ขาราชการพลเรือนสามัญ
  • 21. 21 แนวขอสอบ ระเบียบฯ งานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แกไขเพิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548 ่ 32. ในกรณีที่ตองการใหหนังสือสงถึงมือผูรับภายในเวลาที่กําหนดใหระบุคําใดลงไป แลวลง วัน/เดือน/ปและกําหนดเวลากํากับ ก. ดวนภายใน ข. ดวนวันที่ ค. ดวนกําหนด ง. ดวนถึง ตอบ ก. ดวนภายใน ในกรณีที่ตองการใหหนังสือสงถึงผูรับภายในเวลาที่กําหนด ใหระบุคําวา ดวน ภายใน แลวลงวันเดือน ป และกําหนดเวลาที่ตองการใหหนังสือนั้นไปถึงผูรับกับให เจาหนาที่สงถึงผูรับซึ่งระบุบนหนาซองภายในเวลาที่กําหนด (ขอ 28 ระเบียบฯ งานสาร บรรณ) 33. สําเนาหนังสือที่มีคํารับรองวาสําเนาถูกตอง ตองใหเจาหนาที่ตั้งแตระดับใดซึ่งเปนเจาของ เรื่องลงลายมือชื่อรับรอง ก. ระดับ 2 ข. ระดับ 3 ค. ระดับ 4 ง. ระดับ 5 ตอบ ก. ระดับ 2 สําเนาหนังสือใหมีคํารับรองวา สําเนาถูกตอง โดยใหเจาหนาที่ตั้งแตระดับ 2 หรือ เทียบเทาขึ้นไป ซึ่งเปนเจาของเรื่องลงลายมือชื่อรับรอง พรอมทั้งลงชื่อตัวบรรจง และ ตําแหนงที่ชอบลางของหนังสือ 34. ขอใดกลาวไมถูกตอง ก. หนังสือเวียนใหเพิ่มรหัสพยัญชนะ ว หนาเลขทะเบียนหนังสือสง ข. หนังสือตางประเทศใหใชกระดาษตราครุฑ ค. หนังสืออื่นๆ ที่มิใชภาษาอังกฤษใหใชกระดาษบันทึก ง. สรรพนามที่ใชในหนังสือใหใชตามฐานะแหงความสัมพันธระหวางเจาของหนังสือและ ผูรับหนังสือ ตอบ ค. หนังสืออื่นๆ ที่มิใชภาษาอังกฤษใหใชกระดาษบันทึก หนังสือเวียน คือ หนังสือที่มีถึงผูรับเปนจํานวนมาก มีใจความอยางเดียวกัน ให เพิ่มรหัสตัวพยัญชนะ ว หนาเลขทะเบียนหนังสือสง
  • 22. 22 สรรพนามที่ใชในหนังสือ ใหใชตามฐานะแหงความสัมพันธระหวางเจาของหนังสือ และผูรับหนังสือตามภายผนวก 2 หนังสือภาษาตางประเทศ ใหใชกระดาษตราครุฑ (ขอ 32-34 ระเบียบฯ งานสารบรรณ) 35. ขอใดมิใชการเก็บรักษาหนังสือ ก. การเก็บระหวางปฏิบัติ ข. การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแลว ค. การเก็บไวเพื่อใชในการตรวจสอบ ง. การเก็บเพื่อใชในการแกไข ตอบ ง. การเก็บเพื่อใชในการแกไข การเก็บหนังสือแบงออกเปน การเก็บระหวางปฏิบัติ การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแลว และการเก็บไวเพื่อใชในการตรวจสอบ (ขอ 52 ระเบียบฯ งานสารบรรณ) 36. ในการเก็บหนังสือระหวางปฏิบัตินั้น ใหกําหนดวิธีการเก็บตามลักษณะใด ก. ความเหมาสะสมตามประเภทงาน ข. ความเหมาะสมตามขั้นตอนปฏิบัติงาน ค. ความเหมาะสมตามความสะดวก ง. ความเหมาะสมตามหนวยงาน ตอบ ข. ความเหมาะสมตามขั้นตอนปฏิบัติงาน การเก็บระหวางปฏิบัติ คือ การเก็บหนังสือที่ปฏิบัติยังไมเสร็จใหอยูในความ รับผิดชอบของเจาของเรื่องโดยใหกําหนดวิธีการเก็บใหเหมาะสมตามขั้นตอนของการ ปฏิบัติงาน (ขอ 53 ระเบียบฯ งานสารบรรณ) 37. อายุการเก็บหนังสือ โดยปกติมีระยะเวลาในการเก็บไมนอยกวากี่ป ก. 5 ป ข. 7 ป ค. 10 ป ง. 20 ป ตอบ ค. 10 ป อายุการเก็บหนังสือ โดยปกติใหเก็บไวไมนอยกวา 10 ป (ขอ 57 ระเบียบฯ งาน สารบรรณ) 38. หนังสือเก็บรักษาเปนความลับใหปฏิบัติตามกฎหมายใด ก. ระเบียบวาดวยการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ ข. กฎหมายของกองจดหมายเหตุแหงชาติ ค. กฎหมายของกระทรวงการคลัง ง. ระเบียบฯ วาดวยการรักษาความลับของทางราชการ
  • 23. 23 แนวขอสอบระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยพนักงาน ราชการ พ.ศ.2547 7.พนักงานราชการมีกี่ประเภท ก. 1 ประเภท ข. 2 ประเภท ค. 3 ประเภท ง. 4 ประเภท ตอบ ข. 2 ประเภท พนักงานราชการมีสองประเภท (ระเบียบฯ ขอ 6) 8.พนักงานราชการที่ปฏิบัติงานในลักษณะทีตองใชความรูหรือความเชี่ยวชาญสูงมากเปน ่ พิเศษหมายถึงผูใด ก. พนักงานราชการ ข. พนักงานราชการทั่วไป ค. พนักงานราชการพิเศษ ง. พนักงานราชการเชี่ยวชาญ ตอบ ค. พนักงานราชการพิเศษ พนักงานราชการพิเศษ ไดแก พนักงานราชการซึ่งปฏิบัตงานในลักษณะที่ตองใช ิ ความรูหรือความเชี่ยวชาญสูงมากเปนพิเศษเพือปฏิบติงานในเรื่องที่มีความสําคัญและจําเปน ่ ั เฉพาะเรื่องของสวนราชการ หรือมีความจําเปนตองใชบคคลในลักษณะดังกลาว (ระเบียบฯ ุ ขอ 6 (2)) 9.ในการกําหนดตําแหนงของพนักงานราชการจะจําแนกเปนกลุมงานโดยพิจารณาจากสิ่งใด ก. ลักษณะงานและผลผลิตของงาน ข. ลักษณะงานและคุณภาพของงาน ค. ประเภทและผลผลิตของงาน ง. ประเภทและคุณภาพของงาน ตอบ ก. ลักษณะงานและผลผลิตของงาน ในการกําหนดตําแหนงของพนักงานราชการ ใหกําหนดตําแหนงโดยจําแนกเปนกลุม งานตามลักษณะงานและผลผลิตของงาน (ระเบียบฯ ขอ 7) (1) กลุมงานบริการ (2) กลุมงานเทคนิค (3) กลุมงานบริหารทั่วไป
  • 24. 24 (4) กลุมงานวิชาชีพเฉพาะ (5) กลุมงานเชี่ยวชาญเฉพาะ (6) กลุมงานเชี่ยวชาญพิเศษ 10.ตําแหนงของพนักงานราชการมีกี่กลุม ก. 4 กลุม ค. 6 กลุม ตอบ ค. 6 กลุม คําอธิบายดังขอขางตน 11.ขอใดไมใชกลุมงานของพนักงานราชการ ก. กลุมงานบริการ ค. กลุมงานบริหาร ตอบ ค. กลุมงานบริหาร คําอธิบายดังขอขางตน ข. 5 กลุม ง. 7 กลุม ข. กลุมงานเทคนิค ง. กลุมงานเชี่ยวชาญพิเศษ 12.ในการกําหนดตําแหนงของกลุมงานและกําหนดลักษณะงานใหเปนไปตามประเภทของ ใคร ก. อธิบดี ข. ปลัดทบวง ค. ปลัดกระทรวง ง. คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ ตอบ ง. คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ การกําหนดใหพนักงานราชการประเภทใดมีตําแหนงในกลุมงานใด และการกําหนด ลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะของกลุมงาน ใหเปนไปตามประกาศของคณะกรรมการ (ระเบียบฯ ขอ 7) 13.กรอบอัตรากําลังพนักงานราชการมีระยะเวลากี่ป ก. 2 ป ข. 3 ป ค. 4 ป ง. 5 ป ตอบ ค. 4 ป
  • 25. 25 แนวขอสอบ พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและ วิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 8. ขอใดคือการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี ก. เกิดประโยชนสุขของประชาชน ข. เกิดผลสัมฤทธิตอภารกิจของรัฐ ์ ค. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุมคา ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ การบริ ห ารกิ จ การบ า นเมื อ งที่ ดี ได แ ก การบริ ห ารราชการเพื่ อ บรรลุ เ ป า หมาย ดังตอไปนี้ (1) เกิดประโยชนสุขของประชาชน (2) เกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ (3) มีประสิทธิภาพและเกิดความคุมคาในเชิงภารกิจของรัฐ  (4) ไมมีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจําเปน (5) มีการปรับปรุงภารกิจของสวนราชการใหทันตอสถานการณ (6) ประชาชนไดรับการอํานวยความสะดวกและไดรับการตอบสนองความ ตองการ (7) มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอยางสม่ําเสมอ 9. หมวด 2 ในพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ.2546 นันมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับเรื่องใด ้ ่ ก. การรบริหารกิจการบานเมืองทีดี ข. การบริหารราชการเพื่อใหเกิดประโยชนสุขของประชาชน ค. การบริหารราชการเพื่อใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ  ง. คณะกรรมการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี ตอบ ข. การบริหารราชการเพื่อใหเกิดประโยชนสุขของประชาชน หมวด 2 การบริหารราชการเพื่อใหเกิดประโยชนสุขของประชาชน 10.การบริหารราชการเพื่อประโยชนสุขของประชาชน หมายถึงการปฏิบัติราชการที่มี เปาหมายเพื่อสิ่งใด