SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  29
Télécharger pour lire hors ligne
1
2
ขอบเขตเนื้อหา
สวนที่ 1 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับการประปานครหลวง
วิสัยทัศน / พันธกิจ / คานิยม 5
สัญลักษณ 6
การบริหารจัดการภาพลักษณ 7
ตราสัญลักษณประจําองคกร 8
สีประจําองคกร 9
ประวัติ/ภาระหนาที่ 9
ทําเนียบผูวาการการประปานครหลวง 12
การดําเนินงานดานธรรมาภิบาล จริยธรรม และความรับผิดชอบตอสังคม 13
ความรับผิดชอบตอสังคม CSR 13
จริยธรรม 22
ประมวลจริยธรรมการประปานครหลวง 24
แนวทางการจัดทําประมวลจริยธรรมตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย 24
ธรรมภิบาล (Good Govermance) 25
สวนที่ 2 กฎหมายที่ควรรูเกี่ยวกับการประปานครหลวง
พระราชบัญญัติการประปานครหลวง พ.ศ. 2510 แกไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 5 พ.ศ.2535 35
แนวขอสอบความรูทั่วไปเกี่ยวกับการประปานครหลวง 50
สวนที่ 3 ความรูเฉพาะตําแหนงนักทรัพยากร
องคกรและการจัดการ 60
องคการ (Organization) 60
ผูบริหารหรือผูจัดการ (Manager) 61
การบริหารหรือการจัดการ (Management) 62
หนาที่ของผูบริหาร (Management Functions) 64
บทบาททางการบริหาร (Management Roles) 65
ทักษะทางการบริหาร (Managerial Skills) 66
ระบบการบริหาร (Management System) 67
การจัดการในอดีตและปจจุบัน 68
พื้นฐานประวัติศาสตรทางการบริหาร (Historical Background) 68
แนวความคิดทางการบริหารในยุคแรก (Early Management Theory) 68
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร (Scientific Management Theory) 69
ทฤษฎีทางการบริหารโดยทั่วไป (General Administration Theory) 70
ทฤษฎีการจูงใจในยุคแรก (Early Theory of Motivation) 74
ประเด็นปจจุบันและแนวโนมทางการบริหาร 76
วัฒนธรรมองคการและสภาวะแวดลอม 79
แนวคิดเกี่ยวกับบทบาทของผูบริหารกับวัฒนธรรม 79
วัฒนธรรมองคการ 80
สภาวะแวดลอม 81
การจัดการในยุคโลกาภิวัตน 82
การกาวขึ้นเปนองคการระหวางประเทศ (Go International Organization) 85
ความรับผิดชอบทางสังคมและจริยธรรมทางธุรกิจ 86
ความรับผิดชอบตอสังคมของผูบริหาร (Social Responsibility) 86
จริยธรรมทางธุรกิจ (Managerial Ethics) 87
การตัดสินใจทางการจัดการ 88
พื้นฐานการวางแผน 92
3
จุดมุงหมายของการวางแผน (Purposes of Planning) 93
ประเภทของแผนงาน (Types of Plans) 94
วัตถุประสงคขององคการ (Organization Objective) 97
แนวความคิดของการจัดการตามวัตถุประสงค 98
การจัดการเชิงกลยุทธ 99
การวางแผนกลยุทธ (Strategic Planning) 99
เครื่องมือและเทคนิคในการวางแผน 104
โครงการและการออกแบบองคการ 106
การสื่อสารทางการบริหารและเทคโนโลยีสารสนเทศ 106
การจัดการทรัพยากรมนุษย 118
ประเด็นปจจุบันในการจัดหาทรัพยากรมนุษย 123
การจัดการการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรม 124
เทคนิคในการบริหารการเปลี่ยนแปลง (Technique for Managing Change) 126
การพัฒนาองคการ (Organization Development – OD) 128
การกระตุนใหเกิดนวัตกรรม (Stimulating Innovation) 129
พื้นฐานของพฤติกรรม 130
การรับรู (Perception) 133
การเรียนรู (Learning) 134
การกําหนดรูปแบบของพฤติกรรม (Shaping Behavior) 135
การเขาใจกลุมและทีม 137
แนวคิดขั้นพื้นฐานของกลุม (Basic Group Concept) 138
การแกปญหาความขัดแยง (Conflict Resolution Approaches) 139
การตัดสินใจเปนกลุม (Group Decision Making) 140
การจูงใจพนักงาน 145
ภาวะผูนํา 142
ทฤษฎีภาวะผูนําในยุคเริ่มแรก (Early Theory of Leadership) 153
ทฤษฎีภาวะผูนําแบบพฤติกรรม (Behavior Theory) 153
ทฤษฎีตามสถานการณ 155
ผูนําและอํานาจ (Leader and Power) 159
พื้นฐานการควบคุม 161
การบริหารงานผลิต 165
เครื่องมือและเทคนิคในการควบคุม 169
ระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2548 174
สรุปพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540 188
การรางหนังสือราชการ 195
สรุประเบียบวาดวยรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544 202
แนวขอสอบบุคลากร 213
4
การประปานครหลวง
วิสัยทัศน / พันธกิจ / คานิยม
วิสัยทัศน
"เปนองคกรชั้นนําดานการบริหารจัดการที่ดี ที่มีความรับผิดชอบตอสังคม ใน
ระดับแนวหนาสุด ของกลุมประเทศอาเซียน ที่ใหบริการงานประปา"
พันธกิจ
"ใหบริการงานประปา อยางมั่นคง ทั่วถึง สะอาด และเพียงพอ ดวยมาตรฐาน
คุณภาพ และ บุคลากรมืออาชีพ เพื่อสรางความพึงพอใจ และความเชื่อมั่นใหแก
ผูใชบริการ"
คานิยม
"มุงมั่น พัฒนาตน พัฒนาระบบงาน อยางยึดมั่นในประโยชนของผูใชบริการ ดวย
ความรับผิดชอบ"
การจัดการองคกร
ยุทธศาสตรการบริหารการประปานครหลวง ฉบับที่ 3 (2555 - 2559)
ประกอบดวยยุทธศาสตรหลัก 6 ดาน จําแนกเปนมุมมองตามหลักการ
Balanced Scorecard (BSC) และแนวทางบริหารจัดการสรางมูลคาเชิงเศรษฐศาสตร
(EVM) ดังนี้
1. ยุทธศาสตรดานผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholder Strategic)
ใหความสําคัญกับผูมีสวนไดสวนเสีย หรือ Stakeholder ซึ่งคําวา"ผูมีสวนได
สวนเสีย ในที่นี้ จะหมายรวมถึงทุกภาคสวนทั้งที่เปนบุคคล หนวยงานภาครัฐ และองคกร
ธุรกิจ ที่มีความสัมพันธเกี่ยวของกับการประปานครหลวง มุงเนนตอบสนองความ
ตองการและความคาดหวังของผูมีสวนไดสวนเสียอยางสมดุล
2. ยุทธศาสตรดานการเงิน (Financial Strategic)
สรางมูลคาเชิงเศรษฐศาสตร (EP : Economic Profit) โดยสรางรายไดให
เติบโตอยางยั่งยืน และเพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินงาน
3. ยุทธศาสตรดานลูกคา (Customer Strategic)
5
ใหบริการน้ําประปาที่สะอาด อยางทั่วถึง เพียงพอ สรางความนาเชื่อถือ และ
ไดรับการยอมรับในระดับสากล
4. ยุทธศาสตรดานกระบวนการภายใน (Internal Process Strategic)
ผลิตและสงน้ําดวยมาตรฐานสูงอยางมั่นคง เพียงพอ และยั่งยืน โดยมุงเนน
ลูกคา การตลาด และการบริการที่เปนเลิศ ดวยการบริหารจัดการกระบวนการอยางมี
ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
5. ยุทธศาสตรดานการเรียนรูและพัฒนาองคกร (Learning and Growth
Strategic)
ยกระดับการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพิ่มประสิทธิภาพการใช
เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสรางขีดความสามารถองคกร
6. ยุทธศาสตรดานธรรมาภิบาล (Corporate Governance Strategic)
ยกระดับการบริหารจัดการที่ดี ดวยหลักธรรมาภิบาล 6 ประการ ประกอบดวย
การมีสวนรวม (Participation) หลักนิติธรรม (Rule of Law) ความโปรงใส
(Transparency) ความรับผิดชอบตอผลการปฏิบัติงาน (Accountability) ตอตานการ
คอรรัปชั่น (Anti – Corruption) มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Efficiency &
Effectiveness) เปนฐานบริหารจัดการทั้งองคกร สอดแทรกสูทุกกระบวนงาน
สัญลักษณ
พระแมธรณี สัญลักษณของการประปานครหลวง
พระแมธรณี สัญลักษณของการประปานครหลวง เมื่อครั้งที่พระบาทสมเด็จพระ
มงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 6 เสด็จเปดกิจการการประปากรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 14
พฤศจิกายน พ.ศ.2457 โดยมีพระราชดํารัสกลาวเปดตอนหนึ่งความวา
6
อนึ่ง ทานทั้งหลายที่ไดชวยเราทําการอันนี้ใหสําเร็จไปได ควรรูสึกปลื้มใจวาไดทํา
การอันประโยชนแลกุศลอยางยิ่งเพราะน้ําซึ่งใสสะอาด บริสุทธิ์ ใครๆยอมรูอยูแลวทั้งใน
โบราณแลบัดนี้วาเปนของจําเปนเพื่อประโยชนแล เพื่อความสุขสําหรับปองกันโรค
อันตรายของมนุษย น้ําใสสะอาดยอมเปนเครื่องบําบัดโรคไดดีกวาโอสถหรือเภสัชช
ทั้งหลาย เพราะฉะนั้นสิ่งไรที่นับวาเปนมลทินโทษ ทานโบราณาจารยจึงตองสอนใหใชน้ํา
เปนเครื่องชําระลาง ในที่สุดถึงแมจะกลาวเปรียบเทียบสิ่งที่เปนของชั่วราย เพื่อจะบําราบ
สิ่งชั่วรายอันนั้นก็จะบําราบใหพายแพไดโดยอาศัยอํานาจน้ํา เปนตนวาเมื่อครั้งสมเด็จ
พระมุนินทรชินสีหประทับอยูที่ภายใตโพธิ บัลลังกพระยามาร ซึ่งสมมุติวาเปนผูคิดราย
ตอพระองคไดหวังผจญตอพระบรมศาสดา โดยเดชะอํานาจพระบารมีของพระองค
บันดาลใหนางพระธรณีมาสยายผมบีบน้ําบําราบมาร ไดดวยอิทธิฤทธิ์แหงน้ํา อันไหลมา
จากผมของนางดวยอํานาจสัจจะวาจาภาษิตนี้ ขอการประปาจงเปนผลสําเร็จสมตามพระ
ราชประสงคของสมเด็จพระชนกนารถของเรา และสมความประสงคของเราแลสมความ
ประสงคของทานทั้งหลายบรรดาที่ไดชวยทําการ อันนี้สําเร็จ ขอน้ําใสอันจะหลั่งไหลจาก
ประปานี้ จงเปนเครื่องประหารสรรพโรครายที่จะเบียดเบียฬใหรายแกประชาชนผูเปน
พสกนิกรของเรา ขอน้ําอันนี้ไดรับพรแลว โดยพระสงฆไดสวดมนตแลโดยเราไดตั้งใจให
พรจงบันดาลใหเปนน้ํามนตทําให ประชาชนมีความสุขสวัสดิ์ผองแผวเจริญถวนทั่วทุกตัว
คนตั้งแตวันนี้เปนตน ไป
ซึ่งพระราชดํารัสดังกลาว จึงเปนที่มาของตราสัญลักษณของการประปา
(หมายเหตุ พระราชดํารัสนี้เปนภาษาที่ใชเขียนในสมัยนั้น จึงมีบางคําที่ผิดจากที่ใชใน
ปจจุบัน)
การบริหารจัดการภาพลักษณ
วิสัยทัศนของแบรนด
การประปานครหลวงเปนองคกรที่มุงมั่นชวยเหลือประชาชน เพื่อใหมีคุณภาพ
ชีวิตที่ดีขึ้น
การวางตําแหนงแบรนด
เหนือกวา องคกรที่ใหบริการสาธารณูปโภคพื้นฐานอื่นๆในประเทศไทย สําหรับ
ประชาชน ที่อยูอาศัยและประกอบกิจการในเขตนครหลวงที่ตองการสินคาคุณภาพดี
ปลอดภัยและมีปริมาณเพียงพอตอความตองการ ในราคาที่สามารถจายไดและยุติธรรม
รวมทั้งมีบริการที่รวดเร็ว เพราะกปน.มี เทคโนโลยีที่มีนวัตกรรมทันสมัยในการผลิต
7
สินคาที่มีคุณภาพ อีกทั้งยังมีพนักงานที่ใหบริการอยางมืออาชีพ อบอุนและเขาถึงงาย ที่
ลูกคาไววางใจ เพื่อใหทุกๆคนมีความมั่นใจวากปน.ทํางานอยางทุมเทเพื่อชวยให
ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
บุคลิกภาพของแบรนด
• มีความเปนมืออาชีพ (ซื่อสัตย เปดเผย เปนผูนํา)
• มีแนวคิดเชิงรุก (มองการณไกลกระฉับกระเฉง รวดเร็ว)
• สรางสรรค (มีพลังสรางสรรค ชางคิด/เปนแหลงความรู)
• โอบออมอารี (มีมิตรไมตรี ชอบชวยเหลือผูคน เขาถึงงาย) (มีจิตสํานึกในการบริการ)
• ทันสมัย (เทห/สวยงามเขากับยุคสมัย ดูสมารท)
• นาเชื่อถือ (วางใจได พึ่งพาได)
จึงไดจัดทําตราสัญลักษณการประปานครหลวงโฉมใหม โดยมีความหมายดังนี้
• ตราสัญลักษณของการประปานครหลวง ประกอบดวยสวนประกอบหลัก 3
สวน ไดแก สัญลักษณพระแมธรณี ชื่อการประปานครหลวง และเสนน้ํา
• สัญลักษณพระแมธรณี มีความหมายสื่อถึงความเอื้ออารีของ กปน. และให
ความหมายถึงธุรกิจประปา
• เสน น้ํา ที่เริ่มจากสีเขียวธรรมชาติมาสูสีฟาใส มีความหมายถึงการนําน้ําจาก
แหลงธรรมชาติมาบําบัดใหสะอาดสูประชาชนในนครหลวง อันเปนภารกิจหลักของ กปน.
และตอกย้ําความสะอาดของน้ํา (น้ําประปาดื่มได) อีกทั้งสะทอนถึงวิสัยทัศนของแบรนด
กปน. ในการเสริมสรางคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นใหประชาชนในนครหลวง
• ลักษณะเสนน้ําที่เปนเสนโคง มีความหมายถึงการไมหยุดนิ่ง และการพัฒนาไม
หยุดยั้งของ กปน.
ตราสัญลักษณประจําองคกร
8
จริยธรรม
คําวา“จริยธรรม” แยกออกไดเปน จริย + ธรรม ซึ่งคําวา จริยะหมายถึง ความ
ประพฤติหรือกิริยาที่ควรประพฤติ สวนคําวา ธรรม มีความหมายหลายประการ เชน คุณ
ความดี, หลักคําสอนของศาสนา, หลักปฏิบัติ เมื่อนําคําทั้งสองมารวมกันเปน "จริยธรรม"
จึงมีความหมายตามตัวอักษรวา “หลักแหงความประพฤติ” หรือ “แนวทางของการ
ประพฤติ” ที่กลาวมานั้นเปนความหมายตามตัวอักษรของคําวา “จริยธรรม” ซึ่งเปน
แนวทางใหนักวิชาการหลายทาน ไดใหความหมายของคําวา “จริยธรรม” ไวคลายคลึง
กัน ดังตัวอยางตอไปนี้
จริยธรรม หมายถึง ธรรมที่เปนขอประพฤติปฏิบัติ,ศีลธรรม,กฎศีลธรรม -
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542
จริยธรรม หมายถึง แนวทางประพฤติปฏิบัติตนเพื่อการบรรลุถึงสภาพชีวิตอัน
ทรงคุณคาพึงประสงค - ผลการสัมมนาของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ
เรื่อง จริยธรรมในสังคมไทยปจจุบัน ซึ่งจัดขึ้นที่ สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย (AIT)
จริยธรรม หมายถึง หลักคําสอนวาดวยความประพฤติเปนหลักสําหรับใหบุคคล
ยึดถือในการปฏิบัติตน - วิทย วิศทเวทย และ เสถียรพงษ วรรณปก
จริยธรรม หมายถึง ระเบียบปฏิบัติที่มุงปฏิบัติเพื่อใหเกิดความผาสุกในสังคม
เปนสิ่งที่มนุษยทําขึ้น แตงขึ้นตามเหตุผลของมนุษยเอง หรือตามความตองการของ
มนุษย – พุทธทาสภิกขุ
จริยธรรม หมายถึง การนําความรูในความจริงหรือกฎธรรมชาติไปใชใหเกิด
ประโยชนตอการดําเนินชีวิตที่ดีงาม อันจะทําใหเกิดประโยชนตอตนเองและสังคม – พระ
ราชวรมุนี
ตามนิยามขางตน สามารถประมวลสรุปความไดวา จริยธรรม หมายถึง แนวทาง
ของการประพฤติปฏิบัติตนใหเปนคนดี เปนประโยชนสุขแกตนเองและสวนรวม
นอกจากนี้ จริยธรรมไมใชกฎหมาย เพราะกฎหมายเปนสิ่งบังคับใหคนทําตาม
และมีบทลงโทษสําหรับผูฝาฝน ดังนั้น สาเหตุที่คนเคารพเชื่อฟงกฎหมายเพราะกลัวถูก
ลงโทษ ในขณะที่จริยธรรมไมมีบทลงโทษ ดังนั้น คนจึงมีจริยธรรมเพราะมีแรงจูงใจ แต
อยางไรก็ตาม กฎหมายก็มีสวนเกี่ยวของกับจริยธรรมในฐานะเปนแรงหนุนจากภายนอก
เพื่อใหคนมีจริยธรรม และโดยทั่วไปจริยธรรมมักอิงอยูกับศาสนา ทั้งนี้เพราะคําสอน
ทางศาสนามีสวนสรางระบบจริยธรรมใหสังคม แตทั้งนี้มิไดหมายความวา จริยธรรม
อิงอยูกับหลักคําสอนทางศาสนาเพียงอยางเดียว แทที่จริงนั้นจริยธรรมหยั่งรากอยูบน
9
ขนบธรรมเนียมประเพณี โดยนัยนี้ บางคนเรียกหลักแหงความประพฤติอันเนื่องมาจาก
คําสอนทางศาสนาวา "ศีลธรรม" และเรียกหลักแหงความประพฤติอันพัฒนามาจาก
แหลงอื่น ๆ วา "จริยธรรม" ในทรรศนะของนักวิชาการหลายทาน ศีลธรรมกับจริยธรรม
จึงเปนอันเดียวกัน ไมอาจแยกเด็ดขาดจากกันได ความแตกตางอยูตรงแหลงที่มา ถา
แหลงแหงความประพฤตินั้นมาจากศาสนาหรือขอบัญญัติของศาสนา นั่นคือ ศีลธรรม แต
ถาเปนหลักทั่ว ๆ ไป ไมเกี่ยวกับศาสนา เชน คําสอนของนักปรัชญา นั่นคือ จริยธรรม
กลาวคือ จริยธรรมจะมีความหมายกวางกวาศีลธรรม เพราะศีลธรรมเปนหลักคําสอนทาง
ศาสนาที่วาดวยความประพฤติปฏิบัติชอบ สวนจริยธรรมหมายถึงหลักแหงความประพฤติ
ปฏิบัติชอบอันวางรากฐานอยูบนหลักคําสอนของศาสนา ปรัชญาและขนบธรรมเนียม
ประเพณี
กลาวโดยสรุป จริยธรรม หมายถึง แนวทางของการประพฤติปฏิบัติตนเปน
คนดี ซึ่งมีลักษณะเปนขอบัญญัติใหบุคคลประพฤติปฏิบัติตามอันถือกันวาเปน
การกระทําที่ดี ดังนั้น การดําเนินชีวิตตามหลักจริยธรรมเปนสิ่งที่สังคมตองการ สังคมจึง
ไดจัดใหมีการวางแนวทางของการประพฤติปฏิบัติตนและมีการสั่งสอนอบรมเรื่อง
จริยธรรมแกสมาชิกของสังคม ผลที่สังคมคาดหวังคือการที่สมาชิกนอมนําเอาจริยธรรม
ไปประพฤติในชีวิตประจําวัน เชนเดียวกับ การกําหนดใหหนวยงานของรัฐตองจัดใหมี
ประมวลจริยธรรมตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ เพื่อสรางมาตรฐานทางจริยธรรมและให
เจาหนาที่ของรัฐประพฤติปฏิบัติตาม โดยรายละเอียดของประมวลจริยธรรมของการ
ประปานครหลวงซึ่งวางแนวทางการประพฤติปฏิบัติตนหรือก็คือมาตรฐานทางจริยธรรม
ใหผูวาการและพนักงานประพฤติปฏิบัติตาม สามารถศึกษาไดในหัวขอถัดไป
ประมวลจริยธรรมของการประปานครหลวง
ความเปนมาของการจัดทําประมวลจริยธรรมของการประปานครหลวง เปนไป
ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ซึ่งสอดคลอง
กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 – 2554) และ
นโยบายของรัฐบาลตามที่กลาวมา โดยแนวทางการจัดทําไดดําเนินการตามบทบัญญัติ
ของรัฐธรรมนูญฯ ซึ่งมาตรา 279 กําหนดวา “มาตรฐานทางจริยธรรมของผูดํารงตําแหนง
ทางการเมือง ขาราชการ หรือเจาหนาที่ของรัฐแตละประเภท ใหเปนไปตามประมวล
จริยธรรมที่กําหนดขึ้น...” สงผลใหหนวยงานของรัฐทุกแหงตองจัดใหมีประมวล
จริยธรรมเพื่อสรางมาตรฐานทางจริยธรรมของตนและใหเจาหนาที่ของรัฐ ภายใน
10
กฎหมายที่ควรรูเกี่ยวกับการประปานครหลวง
พระราชบัญญัติการประปานครหลวง
พ.ศ. 2510 แกไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 5 พ.ศ.2535
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ใหไว ณ วันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2510
เปนปที่ 22 ในรัชกาลปจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการ
โปรดเกลาฯ ใหประกาศวา
โดยที่เปนการสมควรจัดตั้งการประปานครหลวง
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนํา
และยินยอมของสภารางรัฐธรรมนูญในฐานะรัฐสภา ดังตอไปนี้
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติการประปานครหลวง
พ.ศ. 2510”
มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราช
กิจจานุเบกษาเปนตนไป
มาตรา 3 บรรดาบทกฎหมาย กฎและขอบังคับอื่นในสวนที่มีบัญญัติไว
แลวในพระราชบัญญัตินี้ หรือซึ่งขัดหรือแยงกับบทแหงพระราชบัญญัตินี้ ใหใช
พระราชบัญญัตินี้แทน
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้
“การประปานครหลวง” หมายความวา การประปานครหลวง ซึ่งจัดตั้ง
ขึ้นตามพระราชบัญญัตินี้
“ประปา เอกชน” หมายความวา การผลิต จัดสง และจําหนายน้ําประปา
โดยเอกชน ใหแกผูอยูในบานที่มีทะเบียนบานตามกฎหมายวาดวยการทะเบียนราษฎร
ตั้งแตหาบานขึ้นไป โดยมีคาตอบแทนเปนเงินหรือผลประโยชนอยางอื่น
“พนักงาน” หมายความวา พนักงานการประปานครหลวงรวมทั้งผูวาการ
“ผูวาการ” หมายความวา ผูวาการการประปานครหลวง
“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการการประปานครหลวง
“รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
11
มาตรา 5 ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตาม
พระราชบัญญัตินี้
หมวด 1
การจัดตั้ง ทุนและเงินสํารอง
มาตรา 6 ใหจัดตั้งการประปาขึ้นเรียกวา “การประปานครหลวง” มี
วัตถุประสงคดังตอไปนี้
(1) สํารวจ จัดหาแหลงน้ําดิบ และจัดใหไดมาซึ่งน้ําดิบเพื่อใชในการ
ประปา
(2) ผลิต จัดสงและจําหนายน้ําประปาในเขตทองที่กรุงเทพมหานคร
จังหวัดนนทบุรี และจังหวัดสมุทรปราการ และควบคุมมาตรฐานเกี่ยวกับระบบประปา
เอกชนในเขตทองที่ดังกลาว
(3) ดําเนินธุรกิจอื่นที่เกี่ยวเนื่องกับหรือเปนประโยชนแกการประปา
มาตรา 7 การผลิต จัดสงและจําหนายน้ําประปา และการจัดใหไดมาซึ่งน้ํา
ดิบโดยการประปานครหลวง เปนกิจการสาธารณูปโภค และใหอยูภายใตบังคับของ
กฎหมายอันวาดวยการนั้น
มาตรา 8 ใหการประปานครหลวงเปนนิติบุคคล
มาตรา 9 ใหการประปานครหลวงตั้งสํานักงานใหญในจังหวัดพระนคร
และจะตั้งสํานักงานสาขาหรือตัวแทนขึ้น ณ ที่ใดก็ได
มาตรา 10 ใหโอนกิจการ ทรัพยสิน สิทธิ หนี้สินและความรับผิดอัน
เกี่ยวกับการประปาของกองประปากรุงเทพ กรมโยธาเทศบาล การประปานนทบุรีของ
กองประปาภูมิภาค กรมโยธาเทศบาล การประปาเทศบาลนครธนบุรีของเทศบาลนคร
ธนบุรี และหมวดการประปาเทศบาลเมืองสมุทรปราการของเทศบาลเมืองสมุทรปราการ
จังหวัดสมุทรปราการ ใหแกการประปานครหลวง
ให กระทรวงมหาดไทยตั้งคณะกรรมการขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อพิจารณา
ประเมินราคาทรัพยสิน สิทธิ หนี้สินและความรับผิดของหมวดการประปาเทศบาลเมือง
สมุทรปราการ และใหการประปานครหลวงตั้งงบประมาณชดใชตามราคาทรัพยสินที่
ประเมินได ถามี
มาตรา 11 ใหโอนเงินงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ.
2510 เงินทุนการประปา และเงินทุนหมุนเวียนจําหนายเครื่องอุปกรณประปาของกอง
12
แนวขอสอบความรูทั่วไปเกี่ยวกับการประปานครหลวง
1. ยุทธศาสตรการบริหารการประปานครหลวง ประกอบดวยยุทธศาสตรกี่ดาน
ก. 3 ดาน ข. 4 ดาน
ค. 5 ดาน ง. 6 ดาน
ตอบ ง. 6 ดาน
ยุทธศาสตรการบริหารการประปานครหลวง ฉบับที่ 3 (2555 - 2559)
1. ยุทธศาสตรดานผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholder Strategic)
2. ยุทธศาสตรดานการเงิน (Financial Strategic)
3. ยุทธศาสตรดานลูกคา (Customer Strategic)
4. ยุทธศาสตรดานกระบวนการภายใน (Internal Process Strategic)
5. ยุทธศาสตรดานการเรียนรูและพัฒนาองคกร (Learning and Growth
Strategic)
6. ยุทธศาสตรดานธรรมาภิบาล (Corporate Governance Strategic)
2. การยกระดับการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพิ่มประสิทธิภาพการใช
เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสรางขีดความสามารถองคกรเปนยุทธศาสตรดานใดของการ
ประปานครหลวง
ก. ยุทธศาสตรดานธรรมาภิบาล
ข. ยุทธศาสตรดานการเรียนรูและพัฒนาองคกร
ค. ยุทธศาสตรดานลูกคา
ง. ยุทธศาสตรดานกระบวนการภายใน
ตอบ ข. ยุทธศาสตรดานการเรียนรูและพัฒนาองคกร
ยุทธศาสตรดานการเรียนรูและพัฒนาองคกร (Learning and Growth
Strategic) ยกระดับการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพิ่มประสิทธิภาพการใช
เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสรางขีดความสามารถองคกร
3. ใหบริการน้ําประปาที่สะอาด อยางทั่วถึง เพียงพอ สรางความนาเชื่อถือ และไดรับการ
ยอมรับในระดับสากล เปนยุทธศาสตรดานใด
ก. ยุทธศาสตรดานธรรมาภิบาล
13
ข. ยุทธศาสตรดานการเรียนรูและพัฒนาองคกร
ค. ยุทธศาสตรดานลูกคา
ง. ยุทธศาสตรดานกระบวนการภายใน
ตอบ ค. ยุทธศาสตรดานลูกคา
ยุทธศาสตรดานลูกคา (Customer Strategic) ใหบริการน้ําประปาที่สะอาด อยาง
ทั่วถึง เพียงพอ สรางความนาเชื่อถือ และไดรับการยอมรับในระดับสากล
4. ผลิตและสงน้ําดวยมาตรฐานสูงอยางมั่นคง เพียงพอ และยั่งยืน โดยมุงเนนลูกคา
การตลาด และการบริการที่เปนเลิศ ดวยการบริหารจัดการกระบวนการอยางมี
ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล เปนยุทธศาสตรดานใด
ก. ยุทธศาสตรดานธรรมาภิบาล
ข. ยุทธศาสตรดานการเรียนรูและพัฒนาองคกร
ค. ยุทธศาสตรดานลูกคา
ง. ยุทธศาสตรดานกระบวนการภายใน
ตอบ ง. ยุทธศาสตรดานกระบวนการภายใน
ยุทธศาสตรดานกระบวนการภายใน (Internal Process Strategic) ผลิตและสงน้ํา
ดวยมาตรฐานสูงอยางมั่นคง เพียงพอ และยั่งยืน โดยมุงเนนลูกคา การตลาด และการ
บริการที่เปนเลิศ ดวยการบริหารจัดการกระบวนการอยางมีประสิทธิภาพและเกิด
ประสิทธิผล
5. ขอใดไมใชสวนประกอบหลักของตราสัญลักษณการประปานครหลวง
ก. สัญลักษณพระแมธรณี ข. ชื่อการประปานครหลวง
ค. เสนน้ํา ง. ทองทะเล
ตอบ ง. ทองทะเล
ตราสัญลักษณของการประปานครหลวง ประกอบดวยสวนประกอบหลัก 3 สวน
ไดแก สัญลักษณพระแมธรณี ชื่อการประปานครหลวง และเสนน้ํา
6. สวนประกอบหลักของตราสัญลักษณการประปานครหลวงใดที่มีความหมายถึงความ
เอื้ออารีของ กปน. และใหความหมายถึงธุรกิจประปา
ก. สัญลักษณพระแมธรณี ข. ชื่อการประปานครหลวง
14
ค. เสนน้ํา ง. ทองทะเล
ตอบ ก. สัญลักษณพระแมธรณี
สัญลักษณพระแมธรณี มีความหมายสื่อถึงความเอื้ออารีของ กปน. และให
ความหมายถึงธุรกิจประปา
7. สวนประกอบหลักของตราสัญลักษณการประปานครหลวงใดที่มีความหมายถึงการไม
หยุดนิ่ง และการพัฒนาไมหยุดยั้งของ กปน.
ก. สัญลักษณพระแมธรณี ข. ชื่อการประปานครหลวง
ค. เสนน้ํา ง. ทองทะเล
ตอบ ค. เสนน้ํา
ลักษณะเสนน้ําที่เปนเสนโคง มีความหมายถึงการไมหยุดนิ่ง และการพัฒนาไม
หยุดยั้งของ กปน.
8. ขอใดเปนความรับผิดชอบตอสังคมของการประปานครหลวง
ก. การกํากับดูแลกิจการที่ดี ข. สิทธิมนุษยชน
ค. สิทธิแรงงาน ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
ความรับผิดชอบตอสังคม
1. การกํากับดูแลกิจการที่ดี
2. สิทธิมนุษยชน
3. สิทธิแรงงาน
4. การดําเนินธุรกิจที่เปนธรรม
5. ความรับผิดชอบตอผูบริโภค
6. การบริหารจัดการดานสิ่งแวดลอม
7. การมีสวนรวมในการพัฒนาสังคมและชุมชน
9. ประมวลจริยธรรมของผูวาการและพนักงานการประปานครหลวง ฉบับปจจุบันที่ใชอยู
เปนฉบับพ.ศ.ใด
ก. ฉบับที่ 133 พ.ศ. 2555 ข. ฉบับที่ 133 พ.ศ. 2554
ค. ฉบับที่ 133 พ.ศ. 2553 ง. ฉบับที่ 133 พ.ศ. 2552
15
ตอบ ง. ฉบับที่ 133 พ.ศ. 2552
10. ขอใดที่ผูวาการและพนักงานทุกคน ตองปฏิบัติหนาที่โดยยึดมั่นในมาตรฐาน
จริยธรรม
ก. การยึดมั่นในคุณธรรม และจริยธรรม
ข. การมีจิตสํานึกที่ดี ซื่อสัตย สุจริตและรับผิดชอบ
ค. การยืนหยัดทําในสิ่งที่ถูกตอง เปนธรรม และถูกกฎหมาย
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
ผูวาการและพนักงานทุกคน ตองปฏิบัติหนาที่โดยยึดมั่นในมาตรฐานจริยธรรม
อันเปนคานิยมหลัก 9 ประการดังนี้
(1) การยึดมั่นในคุณธรรมและจริยธรรม
(2) การมีจิตสํานึกที่ดี ซื่อสัตย สุจริตและรับผิดชอบ
(3) การยึดถือประโยชนของประเทศชาติเหนือกวาประโยชนสวนตนและ
ไมมีผลประโยชนทับซอน
(4) การยืนหยัดทําในสิ่งที่ถูกตอง เปนธรรม และถูกกฎหมาย
(5) การใหบริการแกประชาชนดวยความรวดเร็ว มีอัธยาศัย และไมเลือก
ปฏิบัติ
(6) การใหขอมูลขาวสารแกประชาชนอยาวงครบครัน ถูกตองและไม
บิดเบือนขอเท็จจริง
(7) การมุงผลสัมฤทธิ์ของงาน รักษามาตรฐาน มีคุณภาพ โปรงใสและ
ตรวจสอบได
(8) การยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน
ประมุข
(9) การยึดมั่นในหลักจรรยาวิชาชีพขององคกร
11. หลักการกํากับดูแลกิจการของการประปานครหลวง คือขอใด
ก. หลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี
ข. จรรยาบรรณ
ค. การปฏิบัติตอผูมีสวนไดเสียอยางเทาเทียมกัน
16
องคกรและการจัดการ
องคการ (Organization)
"องคการ" ตามแนวความคิดของ Stephen P. Robbins คือ การจัดการ
ของกลุมบุคคล โดยมีเจตนาที่จะใหการดําเนินงานประสบผลสําเร็จตามจุดมุงหมายเปน
การเฉพาะ
องคการประกอบดวยคุณลักษณะสําคัญ 3 ประการ คือ
1.จุดมุงหมายโดยชัดเจน (Distinct Purpose) คือ การมีเปาหมายรวมกัน
2.บุคลากร (People) คือ การรวมตัวกันของคนตั้งแต 2 คนขึ้นไป
3.โครงสราง (Structure) ที่ชัดเจน คือ การมีปฏิสัมพันธตอกัน
ในปจจุบันนี้ องคการไดแปรเปลี่ยนจากองคการระบบปด (Closed
System)มาเปนองคการระบบเปด (Opened System) ซึ่งมีความยืดหยุนและตอบสนอง
การเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา
ตารางเปรียบเทียบแนวความคิดขององคการที่แปรเปลี่ยนไป มีดังนี้
องคการแบบดั้งเดิม องคการสมัยใหม
1. คงสภาพอยูกับที่เดิม
2. มีระเบียบกฎเกณฑที่ไมยืดหยุน
3. เนนตัวงานที่ดําเนินการ
4. กําหนดหนาที่โดยยึดตําแหนงงาน
5. เนนปจเจกชน (Individual)
6. ทํางานแบบถาวร (จางแบบถาวร)
7. เนนการสั่งการใหลูกนองทําตาม
8. การตัดสินใจอยูที่ผูจัดการ
9. เนนกฎระเบียบที่องคการกําหนดเปนหลัก
10.แรงงานมาจากคนแบบเดียวกัน
11. ระยะเวลาทํางาน 5 – 9 ชั่วโมง/วัน
ความสัมพันธในการทํางานเปนไปตามลําดับชั้นของ
การบังคับบัญชา
ทํางานเฉพาะในองคการและตามเวลาทีไดกําหนดไว
1. มีการปรับสภาพเคลื่อนไหวตามสภาพแวดลอม
2. มีระเบียบกฎเกณฑที่ยืดหยุน
3. เนนทักษะหรือความเชี่ยวชาญ
4. กําหนดหนาที่โดยยึดภาระงานที่ตองกระทํา
5. เนนทีมงาน (Work Team)
6. นิยมจางทํางานแบบชั่วคราว
7. เนนความสัมพันธมากกวาการแสดงอํานาจ
8. การตัดสินใจใหพนักงานมีสวนรวม
9. เนนลูกคาเปนจุดศูนยกลางที่องคการจะตอบสนอง
10. แรงงานมีความหลากหลายในชาติพันธุ
11. ระยะเวลาทํางานไมกําหนดตายตัว
ความสัมพันธในการทํางานเปนแบบแนวราบ หรือแบบเครือขาย
ทํางานที่ใด เมื่อไรก็ได โดยสถานที่ทํางานอาจอยูภายนอกบริษัท
แตสามารถติดตอและตามตัวกันได โดยใชระบบสารสนเทศเขามา
ชวย
17
ผูบริหารหรือผูจัดการ (Manager)
"ผูบริหาร"หมายถึง สมาชิกในองคการซึ่งทําหนาที่รวบรวมและประสานงาน
กับสมาชิกคนอื่น ๆ ในองคการ หรือหมายถึง บุคคลซึ่งมีหนาที่รับผิดชอบในการ
ดําเนินงานใหบรรลุวัตถุประสงค ตามที่ไดกําหนดไว โดยอาศัยผูอื่นและทรัพยากรตาง ๆ
ดังนั้นจึงอาจกลาวไดวา ผูบริหารเปนผูประสานกิจกรรมตาง ๆ ที่ผูอื่นกระทํามากกวาที่
จะเปนผูลงมือกระทําเอง
องคการธุรกิจโดยทั่วไปนิยมแบงผูบริหารออกเปน 3 ระดับ ดังนี้คือ
1. ผูบริหารระดับลาง (Lower หรือ First Manager หรือระดับ
ปฏิบัติการ คือผูบริหารในระดับที่ใกลชิดกับเนื้องาน เชน งานดานเทคนิค งานดาน
ธุรการตางๆ ฯลฯ และใกลชิดกับคนงานที่ทํางานในแตละวันมากที่สุด ซึ่งไดแก ผู
ควบคุมงานหรือหัวหนางาน (Supervisor) และหัวหนาคนงาน (Foreman) เปนตน
2. ผูบริหารระดับกลาง (Middle Manager) หรือ ผูบริหารที่อยู
ระหวางผูบริหารระดับลางกับผูบริหารระดับสูงขององคการ ซึ่งไดแก หัวหนาหนวย
หัวหนาสวน หัวหนาแผนก และหัวหนาฝายตาง ๆ เชน ฝายบัญชี ฝายการเงิน ฝาย
การตลาด ฝายขาย ฝายผลิต ฝายบริการลูกคา ฝายธุรการ ฝายทรัพยากรมนุษย
ฝายวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ รวมทั้งผูจัดการสาขา เปนตน
3. ผูบริหารระดับสูง (Top Manager) คือ ผูบริหารที่อยูในระดับ
สูงสุดขององคการในดานการดําเนินงานในแตละวัน โดยมีหนาที่รับผิดชอบในการ
ตัดสินใจ กําหนดนโยบาย และกําหนดกลยุทธ ฯลฯ ซึ่งมีผลกระทบตอองคการโดยรวม
บุคคลกลุมนี้ไดแก ประธานกรรมการหรือประธานฝายบริหาร รองประธานกรรมการ
หรือรองประธานฝายบริหาร กรรมการผูจัดการ รองกรรมการผูจัดการ ผูจัดการใหญ
หรือผูจัดการบริษัท เปนตน
โดยทั่วไปผูบริหารระดับสูงนี้จะมีผูบริหารสูงสุดเพียง 1 คน เรียกวา
"หัวหนาฝายบริหาร" (Chief Executive Officer : CEO) หรือ "หัวหนาฝายปฏิบัติการ"
(Chief Operating Officer : COO)
ถึงแมจะมีการแบงระดับชั้นของผูบริหารออกเปน 3 ระดับแลวก็ตาม แต
ในทางปฏิบัตินั้นจะพบวาการปฏิบัติหนาที่ระหวางระดับตาง ๆ ก็ยังคงมีปญหาการ
เหลื่อมล้ํากันและกันเกิดขึ้นอยูเสมอ เพราะไมสามารถที่จะแบงแยกกันไดอยางชัดเจน
เชน ความสัมพันธระหวางระดับลางกับระดับกลาง หรือระหวางระดับกลางกับระดับสูง
แตก็ไมควรใหมีการเหลื่อมล้ําระหวางระดับลางกับระดับสูงเปนอันขาด
18
การตัดสินใจทางการจัดการ
การตัดสินใจ (Decision Making) เปนการเลือกที่จะตองกระทําระหวาง
ทางเลือกที่มีอยู 2 ทางหรือมากกวานั้น ซึ่งขั้นตอนที่สําคัญที่สุดของการตัดสินใจก็คือ
การพิจารณาวาอะไรคือทางเลือกที่ดีที่สุด ดังนั้นการตัดสินใจจึงเปนกระบวนการในการ
เลือกทางเลือกที่ดีที่สุด เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคที่ไดวางไว
องคการธุรกิจโดยทั่วไปจะสามารถบรรลุวัตถุประสงคได ควรใชระบบการ
ตัดสินใจตามความเหมาะสมกับแตละสถานการณ เชน ถาเปนเรื่องรีบดวนหรือเปนเรื่อง
ที่มีความสําคัญมาก ผูบริหารก็อาจรวมอํานาจการตัดสินใจไวที่ศูนยกลาง แตถาเปน
เรื่องที่ไมสําคัญมากนักก็อาจกระจายอํานาจใหกับผูบริหารระดับรอง ๆ ลงไปหรือใหกับ
ผูปฏิบัติงานในระดับตาง ๆ เปนตน
มติเอกฉันท เปนขอตกลงในการตัดสินใจของแตละคนที่กระทําขึ้นในที่
ประชุม โดยรวมเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน หรือเปนขอวินิจฉัยในญัตติที่เสนอตอที่ประชุม
โดยมีความเห็นเปนอยางเดียวกันหมด
การใหผูรวมงานเขามามีสวนรวมในการบริหาร หมายถึง การบริหารงานที่
การตัดสินใจกระทําโดยผูบริหาร โดยการรับฟงความคิดเห็นจากผูรวมงาน ซึ่งจะตองทํา
การเลือกตัดสินใจบนพื้นฐานของขอจํากัดหรือขอบเขตที่จะตองเปนไปอยางมีเหตุผล
ความมีเหตุผล (Rationality) ในการเลือกทางเลือกเพื่อการตัดสินใจที่ดี
ที่สุด หมายถึง เขาใจถึงแนวทางเลือกเพื่อบรรลุเปาหมาย, ความสามารถในการประเมิน,
ความตองการใหมีการแกปญหาอยางที่ที่สุด, ความมีเหตุผลอยางสมบูรณมักจะไมคอย
ไดรับ, อนาคตเปนเรื่องของความไมแนนอน และความไมแนนอนทั้งหมดนั้นไมสามารถ
ทราบได
กระบวนการตัดสินใจโดยการใชหลักเหตุผล มีขั้นตอนดังนี้
1. การแสวงหาทางเลือก (The Search for Alternatives)
2. การประเมินทางเลือก (Evaluation of Alternatives) ไดแก ปจจัย
ทางคุณภาพและปจจัยทางปริมาณ, การวิเคราะหสวนเพิ่ม, การวิเคราะหประสิทธิผล
ของตนทุน
3. การเลือกทางเลือกมี 3 แนวทาง คือ ความชํานาญ การทดลอง
การวิจัยและการวิเคราะห
หากมีการนําเทคโนโลยีมาใชในการบริหารงานขององคการมากขึ้น การ
ตัดสินใจทางการบริหารจะมีแนวโนมในการตัดสินใจโดยกลุมบุคคลที่เกี่ยวของมากขึ้น
19
เชน ผูบริหารระดับสูง ผูจัดการฝายผลิต หัวหนาฝายผลิต รวมทั้งฝายตาง ๆ จะเขา
มาชวยในเรื่องของการผลิตสินคา เปนตน
การตัดสินใจทางการบริหารจะมีความสําคัญนอยกวาการตัดสินใจเกี่ยวกับ
นโยบาย ทั้งนี้เนื่องจากการตัดสินใจดานนโยบายนั้นจะกําหนดหลักเกี่ยวกับพฤติกรรม
ของธุรกิจ สวนการตัดสินใจทางการบริหารจะเปนการแปลนโยบายไปสูการปฏิบัติ
ชนิดของการตัดสินใจมี 2 ประการ คือ
1. Programmed Decision เปนการตัดสินใจของผูบริหารในปญหา
ที่มีลักษณะเปนโครงสรางชัดเจน (ปญหาที่มีการแกไขแนนอนตายตัว) ตรงไปตรงมา
หรือเปนปญหาที่เกิดขึ้นเปนประจําซึ่งตนคุนเคยดีกับปญหาดังกลาวแลว มักใชสําหรับ
การตัดสินใจของผูบริหารระดับลาง หรือบุคลากรที่ไมใชผูบริหาร
2. Non Programmed Decision เปนการตัดสินใจทางการบริหารที่
ไมมีโครงสรางที่แนนอนและไมไดเกิดขึ้นเปนประจําหรือเปนเหตุการณที่นาน ๆ ครั้งจึง
จะเกิดขึ้น มักใชกับการตัดสินใจของผูบริหารระดับสูงซึ่งเทคนิคดั้งเดิมที่ใชในการ
ตัดสินใจแบบนี้ก็คือ สามัญสํานึกหรือสัญชาตญาณ (Intuition) อันเปนการใชความรูสึก
นึกคิดสวนบุคคล ดังนั้นผูบริหารจึงจําเปนตองอาศัยขอมูลในการตัดสินใจมาก ตอง
อาศัยประสบการณและลางสังหรณเขาชวย รวมทั้งขึ้นอยูกับวิจารณญาณของผูบริหาร
เปนสําคัญ
หลักการของการตัดสินใจมี 2 ประเภท คือ
1. หลักการตัดสินใจที่ไมใชวิธีเชิงปริมาณ มีหลักอยู 4 ประการ
คือ สัญชาตญาณ (Intuition), ขอเท็จจริง (Facts), ประสบการณ (Experience), การ
พิจารณาไตรตรองอยางรอบคอบ (Considered Opinion)
2. หลักการตัดสินใจที่ใชวิธีเชิงปริมาณ มีเทคนิคอยู 6 ประการ
คือ การวิจัยการปฏิบัติงาน (Operation Research), โปรแกรมเสนตรง (Linear
Programming), ซิมมูเลชั่น (Simulation), มอนติคารโล(Monte Carlo), การเขาคิว
(Queing), การแขงขัน (Games)
สภาพการตัดสินใจมี 3 กรณี คือ
1. ภายใตความแนนอน (Certainly) คือ ผูตัดสินใจรูถึงผลลัพธที่
จะเกิดขึ้นอยางแนนอน เชน การนําเงินสดของธุรกิจไปฝากธนาคารไว โดยรูถึงอัตรา
ดอกเบี้ยที่ธนาคารจะจายใหอยางถองแท เปนตน
20
การจัดการทรัพยากรมนุษย
การจัดบุคคลเขาทํางาน (Staffing) ซึ่งในปจจุบันนิยมเรียกวา "การบริหาร
ทรัพยากรมนุษย"(Human Resource Management) คือ การจัดหาคนมาทํางานและ
บํารุงรักษา หรือเปนการระบุความตองการในกําลังแรงงาน (Work Force) การจัดการ
ดูแลคนที่ไดมา การสรรหา (Recruiting) การคัดเลือก การวางตําแหนงการสงเสริม
การประเมินผล การวางแผนงานอาชีพ การจายเงินชดเชย และการฝกอบรมบุคคล
กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย (HRM Process)
กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษยเปนกิจกรรมที่สําคัญในการจัดคนเขา
ทํางาน และดํารงไวซึ่งผลการปฏิบัติงานของพนักงานในระดับสูง โดยมี 8 ขั้นตอน คือ
1. การวางแผนทรัพยากรมนุษย (Human Resource Planning)
System Approach คือ แนวความคิดแบบระบบหรือการวิเคราะหเชิง
ระบบ เปนระบบการบริหารทรัพยากรมนุษยที่สรางความมั่นใจใหแกผูบริหารวา ไดมี
บุคคลที่มีความสามารถในการทํางานใหประสบผลสําเร็จตามวัตถุประสงค โดยมีการ
วางแผนดานกําลังคน การฝกอบรม การพัฒนา และเนนในดานแรงงานสัมพันธ
2. การสรรหาบุคคล(Recruitment)และการลดกําลังคน (Decruitment)
การสรรหา (Recruitment) เปนกระบวนการของการกําหนดพื้นที่หลัก
แหลง และดึงดูดความสามารถของบุคคลใหมาสมัครงาน เพราะผูบริหารจําเปนตองสรร
หาบุคคลเขาทํางาน ซึ่งเปนหลักการแรกของการบริหารทรัพยากรมนุษย
การลดกําลังคน (Decruitment) เปนเทคนิคในการลดอุปทานดาน
แรงงานภายในองคการ ซึ่งประกอบดวย การไลออก ปลดออก ลดเวลาทํางาน
เกษียณอายุกอนเวลา และการจัดแบงงานกันทํา โดยความจําเปนในการลดกําลังคนอาจ
เกิดขึ้นไดทุกขณะเพื่อความเหมาะสมและตามความตองการของฝายบริหาร เชน
ในขณะที่เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ําทั่วโลก ทําใหธุรกิจตองลดกําลังคนทํางานลง จึงจะ
ทําใหธุรกิจผานพนวิกฤติไปได
3. การคัดเลือก (Selection)
การคัดเลือก (Selection) เปนกระบวนการในการกลั่นกรองผูที่มาสมัคร
งาน เพื่อใหไดคนที่เหมาะสมที่สุดมาทํางาน และยังเปนการวางแผนความตองการเพื่อ
21
การบริหารงานอยางละเอียดลึกซึ้ง เปนพื้นฐานที่สําคัญตามความตองการของตําแหนง
งาน
การคัดเลือกถือเปนการพยากรณหรือการคาดการณอยางหนึ่ง ซึ่งจะมีผล
ออกมา 4 ประการ คือ การตัดสินใจที่ถูกตอง (การปฏิเสธคนไมดี), การยอมรับ
ขอผิดพลาด, การปฏิเสธขอผิดพลาด และการตัดสินใจที่ถูกตอง (การยอมรับคนดี)
ขอผิดพลาดในการคัดเลือกสามารถชักนําไปสูความเปนจริงตามหลักการ
ของ Peter ซึ่งกลาววาผูบริหารมีแนวโนมที่จะไดรับการสงเสริมใหไปอยูในระดับ
ความสามารถของตัว ถึงแมวาจะมีขอแนะนําจากหลาย ๆ ฝายวา การตัดสินใจคัดเลือก
ควรขึ้นอยูกับผูบังคับบัญชาที่ตําแหนงนั้นสังกัดอยู
ความเที่ยงตรง (Validity) หรือความถูกตอง ความสมบูรณ คือ การ
พิสูจนวาความสัมพันธระหวางเครื่องมือในการคัดเลือกกับเกณฑที่ใชเขากันไดดี
ความเชื่อถือได (Reliability) หรือความไวใจได คือ ความสามารถ
ของเครื่องมือที่ใชคัดเลือกสามารถวัดสิ่งเดียวกันไดอยางสม่ําเสมอ
กระบวนการคัดเลือกควรประกอบดวยการสัมภาษณ การทดสอบ และใช
ศูนยการวัดผล เพื่อหลีกเลี่ยงความไมพอใจ และการหมุนเวียนเขาออกของคนงาน
โดยกิจการควรใหความมั่นใจแกพนักงานใหมเพื่อใหรูจักและคุนเคยกับคนงานอื่น ๆ ใน
องคการ
เครื่องมือในการคัดเลือก (Selection Device) ไดแก แบบฟอรมใบ
สมัคร, การทดสอบขอเขียน, การทดสอบความรูความสามารถโดยลงมือปฏิบัติจริง
เชน การศึกษา ความรู ทักษะและความชํานาญ, การสัมภาษณ, การตรวจสอบ
หลักฐานและขอมูลของผูสมัคร, การตรวจรางกาย
4. การปฐมนิเทศ (Orientation)
การปฐมนิเทศจัดทําขึ้นมาเพื่อตองการแนะนําพนักงานใหมใหรูจักและ
คุนเคยกับองคการ โดยมีวัตถุประสงคหลักคือ เปนการลดความกระวนกระวายใจใน
เบื้องตน, ทําใหพนักงานใหมคุนเคยกับงาน สถานที่ทํางานและองคการ, ทําใหคนเกา
กับคนใหมปรับตัวเขาหากัน
5. การฝกอบรม (Training)
การฝกอบรม เปนกระบวนการในการพัฒนาคุณภาพของทรัพยากร ซึ่ง
จะทําใหเขาเหลานั้นมีประสิทธิภาพในการทํางานเพิ่มขึ้น และความสามารถของ
พนักงานที่ทํางานในองคการจนบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายนั้น พนักงานควรไดรับการ
22
ฝกอบรมอยางสม่ําเสมอ สวนการพัฒนาผูบริหารวิธีที่จะใหไดผลดีควรใชวิธีการพัฒนา
และฝกอบรมอยางสม่ําเสมอและมีระบบ
ขั้นตอนของการฝกอบรม มีดังนี้
1. การหาความตองการในการฝกอบรม
2. การออกแบบโปรแกรมการฝกอบรม
3. การนําโปรแกรมการฝกอบรมไปใช
4. การประเมินผลโครงการการฝกอบรม
กระบวนการพัฒนาผูบริหารและการฝกอบรม มีขั้นตอนดังนี้
1. ความตองการขององคการ ไดแก จุดมุงหมายของกิจกรรม การสรรหา
ผูบริหาร และอัตราการหมุนเวียนเขาออก
2. ความตองการในการดําเนินงานและงานในตัวของมันเอง ไดแก คํา
บรรยายลักษณะงานและมาตรฐานการปฏิบัติงาน
3. ความตองการฝกอบรมของแตละบุคคล ไดแก การประเมินผลการ
ปฏิบัติงาน การทดสอบและการสํารวจ
4. งานในปจจุบัน ไดแก เปรียบเทียบการปฏิบัติงานที่เปนจริงและที่
ตองการ
5. งานในขั้นตอไป ไดแก เปรียบเทียบความสามารถในปจจุบันกับความ
ตองการของงานในขั้นตอไป และการเตรียมตัวอยางมีระบบสําหรับงานใหมที่จะ
ไดรับมอบหมาย
6. ความตองการในอนาคต ไดแก การคาดการณความสามารถใหมที่
จะตองใชกับงานในขั้นตอไป และการรวมกันของการวางแผนการฝกอบรม
วิธีการพัฒนาผูบริหาร (Manager Development) มีดังนี้
1. On the Job Training เปนการฝกอบรมในระหวางการทํางาน ไดแก
ความกาวหนาตามที่ไดวางแผนไวการสับเปลี่ยนงานการเปนผูชวยในตําแหนงงาน
หนึ่ง การเลื่อนขั้นชั่วคราว คณะกรรมการขั้นตนการสอนและการฝกหัด
2. Internal and External Training เปนการฝกอบรมภายในและภายนอก
ไดแก การฝกอบรมที่มีตอความรูสึก โปรแกรมการจัดประชุม โปรแกรมการ
ฝกอบรมซึ่งจัดโดยมหาวิทยาลัย การสอนโดยการอานโทรทัศนและวีดีโอ
23
แบบจําลองทางธุรกิจ แบบฝกหัดที่ทําใหเกิดความชํานาญ และระบบผูเชี่ยวชาญ
(Expert System : ES)
6. การประเมินผล (Evaluation)
การประเมินผลเปนสิ่งสําคัญอยางยิ่งตอการบริหารงานอยางมี
ประสิทธิภาพ ซึ่งจากหลักฐานที่เชื่อถือได แสดงใหเห็นความแตกตางระหวาง
จุดมุงหมายของการประเมินผลที่ไดกําหนดไวกับวิธีการที่ใชจริง ซึ่งความแตกตาง
เหลานี้เปนสาเหตุของความไมพอใจ
วัตถุประสงคของการประเมินผล มีดังนี้
1. การพัฒนาทางดานการบริหาร
2. การประเมินผลการปฏิบัติงาน
3. การพัฒนาการปฏิบัติงาน
4. การพิจารณาคาตอบแทน
5. การชี้ใหเห็นถึงความสามารถ
6. ขอมูลยอนกลับ
7. การวางแผนกําลังคน
8. การติดตอสื่อสาร
การประเมินผลงานที่เรียกวา 360 องศา หมายถึงการปฏิบัติงานขององคการ
จะถูกประเมินจากบุคคลที่เกี่ยวของกับธุรกิจ เชน ลูกคา ผูขายวัตถุดิบ เพื่อนรวมงาน
ผูบังคับบัญชา ผูใตบังคับบัญชา รวมทั้งผูที่เกี่ยวของอื่น ๆ กับผูถูกประเมิน
การทบทวนการประเมินผล มี 3 วิธี คือ
1. การประเมินผลอยางละเอียดที่เปนทางการ
2. การทบทวนความกาวหนาหรือเปนไปตามระยะเวลา
3. ใชเปนเครื่องชี้ที่ตอเนื่องกันไปของการทํางาน
7. การพัฒนาอาชีพ (Career Development)
การพัฒนาอาชีพ เปนลําดับขั้นของตําแหนงงาน ซึ่งบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
จะตองครอบครองระหวางชวงชีวิตการทํางานของบุคคลนั้น ซึ่งโดยทั่วไปองคการจะ
ออกแบบโครงการพัฒนาอาชีพเพื่อชวยใหพนักงานไดตระหนักถึงเปาหมายของงาน
อาชีพนั้น ๆ
24
แนวขอสอบบุคลากร
86.การบริหารงานคุณภาพทั่วทั้งองคกร มีลักษณะอยางไร
ก. การสรางระบบลูกคาสัมพันธทั้งภายในและภายนอกองคการ
ข. มุงเนนปจจัยนําเขาและผลผลิตเปนหลัก
ค. ทํางานโดยไมตองคํานึงถึงคาใชจายเพราะภาครัฐมีหลักประกันดานการเงินจาก
รัฐบาล
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
การบริหารงานคุณภาพทั้งองคกรมีลักษณะ คือ
1. เนนสรางระบบลูกคาสัมพันธทั้งภายในและภายนอก
2. เนนปจจัยนําเขาและผลผลิตเปนหลัก
3. ทํางานโดยที่ไมตองคํานึงถึงคาใชจาย เพราะภาครัฐมีหลักประกันดานการเงิน
จากรัฐบาล
4. เนนกฎหมาย ระเบียบและขอบังคับบัญชาอยางเครงคัด ฯลฯ
87.ขั้นตอนตอไปนี้ขั้นตอนใดตองทําเปนอันดับแรก
ก. การวิเคราะหงาน ข. การออกแบบงาน
ค. การกําหนดอัตรากําลัง ง. การสรรหา
ตอบ ก. การวิเคราะหงาน
กระบวนการจัดหาบุคคลเขามาทํางานนั้นประกอบดวยขั้นตอนตาง ๆ ตามลําดับดังนี้
1. การสรรหา (Recruitment)
2. การคัดเลือก (Selection)
3. การบรรจุแตงตั้ง (Placement or Appointment)
4. การทดลองปฏิบัติงาน (Probation)
88.ขาราชการกลุมใดบางที่สามารถเขาสูระบบ “Fast Track System”
ก. ผูจบการศึกษาระดับปริญญาซึ่งเปนนักเรียนทุนรัฐบาล
ข. ผูจบการศึกษาระดับปริญญาซึ่งเปนนักเรียนทุนเลาเรียนหลวง
ค. ผูจบการศึกษาระดับปริญญาที่ผานการสอบแขงขันแบบเขมขนพิเศษ
ง. ถูกทุกขอ
25
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
ระบบขาราชการผูมีผลสัมฤทธิ์สูง (Fast Track System) จะเปดโอกาสใหขาราชการ
กลุมเปาหมาย 3 กลุม สามารถเขาสูระบบนี้ไดคือ
1. ผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาขึ้นไปซึ่งไดรับทุนรัฐบาล
2. ขาราชการพลเรือนปจจุบันผูดํารงตําแหนงที่ใชวุฒิระดับปริญญาซึ่งผานการ
ประเมินและคัดเลือกตามหลักเกณฑและวิธีการที่ ก.พ. กําหนด
3. ขาราชการใหมผูไดรับบรรจุและแตงตั้งจากบัญชีผูสอบแขงขันไดดวยวิธีสอบ
เขมขนพิเศษ
89.ขอใดเปนสิ่งจําเปนสําหรับการบริหารงานบุคคลในยุคโลกาภิวัตน
ก. Personnel Development ข. Classification
ค. Compensation ง. Probation
ตอบ ก. Personnel Development
เปนการพัฒนาบุคคล (Personnel Development) เปนกระบวนการในการกระตุนและ
เสริมสรางผูปฏิบัติงานในดานความรู ทักษะ ทัศนคติ อุปนิสัยและวิธีการทํางานใหมี
ประสิทธิภาพ
90.การไดรับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณมีความสัมพันธกับขอใด
ก. Personnel Development ข. Classification
ค. Compensation ง. Probation
ตอบ ข. Classification
(Classification) เปนการจัดชั้นของงานตามคุณภาพของงาน เมื่องานมีคุณภาพก็
จะมีสิ่งตอบแทน เพื่อใหผูปฏิบัติงานเกิดความมั่นคงและเปนแรงจูงใจในการปฏิบัติงานอีกทาง
หนึ่งดวย โดยไดผลประโยชนเกื้อกูลตาง ๆ
91.การเสริมสรางใหผูปฏิบัติงานมีทัศนคติที่ดีในการทํางานสัมพันธกับขอใด
ก. Personnel Development ข. Classification
ค. Compensation ง. Probation
ตอบ ก. Personnel Development
การพัฒนาคนเปนกระบวนการกระตุนและเสริมสรางผูปฏิบัติงานในดานความรูและ
ทักษะ ซึ่งจะทําใหผูปฏิบัติงานแสดงความผูกพันและภักดีตอองคกรมากขึ้นและนอกจากนี้
บุคคลากรในองคกรก็ยังมีบทบาทสําคัญ
คู่มือเตรียมสอบนักทรัพยากรบุคคล/บุคลากร การประปานครหลวง ข้อสอบ กปน ข้อสอบการประปานครหลวง
คู่มือเตรียมสอบนักทรัพยากรบุคคล/บุคลากร การประปานครหลวง ข้อสอบ กปน ข้อสอบการประปานครหลวง
คู่มือเตรียมสอบนักทรัพยากรบุคคล/บุคลากร การประปานครหลวง ข้อสอบ กปน ข้อสอบการประปานครหลวง
คู่มือเตรียมสอบนักทรัพยากรบุคคล/บุคลากร การประปานครหลวง ข้อสอบ กปน ข้อสอบการประปานครหลวง

Contenu connexe

Plus de บ.ชีทราม จก.

Plus de บ.ชีทราม จก. (15)

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
 
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
 
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
 
กรมฝนหลวงและการบินเกษตร
กรมฝนหลวงและการบินเกษตรกรมฝนหลวงและการบินเกษตร
กรมฝนหลวงและการบินเกษตร
 
216
216216
216
 
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
 
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นคณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
 
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
 
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวชข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
 

คู่มือเตรียมสอบนักทรัพยากรบุคคล/บุคลากร การประปานครหลวง ข้อสอบ กปน ข้อสอบการประปานครหลวง

  • 1. 1
  • 2. 2 ขอบเขตเนื้อหา สวนที่ 1 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับการประปานครหลวง วิสัยทัศน / พันธกิจ / คานิยม 5 สัญลักษณ 6 การบริหารจัดการภาพลักษณ 7 ตราสัญลักษณประจําองคกร 8 สีประจําองคกร 9 ประวัติ/ภาระหนาที่ 9 ทําเนียบผูวาการการประปานครหลวง 12 การดําเนินงานดานธรรมาภิบาล จริยธรรม และความรับผิดชอบตอสังคม 13 ความรับผิดชอบตอสังคม CSR 13 จริยธรรม 22 ประมวลจริยธรรมการประปานครหลวง 24 แนวทางการจัดทําประมวลจริยธรรมตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย 24 ธรรมภิบาล (Good Govermance) 25 สวนที่ 2 กฎหมายที่ควรรูเกี่ยวกับการประปานครหลวง พระราชบัญญัติการประปานครหลวง พ.ศ. 2510 แกไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 5 พ.ศ.2535 35 แนวขอสอบความรูทั่วไปเกี่ยวกับการประปานครหลวง 50 สวนที่ 3 ความรูเฉพาะตําแหนงนักทรัพยากร องคกรและการจัดการ 60 องคการ (Organization) 60 ผูบริหารหรือผูจัดการ (Manager) 61 การบริหารหรือการจัดการ (Management) 62 หนาที่ของผูบริหาร (Management Functions) 64 บทบาททางการบริหาร (Management Roles) 65 ทักษะทางการบริหาร (Managerial Skills) 66 ระบบการบริหาร (Management System) 67 การจัดการในอดีตและปจจุบัน 68 พื้นฐานประวัติศาสตรทางการบริหาร (Historical Background) 68 แนวความคิดทางการบริหารในยุคแรก (Early Management Theory) 68 ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร (Scientific Management Theory) 69 ทฤษฎีทางการบริหารโดยทั่วไป (General Administration Theory) 70 ทฤษฎีการจูงใจในยุคแรก (Early Theory of Motivation) 74 ประเด็นปจจุบันและแนวโนมทางการบริหาร 76 วัฒนธรรมองคการและสภาวะแวดลอม 79 แนวคิดเกี่ยวกับบทบาทของผูบริหารกับวัฒนธรรม 79 วัฒนธรรมองคการ 80 สภาวะแวดลอม 81 การจัดการในยุคโลกาภิวัตน 82 การกาวขึ้นเปนองคการระหวางประเทศ (Go International Organization) 85 ความรับผิดชอบทางสังคมและจริยธรรมทางธุรกิจ 86 ความรับผิดชอบตอสังคมของผูบริหาร (Social Responsibility) 86 จริยธรรมทางธุรกิจ (Managerial Ethics) 87 การตัดสินใจทางการจัดการ 88 พื้นฐานการวางแผน 92
  • 3. 3 จุดมุงหมายของการวางแผน (Purposes of Planning) 93 ประเภทของแผนงาน (Types of Plans) 94 วัตถุประสงคขององคการ (Organization Objective) 97 แนวความคิดของการจัดการตามวัตถุประสงค 98 การจัดการเชิงกลยุทธ 99 การวางแผนกลยุทธ (Strategic Planning) 99 เครื่องมือและเทคนิคในการวางแผน 104 โครงการและการออกแบบองคการ 106 การสื่อสารทางการบริหารและเทคโนโลยีสารสนเทศ 106 การจัดการทรัพยากรมนุษย 118 ประเด็นปจจุบันในการจัดหาทรัพยากรมนุษย 123 การจัดการการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรม 124 เทคนิคในการบริหารการเปลี่ยนแปลง (Technique for Managing Change) 126 การพัฒนาองคการ (Organization Development – OD) 128 การกระตุนใหเกิดนวัตกรรม (Stimulating Innovation) 129 พื้นฐานของพฤติกรรม 130 การรับรู (Perception) 133 การเรียนรู (Learning) 134 การกําหนดรูปแบบของพฤติกรรม (Shaping Behavior) 135 การเขาใจกลุมและทีม 137 แนวคิดขั้นพื้นฐานของกลุม (Basic Group Concept) 138 การแกปญหาความขัดแยง (Conflict Resolution Approaches) 139 การตัดสินใจเปนกลุม (Group Decision Making) 140 การจูงใจพนักงาน 145 ภาวะผูนํา 142 ทฤษฎีภาวะผูนําในยุคเริ่มแรก (Early Theory of Leadership) 153 ทฤษฎีภาวะผูนําแบบพฤติกรรม (Behavior Theory) 153 ทฤษฎีตามสถานการณ 155 ผูนําและอํานาจ (Leader and Power) 159 พื้นฐานการควบคุม 161 การบริหารงานผลิต 165 เครื่องมือและเทคนิคในการควบคุม 169 ระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2548 174 สรุปพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540 188 การรางหนังสือราชการ 195 สรุประเบียบวาดวยรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544 202 แนวขอสอบบุคลากร 213
  • 4. 4 การประปานครหลวง วิสัยทัศน / พันธกิจ / คานิยม วิสัยทัศน "เปนองคกรชั้นนําดานการบริหารจัดการที่ดี ที่มีความรับผิดชอบตอสังคม ใน ระดับแนวหนาสุด ของกลุมประเทศอาเซียน ที่ใหบริการงานประปา" พันธกิจ "ใหบริการงานประปา อยางมั่นคง ทั่วถึง สะอาด และเพียงพอ ดวยมาตรฐาน คุณภาพ และ บุคลากรมืออาชีพ เพื่อสรางความพึงพอใจ และความเชื่อมั่นใหแก ผูใชบริการ" คานิยม "มุงมั่น พัฒนาตน พัฒนาระบบงาน อยางยึดมั่นในประโยชนของผูใชบริการ ดวย ความรับผิดชอบ" การจัดการองคกร ยุทธศาสตรการบริหารการประปานครหลวง ฉบับที่ 3 (2555 - 2559) ประกอบดวยยุทธศาสตรหลัก 6 ดาน จําแนกเปนมุมมองตามหลักการ Balanced Scorecard (BSC) และแนวทางบริหารจัดการสรางมูลคาเชิงเศรษฐศาสตร (EVM) ดังนี้ 1. ยุทธศาสตรดานผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholder Strategic) ใหความสําคัญกับผูมีสวนไดสวนเสีย หรือ Stakeholder ซึ่งคําวา"ผูมีสวนได สวนเสีย ในที่นี้ จะหมายรวมถึงทุกภาคสวนทั้งที่เปนบุคคล หนวยงานภาครัฐ และองคกร ธุรกิจ ที่มีความสัมพันธเกี่ยวของกับการประปานครหลวง มุงเนนตอบสนองความ ตองการและความคาดหวังของผูมีสวนไดสวนเสียอยางสมดุล 2. ยุทธศาสตรดานการเงิน (Financial Strategic) สรางมูลคาเชิงเศรษฐศาสตร (EP : Economic Profit) โดยสรางรายไดให เติบโตอยางยั่งยืน และเพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินงาน 3. ยุทธศาสตรดานลูกคา (Customer Strategic)
  • 5. 5 ใหบริการน้ําประปาที่สะอาด อยางทั่วถึง เพียงพอ สรางความนาเชื่อถือ และ ไดรับการยอมรับในระดับสากล 4. ยุทธศาสตรดานกระบวนการภายใน (Internal Process Strategic) ผลิตและสงน้ําดวยมาตรฐานสูงอยางมั่นคง เพียงพอ และยั่งยืน โดยมุงเนน ลูกคา การตลาด และการบริการที่เปนเลิศ ดวยการบริหารจัดการกระบวนการอยางมี ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล 5. ยุทธศาสตรดานการเรียนรูและพัฒนาองคกร (Learning and Growth Strategic) ยกระดับการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพิ่มประสิทธิภาพการใช เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสรางขีดความสามารถองคกร 6. ยุทธศาสตรดานธรรมาภิบาล (Corporate Governance Strategic) ยกระดับการบริหารจัดการที่ดี ดวยหลักธรรมาภิบาล 6 ประการ ประกอบดวย การมีสวนรวม (Participation) หลักนิติธรรม (Rule of Law) ความโปรงใส (Transparency) ความรับผิดชอบตอผลการปฏิบัติงาน (Accountability) ตอตานการ คอรรัปชั่น (Anti – Corruption) มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Efficiency & Effectiveness) เปนฐานบริหารจัดการทั้งองคกร สอดแทรกสูทุกกระบวนงาน สัญลักษณ พระแมธรณี สัญลักษณของการประปานครหลวง พระแมธรณี สัญลักษณของการประปานครหลวง เมื่อครั้งที่พระบาทสมเด็จพระ มงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 6 เสด็จเปดกิจการการประปากรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ.2457 โดยมีพระราชดํารัสกลาวเปดตอนหนึ่งความวา
  • 6. 6 อนึ่ง ทานทั้งหลายที่ไดชวยเราทําการอันนี้ใหสําเร็จไปได ควรรูสึกปลื้มใจวาไดทํา การอันประโยชนแลกุศลอยางยิ่งเพราะน้ําซึ่งใสสะอาด บริสุทธิ์ ใครๆยอมรูอยูแลวทั้งใน โบราณแลบัดนี้วาเปนของจําเปนเพื่อประโยชนแล เพื่อความสุขสําหรับปองกันโรค อันตรายของมนุษย น้ําใสสะอาดยอมเปนเครื่องบําบัดโรคไดดีกวาโอสถหรือเภสัชช ทั้งหลาย เพราะฉะนั้นสิ่งไรที่นับวาเปนมลทินโทษ ทานโบราณาจารยจึงตองสอนใหใชน้ํา เปนเครื่องชําระลาง ในที่สุดถึงแมจะกลาวเปรียบเทียบสิ่งที่เปนของชั่วราย เพื่อจะบําราบ สิ่งชั่วรายอันนั้นก็จะบําราบใหพายแพไดโดยอาศัยอํานาจน้ํา เปนตนวาเมื่อครั้งสมเด็จ พระมุนินทรชินสีหประทับอยูที่ภายใตโพธิ บัลลังกพระยามาร ซึ่งสมมุติวาเปนผูคิดราย ตอพระองคไดหวังผจญตอพระบรมศาสดา โดยเดชะอํานาจพระบารมีของพระองค บันดาลใหนางพระธรณีมาสยายผมบีบน้ําบําราบมาร ไดดวยอิทธิฤทธิ์แหงน้ํา อันไหลมา จากผมของนางดวยอํานาจสัจจะวาจาภาษิตนี้ ขอการประปาจงเปนผลสําเร็จสมตามพระ ราชประสงคของสมเด็จพระชนกนารถของเรา และสมความประสงคของเราแลสมความ ประสงคของทานทั้งหลายบรรดาที่ไดชวยทําการ อันนี้สําเร็จ ขอน้ําใสอันจะหลั่งไหลจาก ประปานี้ จงเปนเครื่องประหารสรรพโรครายที่จะเบียดเบียฬใหรายแกประชาชนผูเปน พสกนิกรของเรา ขอน้ําอันนี้ไดรับพรแลว โดยพระสงฆไดสวดมนตแลโดยเราไดตั้งใจให พรจงบันดาลใหเปนน้ํามนตทําให ประชาชนมีความสุขสวัสดิ์ผองแผวเจริญถวนทั่วทุกตัว คนตั้งแตวันนี้เปนตน ไป ซึ่งพระราชดํารัสดังกลาว จึงเปนที่มาของตราสัญลักษณของการประปา (หมายเหตุ พระราชดํารัสนี้เปนภาษาที่ใชเขียนในสมัยนั้น จึงมีบางคําที่ผิดจากที่ใชใน ปจจุบัน) การบริหารจัดการภาพลักษณ วิสัยทัศนของแบรนด การประปานครหลวงเปนองคกรที่มุงมั่นชวยเหลือประชาชน เพื่อใหมีคุณภาพ ชีวิตที่ดีขึ้น การวางตําแหนงแบรนด เหนือกวา องคกรที่ใหบริการสาธารณูปโภคพื้นฐานอื่นๆในประเทศไทย สําหรับ ประชาชน ที่อยูอาศัยและประกอบกิจการในเขตนครหลวงที่ตองการสินคาคุณภาพดี ปลอดภัยและมีปริมาณเพียงพอตอความตองการ ในราคาที่สามารถจายไดและยุติธรรม รวมทั้งมีบริการที่รวดเร็ว เพราะกปน.มี เทคโนโลยีที่มีนวัตกรรมทันสมัยในการผลิต
  • 7. 7 สินคาที่มีคุณภาพ อีกทั้งยังมีพนักงานที่ใหบริการอยางมืออาชีพ อบอุนและเขาถึงงาย ที่ ลูกคาไววางใจ เพื่อใหทุกๆคนมีความมั่นใจวากปน.ทํางานอยางทุมเทเพื่อชวยให ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น บุคลิกภาพของแบรนด • มีความเปนมืออาชีพ (ซื่อสัตย เปดเผย เปนผูนํา) • มีแนวคิดเชิงรุก (มองการณไกลกระฉับกระเฉง รวดเร็ว) • สรางสรรค (มีพลังสรางสรรค ชางคิด/เปนแหลงความรู) • โอบออมอารี (มีมิตรไมตรี ชอบชวยเหลือผูคน เขาถึงงาย) (มีจิตสํานึกในการบริการ) • ทันสมัย (เทห/สวยงามเขากับยุคสมัย ดูสมารท) • นาเชื่อถือ (วางใจได พึ่งพาได) จึงไดจัดทําตราสัญลักษณการประปานครหลวงโฉมใหม โดยมีความหมายดังนี้ • ตราสัญลักษณของการประปานครหลวง ประกอบดวยสวนประกอบหลัก 3 สวน ไดแก สัญลักษณพระแมธรณี ชื่อการประปานครหลวง และเสนน้ํา • สัญลักษณพระแมธรณี มีความหมายสื่อถึงความเอื้ออารีของ กปน. และให ความหมายถึงธุรกิจประปา • เสน น้ํา ที่เริ่มจากสีเขียวธรรมชาติมาสูสีฟาใส มีความหมายถึงการนําน้ําจาก แหลงธรรมชาติมาบําบัดใหสะอาดสูประชาชนในนครหลวง อันเปนภารกิจหลักของ กปน. และตอกย้ําความสะอาดของน้ํา (น้ําประปาดื่มได) อีกทั้งสะทอนถึงวิสัยทัศนของแบรนด กปน. ในการเสริมสรางคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นใหประชาชนในนครหลวง • ลักษณะเสนน้ําที่เปนเสนโคง มีความหมายถึงการไมหยุดนิ่ง และการพัฒนาไม หยุดยั้งของ กปน. ตราสัญลักษณประจําองคกร
  • 8. 8 จริยธรรม คําวา“จริยธรรม” แยกออกไดเปน จริย + ธรรม ซึ่งคําวา จริยะหมายถึง ความ ประพฤติหรือกิริยาที่ควรประพฤติ สวนคําวา ธรรม มีความหมายหลายประการ เชน คุณ ความดี, หลักคําสอนของศาสนา, หลักปฏิบัติ เมื่อนําคําทั้งสองมารวมกันเปน "จริยธรรม" จึงมีความหมายตามตัวอักษรวา “หลักแหงความประพฤติ” หรือ “แนวทางของการ ประพฤติ” ที่กลาวมานั้นเปนความหมายตามตัวอักษรของคําวา “จริยธรรม” ซึ่งเปน แนวทางใหนักวิชาการหลายทาน ไดใหความหมายของคําวา “จริยธรรม” ไวคลายคลึง กัน ดังตัวอยางตอไปนี้ จริยธรรม หมายถึง ธรรมที่เปนขอประพฤติปฏิบัติ,ศีลธรรม,กฎศีลธรรม - พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 จริยธรรม หมายถึง แนวทางประพฤติปฏิบัติตนเพื่อการบรรลุถึงสภาพชีวิตอัน ทรงคุณคาพึงประสงค - ผลการสัมมนาของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ เรื่อง จริยธรรมในสังคมไทยปจจุบัน ซึ่งจัดขึ้นที่ สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย (AIT) จริยธรรม หมายถึง หลักคําสอนวาดวยความประพฤติเปนหลักสําหรับใหบุคคล ยึดถือในการปฏิบัติตน - วิทย วิศทเวทย และ เสถียรพงษ วรรณปก จริยธรรม หมายถึง ระเบียบปฏิบัติที่มุงปฏิบัติเพื่อใหเกิดความผาสุกในสังคม เปนสิ่งที่มนุษยทําขึ้น แตงขึ้นตามเหตุผลของมนุษยเอง หรือตามความตองการของ มนุษย – พุทธทาสภิกขุ จริยธรรม หมายถึง การนําความรูในความจริงหรือกฎธรรมชาติไปใชใหเกิด ประโยชนตอการดําเนินชีวิตที่ดีงาม อันจะทําใหเกิดประโยชนตอตนเองและสังคม – พระ ราชวรมุนี ตามนิยามขางตน สามารถประมวลสรุปความไดวา จริยธรรม หมายถึง แนวทาง ของการประพฤติปฏิบัติตนใหเปนคนดี เปนประโยชนสุขแกตนเองและสวนรวม นอกจากนี้ จริยธรรมไมใชกฎหมาย เพราะกฎหมายเปนสิ่งบังคับใหคนทําตาม และมีบทลงโทษสําหรับผูฝาฝน ดังนั้น สาเหตุที่คนเคารพเชื่อฟงกฎหมายเพราะกลัวถูก ลงโทษ ในขณะที่จริยธรรมไมมีบทลงโทษ ดังนั้น คนจึงมีจริยธรรมเพราะมีแรงจูงใจ แต อยางไรก็ตาม กฎหมายก็มีสวนเกี่ยวของกับจริยธรรมในฐานะเปนแรงหนุนจากภายนอก เพื่อใหคนมีจริยธรรม และโดยทั่วไปจริยธรรมมักอิงอยูกับศาสนา ทั้งนี้เพราะคําสอน ทางศาสนามีสวนสรางระบบจริยธรรมใหสังคม แตทั้งนี้มิไดหมายความวา จริยธรรม อิงอยูกับหลักคําสอนทางศาสนาเพียงอยางเดียว แทที่จริงนั้นจริยธรรมหยั่งรากอยูบน
  • 9. 9 ขนบธรรมเนียมประเพณี โดยนัยนี้ บางคนเรียกหลักแหงความประพฤติอันเนื่องมาจาก คําสอนทางศาสนาวา "ศีลธรรม" และเรียกหลักแหงความประพฤติอันพัฒนามาจาก แหลงอื่น ๆ วา "จริยธรรม" ในทรรศนะของนักวิชาการหลายทาน ศีลธรรมกับจริยธรรม จึงเปนอันเดียวกัน ไมอาจแยกเด็ดขาดจากกันได ความแตกตางอยูตรงแหลงที่มา ถา แหลงแหงความประพฤตินั้นมาจากศาสนาหรือขอบัญญัติของศาสนา นั่นคือ ศีลธรรม แต ถาเปนหลักทั่ว ๆ ไป ไมเกี่ยวกับศาสนา เชน คําสอนของนักปรัชญา นั่นคือ จริยธรรม กลาวคือ จริยธรรมจะมีความหมายกวางกวาศีลธรรม เพราะศีลธรรมเปนหลักคําสอนทาง ศาสนาที่วาดวยความประพฤติปฏิบัติชอบ สวนจริยธรรมหมายถึงหลักแหงความประพฤติ ปฏิบัติชอบอันวางรากฐานอยูบนหลักคําสอนของศาสนา ปรัชญาและขนบธรรมเนียม ประเพณี กลาวโดยสรุป จริยธรรม หมายถึง แนวทางของการประพฤติปฏิบัติตนเปน คนดี ซึ่งมีลักษณะเปนขอบัญญัติใหบุคคลประพฤติปฏิบัติตามอันถือกันวาเปน การกระทําที่ดี ดังนั้น การดําเนินชีวิตตามหลักจริยธรรมเปนสิ่งที่สังคมตองการ สังคมจึง ไดจัดใหมีการวางแนวทางของการประพฤติปฏิบัติตนและมีการสั่งสอนอบรมเรื่อง จริยธรรมแกสมาชิกของสังคม ผลที่สังคมคาดหวังคือการที่สมาชิกนอมนําเอาจริยธรรม ไปประพฤติในชีวิตประจําวัน เชนเดียวกับ การกําหนดใหหนวยงานของรัฐตองจัดใหมี ประมวลจริยธรรมตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ เพื่อสรางมาตรฐานทางจริยธรรมและให เจาหนาที่ของรัฐประพฤติปฏิบัติตาม โดยรายละเอียดของประมวลจริยธรรมของการ ประปานครหลวงซึ่งวางแนวทางการประพฤติปฏิบัติตนหรือก็คือมาตรฐานทางจริยธรรม ใหผูวาการและพนักงานประพฤติปฏิบัติตาม สามารถศึกษาไดในหัวขอถัดไป ประมวลจริยธรรมของการประปานครหลวง ความเปนมาของการจัดทําประมวลจริยธรรมของการประปานครหลวง เปนไป ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ซึ่งสอดคลอง กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 – 2554) และ นโยบายของรัฐบาลตามที่กลาวมา โดยแนวทางการจัดทําไดดําเนินการตามบทบัญญัติ ของรัฐธรรมนูญฯ ซึ่งมาตรา 279 กําหนดวา “มาตรฐานทางจริยธรรมของผูดํารงตําแหนง ทางการเมือง ขาราชการ หรือเจาหนาที่ของรัฐแตละประเภท ใหเปนไปตามประมวล จริยธรรมที่กําหนดขึ้น...” สงผลใหหนวยงานของรัฐทุกแหงตองจัดใหมีประมวล จริยธรรมเพื่อสรางมาตรฐานทางจริยธรรมของตนและใหเจาหนาที่ของรัฐ ภายใน
  • 10. 10 กฎหมายที่ควรรูเกี่ยวกับการประปานครหลวง พระราชบัญญัติการประปานครหลวง พ.ศ. 2510 แกไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 5 พ.ศ.2535 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2510 เปนปที่ 22 ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการ โปรดเกลาฯ ใหประกาศวา โดยที่เปนการสมควรจัดตั้งการประปานครหลวง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนํา และยินยอมของสภารางรัฐธรรมนูญในฐานะรัฐสภา ดังตอไปนี้ มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติการประปานครหลวง พ.ศ. 2510” มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราช กิจจานุเบกษาเปนตนไป มาตรา 3 บรรดาบทกฎหมาย กฎและขอบังคับอื่นในสวนที่มีบัญญัติไว แลวในพระราชบัญญัตินี้ หรือซึ่งขัดหรือแยงกับบทแหงพระราชบัญญัตินี้ ใหใช พระราชบัญญัตินี้แทน มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ “การประปานครหลวง” หมายความวา การประปานครหลวง ซึ่งจัดตั้ง ขึ้นตามพระราชบัญญัตินี้ “ประปา เอกชน” หมายความวา การผลิต จัดสง และจําหนายน้ําประปา โดยเอกชน ใหแกผูอยูในบานที่มีทะเบียนบานตามกฎหมายวาดวยการทะเบียนราษฎร ตั้งแตหาบานขึ้นไป โดยมีคาตอบแทนเปนเงินหรือผลประโยชนอยางอื่น “พนักงาน” หมายความวา พนักงานการประปานครหลวงรวมทั้งผูวาการ “ผูวาการ” หมายความวา ผูวาการการประปานครหลวง “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการการประปานครหลวง “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
  • 11. 11 มาตรา 5 ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตาม พระราชบัญญัตินี้ หมวด 1 การจัดตั้ง ทุนและเงินสํารอง มาตรา 6 ใหจัดตั้งการประปาขึ้นเรียกวา “การประปานครหลวง” มี วัตถุประสงคดังตอไปนี้ (1) สํารวจ จัดหาแหลงน้ําดิบ และจัดใหไดมาซึ่งน้ําดิบเพื่อใชในการ ประปา (2) ผลิต จัดสงและจําหนายน้ําประปาในเขตทองที่กรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี และจังหวัดสมุทรปราการ และควบคุมมาตรฐานเกี่ยวกับระบบประปา เอกชนในเขตทองที่ดังกลาว (3) ดําเนินธุรกิจอื่นที่เกี่ยวเนื่องกับหรือเปนประโยชนแกการประปา มาตรา 7 การผลิต จัดสงและจําหนายน้ําประปา และการจัดใหไดมาซึ่งน้ํา ดิบโดยการประปานครหลวง เปนกิจการสาธารณูปโภค และใหอยูภายใตบังคับของ กฎหมายอันวาดวยการนั้น มาตรา 8 ใหการประปานครหลวงเปนนิติบุคคล มาตรา 9 ใหการประปานครหลวงตั้งสํานักงานใหญในจังหวัดพระนคร และจะตั้งสํานักงานสาขาหรือตัวแทนขึ้น ณ ที่ใดก็ได มาตรา 10 ใหโอนกิจการ ทรัพยสิน สิทธิ หนี้สินและความรับผิดอัน เกี่ยวกับการประปาของกองประปากรุงเทพ กรมโยธาเทศบาล การประปานนทบุรีของ กองประปาภูมิภาค กรมโยธาเทศบาล การประปาเทศบาลนครธนบุรีของเทศบาลนคร ธนบุรี และหมวดการประปาเทศบาลเมืองสมุทรปราการของเทศบาลเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ใหแกการประปานครหลวง ให กระทรวงมหาดไทยตั้งคณะกรรมการขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อพิจารณา ประเมินราคาทรัพยสิน สิทธิ หนี้สินและความรับผิดของหมวดการประปาเทศบาลเมือง สมุทรปราการ และใหการประปานครหลวงตั้งงบประมาณชดใชตามราคาทรัพยสินที่ ประเมินได ถามี มาตรา 11 ใหโอนเงินงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2510 เงินทุนการประปา และเงินทุนหมุนเวียนจําหนายเครื่องอุปกรณประปาของกอง
  • 12. 12 แนวขอสอบความรูทั่วไปเกี่ยวกับการประปานครหลวง 1. ยุทธศาสตรการบริหารการประปานครหลวง ประกอบดวยยุทธศาสตรกี่ดาน ก. 3 ดาน ข. 4 ดาน ค. 5 ดาน ง. 6 ดาน ตอบ ง. 6 ดาน ยุทธศาสตรการบริหารการประปานครหลวง ฉบับที่ 3 (2555 - 2559) 1. ยุทธศาสตรดานผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholder Strategic) 2. ยุทธศาสตรดานการเงิน (Financial Strategic) 3. ยุทธศาสตรดานลูกคา (Customer Strategic) 4. ยุทธศาสตรดานกระบวนการภายใน (Internal Process Strategic) 5. ยุทธศาสตรดานการเรียนรูและพัฒนาองคกร (Learning and Growth Strategic) 6. ยุทธศาสตรดานธรรมาภิบาล (Corporate Governance Strategic) 2. การยกระดับการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพิ่มประสิทธิภาพการใช เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสรางขีดความสามารถองคกรเปนยุทธศาสตรดานใดของการ ประปานครหลวง ก. ยุทธศาสตรดานธรรมาภิบาล ข. ยุทธศาสตรดานการเรียนรูและพัฒนาองคกร ค. ยุทธศาสตรดานลูกคา ง. ยุทธศาสตรดานกระบวนการภายใน ตอบ ข. ยุทธศาสตรดานการเรียนรูและพัฒนาองคกร ยุทธศาสตรดานการเรียนรูและพัฒนาองคกร (Learning and Growth Strategic) ยกระดับการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพิ่มประสิทธิภาพการใช เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสรางขีดความสามารถองคกร 3. ใหบริการน้ําประปาที่สะอาด อยางทั่วถึง เพียงพอ สรางความนาเชื่อถือ และไดรับการ ยอมรับในระดับสากล เปนยุทธศาสตรดานใด ก. ยุทธศาสตรดานธรรมาภิบาล
  • 13. 13 ข. ยุทธศาสตรดานการเรียนรูและพัฒนาองคกร ค. ยุทธศาสตรดานลูกคา ง. ยุทธศาสตรดานกระบวนการภายใน ตอบ ค. ยุทธศาสตรดานลูกคา ยุทธศาสตรดานลูกคา (Customer Strategic) ใหบริการน้ําประปาที่สะอาด อยาง ทั่วถึง เพียงพอ สรางความนาเชื่อถือ และไดรับการยอมรับในระดับสากล 4. ผลิตและสงน้ําดวยมาตรฐานสูงอยางมั่นคง เพียงพอ และยั่งยืน โดยมุงเนนลูกคา การตลาด และการบริการที่เปนเลิศ ดวยการบริหารจัดการกระบวนการอยางมี ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล เปนยุทธศาสตรดานใด ก. ยุทธศาสตรดานธรรมาภิบาล ข. ยุทธศาสตรดานการเรียนรูและพัฒนาองคกร ค. ยุทธศาสตรดานลูกคา ง. ยุทธศาสตรดานกระบวนการภายใน ตอบ ง. ยุทธศาสตรดานกระบวนการภายใน ยุทธศาสตรดานกระบวนการภายใน (Internal Process Strategic) ผลิตและสงน้ํา ดวยมาตรฐานสูงอยางมั่นคง เพียงพอ และยั่งยืน โดยมุงเนนลูกคา การตลาด และการ บริการที่เปนเลิศ ดวยการบริหารจัดการกระบวนการอยางมีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผล 5. ขอใดไมใชสวนประกอบหลักของตราสัญลักษณการประปานครหลวง ก. สัญลักษณพระแมธรณี ข. ชื่อการประปานครหลวง ค. เสนน้ํา ง. ทองทะเล ตอบ ง. ทองทะเล ตราสัญลักษณของการประปานครหลวง ประกอบดวยสวนประกอบหลัก 3 สวน ไดแก สัญลักษณพระแมธรณี ชื่อการประปานครหลวง และเสนน้ํา 6. สวนประกอบหลักของตราสัญลักษณการประปานครหลวงใดที่มีความหมายถึงความ เอื้ออารีของ กปน. และใหความหมายถึงธุรกิจประปา ก. สัญลักษณพระแมธรณี ข. ชื่อการประปานครหลวง
  • 14. 14 ค. เสนน้ํา ง. ทองทะเล ตอบ ก. สัญลักษณพระแมธรณี สัญลักษณพระแมธรณี มีความหมายสื่อถึงความเอื้ออารีของ กปน. และให ความหมายถึงธุรกิจประปา 7. สวนประกอบหลักของตราสัญลักษณการประปานครหลวงใดที่มีความหมายถึงการไม หยุดนิ่ง และการพัฒนาไมหยุดยั้งของ กปน. ก. สัญลักษณพระแมธรณี ข. ชื่อการประปานครหลวง ค. เสนน้ํา ง. ทองทะเล ตอบ ค. เสนน้ํา ลักษณะเสนน้ําที่เปนเสนโคง มีความหมายถึงการไมหยุดนิ่ง และการพัฒนาไม หยุดยั้งของ กปน. 8. ขอใดเปนความรับผิดชอบตอสังคมของการประปานครหลวง ก. การกํากับดูแลกิจการที่ดี ข. สิทธิมนุษยชน ค. สิทธิแรงงาน ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ ความรับผิดชอบตอสังคม 1. การกํากับดูแลกิจการที่ดี 2. สิทธิมนุษยชน 3. สิทธิแรงงาน 4. การดําเนินธุรกิจที่เปนธรรม 5. ความรับผิดชอบตอผูบริโภค 6. การบริหารจัดการดานสิ่งแวดลอม 7. การมีสวนรวมในการพัฒนาสังคมและชุมชน 9. ประมวลจริยธรรมของผูวาการและพนักงานการประปานครหลวง ฉบับปจจุบันที่ใชอยู เปนฉบับพ.ศ.ใด ก. ฉบับที่ 133 พ.ศ. 2555 ข. ฉบับที่ 133 พ.ศ. 2554 ค. ฉบับที่ 133 พ.ศ. 2553 ง. ฉบับที่ 133 พ.ศ. 2552
  • 15. 15 ตอบ ง. ฉบับที่ 133 พ.ศ. 2552 10. ขอใดที่ผูวาการและพนักงานทุกคน ตองปฏิบัติหนาที่โดยยึดมั่นในมาตรฐาน จริยธรรม ก. การยึดมั่นในคุณธรรม และจริยธรรม ข. การมีจิตสํานึกที่ดี ซื่อสัตย สุจริตและรับผิดชอบ ค. การยืนหยัดทําในสิ่งที่ถูกตอง เปนธรรม และถูกกฎหมาย ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ ผูวาการและพนักงานทุกคน ตองปฏิบัติหนาที่โดยยึดมั่นในมาตรฐานจริยธรรม อันเปนคานิยมหลัก 9 ประการดังนี้ (1) การยึดมั่นในคุณธรรมและจริยธรรม (2) การมีจิตสํานึกที่ดี ซื่อสัตย สุจริตและรับผิดชอบ (3) การยึดถือประโยชนของประเทศชาติเหนือกวาประโยชนสวนตนและ ไมมีผลประโยชนทับซอน (4) การยืนหยัดทําในสิ่งที่ถูกตอง เปนธรรม และถูกกฎหมาย (5) การใหบริการแกประชาชนดวยความรวดเร็ว มีอัธยาศัย และไมเลือก ปฏิบัติ (6) การใหขอมูลขาวสารแกประชาชนอยาวงครบครัน ถูกตองและไม บิดเบือนขอเท็จจริง (7) การมุงผลสัมฤทธิ์ของงาน รักษามาตรฐาน มีคุณภาพ โปรงใสและ ตรวจสอบได (8) การยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน ประมุข (9) การยึดมั่นในหลักจรรยาวิชาชีพขององคกร 11. หลักการกํากับดูแลกิจการของการประปานครหลวง คือขอใด ก. หลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี ข. จรรยาบรรณ ค. การปฏิบัติตอผูมีสวนไดเสียอยางเทาเทียมกัน
  • 16. 16 องคกรและการจัดการ องคการ (Organization) "องคการ" ตามแนวความคิดของ Stephen P. Robbins คือ การจัดการ ของกลุมบุคคล โดยมีเจตนาที่จะใหการดําเนินงานประสบผลสําเร็จตามจุดมุงหมายเปน การเฉพาะ องคการประกอบดวยคุณลักษณะสําคัญ 3 ประการ คือ 1.จุดมุงหมายโดยชัดเจน (Distinct Purpose) คือ การมีเปาหมายรวมกัน 2.บุคลากร (People) คือ การรวมตัวกันของคนตั้งแต 2 คนขึ้นไป 3.โครงสราง (Structure) ที่ชัดเจน คือ การมีปฏิสัมพันธตอกัน ในปจจุบันนี้ องคการไดแปรเปลี่ยนจากองคการระบบปด (Closed System)มาเปนองคการระบบเปด (Opened System) ซึ่งมีความยืดหยุนและตอบสนอง การเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ตารางเปรียบเทียบแนวความคิดขององคการที่แปรเปลี่ยนไป มีดังนี้ องคการแบบดั้งเดิม องคการสมัยใหม 1. คงสภาพอยูกับที่เดิม 2. มีระเบียบกฎเกณฑที่ไมยืดหยุน 3. เนนตัวงานที่ดําเนินการ 4. กําหนดหนาที่โดยยึดตําแหนงงาน 5. เนนปจเจกชน (Individual) 6. ทํางานแบบถาวร (จางแบบถาวร) 7. เนนการสั่งการใหลูกนองทําตาม 8. การตัดสินใจอยูที่ผูจัดการ 9. เนนกฎระเบียบที่องคการกําหนดเปนหลัก 10.แรงงานมาจากคนแบบเดียวกัน 11. ระยะเวลาทํางาน 5 – 9 ชั่วโมง/วัน ความสัมพันธในการทํางานเปนไปตามลําดับชั้นของ การบังคับบัญชา ทํางานเฉพาะในองคการและตามเวลาทีไดกําหนดไว 1. มีการปรับสภาพเคลื่อนไหวตามสภาพแวดลอม 2. มีระเบียบกฎเกณฑที่ยืดหยุน 3. เนนทักษะหรือความเชี่ยวชาญ 4. กําหนดหนาที่โดยยึดภาระงานที่ตองกระทํา 5. เนนทีมงาน (Work Team) 6. นิยมจางทํางานแบบชั่วคราว 7. เนนความสัมพันธมากกวาการแสดงอํานาจ 8. การตัดสินใจใหพนักงานมีสวนรวม 9. เนนลูกคาเปนจุดศูนยกลางที่องคการจะตอบสนอง 10. แรงงานมีความหลากหลายในชาติพันธุ 11. ระยะเวลาทํางานไมกําหนดตายตัว ความสัมพันธในการทํางานเปนแบบแนวราบ หรือแบบเครือขาย ทํางานที่ใด เมื่อไรก็ได โดยสถานที่ทํางานอาจอยูภายนอกบริษัท แตสามารถติดตอและตามตัวกันได โดยใชระบบสารสนเทศเขามา ชวย
  • 17. 17 ผูบริหารหรือผูจัดการ (Manager) "ผูบริหาร"หมายถึง สมาชิกในองคการซึ่งทําหนาที่รวบรวมและประสานงาน กับสมาชิกคนอื่น ๆ ในองคการ หรือหมายถึง บุคคลซึ่งมีหนาที่รับผิดชอบในการ ดําเนินงานใหบรรลุวัตถุประสงค ตามที่ไดกําหนดไว โดยอาศัยผูอื่นและทรัพยากรตาง ๆ ดังนั้นจึงอาจกลาวไดวา ผูบริหารเปนผูประสานกิจกรรมตาง ๆ ที่ผูอื่นกระทํามากกวาที่ จะเปนผูลงมือกระทําเอง องคการธุรกิจโดยทั่วไปนิยมแบงผูบริหารออกเปน 3 ระดับ ดังนี้คือ 1. ผูบริหารระดับลาง (Lower หรือ First Manager หรือระดับ ปฏิบัติการ คือผูบริหารในระดับที่ใกลชิดกับเนื้องาน เชน งานดานเทคนิค งานดาน ธุรการตางๆ ฯลฯ และใกลชิดกับคนงานที่ทํางานในแตละวันมากที่สุด ซึ่งไดแก ผู ควบคุมงานหรือหัวหนางาน (Supervisor) และหัวหนาคนงาน (Foreman) เปนตน 2. ผูบริหารระดับกลาง (Middle Manager) หรือ ผูบริหารที่อยู ระหวางผูบริหารระดับลางกับผูบริหารระดับสูงขององคการ ซึ่งไดแก หัวหนาหนวย หัวหนาสวน หัวหนาแผนก และหัวหนาฝายตาง ๆ เชน ฝายบัญชี ฝายการเงิน ฝาย การตลาด ฝายขาย ฝายผลิต ฝายบริการลูกคา ฝายธุรการ ฝายทรัพยากรมนุษย ฝายวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ รวมทั้งผูจัดการสาขา เปนตน 3. ผูบริหารระดับสูง (Top Manager) คือ ผูบริหารที่อยูในระดับ สูงสุดขององคการในดานการดําเนินงานในแตละวัน โดยมีหนาที่รับผิดชอบในการ ตัดสินใจ กําหนดนโยบาย และกําหนดกลยุทธ ฯลฯ ซึ่งมีผลกระทบตอองคการโดยรวม บุคคลกลุมนี้ไดแก ประธานกรรมการหรือประธานฝายบริหาร รองประธานกรรมการ หรือรองประธานฝายบริหาร กรรมการผูจัดการ รองกรรมการผูจัดการ ผูจัดการใหญ หรือผูจัดการบริษัท เปนตน โดยทั่วไปผูบริหารระดับสูงนี้จะมีผูบริหารสูงสุดเพียง 1 คน เรียกวา "หัวหนาฝายบริหาร" (Chief Executive Officer : CEO) หรือ "หัวหนาฝายปฏิบัติการ" (Chief Operating Officer : COO) ถึงแมจะมีการแบงระดับชั้นของผูบริหารออกเปน 3 ระดับแลวก็ตาม แต ในทางปฏิบัตินั้นจะพบวาการปฏิบัติหนาที่ระหวางระดับตาง ๆ ก็ยังคงมีปญหาการ เหลื่อมล้ํากันและกันเกิดขึ้นอยูเสมอ เพราะไมสามารถที่จะแบงแยกกันไดอยางชัดเจน เชน ความสัมพันธระหวางระดับลางกับระดับกลาง หรือระหวางระดับกลางกับระดับสูง แตก็ไมควรใหมีการเหลื่อมล้ําระหวางระดับลางกับระดับสูงเปนอันขาด
  • 18. 18 การตัดสินใจทางการจัดการ การตัดสินใจ (Decision Making) เปนการเลือกที่จะตองกระทําระหวาง ทางเลือกที่มีอยู 2 ทางหรือมากกวานั้น ซึ่งขั้นตอนที่สําคัญที่สุดของการตัดสินใจก็คือ การพิจารณาวาอะไรคือทางเลือกที่ดีที่สุด ดังนั้นการตัดสินใจจึงเปนกระบวนการในการ เลือกทางเลือกที่ดีที่สุด เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคที่ไดวางไว องคการธุรกิจโดยทั่วไปจะสามารถบรรลุวัตถุประสงคได ควรใชระบบการ ตัดสินใจตามความเหมาะสมกับแตละสถานการณ เชน ถาเปนเรื่องรีบดวนหรือเปนเรื่อง ที่มีความสําคัญมาก ผูบริหารก็อาจรวมอํานาจการตัดสินใจไวที่ศูนยกลาง แตถาเปน เรื่องที่ไมสําคัญมากนักก็อาจกระจายอํานาจใหกับผูบริหารระดับรอง ๆ ลงไปหรือใหกับ ผูปฏิบัติงานในระดับตาง ๆ เปนตน มติเอกฉันท เปนขอตกลงในการตัดสินใจของแตละคนที่กระทําขึ้นในที่ ประชุม โดยรวมเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน หรือเปนขอวินิจฉัยในญัตติที่เสนอตอที่ประชุม โดยมีความเห็นเปนอยางเดียวกันหมด การใหผูรวมงานเขามามีสวนรวมในการบริหาร หมายถึง การบริหารงานที่ การตัดสินใจกระทําโดยผูบริหาร โดยการรับฟงความคิดเห็นจากผูรวมงาน ซึ่งจะตองทํา การเลือกตัดสินใจบนพื้นฐานของขอจํากัดหรือขอบเขตที่จะตองเปนไปอยางมีเหตุผล ความมีเหตุผล (Rationality) ในการเลือกทางเลือกเพื่อการตัดสินใจที่ดี ที่สุด หมายถึง เขาใจถึงแนวทางเลือกเพื่อบรรลุเปาหมาย, ความสามารถในการประเมิน, ความตองการใหมีการแกปญหาอยางที่ที่สุด, ความมีเหตุผลอยางสมบูรณมักจะไมคอย ไดรับ, อนาคตเปนเรื่องของความไมแนนอน และความไมแนนอนทั้งหมดนั้นไมสามารถ ทราบได กระบวนการตัดสินใจโดยการใชหลักเหตุผล มีขั้นตอนดังนี้ 1. การแสวงหาทางเลือก (The Search for Alternatives) 2. การประเมินทางเลือก (Evaluation of Alternatives) ไดแก ปจจัย ทางคุณภาพและปจจัยทางปริมาณ, การวิเคราะหสวนเพิ่ม, การวิเคราะหประสิทธิผล ของตนทุน 3. การเลือกทางเลือกมี 3 แนวทาง คือ ความชํานาญ การทดลอง การวิจัยและการวิเคราะห หากมีการนําเทคโนโลยีมาใชในการบริหารงานขององคการมากขึ้น การ ตัดสินใจทางการบริหารจะมีแนวโนมในการตัดสินใจโดยกลุมบุคคลที่เกี่ยวของมากขึ้น
  • 19. 19 เชน ผูบริหารระดับสูง ผูจัดการฝายผลิต หัวหนาฝายผลิต รวมทั้งฝายตาง ๆ จะเขา มาชวยในเรื่องของการผลิตสินคา เปนตน การตัดสินใจทางการบริหารจะมีความสําคัญนอยกวาการตัดสินใจเกี่ยวกับ นโยบาย ทั้งนี้เนื่องจากการตัดสินใจดานนโยบายนั้นจะกําหนดหลักเกี่ยวกับพฤติกรรม ของธุรกิจ สวนการตัดสินใจทางการบริหารจะเปนการแปลนโยบายไปสูการปฏิบัติ ชนิดของการตัดสินใจมี 2 ประการ คือ 1. Programmed Decision เปนการตัดสินใจของผูบริหารในปญหา ที่มีลักษณะเปนโครงสรางชัดเจน (ปญหาที่มีการแกไขแนนอนตายตัว) ตรงไปตรงมา หรือเปนปญหาที่เกิดขึ้นเปนประจําซึ่งตนคุนเคยดีกับปญหาดังกลาวแลว มักใชสําหรับ การตัดสินใจของผูบริหารระดับลาง หรือบุคลากรที่ไมใชผูบริหาร 2. Non Programmed Decision เปนการตัดสินใจทางการบริหารที่ ไมมีโครงสรางที่แนนอนและไมไดเกิดขึ้นเปนประจําหรือเปนเหตุการณที่นาน ๆ ครั้งจึง จะเกิดขึ้น มักใชกับการตัดสินใจของผูบริหารระดับสูงซึ่งเทคนิคดั้งเดิมที่ใชในการ ตัดสินใจแบบนี้ก็คือ สามัญสํานึกหรือสัญชาตญาณ (Intuition) อันเปนการใชความรูสึก นึกคิดสวนบุคคล ดังนั้นผูบริหารจึงจําเปนตองอาศัยขอมูลในการตัดสินใจมาก ตอง อาศัยประสบการณและลางสังหรณเขาชวย รวมทั้งขึ้นอยูกับวิจารณญาณของผูบริหาร เปนสําคัญ หลักการของการตัดสินใจมี 2 ประเภท คือ 1. หลักการตัดสินใจที่ไมใชวิธีเชิงปริมาณ มีหลักอยู 4 ประการ คือ สัญชาตญาณ (Intuition), ขอเท็จจริง (Facts), ประสบการณ (Experience), การ พิจารณาไตรตรองอยางรอบคอบ (Considered Opinion) 2. หลักการตัดสินใจที่ใชวิธีเชิงปริมาณ มีเทคนิคอยู 6 ประการ คือ การวิจัยการปฏิบัติงาน (Operation Research), โปรแกรมเสนตรง (Linear Programming), ซิมมูเลชั่น (Simulation), มอนติคารโล(Monte Carlo), การเขาคิว (Queing), การแขงขัน (Games) สภาพการตัดสินใจมี 3 กรณี คือ 1. ภายใตความแนนอน (Certainly) คือ ผูตัดสินใจรูถึงผลลัพธที่ จะเกิดขึ้นอยางแนนอน เชน การนําเงินสดของธุรกิจไปฝากธนาคารไว โดยรูถึงอัตรา ดอกเบี้ยที่ธนาคารจะจายใหอยางถองแท เปนตน
  • 20. 20 การจัดการทรัพยากรมนุษย การจัดบุคคลเขาทํางาน (Staffing) ซึ่งในปจจุบันนิยมเรียกวา "การบริหาร ทรัพยากรมนุษย"(Human Resource Management) คือ การจัดหาคนมาทํางานและ บํารุงรักษา หรือเปนการระบุความตองการในกําลังแรงงาน (Work Force) การจัดการ ดูแลคนที่ไดมา การสรรหา (Recruiting) การคัดเลือก การวางตําแหนงการสงเสริม การประเมินผล การวางแผนงานอาชีพ การจายเงินชดเชย และการฝกอบรมบุคคล กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย (HRM Process) กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษยเปนกิจกรรมที่สําคัญในการจัดคนเขา ทํางาน และดํารงไวซึ่งผลการปฏิบัติงานของพนักงานในระดับสูง โดยมี 8 ขั้นตอน คือ 1. การวางแผนทรัพยากรมนุษย (Human Resource Planning) System Approach คือ แนวความคิดแบบระบบหรือการวิเคราะหเชิง ระบบ เปนระบบการบริหารทรัพยากรมนุษยที่สรางความมั่นใจใหแกผูบริหารวา ไดมี บุคคลที่มีความสามารถในการทํางานใหประสบผลสําเร็จตามวัตถุประสงค โดยมีการ วางแผนดานกําลังคน การฝกอบรม การพัฒนา และเนนในดานแรงงานสัมพันธ 2. การสรรหาบุคคล(Recruitment)และการลดกําลังคน (Decruitment) การสรรหา (Recruitment) เปนกระบวนการของการกําหนดพื้นที่หลัก แหลง และดึงดูดความสามารถของบุคคลใหมาสมัครงาน เพราะผูบริหารจําเปนตองสรร หาบุคคลเขาทํางาน ซึ่งเปนหลักการแรกของการบริหารทรัพยากรมนุษย การลดกําลังคน (Decruitment) เปนเทคนิคในการลดอุปทานดาน แรงงานภายในองคการ ซึ่งประกอบดวย การไลออก ปลดออก ลดเวลาทํางาน เกษียณอายุกอนเวลา และการจัดแบงงานกันทํา โดยความจําเปนในการลดกําลังคนอาจ เกิดขึ้นไดทุกขณะเพื่อความเหมาะสมและตามความตองการของฝายบริหาร เชน ในขณะที่เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ําทั่วโลก ทําใหธุรกิจตองลดกําลังคนทํางานลง จึงจะ ทําใหธุรกิจผานพนวิกฤติไปได 3. การคัดเลือก (Selection) การคัดเลือก (Selection) เปนกระบวนการในการกลั่นกรองผูที่มาสมัคร งาน เพื่อใหไดคนที่เหมาะสมที่สุดมาทํางาน และยังเปนการวางแผนความตองการเพื่อ
  • 21. 21 การบริหารงานอยางละเอียดลึกซึ้ง เปนพื้นฐานที่สําคัญตามความตองการของตําแหนง งาน การคัดเลือกถือเปนการพยากรณหรือการคาดการณอยางหนึ่ง ซึ่งจะมีผล ออกมา 4 ประการ คือ การตัดสินใจที่ถูกตอง (การปฏิเสธคนไมดี), การยอมรับ ขอผิดพลาด, การปฏิเสธขอผิดพลาด และการตัดสินใจที่ถูกตอง (การยอมรับคนดี) ขอผิดพลาดในการคัดเลือกสามารถชักนําไปสูความเปนจริงตามหลักการ ของ Peter ซึ่งกลาววาผูบริหารมีแนวโนมที่จะไดรับการสงเสริมใหไปอยูในระดับ ความสามารถของตัว ถึงแมวาจะมีขอแนะนําจากหลาย ๆ ฝายวา การตัดสินใจคัดเลือก ควรขึ้นอยูกับผูบังคับบัญชาที่ตําแหนงนั้นสังกัดอยู ความเที่ยงตรง (Validity) หรือความถูกตอง ความสมบูรณ คือ การ พิสูจนวาความสัมพันธระหวางเครื่องมือในการคัดเลือกกับเกณฑที่ใชเขากันไดดี ความเชื่อถือได (Reliability) หรือความไวใจได คือ ความสามารถ ของเครื่องมือที่ใชคัดเลือกสามารถวัดสิ่งเดียวกันไดอยางสม่ําเสมอ กระบวนการคัดเลือกควรประกอบดวยการสัมภาษณ การทดสอบ และใช ศูนยการวัดผล เพื่อหลีกเลี่ยงความไมพอใจ และการหมุนเวียนเขาออกของคนงาน โดยกิจการควรใหความมั่นใจแกพนักงานใหมเพื่อใหรูจักและคุนเคยกับคนงานอื่น ๆ ใน องคการ เครื่องมือในการคัดเลือก (Selection Device) ไดแก แบบฟอรมใบ สมัคร, การทดสอบขอเขียน, การทดสอบความรูความสามารถโดยลงมือปฏิบัติจริง เชน การศึกษา ความรู ทักษะและความชํานาญ, การสัมภาษณ, การตรวจสอบ หลักฐานและขอมูลของผูสมัคร, การตรวจรางกาย 4. การปฐมนิเทศ (Orientation) การปฐมนิเทศจัดทําขึ้นมาเพื่อตองการแนะนําพนักงานใหมใหรูจักและ คุนเคยกับองคการ โดยมีวัตถุประสงคหลักคือ เปนการลดความกระวนกระวายใจใน เบื้องตน, ทําใหพนักงานใหมคุนเคยกับงาน สถานที่ทํางานและองคการ, ทําใหคนเกา กับคนใหมปรับตัวเขาหากัน 5. การฝกอบรม (Training) การฝกอบรม เปนกระบวนการในการพัฒนาคุณภาพของทรัพยากร ซึ่ง จะทําใหเขาเหลานั้นมีประสิทธิภาพในการทํางานเพิ่มขึ้น และความสามารถของ พนักงานที่ทํางานในองคการจนบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายนั้น พนักงานควรไดรับการ
  • 22. 22 ฝกอบรมอยางสม่ําเสมอ สวนการพัฒนาผูบริหารวิธีที่จะใหไดผลดีควรใชวิธีการพัฒนา และฝกอบรมอยางสม่ําเสมอและมีระบบ ขั้นตอนของการฝกอบรม มีดังนี้ 1. การหาความตองการในการฝกอบรม 2. การออกแบบโปรแกรมการฝกอบรม 3. การนําโปรแกรมการฝกอบรมไปใช 4. การประเมินผลโครงการการฝกอบรม กระบวนการพัฒนาผูบริหารและการฝกอบรม มีขั้นตอนดังนี้ 1. ความตองการขององคการ ไดแก จุดมุงหมายของกิจกรรม การสรรหา ผูบริหาร และอัตราการหมุนเวียนเขาออก 2. ความตองการในการดําเนินงานและงานในตัวของมันเอง ไดแก คํา บรรยายลักษณะงานและมาตรฐานการปฏิบัติงาน 3. ความตองการฝกอบรมของแตละบุคคล ไดแก การประเมินผลการ ปฏิบัติงาน การทดสอบและการสํารวจ 4. งานในปจจุบัน ไดแก เปรียบเทียบการปฏิบัติงานที่เปนจริงและที่ ตองการ 5. งานในขั้นตอไป ไดแก เปรียบเทียบความสามารถในปจจุบันกับความ ตองการของงานในขั้นตอไป และการเตรียมตัวอยางมีระบบสําหรับงานใหมที่จะ ไดรับมอบหมาย 6. ความตองการในอนาคต ไดแก การคาดการณความสามารถใหมที่ จะตองใชกับงานในขั้นตอไป และการรวมกันของการวางแผนการฝกอบรม วิธีการพัฒนาผูบริหาร (Manager Development) มีดังนี้ 1. On the Job Training เปนการฝกอบรมในระหวางการทํางาน ไดแก ความกาวหนาตามที่ไดวางแผนไวการสับเปลี่ยนงานการเปนผูชวยในตําแหนงงาน หนึ่ง การเลื่อนขั้นชั่วคราว คณะกรรมการขั้นตนการสอนและการฝกหัด 2. Internal and External Training เปนการฝกอบรมภายในและภายนอก ไดแก การฝกอบรมที่มีตอความรูสึก โปรแกรมการจัดประชุม โปรแกรมการ ฝกอบรมซึ่งจัดโดยมหาวิทยาลัย การสอนโดยการอานโทรทัศนและวีดีโอ
  • 23. 23 แบบจําลองทางธุรกิจ แบบฝกหัดที่ทําใหเกิดความชํานาญ และระบบผูเชี่ยวชาญ (Expert System : ES) 6. การประเมินผล (Evaluation) การประเมินผลเปนสิ่งสําคัญอยางยิ่งตอการบริหารงานอยางมี ประสิทธิภาพ ซึ่งจากหลักฐานที่เชื่อถือได แสดงใหเห็นความแตกตางระหวาง จุดมุงหมายของการประเมินผลที่ไดกําหนดไวกับวิธีการที่ใชจริง ซึ่งความแตกตาง เหลานี้เปนสาเหตุของความไมพอใจ วัตถุประสงคของการประเมินผล มีดังนี้ 1. การพัฒนาทางดานการบริหาร 2. การประเมินผลการปฏิบัติงาน 3. การพัฒนาการปฏิบัติงาน 4. การพิจารณาคาตอบแทน 5. การชี้ใหเห็นถึงความสามารถ 6. ขอมูลยอนกลับ 7. การวางแผนกําลังคน 8. การติดตอสื่อสาร การประเมินผลงานที่เรียกวา 360 องศา หมายถึงการปฏิบัติงานขององคการ จะถูกประเมินจากบุคคลที่เกี่ยวของกับธุรกิจ เชน ลูกคา ผูขายวัตถุดิบ เพื่อนรวมงาน ผูบังคับบัญชา ผูใตบังคับบัญชา รวมทั้งผูที่เกี่ยวของอื่น ๆ กับผูถูกประเมิน การทบทวนการประเมินผล มี 3 วิธี คือ 1. การประเมินผลอยางละเอียดที่เปนทางการ 2. การทบทวนความกาวหนาหรือเปนไปตามระยะเวลา 3. ใชเปนเครื่องชี้ที่ตอเนื่องกันไปของการทํางาน 7. การพัฒนาอาชีพ (Career Development) การพัฒนาอาชีพ เปนลําดับขั้นของตําแหนงงาน ซึ่งบุคคลใดบุคคลหนึ่ง จะตองครอบครองระหวางชวงชีวิตการทํางานของบุคคลนั้น ซึ่งโดยทั่วไปองคการจะ ออกแบบโครงการพัฒนาอาชีพเพื่อชวยใหพนักงานไดตระหนักถึงเปาหมายของงาน อาชีพนั้น ๆ
  • 24. 24 แนวขอสอบบุคลากร 86.การบริหารงานคุณภาพทั่วทั้งองคกร มีลักษณะอยางไร ก. การสรางระบบลูกคาสัมพันธทั้งภายในและภายนอกองคการ ข. มุงเนนปจจัยนําเขาและผลผลิตเปนหลัก ค. ทํางานโดยไมตองคํานึงถึงคาใชจายเพราะภาครัฐมีหลักประกันดานการเงินจาก รัฐบาล ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ การบริหารงานคุณภาพทั้งองคกรมีลักษณะ คือ 1. เนนสรางระบบลูกคาสัมพันธทั้งภายในและภายนอก 2. เนนปจจัยนําเขาและผลผลิตเปนหลัก 3. ทํางานโดยที่ไมตองคํานึงถึงคาใชจาย เพราะภาครัฐมีหลักประกันดานการเงิน จากรัฐบาล 4. เนนกฎหมาย ระเบียบและขอบังคับบัญชาอยางเครงคัด ฯลฯ 87.ขั้นตอนตอไปนี้ขั้นตอนใดตองทําเปนอันดับแรก ก. การวิเคราะหงาน ข. การออกแบบงาน ค. การกําหนดอัตรากําลัง ง. การสรรหา ตอบ ก. การวิเคราะหงาน กระบวนการจัดหาบุคคลเขามาทํางานนั้นประกอบดวยขั้นตอนตาง ๆ ตามลําดับดังนี้ 1. การสรรหา (Recruitment) 2. การคัดเลือก (Selection) 3. การบรรจุแตงตั้ง (Placement or Appointment) 4. การทดลองปฏิบัติงาน (Probation) 88.ขาราชการกลุมใดบางที่สามารถเขาสูระบบ “Fast Track System” ก. ผูจบการศึกษาระดับปริญญาซึ่งเปนนักเรียนทุนรัฐบาล ข. ผูจบการศึกษาระดับปริญญาซึ่งเปนนักเรียนทุนเลาเรียนหลวง ค. ผูจบการศึกษาระดับปริญญาที่ผานการสอบแขงขันแบบเขมขนพิเศษ ง. ถูกทุกขอ
  • 25. 25 ตอบ ง. ถูกทุกขอ ระบบขาราชการผูมีผลสัมฤทธิ์สูง (Fast Track System) จะเปดโอกาสใหขาราชการ กลุมเปาหมาย 3 กลุม สามารถเขาสูระบบนี้ไดคือ 1. ผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาขึ้นไปซึ่งไดรับทุนรัฐบาล 2. ขาราชการพลเรือนปจจุบันผูดํารงตําแหนงที่ใชวุฒิระดับปริญญาซึ่งผานการ ประเมินและคัดเลือกตามหลักเกณฑและวิธีการที่ ก.พ. กําหนด 3. ขาราชการใหมผูไดรับบรรจุและแตงตั้งจากบัญชีผูสอบแขงขันไดดวยวิธีสอบ เขมขนพิเศษ 89.ขอใดเปนสิ่งจําเปนสําหรับการบริหารงานบุคคลในยุคโลกาภิวัตน ก. Personnel Development ข. Classification ค. Compensation ง. Probation ตอบ ก. Personnel Development เปนการพัฒนาบุคคล (Personnel Development) เปนกระบวนการในการกระตุนและ เสริมสรางผูปฏิบัติงานในดานความรู ทักษะ ทัศนคติ อุปนิสัยและวิธีการทํางานใหมี ประสิทธิภาพ 90.การไดรับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณมีความสัมพันธกับขอใด ก. Personnel Development ข. Classification ค. Compensation ง. Probation ตอบ ข. Classification (Classification) เปนการจัดชั้นของงานตามคุณภาพของงาน เมื่องานมีคุณภาพก็ จะมีสิ่งตอบแทน เพื่อใหผูปฏิบัติงานเกิดความมั่นคงและเปนแรงจูงใจในการปฏิบัติงานอีกทาง หนึ่งดวย โดยไดผลประโยชนเกื้อกูลตาง ๆ 91.การเสริมสรางใหผูปฏิบัติงานมีทัศนคติที่ดีในการทํางานสัมพันธกับขอใด ก. Personnel Development ข. Classification ค. Compensation ง. Probation ตอบ ก. Personnel Development การพัฒนาคนเปนกระบวนการกระตุนและเสริมสรางผูปฏิบัติงานในดานความรูและ ทักษะ ซึ่งจะทําใหผูปฏิบัติงานแสดงความผูกพันและภักดีตอองคกรมากขึ้นและนอกจากนี้ บุคคลากรในองคกรก็ยังมีบทบาทสําคัญ