SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  21
Télécharger pour lire hors ligne
~1~

 
~2~

ขอบเขตเนื้อหา
ความรูทั่วไปเกี่ยวกับกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น
ประวัติความเปนมา
กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น
อํานาจหนาที่
วิสัยทัศนและพันธกิจ
ประเด็นยุทธศาสตร (Strategic Issues)

5
5
5
6
7

ความรูเฉพาะเฉพาะตําแหนงเจาหนาที่ตรวจสอบภายใน
ความรูทางดานตรวจสอบภายใน
หนาที่ของกลุมตรวจสอบภายใน
มาตรฐานดานคุณสมบัติ
มาตรฐานดานการปฏิบัติงาน
จริยธรรมของผูตรวจสอบภายใน
หลักปฏิบัติงาน

8
8
14
18
25
26

กฎหมายที่เกี่ยวของกับเจาหนาที่ตรวจสอบภายใน
พรบ.ขอมูลขาวสารของทางราชการ พศ. 2540
ระเบียบฯ วาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินของ
องคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2547 และที่แกไขเพิ่มเติม
ระเบียบฯ วาดวยการพัสดุของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น พ.ศ.2535 และที่แกไขเพิ่มเติม
ระเบียบฯ วาดวยการงบประมาณขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2541 และที่แกไขเพิ่มเติม
ระเบียบฯ วาดวยการตรวจสอบภายในขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2545
แนวขอสอบ พรบ.ขอมูลขาวสารของทางราชการ พศ. 2540
แนวขอสอบ ระเบียบฯ วาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินของ
องคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2547 และที่แกไขเพิ่มเติม
แนวขอสอบ ระเบียบฯ วาดวยการพัสดุของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น พ.ศ.2535
และที่แกไขเพิ่มเติม
แนวขอสอบ ระเบียบฯ วาดวยการงบประมาณขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2541
และที่แกไขเพิ่มเติม
แนวขอสอบ ระเบียบฯ วาดวยการตรวจสอบภายในขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2545

28
42
68
137
146
150
158
168
190
197

กฎหมายที่เกี่ยวของกับกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น
สรุป ระเบียบฯวาดวยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544
องคการรักษาความปลอดภัย
ผูมีอํานาจกําหนดชั้นความลับ
การปรับชั้นความลับ
นายทะเบียน
การตรวจสอบ
สรุป ระเบียบบริหารราชการแผนดินพ.ศ. 2534 และแกไขเพิ่มเติม
การจัดระเบียบบริหารราชการสวนกลาง
การจัดระเบียบบริหารราชการสวนภูมิภาค
การจัดระเบียบบริหารราชการสวนทองถิ่น
คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
สรุปพ.ร.บ. องคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. 2540 และแกไขเพิ่มเติม
สภาองคการบริหารสวนจังหวัด
นายกองคการบริหารสวนจังหวัด
อํานาจหนาที่ขององคการบริหารสวนจังหวัด
การงบประมาณและการคลัง
การกํากับดูแล
สรุป พรบ.เทศบาล 2496 และที่แกไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ 13 พ.ศ.2552
การจัดตั้งเทศบาล

201
202
202
204
205
206
211
211
213
216
216
219
219
220
221
221
222
225
225
~3~
สภาเทศบาล
อํานาจหนาที่ของนายกเทศมนตรี
เทศบัญญัติ
การคลังและทรัพยสินของเทศบาล
การควบคุมเทศบาล
คณะกรรมการที่ปรึกษาการเทศบาล
สรุปพ.ร.บ.สภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ.2537 และแกไขเพิ่มเติมถึง
ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552
สภาตําบล
การกํากับดูแลสภาตําบล
งบประมาณรายจายประจําป
การกํากับดูแลองคการบริหารสวนตําบล
สรุปพรบ.ระเบียบบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 และแกไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 3
พ.ศ. 2551
การบริหารงานบุคคลในองคการบริหารสวนจังหวัด
การบริหารงานบุคคลในเทศบาล
การบริหารงานบุคคลในองคการบริหารสวนตําบล
การบริหารงานบุคคลในกรุงเทพมหานคร
การบริหารงานบุคคลในเมืองพัทยา
คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น
สรุปสาระสําคัญพ.ร.บ.กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ ใหแกองคกรปกครอง
สวนทองถิ่น พ.ศ.2542 และแกไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ.2549
คณะกรรมการการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น
แผนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น
สรุปสาระสําคัญ พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี
พ.ศ. 2546
การบริหารกิจการบานเมืองที่ดี
การบริหารราชการเพื่อใหเกิดประโยชนสุขของประชาชน
การบริหารราชการเพื่อใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ
การบริหารราชการอยางมีประสิทธิภาพและเกิดความคุมคาในเชิงภารกิจของรัฐ

การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน
การปรับปรุงภารกิจของสวนราชการ
การอํานวยความสะดวกและการตอบสนองความตองการของประชาชน
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
สรุปสาระสําคัญพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ.2552 และแกไขเพิ่มเติม
การบริหารเมืองพัทยา
สภาเมืองพัทยา
นายกเมืองพัทยา
ระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา
ขอบัญญัติเมืองพัทยา
การกํากับดูแล

225
227
227
228
228
229
238
238
240
243
244
245
245
245
246
247
248
248
252
252
253
255
255
255
256
257
258
258
259
260
261
261
261
261
262
262
264
~4~

ประวัตความเปนมา
ิ
กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น
เปนสวนราชการที่จัดตั้งขึ้นใหมใน สังกัดกระทรวงมหาดไทยที่มีบทบาทภารกิจสําคัญใน
การสงเสริมสนับสนุนองคกร ปกครองสวนทองถิ่น โดยการพัฒนาและใหคําปรึกษา แนะนํา
องคกรปกครองสวนทองถิ่นในดานการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่น การบริหารงานบุคคล
การเงินการคลัง และการบริหารจัดการ เพื่อให องคกรปกครองสวนทองถิ่น มีความเขมแข็ง
และมีศักยภาพในการใหบริการสาธารณะ ทั้งนี้ อํานาจหนาที่และโครงสรางสวนราชการ ของ
กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น เปนไปตามกฏกระทรวงแบงสวนราชการกรมสงเสริมการ
ปกครองทองถิ่นกระทรวง มหาดไทย พ.ศ. 2545 ซึ่งกําหนดไวดังนี้

อํานาจหนาที่
1. ดําเนินการพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสรางขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
2. สงเสริมและสนับสนุนในการจัดทํา ประสานและบูรณาการแผนพัฒนาทองถิ่นและวางระบบ
ในการติดตามและประเมิน ผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาทองถิ่น
3. ดําเนินการจัดทํา แกไข ปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของกับองคกรปกครองสวน
ทองถิ่น รวมทั้งใหคําปรึกษา แนะนํา และกํากับดูแลการปฏิบัติงานตามอํานาจ หนาที่ของ
องคการปกครองสวนทองถิ่น
4. กําหนดแนวทางและจัดทํามาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลขององคกร ปกครอง
สวนทองถิ่น ทั้งนี้ ตามกฎหมายวาดวยการบริการงานบุคคลสวนทองถิ่น
5. สงเสริม สนับสนุน และประสานการดําเนินงานดานการเงิน การคลัง การงบประมาณ การ
พัสดุการจัดเก็บรายได และการประกอบกิจการพาณิชยขององคกรปกครองสวน
ทองถิ่น รวมทั้งวางระบบตรวจสอบระบบการเงิน การบัญชี และ การพัสดุขององคการ
ปกครองสวนทองถิ่น
6. สงเสริมสนับสนุนและประสานการจัดการบริการสาธารณะและการศึกษาในอํานาจหนาที่ของ
องคกรปกครองสวนทองถิ่น
7. กําหนดแนวทาง วางระบบ และสรางตัวชีวัดเพือเปนมาตรฐานการดําเนินงานขององคกร
้
่
ปกครองสวนทองถิ่น ตลอดจนกํากับดูแลใหเปนไปตามมาตรฐาน
8. สงเสริมภาคประชาชนใหมีสวนรวมในการบริหารงานและตรวจสอบการดําเนินงานของ
องคกรปกครองสวนทองถิ่น
~5~

9. พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศเพื่อการบริการขององคการปกครองสวนทองถิ่น
10. พัฒนาบุคลากรขององคการปกครองสวนทองถินและของกรม
่
11. ปฏิบัติการอืนใดตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของกรมหรือตามที่กระทรวงหรือ
่
คณะรัฐมนตรีมอบหมาย
ตอมาในป พ.ศ.2551 ไดมีการประกาศใชกฎกระทรวงแบงสวนราชการกรมสงเสริมการ
ปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย พ.ศ.2551 โดยกําหนดใหมีราชการบริหารสวน
ภูมิภาค และจัดตั้งสํานักงานสงเสริมการปกครองทองถิ่นจังหวัดขึ้นในกรมสงเสริมการ
ปกครองทองถิ่น เพื่อทําหนาที่ประสานงานและปฏิบัติหนาที่ในฐานะตัวแทนของกรม ใน
ราชการสวนภูมิภาค เพื่อใหการดําเนินการกํากับ ดูแล และสนับสนุนการปฎิบัติงานของ
องคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนไปอยางคลองตัว
และมีประสิทธิภาพ และจัดตั้งกลุม
ตรวจสอบภายในและกลุ ม พั ฒ นาระบบบริ ห ารขึ้ น ในกรมส ง เสริ ม การปกครองท อ งถิ่ น
กระทรวงมหาดไทย เพื่อทําหนาที่ตรวจสอบการดําเนินงานภายในสวนราชการ สนับสนุน
การปฏิบัติงานของกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น และพัฒนาการบริหารของสวนราชการ
ใหเกิดผลสัมฤทธิ์ มีประสิทธิภาพ และคุมคา

วิสัยทัศนและพันธกิจ

1.
2.
3.
4.
5.

วิสัยทัศนกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น (Vision)
“ เปนองคกรหลักในการสงเสริมให อปท. เขมแข็งอยางยั่งยืน ”
พันธกิจกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น (Mission)
พัฒนากรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นใหเปนองคกรที่มีสมรรถนะสูง
สงเสริมการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่นใหสอดคลองกับแผนยุทธศาสตรระดับชาติ ระดับจังหวัด
และตอบสนองความตองการของประชาชนภายใตกระบวนการมีสวนรวมจาก ภาคีเครือขาย
สงเสริมระบบบริหารงานบุคคลของ อปท. ใหเปนไปตามหลักคุณธรรม และเพิ่มขีด
ความสามารถของบุคลากร อปท. ใหทํางานอยางมืออาชีพ
พัฒนาระบบงบประมาณและการคลังขององคกรปกครองสวนทองถิ่นใหมีประสิทธิภาพและ
สามารถพึ่งตนเองได
พัฒนาระบบกฎหมายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานของ อปท. และสนับสนุนผูกํากับ
ดูแล อปท.
~6~

ความรูทางดานตรวจสอบภายใน

หนาที่ของกลุมตรวจสอบภายใน
1. จัดทําแผนการตรวจสอบ และแผนปฏิบัติงาน
2. ตรวจสอบความถูกตองและเชื่อถือไดของขอมูลทางการเงิน และบัญชี
3. สอบทานการควบคุมดูแลการเบิกจาย เก็บรักษา และการใชทรัพยสิน
4. ประเมินระบบการควบคุมภายใน
5. จัดทํารายงานผลการตรวจสอบเสนอตอผูบริหารและหนวยรับตรวจ
6. ติดตามผลการตรวจสอบ เสนอแนะ และใหคําปรึกษาแกผูบริหารและหนวยรับตรวจ
ตามที่รัฐบาลมีนโยบายปฏิรูประบบราชการ เพื่อปรับเปลี่ยนระบบบริหารภาครัฐไปสู
การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม ซึ่งมุงเนนผลสัมฤทธิ์ของงานโดยใหความสําคัญกับความมี
ประสิทธิภาพ
ประสิทธิผลและความประหยัดของการดําเนินงานสวนราชการจึงตองให
ความสําคัญกับการวัดและประเมินผลงานเพื่อใหเกิดการแขงขันและพัฒนางานใน
ความรับผิดชอบใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น รวมทั้งสามารถตอบแทน
ผลสําเร็จจากการทํางานไดอยางเปนธรรมและมีความโปรงใสนั้นไดสงผลใหการตรวจสอบ
ภายในต อ งปรั บ ตั ว เองเพื่ อ ให ส ามารถตอบรั บ การเปลี่ ย นแปลงดั ง กล า วในฐานะที่ เ ป น
เครื่องมือหรือผูชวยของผูบริหารในการติดตามและประเมินการปฏิบัติงานของสวนงานตางๆ
ในหน ว ยงาน และเสนอแนะแนวทางหรื อ มาตรการที่ จ ะทํ า ให ผ ลการดํ า เนิ น งานมี
ประสิทธิภาพและบรรลุผลตาม
วัตถุประสงคและเปาหมายที่กําหนด โดยขยายขอบเขต
ของการตรวจสอบภายในจากการตรวจสอบความถูกตองในการใชจายเงินไปสูการตรวจสอบ
ที่เนนประสิทธิภาพและผลสัมฤทธิ์ของงานเปนสําคัญ แนวคิดและวิธีปฏิบัติจะเปลี่ยนไป
ลักษณะและขอบเขตของงานตรวจสอบภายในจะขยายกวางและหลากหลายมากขึ้น งาน
ตรวจสอบภายในในอนาคตคืองานบริการที่จะใหหลักประกันที่เที่ยงธรรมและคําปรึกษาที่
เป ย มด ว ยคุ ณ ค า แก ส ว นราชการ ด ว ยการประเมิ น และปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพของ
กระบวนการบริหารความเสี่ยง การควบคุมและการกํากับดูแลภายในสวนราชการอยางเปน
ระบบ เพื่อใหการดําเนินงานของสวนราชการเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและบรรลุผลสําเร็จ
ตามที่มุงหวัง กรมบัญชีกลางในฐานะที่เปนหนวยงานกลางที่รับผิดชอบในการกํากับดูแลการ
ตรวจสอบภายในของสวนราชการ จึงไดปรับปรุงมาตรฐานการตรวจสอบภายในที่ใชอยูใน
~7~

ปจจุบันใหสอดคลองกับแนวคิดดังกลาว
โดยเปลี่ยนเนื้อหาของมาตรฐานใหมีความเปน
สากลมากยิ่งขึ้น
เนื่องจากมาตรฐานการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในที่ใชอางอิงกันในระดับสากล คือ
มาตรฐานการปฏิบัติงานวิชาชีพการตรวจสอบภายใน (The Professional Practice
Standards for Internal Auditing ) ของสถาบันผูตรวจสอบภายใน (The Institue of Internal
Auditors : IIA ) และปจจุบัน IIA และ IIA Research Foundationของสหรัฐอเมริกาได
ปรับปรุงและแกไขมาตรฐานการปฏิบัติงานตรวจสอบใหมใหมีความเหมาะสมและสอดคล อ ง
กั บ สถานการณ ใ นปจจุบัน โดยปรับเปลี่ยนคํานิยามของการตรวจสอบภายในใหม ซึ่งเนน
เรื่องการเปนหลักประกันที่เที่ยงธรรมและการเปนที่ปรึกษาอิสระของผูบริหาร ดังนั้นในการ
ปรับปรุงมาตรฐานการตรวจสอบภายในของสวนราชการฉบับที่ 1 ซึ่งเปนมาตรฐานทั่วไปจึง
ไดใชมาตรฐานการปฏิบัติงานวิชาชีพการตรวจสอบภายในดังกลาวเปนหลักโดยปรับให
เหมาะสมและสอดคลองกับสภาพแวดลอมของทางราชการ
มาตรฐานการตรวจสอบภายในฉบับนี้จะประกอบดวยขอปฏิบัติหลัก ๆ ของการ
ปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน โดยแยกเปน 2 สวน
คือ มาตรฐานดานคุณสมบัติและ
มาตรฐานการปฏิบัติงานและเพื่อสะดวกตอการทําความเขาใจและนําไปใชตลอดจนการ
อ า งอิง และปรับ ปรุง แกไ ขต อ ไป จึ ง ให มีร หั สตั ว เลขกํ า กั บ ในแต ละหมวดแต ล ะหั ว ข อ ของ
มาตรฐาน พรอมกับคําอธิบายถึงการนํามาตรฐานไปใชในงานบริการดานการใหหลักประกัน
งานบริการใหคําปรึกษาดังนี้
• มาตรฐานดานคุณสมบัติ ( รหัสชุด 1000 ) เปนมาตรฐานที่กลาวถึงลักษณะ
ของหนวยงานและบุคลากรที่ทําหนาที่ตรวจสอบภายใน โดยจะเริ่มตั้งแตรหัสมาตรฐานที่
1000 เปนตนไป เชน รหัส 1210 จะเปนมาตรฐานที่เกี่ยวกับคุณสมบัติดานความ
เชี่ยวชาญ
• มาตรฐานการปฏิบัติงาน ( รหัสชุด 2000 ) เปนมาตรฐานที่กลาวถึงลักษณะ
ของงานตรวจสอบภายในและบรรทัดฐานที่สามารถใชประเมินผลการปฏิบัติงานตรวจสอบ
เชน รหัส 2400 จะเปน
ภายใน โดยจะเริ่มตั้งแตรหัสมาตรฐานที่ 2000 เปนตนไป
มาตรฐานการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการรายงานผล

• การนํามาตรฐานไปปฏิบัติ ( รหัสชุดที่ nnnn.xn ) เปนการอธิบายถึงการนํา
มาตรฐานดานคุณสมบัติและมาตรฐานการปฏิบัติงานมาประยุกตใชในแตละเรื่องโดยสําหรับ
งานดานการใหหลักประกันจะแทนดวยเลขรหัสมาตรฐานที่มีอักษร A ตอทาย เชน
~8~

หลักปฏิบัติงาน
1. ความมีจุดยืนที่มั่นคง (Integrity)
1.1 ผูตรวจสอบภายในตองปฏิบัติหนาที่ของตนดวยความซื่อสัตย ขยันหมั่นเพียรและมีความ
รับผิดชอบ
1.2 ผูตรวจสอบภายในตองไมเขาไปเกี่ยวของในการกระทําใดๆ ที่ขัดตอกฎหมายหรือไมเขาไปมี
สวนรวมในการกระทําที่อาจนําความเสื่อมเสียมาสูวิชาชีพการตรวจสอบภายใน หรือสรางความเสียหาย
ตอสวนราชการ
1.3 ผูตรวจสอบภายในตองใหความเคารพและสนับสนุนการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ
ขอบังคับ และจรรยาบรรณของทางราชการ
2. ความเที่ยงธรรม (Objectivity)
2.1 ผูตรวจสอบภายในตองไมมีสวนเกี่ยวของหรือสรางความสัมพันธใด ๆ ที่จะนําไปสูความ
ขัดแยงกับผลประโยชนของทางราชการ รวมทั้งกระทําการใดๆ ที่จะทําใหเกิดอคติจนเปนเหตุใหไม
สามารถปฏิบัติงานตรวจสอบตามหนาที่ความรับผิดชอบไดอยางเที่ยงธรรม
2.2 ผูตรวจสอบภายในไมพึงรับสิ่งของใด ๆ ที่จะทําใหเกิด หรืออาจกอใหเกิดความไมเที่ยง
ธรรมในการใชวิจารณญาณเยี่ยงผูประกอบวิชาชีพพึงปฏิบัติ
2.3 ผูตรวจสอบภายในตองเปดเผยหรือรายงานขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญ
ทั้งหมด
ที่ตรวจพบ ซึ่งหากละเวนไมเปดเผยหรือไมรายงานขอเท็จจริงดังกลาวแลว จะทําใหรายงานการ
ตรวจสอบบิดเบือนไปจากขอเท็จจริง หรือเปนการปดบังการกระทําที่ผิดกฎหมาย
3. การปกปดความลับ (Confidentiality)
3.1 ผูตรวจสอบภายในตองมีความรอบคอบในการใชขอมูลตาง ๆ ที่ไดรับจากการ
ปฏิบัติงานตรวจสอบ
3.2 ผูตรวจสอบภายในตองไมนําขอมูลดังกลาวไปใชในการแสวงหาผลประโยชนเพื่อ
ตนเองและจะไมกระทําการใด ๆ ที่ขัดตอกฎหมาย และประโยชนของทางราชการ
4. ความสามารถในหนาที่ (Competency)
4.1 ผู ต รวจสอบภายในต อ งปฏิ บั ติ ห น า ที่ ด ว ยความรู ค วามสามารถ ทั ก ษะ และ
ประสบการณ
4.2 ผูตรวจสอบภายในจะตองปฏิบัติหนาที่โดยยึดหลักมาตรฐานการตรวจสอบ ภายใน
ของสวนราชการ
4.3 ผูตรวจสอบภายในตองพัฒนาศักยภาพของตนเอง รวมทั้งพัฒนาประสิทธิผลและ
คุณภาพของการใหบริการอยางสม่ําเสมอและตอเนื่อง
~9~

พระราชบัญญัตขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540
ิ
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ใหไว ณ วันที่ 2 กันยายน พ.ศ.2540
เปนปที่ 52 ในรัชกาลปจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ ให
ประกาศวา
โดยที่เปนการสมควรใหมีกฎหมายวาดวยขอมูลขาวสารของราชการ
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอมของ
รัฐสภาดังตอไปนี้
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.
2540”
มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวันประกาศในราช
กิจจานุเบกษาเปนตนไป
มาตรา 3 บรรดากฎหมาย กฎ ระเบียบ และขอบังคับอื่น ในสวนที่บัญญัติไวแลวใน
พระราชบัญญัตินี้ หรือซึ่งขัดหรือแยงกับบทแหงพระราชบัญญัตินี้ใหใชพระราชบัญญัตินี้แทน
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้
“ขอมูลขาวสาร” หมายความวา สิ่งที่สื่อความหมายใหรูเรื่องราวขอเท็จจริง ขอมูล หรือสิ่ง
ใดๆ ไมวาการสื่อความหมายนั้นจะทําไดโดยสภาพของสิ่งนั้นเองหรือโดยผานวิธีการใดๆ และไม
วาจะไดจัดทําไวในรูปของเอกสาร แฟม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนที่ ภาพวาด ภาพถาย ฟลม
การบันทึกภาพหรือเสียง การบันทึกโดยเครื่องคอมพิวเตอร หรือวิธีอื่นใดที่ทําใหสิ่งที่บันทึกไว
ปรากฏได
“ขอมูลขาวสารของราชการ” หมายความวา ขอมูลขาวสารที่อยูในความครอบครองหรือ
ควบคุมดูแลของหนวยงานของรัฐ ไมวาจะเปนขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการดําเนินงานของรัฐหรือ
ขอมูลขาวสารเกี่ยวกับเอกชน
“หนวยงานของรัฐ” หมายความวา ราชการสวนกลาง ราชการสวนภูมิภาค ราชการสวน
ทองถิ่น รัฐวิสาหกิจ สวนราชการสังกัดรัฐสภา ศาลเฉพาะในสวนที่ไมเกี่ยวกับการพิจารณา
พิพากษาคดี องคกรควบคุมการประกอบวิชาชีพ หนวยงานอิสระของรัฐและหนวยงานอื่นตามที่
กําหนดในกฎกระทรวง
“เจาหนาที่ของรัฐ” หมายความวา ผูซึ่งปฏิบัติงานใหแกหนวยงานของรัฐ
“ขอมูลขาวสารสวนบุคคล” หมายความวา ขอมูลขาวสารเกี่ยวกับสิ่งเฉพาะตัวของบุคคล
เชน การศึกษา ฐานะการเงิน ประวัติสุขภาพ ประวัติอาชญากรรม หรือประวัติการทํางาน
~ 10 ~

แนวขอสอบพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540

3. ขอมูลขาวสารที่อยูในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหนวยงานของรัฐ
ไมวาจะเปน
ขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการดําเนินงานของรัฐหรือขอมูลขาวสารเกี่ยวกับเอกชน หมายความถึงขอ
ใด
ก. ขอมูลขาวสาร
ข. ขอมูลขาวสารของราชการ
ค. ขอมูลราชการ
ง. ขอมูลหนวยงาน
4. ขอใดหมายถึง หนวยงานของรัฐ
ก. ราชการสวนกลาง
ค. ราชการสวนทองถิ่น

ข. ราชการสวนภูมิภาค
ง. ถูกทุกขอ

5. ขอใดหมายถึง ขอมูลขาวสารสวนบุคคล
ก. ลายพิมพนิ้วมือ
ค. แผนบันทึกลักษณะเสียงของคน

ข. ประวัติอาชญากรรม
ง. ถูกทุกขอ

6. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับ คนตางดาว
ก. บุคคลธรรมดาที่มีสัญชาติไทยและไมมีถิ่นที่อยูในประเทศไทย
ข. บุคคลธรรมดาที่ไมมีสัญชาติไทย และมีถิ่นที่อยูในประเทศไทย
ค. บุคคลธรรมดาที่ไมมีสัญชาติไทย และไมมีถิ่นที่อยูในประเทศไทย
ง. บุคคลธรรมดาที่ไมมีสัญชาติไทย
7. ผูรักษาการตามพระราชบัญญัติขอมูลขาวสาร พ.ศ. 2540 คือ
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. ผูวาราชการจังหวัด
ค. ปลัดกระทรวง
ง. รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย
8. ขอมูลขาวสารใดที่ตองลงพิมพในราชกิจจานุเบกษา
ก. โครงสรางและการจัดองคกรในการดําเนินงาน
ข. สรุปอํานาจหนาที่ที่สําคัญและวิธีการดําเนินงาน
ค. สถานที่ติดตอเพื่อขอรับขอมูลขาวสาร หรือคําแนะนําในการติดตอกับหนวยงานของรัฐ
ง. ถูกทุกขอ
~ 11 ~

แนวขอสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงิน การเบิก
จายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงินและการตรวจเงินขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2547 แกไขเพิ่มเติมถึง(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2543
4. สภาทองถิ่น หมายความถึงขอใด
ก. สภาองคการบริหารสวนจังหวัด
ข. สภาเทศบาล
ค. สภาองคการบริหารสวนตําบล
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
“สภาทองถิ่น” หมายความวา สภาองคการบริหารสวนจังหวัด สภาเทศบาล
สภาองคการบริหารสวนตําบล และสภาทองถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง
5. “ผูบริหารทองถิ่น” หมายความถึงขอใด
ก. นายกองคการบริหารสวนจังหวัด
ข. นายกเทศมนตรี
ค. นายกองคการบริหารสวนตําบล
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
ผูบริหารทองถิ่น” หมายความวา นายกองคการบริหารสวนจังหวัด นายกเทศมนตรี
คณะเทศมนตรี นายกองคการบริหารสวนตําบล และผูบริหารทองถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง
6. กําปนหรือตูเหล็กหรือหีบเหล็กอันมั่นคง ซึ่งใชสําหรับเก็บรักษาเงินขององคกรปกครอง
สวนทองถิ่น หมายถึง
ก. ตูนิรภัย
ข. กลองบรรจุ
ค. หีบหอ
ง. ตูเซฟ
ตอบ ก. ตูนิรภัย
“ตูนิรภัย” หมายความรวมถึง กําปนหรือตูเหล็กหรือหีบเหล็กอันมั่นคงซึ่งใชสําหรับ
เก็บรักษาเงินขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
7. หลักฐานแสดงวาไดมีการจายเงินใหแกผูรับหรือเจาหนี้ตามขอผูกพันแลว เรียกวา
ก. หลักฐานจายเงิน
ข. หลักฐานการจาย
ค. ใบสําคัญคูจาย
ง. ใบสําคัญจาย
~ 12 ~

ตอบ ก. หลักฐานจายเงิน
“หลักฐานการจาย” หมายความวา หลักฐานแสดงวาไดมีการจายเงินใหแก
ผูรับหรือเจาหนี้ตามขอผูกพันแลว
8.หลักฐานการนําเงินเขาบัญชีเงินฝากของผูรับที่ธนาคาร เรียกวา
ก. หลักฐานจายเงิน
ข. หลักฐานการจาย
ค. ใบสําคัญคูจาย
ง. ใบสําคัญจาย
ตอบ ค. ใบสําคัญคูจาย
“ใบสําคัญคูจาย” หมายความวา หลักฐานการจายเงินที่เปนใบเสร็จรับเงินหลักฐาน
ของธนาคารแสดงการจายเงินแกเจาหนี้ หรือหลักฐานการนําเงินเขาบัญชีเงินฝากของผูรับที่
ธนาคาร และใหรวมถึงใบนําสงเงินตอหนวยงานคลังดวย
9.เงินทั้งปวงที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นจัดเก็บ เรียกวา
ก. เงินรายรับ
ข. เงินจัดเก็บ
ค. เงินนอกงบประมาณ
ง. เงินทุน
ตอบ ก. เงินรายรับ
“เงินรายรับ” หมายความวา เงินทั้งปวงที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นจัดเก็บหรือ
ไดรับไวเปนกรรมสิทธิ์ตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หรือจากนิติกรรม
10. เงินทั้งปวงที่อยูในความรับผิดชอบขององคกรปกครองสวนทองถิ่น เวนแตเงินที่ปรากฏ
ตามงบประมาณรายจาย และเงินที่รัฐบาลอุดหนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นโดยระบุ
วัตถุประสงค เรียกวา
ก. เงินรายรับ
ข. เงินจัดเก็บ
ค. เงินนอกงบประมาณ
ง. เงินทุน
ตอบ ค. เงินนอกงบประมาณ
“เงินนอกงบประมาณ” หมายความวา เงินทั้งปวงที่อยูในความรับผิดชอบของ
องคกรปกครองสวนทองถิ่น เวนแตเงินที่ปรากฏตามงบประมาณรายจาย และเงินที่รัฐบาล
อุดหนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นโดยระบุวัตถุประสงค
~ 13 ~

11. เงินงบประมาณหรือเงินนอกงบประมาณที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นจายใหแกบุคคลใด
ยืมเพื่อเปนคาใชจายในการเดินทางไปราชการหรือปฏิบัติราชการอื่นใด เรียกวา
ก. เงินงบประมาณ
ข. เงินนอกงบประมาณ
ค. เงินยืม
ง. เงินยืมจาย
ตอบ ค. เงินยืม
“เงินยืม” หมายความวา เงินงบประมาณหรือเงินนอกงบประมาณที่องคกร
ปกครองสวนทองถิ่นจายใหแกบุคคลใดยืมเพื่อเปนคาใชจายในการเดินทางไปราชการหรือ
ปฏิบัติราชการอื่นใด
12. แผนยุทธศาสตรการพัฒนาและแผนพัฒนาสามปขององคกรปกครองสวนทองถิ่น หรือ
ตามที่กฎหมายกําหนด เรียกวา
ก. แผนยุทธศาสตรการพัฒนา
ข. แผนพัฒนาสามป
ค. แผนพัฒนา
ง. แนวนโยบายของรัฐ
ตอบ ค. แผนพัฒนา
“แผนพัฒนา” หมายความรวมถึง แผนยุทธศาสตรการพัฒนาและแผนพัฒนาสามป
ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น หรือตามที่กฎหมายกําหนด
13. แผนแสดงรายละเอียดการใชจายเงินของหนวยงานผูเบิกในชวงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง
ซึ่งหนวยงานผูเบิกไดยื่นตอหนวยงานคลัง ทุกระยะเวลาใด
ก. สามเดือน
ข. หกเดือน
ค. หนึ่งป
ง. ปครึ่ง
ตอบ ก. สามเดือน
“แผนการใชจายเงิน” หมายความวา แผนแสดงรายละเอียดการใชจายเงิน
ของหนวยงานผูเบิกในชวงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ซึ่งหนวยงานผูเบิกไดยื่นตอหนวยงานคลัง
ทุระยะสามเดือน
14. ยอดเงินสะสมประจําทุกสิ้นปงบประมาณ เพื่อรักษาเสถียรภาพการเงินการคลังของ
องคกรปกครองสวนทองถิ่น ควรอยูที่เทาใด
ก. รอยละหา
ข. รอยละสิบ
ค. รอยละสิบหา
ง. รอยละยี่สิบหา
~ 14 ~

แนวขอสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทย
วาดวยการพัสดุของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น พ.ศ. 2535
และที่แกไขเพิ่มเติม ถึง (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2553
4. “การพัสดุ” หมายความถึงขอใด
ก. การจัดทําเอง
ข. การซื้อ
ค. การจาง
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
“การพัสดุ” หมายความวา การจัดทําเอง การซื้อ การจาง การจางที่ปรึกษาการจาง
ออกแบบและควบคุมงาน การแลกเปลี่ยน การเชา การควบคุม การจําหนาย และการ
ดําเนินการอื่นๆ ที่กําหนดไวในระเบียบนี้
5. ขอใด หมายถึง “พัสดุ”
ก. วัสดุ
ข. ครุภัณฑ
ค. ที่ดินและสิ่งกอสราง
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
“พัสดุ” หมายความวา วัสดุ ครุภัณฑ ที่ดินและสิ่งกอสราง ที่กําหนดไวในหนังสือการ
จําแนกประเภทรายจายตามงบประมาณ หรือการจําแนกประเภทรายจายตามสัญญาเงินกู
จากตางประเทศ
6. เงินที่หนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่นจัดหารายไดเปนครั้งคราวหรือมีผูอุทิศใหเปน
การเฉพาะเจาะจง หมายความถึงขอใด
ก. เงินเฉพาะกิจ
ข. เงินนอกงบประมาณ
ค. เงินกู
ง. เงินยืม
ตอบ ข. เงินนอกงบประมาณ
“เงินนอกงบประมาณ” หมายความวา เงินที่หนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น
จัดหารายไดเปนครั้งคราวหรือมีผูอุทิศใหเปนการเฉพาะเจาะจง
7. เงินกูจากตางประเทศ หมายถึงเงินขอใด
ก. เงินยืม

ข. เงินกู
~ 15 ~

ค. เงินชวยเหลือ
ง. เงินกูเฉพาะกิจ
ตอบ ข. เงินกู
“เงินกู” หมายความวา เงินกูจากตางประเทศ
8. “เงินชวยเหลือ” หมายความถึงเงินชวยเหลือจากขอใด
ก. มูลธินิปวีณา
ข. สถาบันการเงินระหวางประเทศ
ค. เงินชวยเหลือจากรัฐบาล
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ข. สถาบันการเงินระหวางประเทศ
“เงินชวยเหลือ” หมายความวา เงินที่ไดรับความชวยเหลือจากรัฐบาลตางประเทศ
องคการระหวางประเทศ สถาบันการเงินระหวางประเทศ องคการตางประเทศทั้ง ในระดับ
รัฐบาลและที่มิใชระดับรัฐบาล มูลนิธิหรือเอกชนตางประเทศ
9. ขอใด หมายถึง “หนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น”
ก. องคการบริหารสวนจังหวดเทศบาล
ข.องคการบริหารสวนตําบล
ค. กิจการพาณิชยของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
“หนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น” หมายความวา องคการบริหารสวน
จังหวดเทศบาล และองคการบริหารสวนตําบล ทั้งนี้ ใหหมายความรวมถึงกิจการพาณิชย
ของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่นดวย
10. “หัวหนาฝายบริหารของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น” หมายถึงใคร
ก. นายกองคการบริหารสวนจังหวัด
ข. นายกเทศมนตรี
ค. นายกองคการบริหารสวนตําบล
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
“หัวหนาฝายบริหารของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น” หมายถึง นายก
องคการบริหารสวนจังหวัด นายกเทศมนตรี และนายกองคการบริหารสวนตําบล
11. “รัฐวิสาหกิจ” หมายความถึง
ก. รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ
ข. รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการคลัง
~ 16 ~

ค. รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการพัสดุ
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ก. รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ
“รัฐวิสาหกิจ” หมายความวา รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ
12. คําวา “ผูถือหุนรายใหญ” ใหหมายความวาผูถือหุนซึ่งถือหุนเกินกวารอยละเทาใดใน
กิจการนั้น
ข. รอยละยี่สิบหา
ก. รอยละยี่สิบ
ค. รอยละสี่สิบหา
ง. รอยละหาสิบเอ็ด
ตอบ ข. รอยละยี่สิบหา
คําวา “ผูถือหุนรายใหญ” ใหหมายความวาผูถือหุนซึ่งถือหุนเกินกวารอยละยี่สิบหา
ในกิจการนั้นหรือในอัตราอื่น ตามที่ปลัดกระทรวงมหาดไทยเห็นสมควรประกาศกําหนด
สําหรับกิจการบางประเภทหรือบางขนาด
13.ผูเสนอราคาหรือผูเสนองานที่ถูกตัดรายชื่อออกจากการเปนผูเสนอราคาหรือผูเสนองาน
เพราะเหตุเปนผูเสนอราคาที่มีผลประโยชนรวมกัน อาจอุทธรณคําสั่งดังกลาวตอผูใด
ก. ปลัดอําเภอ
ข. ผูวาราชการจังหวัด
ค. นายกองคการบริหารสวนตําบล
ง. นายกองคการบริหารสวนจังหวัด
ตอบ ข. ผูวาราชการจังหวัด
14.ผูเสนอราคาหรือผูเสนองานที่ถูกตัดรายชื่อออกจากการเปนผูเสนอราคาหรือผูเสนองาน
เพราะเหตุเปนผูเสนอราคาที่มีผลประโยชนรวมกัน อาจอุทธรณคําสั่งโดยตองอุทธรณภายใน
ระยะเวลาใด
ก. 3 วัน
ข. 5 วัน
ค. 7 วัน
ง. 15 วัน
ตอบ ก. 3 วัน
ผูเสนอราคาหรือผูเสนองานที่ถูกตัดรายชื่อออกจากการเปนผูเสนอราคาหรือผูเสนอ
งานเพราะเหตุเปนผูเสนอราคาที่มีผลประโยชนรวมกัน อาจอุทธรณคําสั่งดังกลาวตอผูวา
ราชการจังหวัด โดยอุทธรณภายใน 3 วัน นับแตวันที่ไดรับแจงพรอมทั้ง แสดงเหตุผลของ
การอุทธรณและเอกสารที่เกี่ยวของมาดวย
~ 17 ~

15. การซื้อหรือการจางกระทําไดกี่วิธี
ก. 3 วิธี
ข. 4 วิธี
ค. 5 วิธี
ง. 6 วิธี
ตอบ ค. 5 วิธี
วิธีซื้อและวิธีจาง
การซื้อหรือการจางกระทําได 5 วิธี คือ
(1) วิธีตกลงราคา
(2) วิธีสอบราคา
(3) วิธีประกวดราคา
(4) วิธีพิเศษ
(5) วิธีกรณีพิเศษ
16. การซื้อหรือการจางโดยวิธีตกลงราคาครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาเทาใด
ก. ไมเกิน 100,000 บาท
ข. ราคาเกิน 100,000 บาท แตไมเกิน 2,000,000 บาท
ค. มีราคาเกิน 2,000,000 บาท
ง. แลวแตกรณี
ตอบ มีราคาเกิน 2,000,000 บาท
การซื้อหรือการจางโดยวิธีตกลงราคา ไดแก การซื้อหรือการจางครั้ง หนึ่งซึ่งมีราคา
ไมเกิน 100,000 บาท
17. การซื้อหรือการจางโดยวิธีสอบราคาครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาเทาใด
ก. ไมเกิน 100,000 บาท
ข. ราคาเกิน 100,000 บาท แตไมเกิน 2,000,000 บาท
ค. มีราคาเกิน 2,000,000 บาท
ง. แลวแตกรณี
ตอบ ข. ราคาเกิน 100,000 บาท แตไมเกิน 2,000,000 บาท
การซื้อหรือการจางโดยวิธีสอบราคา ไดแก การซื้อหรือการจางครั้ง หนึ่งซึ่งมีราคา
เกิน 100,000 บาท แตไมเกิน 2,000,000 บาท
~ 18 ~

แนวขอสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยวิธีการงบประมาณ
ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2541
แกไขเพิมเติมถึง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2543
่
4. แผนงานหรืองานสําหรับประมาณการดานรายรับและรายจายแสดงในรูปตัวเลขจํานวนเงิน
หมายความถึง
ก. โครงการ
ข. งบประมาณ
ค. การตั้งงบประมาณ
ง. แผนงาน
ตอบ ข. งบประมาณ
"งบประมาณ" หมายความวา แผนงานหรืองานสําหรับประมาณการดานรายรับและ
รายจา ยแสดงในรูป ตัว เลขจํ า นวนเงิ น การตั้ ง งบประมาณ คือ การแสดงแผนดํ า เนิ น งาน
ออกเปนตัวเลขจํานวนเงิน
5. ภารกิจแตละดานที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นมีหนาที่ตามกฎหมายวาดวยองคกร
ปกครองสวนทองถิ่นแตละรูปแบบ หมายความถึง
ก. แผนงาน
ข. นโยบาย
ค. ยุทธศาสตร
ง. เปาหมาย
ตอบ ก. แผนงาน
"แผนงาน" หมายความวา ภารกิจแตละดานที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นมีหนาที่
ตามกฎหมายวาดวยองคกรปกครองสวนทองถิ่นแตละรูปแบบ
6. "สภาทองถิ่น" หมายความถึงขอใด
ก. สภาองคการบริหารสวนจังหวัด
ข. สภาเทศบาล
ค. สภาองคการบริหารสวนตําบล
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
"สภาทองถิ่น" หมายความวา สภาองคการบริหารสวนจังหวัด สภาเทศบาลและสภา
องคการบริหารสวนตําบล
~ 19 ~

7. "ปงบประมาณ" หมายถึงชวงเวลาใด
ก. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม ของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของปถัดไป
ข. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 สิงหาคม ของปหนึ่งถึงวันที่ 31 กรกฎาคมของปถัดไป
ค. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 กันยายน ของปหนึ่งถึงวันที่ 31 สิงหาคมของปถัดไป
ง. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 มกราคา ของปหนึ่งถึงวันที่ 31 ธันวาคมของปถัดไป
ตอบ ก. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม ของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของป
ถัดไป
"ปงบประมาณ" หมายความวา ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม ของปหนึ่งถึงวันที่
30 กันยายนของปถัดไป และใหใชป พ.ศ.ที่ถัดไปนั้นเปนชื่อสําหรับปงบประมาณนั้น
8. "เจาหนาที่งบประมาณ" หมายถึงผูใด
ก. ปลัดองคการบริหารสวนจังหวัด
ข. ปลัดเทศบาล
ค. ปลัดองคการบริหารสวนตําบล
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
"เจาหนาที่งบประมาณ" หมายความวา ปลัดองคการบริหารสวนจังหวัด
ปลัดเทศบาลและปลัดองคการบริหารสวนตําบล
9. รูปแบบและเอกสารใด ๆ ตลอดจนระบบและวิธีการงบประมาณขององคกรปกครองสวน
ทองถิ่น ใหเปนไปตามที่ผูใดกําหนด
ก. ก.พ.ร.
ข. กพ.
ค. กรมการปกครอง
ง. อบจ.
ตอบ ค. กรมการปกครอง
บรรดารูปแบบและเอกสารใด ๆ ตลอดจนระบบและวิธีการงบประมาณ
ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ใหเปนไปตามที่กรมการปกครองกําหนด
10.งบประมาณรายจายประจําปขององคกรปกครองสวนทองถิ่น จําแนกไดเปน
ก. งบประมาณรายจายทั่วไป
ข. งบประมาณรายจายเฉพาะการ
ค. ถูกทั้ง ขอ ก. และ ขอ ข.
ง. ไมมีขอใดกลาวถูกตอง
~ 20 ~

แนวขอสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการตรวจสอบ
ภายในขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2545
2. “การตรวจสอบภายใน” หมายความถึงขอใด
ก. การตรวจสอบการปฏิบัติตามแผนงานที่เกี่ยวกับการบริหารงบประมาณการเงิน
การพัสดุและทรัพยสิน
ข. การตรวจสอบบัญชี
ค. การวิเคราะหประเมินประสิทธิผลของการควบคุมภายในขององคกรปกครองสวน
ทองถิ่น
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
“การตรวจสอบภายใน” หมายถึง การตรวจสอบการปฏิบัติตามแผนงานที่เกี่ยวกับ
การบริหารงบประมาณการเงิน การพัสดุและทรัพยสิน การบริหารงานดานอื่น ๆ ตลอดจน
การตรวจสอบบัญชี การวิเคราะหประเมินความเพียงพอและประสิทธิผลของการควบคุม
ภายในขององคกรปกครองสวนทองถิ่น รวมทั้งการรายงานผลการตรวจสอบและขอเสนอแนะ
3. หนวยงานตามโครงสรางการแบงสวนราชการขององคกรปกครองสวนทองถิ่น และให
หมายความรวมถึงกิจการที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นบริหารหรือกํากับดูแล หมายความ
ถึงขอใด
ก. หนวยกํากับดูแล
ข. หนวยรับตรวจ
ค. หนวยติดตาม
ง. หนวยตรวจสอบ
ตอบ ข. หนวยรับตรวจ
“หนวยรับตรวจ” หมายถึง หนวยงานตามโครงสรางการแบงสวนราชการของ
องคกรปกครองสวนทองถิ่น และใหหมายความรวมถึงกิจการที่องคกรปกครองสวนทองถิ่น
บริหารหรือกํากับดูแล
4. ผูตรวจสอบภายในเสนอแผนการตรวจสอบประจําปตอผูบริหารทองถิ่น เพื่อพิจารณา
อนุมัติภายในเดือนใดของทุกป
ก. เดือนสิงหาคม
ข. เดือนกันยายน
~ 21 ~

สั่งซื้อไดที่
www.SheetRam.com
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,
085-9679080,085-9993722,085-9993740

Contenu connexe

Plus de บ.ชีทราม จก.

ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...บ.ชีทราม จก.
 
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นคณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นบ.ชีทราม จก.
 
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...บ.ชีทราม จก.
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...บ.ชีทราม จก.
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 บ.ชีทราม จก.
 

Plus de บ.ชีทราม จก. (11)

216
216216
216
 
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
 
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นคณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
 
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
 
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวชข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
 

E-BOOK คู่มือเตรียมสอบเจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน 3 กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น แนวข้อสอบท้

  • 2. ~2~ ขอบเขตเนื้อหา ความรูทั่วไปเกี่ยวกับกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ประวัติความเปนมา กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น อํานาจหนาที่ วิสัยทัศนและพันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร (Strategic Issues) 5 5 5 6 7 ความรูเฉพาะเฉพาะตําแหนงเจาหนาที่ตรวจสอบภายใน ความรูทางดานตรวจสอบภายใน หนาที่ของกลุมตรวจสอบภายใน มาตรฐานดานคุณสมบัติ มาตรฐานดานการปฏิบัติงาน จริยธรรมของผูตรวจสอบภายใน หลักปฏิบัติงาน 8 8 14 18 25 26 กฎหมายที่เกี่ยวของกับเจาหนาที่ตรวจสอบภายใน พรบ.ขอมูลขาวสารของทางราชการ พศ. 2540 ระเบียบฯ วาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2547 และที่แกไขเพิ่มเติม ระเบียบฯ วาดวยการพัสดุของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น พ.ศ.2535 และที่แกไขเพิ่มเติม ระเบียบฯ วาดวยการงบประมาณขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2541 และที่แกไขเพิ่มเติม ระเบียบฯ วาดวยการตรวจสอบภายในขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2545 แนวขอสอบ พรบ.ขอมูลขาวสารของทางราชการ พศ. 2540 แนวขอสอบ ระเบียบฯ วาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2547 และที่แกไขเพิ่มเติม แนวขอสอบ ระเบียบฯ วาดวยการพัสดุของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น พ.ศ.2535 และที่แกไขเพิ่มเติม แนวขอสอบ ระเบียบฯ วาดวยการงบประมาณขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2541 และที่แกไขเพิ่มเติม แนวขอสอบ ระเบียบฯ วาดวยการตรวจสอบภายในขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2545 28 42 68 137 146 150 158 168 190 197 กฎหมายที่เกี่ยวของกับกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น สรุป ระเบียบฯวาดวยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544 องคการรักษาความปลอดภัย ผูมีอํานาจกําหนดชั้นความลับ การปรับชั้นความลับ นายทะเบียน การตรวจสอบ สรุป ระเบียบบริหารราชการแผนดินพ.ศ. 2534 และแกไขเพิ่มเติม การจัดระเบียบบริหารราชการสวนกลาง การจัดระเบียบบริหารราชการสวนภูมิภาค การจัดระเบียบบริหารราชการสวนทองถิ่น คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ สรุปพ.ร.บ. องคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. 2540 และแกไขเพิ่มเติม สภาองคการบริหารสวนจังหวัด นายกองคการบริหารสวนจังหวัด อํานาจหนาที่ขององคการบริหารสวนจังหวัด การงบประมาณและการคลัง การกํากับดูแล สรุป พรบ.เทศบาล 2496 และที่แกไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ 13 พ.ศ.2552 การจัดตั้งเทศบาล 201 202 202 204 205 206 211 211 213 216 216 219 219 220 221 221 222 225 225
  • 3. ~3~ สภาเทศบาล อํานาจหนาที่ของนายกเทศมนตรี เทศบัญญัติ การคลังและทรัพยสินของเทศบาล การควบคุมเทศบาล คณะกรรมการที่ปรึกษาการเทศบาล สรุปพ.ร.บ.สภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ.2537 และแกไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 สภาตําบล การกํากับดูแลสภาตําบล งบประมาณรายจายประจําป การกํากับดูแลองคการบริหารสวนตําบล สรุปพรบ.ระเบียบบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 และแกไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 3 พ.ศ. 2551 การบริหารงานบุคคลในองคการบริหารสวนจังหวัด การบริหารงานบุคคลในเทศบาล การบริหารงานบุคคลในองคการบริหารสวนตําบล การบริหารงานบุคคลในกรุงเทพมหานคร การบริหารงานบุคคลในเมืองพัทยา คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น สรุปสาระสําคัญพ.ร.บ.กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ ใหแกองคกรปกครอง สวนทองถิ่น พ.ศ.2542 และแกไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ.2549 คณะกรรมการการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น แผนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น สรุปสาระสําคัญ พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 การบริหารกิจการบานเมืองที่ดี การบริหารราชการเพื่อใหเกิดประโยชนสุขของประชาชน การบริหารราชการเพื่อใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ การบริหารราชการอยางมีประสิทธิภาพและเกิดความคุมคาในเชิงภารกิจของรัฐ  การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การปรับปรุงภารกิจของสวนราชการ การอํานวยความสะดวกและการตอบสนองความตองการของประชาชน การประเมินผลการปฏิบัติราชการ สรุปสาระสําคัญพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ.2552 และแกไขเพิ่มเติม การบริหารเมืองพัทยา สภาเมืองพัทยา นายกเมืองพัทยา ระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา ขอบัญญัติเมืองพัทยา การกํากับดูแล 225 227 227 228 228 229 238 238 240 243 244 245 245 245 246 247 248 248 252 252 253 255 255 255 256 257 258 258 259 260 261 261 261 261 262 262 264
  • 4. ~4~ ประวัตความเปนมา ิ กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น เปนสวนราชการที่จัดตั้งขึ้นใหมใน สังกัดกระทรวงมหาดไทยที่มีบทบาทภารกิจสําคัญใน การสงเสริมสนับสนุนองคกร ปกครองสวนทองถิ่น โดยการพัฒนาและใหคําปรึกษา แนะนํา องคกรปกครองสวนทองถิ่นในดานการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่น การบริหารงานบุคคล การเงินการคลัง และการบริหารจัดการ เพื่อให องคกรปกครองสวนทองถิ่น มีความเขมแข็ง และมีศักยภาพในการใหบริการสาธารณะ ทั้งนี้ อํานาจหนาที่และโครงสรางสวนราชการ ของ กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น เปนไปตามกฏกระทรวงแบงสวนราชการกรมสงเสริมการ ปกครองทองถิ่นกระทรวง มหาดไทย พ.ศ. 2545 ซึ่งกําหนดไวดังนี้ อํานาจหนาที่ 1. ดําเนินการพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสรางขององคกรปกครองสวนทองถิ่น 2. สงเสริมและสนับสนุนในการจัดทํา ประสานและบูรณาการแผนพัฒนาทองถิ่นและวางระบบ ในการติดตามและประเมิน ผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาทองถิ่น 3. ดําเนินการจัดทํา แกไข ปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของกับองคกรปกครองสวน ทองถิ่น รวมทั้งใหคําปรึกษา แนะนํา และกํากับดูแลการปฏิบัติงานตามอํานาจ หนาที่ของ องคการปกครองสวนทองถิ่น 4. กําหนดแนวทางและจัดทํามาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลขององคกร ปกครอง สวนทองถิ่น ทั้งนี้ ตามกฎหมายวาดวยการบริการงานบุคคลสวนทองถิ่น 5. สงเสริม สนับสนุน และประสานการดําเนินงานดานการเงิน การคลัง การงบประมาณ การ พัสดุการจัดเก็บรายได และการประกอบกิจการพาณิชยขององคกรปกครองสวน ทองถิ่น รวมทั้งวางระบบตรวจสอบระบบการเงิน การบัญชี และ การพัสดุขององคการ ปกครองสวนทองถิ่น 6. สงเสริมสนับสนุนและประสานการจัดการบริการสาธารณะและการศึกษาในอํานาจหนาที่ของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น 7. กําหนดแนวทาง วางระบบ และสรางตัวชีวัดเพือเปนมาตรฐานการดําเนินงานขององคกร ้ ่ ปกครองสวนทองถิ่น ตลอดจนกํากับดูแลใหเปนไปตามมาตรฐาน 8. สงเสริมภาคประชาชนใหมีสวนรวมในการบริหารงานและตรวจสอบการดําเนินงานของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น
  • 5. ~5~ 9. พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศเพื่อการบริการขององคการปกครองสวนทองถิ่น 10. พัฒนาบุคลากรขององคการปกครองสวนทองถินและของกรม ่ 11. ปฏิบัติการอืนใดตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของกรมหรือตามที่กระทรวงหรือ ่ คณะรัฐมนตรีมอบหมาย ตอมาในป พ.ศ.2551 ไดมีการประกาศใชกฎกระทรวงแบงสวนราชการกรมสงเสริมการ ปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย พ.ศ.2551 โดยกําหนดใหมีราชการบริหารสวน ภูมิภาค และจัดตั้งสํานักงานสงเสริมการปกครองทองถิ่นจังหวัดขึ้นในกรมสงเสริมการ ปกครองทองถิ่น เพื่อทําหนาที่ประสานงานและปฏิบัติหนาที่ในฐานะตัวแทนของกรม ใน ราชการสวนภูมิภาค เพื่อใหการดําเนินการกํากับ ดูแล และสนับสนุนการปฎิบัติงานของ องคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนไปอยางคลองตัว และมีประสิทธิภาพ และจัดตั้งกลุม ตรวจสอบภายในและกลุ ม พั ฒ นาระบบบริ ห ารขึ้ น ในกรมส ง เสริ ม การปกครองท อ งถิ่ น กระทรวงมหาดไทย เพื่อทําหนาที่ตรวจสอบการดําเนินงานภายในสวนราชการ สนับสนุน การปฏิบัติงานของกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น และพัฒนาการบริหารของสวนราชการ ใหเกิดผลสัมฤทธิ์ มีประสิทธิภาพ และคุมคา วิสัยทัศนและพันธกิจ 1. 2. 3. 4. 5. วิสัยทัศนกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น (Vision) “ เปนองคกรหลักในการสงเสริมให อปท. เขมแข็งอยางยั่งยืน ” พันธกิจกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น (Mission) พัฒนากรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นใหเปนองคกรที่มีสมรรถนะสูง สงเสริมการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่นใหสอดคลองกับแผนยุทธศาสตรระดับชาติ ระดับจังหวัด และตอบสนองความตองการของประชาชนภายใตกระบวนการมีสวนรวมจาก ภาคีเครือขาย สงเสริมระบบบริหารงานบุคคลของ อปท. ใหเปนไปตามหลักคุณธรรม และเพิ่มขีด ความสามารถของบุคลากร อปท. ใหทํางานอยางมืออาชีพ พัฒนาระบบงบประมาณและการคลังขององคกรปกครองสวนทองถิ่นใหมีประสิทธิภาพและ สามารถพึ่งตนเองได พัฒนาระบบกฎหมายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานของ อปท. และสนับสนุนผูกํากับ ดูแล อปท.
  • 6. ~6~ ความรูทางดานตรวจสอบภายใน  หนาที่ของกลุมตรวจสอบภายใน 1. จัดทําแผนการตรวจสอบ และแผนปฏิบัติงาน 2. ตรวจสอบความถูกตองและเชื่อถือไดของขอมูลทางการเงิน และบัญชี 3. สอบทานการควบคุมดูแลการเบิกจาย เก็บรักษา และการใชทรัพยสิน 4. ประเมินระบบการควบคุมภายใน 5. จัดทํารายงานผลการตรวจสอบเสนอตอผูบริหารและหนวยรับตรวจ 6. ติดตามผลการตรวจสอบ เสนอแนะ และใหคําปรึกษาแกผูบริหารและหนวยรับตรวจ ตามที่รัฐบาลมีนโยบายปฏิรูประบบราชการ เพื่อปรับเปลี่ยนระบบบริหารภาครัฐไปสู การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม ซึ่งมุงเนนผลสัมฤทธิ์ของงานโดยใหความสําคัญกับความมี ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและความประหยัดของการดําเนินงานสวนราชการจึงตองให ความสําคัญกับการวัดและประเมินผลงานเพื่อใหเกิดการแขงขันและพัฒนางานใน ความรับผิดชอบใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น รวมทั้งสามารถตอบแทน ผลสําเร็จจากการทํางานไดอยางเปนธรรมและมีความโปรงใสนั้นไดสงผลใหการตรวจสอบ ภายในต อ งปรั บ ตั ว เองเพื่ อ ให ส ามารถตอบรั บ การเปลี่ ย นแปลงดั ง กล า วในฐานะที่ เ ป น เครื่องมือหรือผูชวยของผูบริหารในการติดตามและประเมินการปฏิบัติงานของสวนงานตางๆ ในหน ว ยงาน และเสนอแนะแนวทางหรื อ มาตรการที่ จ ะทํ า ให ผ ลการดํ า เนิ น งานมี ประสิทธิภาพและบรรลุผลตาม วัตถุประสงคและเปาหมายที่กําหนด โดยขยายขอบเขต ของการตรวจสอบภายในจากการตรวจสอบความถูกตองในการใชจายเงินไปสูการตรวจสอบ ที่เนนประสิทธิภาพและผลสัมฤทธิ์ของงานเปนสําคัญ แนวคิดและวิธีปฏิบัติจะเปลี่ยนไป ลักษณะและขอบเขตของงานตรวจสอบภายในจะขยายกวางและหลากหลายมากขึ้น งาน ตรวจสอบภายในในอนาคตคืองานบริการที่จะใหหลักประกันที่เที่ยงธรรมและคําปรึกษาที่ เป ย มด ว ยคุ ณ ค า แก ส ว นราชการ ด ว ยการประเมิ น และปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพของ กระบวนการบริหารความเสี่ยง การควบคุมและการกํากับดูแลภายในสวนราชการอยางเปน ระบบ เพื่อใหการดําเนินงานของสวนราชการเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและบรรลุผลสําเร็จ ตามที่มุงหวัง กรมบัญชีกลางในฐานะที่เปนหนวยงานกลางที่รับผิดชอบในการกํากับดูแลการ ตรวจสอบภายในของสวนราชการ จึงไดปรับปรุงมาตรฐานการตรวจสอบภายในที่ใชอยูใน
  • 7. ~7~ ปจจุบันใหสอดคลองกับแนวคิดดังกลาว โดยเปลี่ยนเนื้อหาของมาตรฐานใหมีความเปน สากลมากยิ่งขึ้น เนื่องจากมาตรฐานการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในที่ใชอางอิงกันในระดับสากล คือ มาตรฐานการปฏิบัติงานวิชาชีพการตรวจสอบภายใน (The Professional Practice Standards for Internal Auditing ) ของสถาบันผูตรวจสอบภายใน (The Institue of Internal Auditors : IIA ) และปจจุบัน IIA และ IIA Research Foundationของสหรัฐอเมริกาได ปรับปรุงและแกไขมาตรฐานการปฏิบัติงานตรวจสอบใหมใหมีความเหมาะสมและสอดคล อ ง กั บ สถานการณ ใ นปจจุบัน โดยปรับเปลี่ยนคํานิยามของการตรวจสอบภายในใหม ซึ่งเนน เรื่องการเปนหลักประกันที่เที่ยงธรรมและการเปนที่ปรึกษาอิสระของผูบริหาร ดังนั้นในการ ปรับปรุงมาตรฐานการตรวจสอบภายในของสวนราชการฉบับที่ 1 ซึ่งเปนมาตรฐานทั่วไปจึง ไดใชมาตรฐานการปฏิบัติงานวิชาชีพการตรวจสอบภายในดังกลาวเปนหลักโดยปรับให เหมาะสมและสอดคลองกับสภาพแวดลอมของทางราชการ มาตรฐานการตรวจสอบภายในฉบับนี้จะประกอบดวยขอปฏิบัติหลัก ๆ ของการ ปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน โดยแยกเปน 2 สวน คือ มาตรฐานดานคุณสมบัติและ มาตรฐานการปฏิบัติงานและเพื่อสะดวกตอการทําความเขาใจและนําไปใชตลอดจนการ อ า งอิง และปรับ ปรุง แกไ ขต อ ไป จึ ง ให มีร หั สตั ว เลขกํ า กั บ ในแต ละหมวดแต ล ะหั ว ข อ ของ มาตรฐาน พรอมกับคําอธิบายถึงการนํามาตรฐานไปใชในงานบริการดานการใหหลักประกัน งานบริการใหคําปรึกษาดังนี้ • มาตรฐานดานคุณสมบัติ ( รหัสชุด 1000 ) เปนมาตรฐานที่กลาวถึงลักษณะ ของหนวยงานและบุคลากรที่ทําหนาที่ตรวจสอบภายใน โดยจะเริ่มตั้งแตรหัสมาตรฐานที่ 1000 เปนตนไป เชน รหัส 1210 จะเปนมาตรฐานที่เกี่ยวกับคุณสมบัติดานความ เชี่ยวชาญ • มาตรฐานการปฏิบัติงาน ( รหัสชุด 2000 ) เปนมาตรฐานที่กลาวถึงลักษณะ ของงานตรวจสอบภายในและบรรทัดฐานที่สามารถใชประเมินผลการปฏิบัติงานตรวจสอบ เชน รหัส 2400 จะเปน ภายใน โดยจะเริ่มตั้งแตรหัสมาตรฐานที่ 2000 เปนตนไป มาตรฐานการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการรายงานผล • การนํามาตรฐานไปปฏิบัติ ( รหัสชุดที่ nnnn.xn ) เปนการอธิบายถึงการนํา มาตรฐานดานคุณสมบัติและมาตรฐานการปฏิบัติงานมาประยุกตใชในแตละเรื่องโดยสําหรับ งานดานการใหหลักประกันจะแทนดวยเลขรหัสมาตรฐานที่มีอักษร A ตอทาย เชน
  • 8. ~8~ หลักปฏิบัติงาน 1. ความมีจุดยืนที่มั่นคง (Integrity) 1.1 ผูตรวจสอบภายในตองปฏิบัติหนาที่ของตนดวยความซื่อสัตย ขยันหมั่นเพียรและมีความ รับผิดชอบ 1.2 ผูตรวจสอบภายในตองไมเขาไปเกี่ยวของในการกระทําใดๆ ที่ขัดตอกฎหมายหรือไมเขาไปมี สวนรวมในการกระทําที่อาจนําความเสื่อมเสียมาสูวิชาชีพการตรวจสอบภายใน หรือสรางความเสียหาย ตอสวนราชการ 1.3 ผูตรวจสอบภายในตองใหความเคารพและสนับสนุนการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ และจรรยาบรรณของทางราชการ 2. ความเที่ยงธรรม (Objectivity) 2.1 ผูตรวจสอบภายในตองไมมีสวนเกี่ยวของหรือสรางความสัมพันธใด ๆ ที่จะนําไปสูความ ขัดแยงกับผลประโยชนของทางราชการ รวมทั้งกระทําการใดๆ ที่จะทําใหเกิดอคติจนเปนเหตุใหไม สามารถปฏิบัติงานตรวจสอบตามหนาที่ความรับผิดชอบไดอยางเที่ยงธรรม 2.2 ผูตรวจสอบภายในไมพึงรับสิ่งของใด ๆ ที่จะทําใหเกิด หรืออาจกอใหเกิดความไมเที่ยง ธรรมในการใชวิจารณญาณเยี่ยงผูประกอบวิชาชีพพึงปฏิบัติ 2.3 ผูตรวจสอบภายในตองเปดเผยหรือรายงานขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญ ทั้งหมด ที่ตรวจพบ ซึ่งหากละเวนไมเปดเผยหรือไมรายงานขอเท็จจริงดังกลาวแลว จะทําใหรายงานการ ตรวจสอบบิดเบือนไปจากขอเท็จจริง หรือเปนการปดบังการกระทําที่ผิดกฎหมาย 3. การปกปดความลับ (Confidentiality) 3.1 ผูตรวจสอบภายในตองมีความรอบคอบในการใชขอมูลตาง ๆ ที่ไดรับจากการ ปฏิบัติงานตรวจสอบ 3.2 ผูตรวจสอบภายในตองไมนําขอมูลดังกลาวไปใชในการแสวงหาผลประโยชนเพื่อ ตนเองและจะไมกระทําการใด ๆ ที่ขัดตอกฎหมาย และประโยชนของทางราชการ 4. ความสามารถในหนาที่ (Competency) 4.1 ผู ต รวจสอบภายในต อ งปฏิ บั ติ ห น า ที่ ด ว ยความรู ค วามสามารถ ทั ก ษะ และ ประสบการณ 4.2 ผูตรวจสอบภายในจะตองปฏิบัติหนาที่โดยยึดหลักมาตรฐานการตรวจสอบ ภายใน ของสวนราชการ 4.3 ผูตรวจสอบภายในตองพัฒนาศักยภาพของตนเอง รวมทั้งพัฒนาประสิทธิผลและ คุณภาพของการใหบริการอยางสม่ําเสมอและตอเนื่อง
  • 9. ~9~ พระราชบัญญัตขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540 ิ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ 2 กันยายน พ.ศ.2540 เปนปที่ 52 ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ ให ประกาศวา โดยที่เปนการสมควรใหมีกฎหมายวาดวยขอมูลขาวสารของราชการ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอมของ รัฐสภาดังตอไปนี้ มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540” มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวันประกาศในราช กิจจานุเบกษาเปนตนไป มาตรา 3 บรรดากฎหมาย กฎ ระเบียบ และขอบังคับอื่น ในสวนที่บัญญัติไวแลวใน พระราชบัญญัตินี้ หรือซึ่งขัดหรือแยงกับบทแหงพระราชบัญญัตินี้ใหใชพระราชบัญญัตินี้แทน มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ “ขอมูลขาวสาร” หมายความวา สิ่งที่สื่อความหมายใหรูเรื่องราวขอเท็จจริง ขอมูล หรือสิ่ง ใดๆ ไมวาการสื่อความหมายนั้นจะทําไดโดยสภาพของสิ่งนั้นเองหรือโดยผานวิธีการใดๆ และไม วาจะไดจัดทําไวในรูปของเอกสาร แฟม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนที่ ภาพวาด ภาพถาย ฟลม การบันทึกภาพหรือเสียง การบันทึกโดยเครื่องคอมพิวเตอร หรือวิธีอื่นใดที่ทําใหสิ่งที่บันทึกไว ปรากฏได “ขอมูลขาวสารของราชการ” หมายความวา ขอมูลขาวสารที่อยูในความครอบครองหรือ ควบคุมดูแลของหนวยงานของรัฐ ไมวาจะเปนขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการดําเนินงานของรัฐหรือ ขอมูลขาวสารเกี่ยวกับเอกชน “หนวยงานของรัฐ” หมายความวา ราชการสวนกลาง ราชการสวนภูมิภาค ราชการสวน ทองถิ่น รัฐวิสาหกิจ สวนราชการสังกัดรัฐสภา ศาลเฉพาะในสวนที่ไมเกี่ยวกับการพิจารณา พิพากษาคดี องคกรควบคุมการประกอบวิชาชีพ หนวยงานอิสระของรัฐและหนวยงานอื่นตามที่ กําหนดในกฎกระทรวง “เจาหนาที่ของรัฐ” หมายความวา ผูซึ่งปฏิบัติงานใหแกหนวยงานของรัฐ “ขอมูลขาวสารสวนบุคคล” หมายความวา ขอมูลขาวสารเกี่ยวกับสิ่งเฉพาะตัวของบุคคล เชน การศึกษา ฐานะการเงิน ประวัติสุขภาพ ประวัติอาชญากรรม หรือประวัติการทํางาน
  • 10. ~ 10 ~ แนวขอสอบพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540  3. ขอมูลขาวสารที่อยูในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหนวยงานของรัฐ ไมวาจะเปน ขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการดําเนินงานของรัฐหรือขอมูลขาวสารเกี่ยวกับเอกชน หมายความถึงขอ ใด ก. ขอมูลขาวสาร ข. ขอมูลขาวสารของราชการ ค. ขอมูลราชการ ง. ขอมูลหนวยงาน 4. ขอใดหมายถึง หนวยงานของรัฐ ก. ราชการสวนกลาง ค. ราชการสวนทองถิ่น ข. ราชการสวนภูมิภาค ง. ถูกทุกขอ 5. ขอใดหมายถึง ขอมูลขาวสารสวนบุคคล ก. ลายพิมพนิ้วมือ ค. แผนบันทึกลักษณะเสียงของคน ข. ประวัติอาชญากรรม ง. ถูกทุกขอ 6. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับ คนตางดาว ก. บุคคลธรรมดาที่มีสัญชาติไทยและไมมีถิ่นที่อยูในประเทศไทย ข. บุคคลธรรมดาที่ไมมีสัญชาติไทย และมีถิ่นที่อยูในประเทศไทย ค. บุคคลธรรมดาที่ไมมีสัญชาติไทย และไมมีถิ่นที่อยูในประเทศไทย ง. บุคคลธรรมดาที่ไมมีสัญชาติไทย 7. ผูรักษาการตามพระราชบัญญัติขอมูลขาวสาร พ.ศ. 2540 คือ ก. นายกรัฐมนตรี ข. ผูวาราชการจังหวัด ค. ปลัดกระทรวง ง. รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย 8. ขอมูลขาวสารใดที่ตองลงพิมพในราชกิจจานุเบกษา ก. โครงสรางและการจัดองคกรในการดําเนินงาน ข. สรุปอํานาจหนาที่ที่สําคัญและวิธีการดําเนินงาน ค. สถานที่ติดตอเพื่อขอรับขอมูลขาวสาร หรือคําแนะนําในการติดตอกับหนวยงานของรัฐ ง. ถูกทุกขอ
  • 11. ~ 11 ~ แนวขอสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงิน การเบิก จายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงินและการตรวจเงินขององคกร ปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2547 แกไขเพิ่มเติมถึง(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2543 4. สภาทองถิ่น หมายความถึงขอใด ก. สภาองคการบริหารสวนจังหวัด ข. สภาเทศบาล ค. สภาองคการบริหารสวนตําบล ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ “สภาทองถิ่น” หมายความวา สภาองคการบริหารสวนจังหวัด สภาเทศบาล สภาองคการบริหารสวนตําบล และสภาทองถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง 5. “ผูบริหารทองถิ่น” หมายความถึงขอใด ก. นายกองคการบริหารสวนจังหวัด ข. นายกเทศมนตรี ค. นายกองคการบริหารสวนตําบล ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ ผูบริหารทองถิ่น” หมายความวา นายกองคการบริหารสวนจังหวัด นายกเทศมนตรี คณะเทศมนตรี นายกองคการบริหารสวนตําบล และผูบริหารทองถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง 6. กําปนหรือตูเหล็กหรือหีบเหล็กอันมั่นคง ซึ่งใชสําหรับเก็บรักษาเงินขององคกรปกครอง สวนทองถิ่น หมายถึง ก. ตูนิรภัย ข. กลองบรรจุ ค. หีบหอ ง. ตูเซฟ ตอบ ก. ตูนิรภัย “ตูนิรภัย” หมายความรวมถึง กําปนหรือตูเหล็กหรือหีบเหล็กอันมั่นคงซึ่งใชสําหรับ เก็บรักษาเงินขององคกรปกครองสวนทองถิ่น 7. หลักฐานแสดงวาไดมีการจายเงินใหแกผูรับหรือเจาหนี้ตามขอผูกพันแลว เรียกวา ก. หลักฐานจายเงิน ข. หลักฐานการจาย ค. ใบสําคัญคูจาย ง. ใบสําคัญจาย
  • 12. ~ 12 ~ ตอบ ก. หลักฐานจายเงิน “หลักฐานการจาย” หมายความวา หลักฐานแสดงวาไดมีการจายเงินใหแก ผูรับหรือเจาหนี้ตามขอผูกพันแลว 8.หลักฐานการนําเงินเขาบัญชีเงินฝากของผูรับที่ธนาคาร เรียกวา ก. หลักฐานจายเงิน ข. หลักฐานการจาย ค. ใบสําคัญคูจาย ง. ใบสําคัญจาย ตอบ ค. ใบสําคัญคูจาย “ใบสําคัญคูจาย” หมายความวา หลักฐานการจายเงินที่เปนใบเสร็จรับเงินหลักฐาน ของธนาคารแสดงการจายเงินแกเจาหนี้ หรือหลักฐานการนําเงินเขาบัญชีเงินฝากของผูรับที่ ธนาคาร และใหรวมถึงใบนําสงเงินตอหนวยงานคลังดวย 9.เงินทั้งปวงที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นจัดเก็บ เรียกวา ก. เงินรายรับ ข. เงินจัดเก็บ ค. เงินนอกงบประมาณ ง. เงินทุน ตอบ ก. เงินรายรับ “เงินรายรับ” หมายความวา เงินทั้งปวงที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นจัดเก็บหรือ ไดรับไวเปนกรรมสิทธิ์ตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หรือจากนิติกรรม 10. เงินทั้งปวงที่อยูในความรับผิดชอบขององคกรปกครองสวนทองถิ่น เวนแตเงินที่ปรากฏ ตามงบประมาณรายจาย และเงินที่รัฐบาลอุดหนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นโดยระบุ วัตถุประสงค เรียกวา ก. เงินรายรับ ข. เงินจัดเก็บ ค. เงินนอกงบประมาณ ง. เงินทุน ตอบ ค. เงินนอกงบประมาณ “เงินนอกงบประมาณ” หมายความวา เงินทั้งปวงที่อยูในความรับผิดชอบของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น เวนแตเงินที่ปรากฏตามงบประมาณรายจาย และเงินที่รัฐบาล อุดหนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นโดยระบุวัตถุประสงค
  • 13. ~ 13 ~ 11. เงินงบประมาณหรือเงินนอกงบประมาณที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นจายใหแกบุคคลใด ยืมเพื่อเปนคาใชจายในการเดินทางไปราชการหรือปฏิบัติราชการอื่นใด เรียกวา ก. เงินงบประมาณ ข. เงินนอกงบประมาณ ค. เงินยืม ง. เงินยืมจาย ตอบ ค. เงินยืม “เงินยืม” หมายความวา เงินงบประมาณหรือเงินนอกงบประมาณที่องคกร ปกครองสวนทองถิ่นจายใหแกบุคคลใดยืมเพื่อเปนคาใชจายในการเดินทางไปราชการหรือ ปฏิบัติราชการอื่นใด 12. แผนยุทธศาสตรการพัฒนาและแผนพัฒนาสามปขององคกรปกครองสวนทองถิ่น หรือ ตามที่กฎหมายกําหนด เรียกวา ก. แผนยุทธศาสตรการพัฒนา ข. แผนพัฒนาสามป ค. แผนพัฒนา ง. แนวนโยบายของรัฐ ตอบ ค. แผนพัฒนา “แผนพัฒนา” หมายความรวมถึง แผนยุทธศาสตรการพัฒนาและแผนพัฒนาสามป ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น หรือตามที่กฎหมายกําหนด 13. แผนแสดงรายละเอียดการใชจายเงินของหนวยงานผูเบิกในชวงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ซึ่งหนวยงานผูเบิกไดยื่นตอหนวยงานคลัง ทุกระยะเวลาใด ก. สามเดือน ข. หกเดือน ค. หนึ่งป ง. ปครึ่ง ตอบ ก. สามเดือน “แผนการใชจายเงิน” หมายความวา แผนแสดงรายละเอียดการใชจายเงิน ของหนวยงานผูเบิกในชวงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ซึ่งหนวยงานผูเบิกไดยื่นตอหนวยงานคลัง ทุระยะสามเดือน 14. ยอดเงินสะสมประจําทุกสิ้นปงบประมาณ เพื่อรักษาเสถียรภาพการเงินการคลังของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น ควรอยูที่เทาใด ก. รอยละหา ข. รอยละสิบ ค. รอยละสิบหา ง. รอยละยี่สิบหา
  • 14. ~ 14 ~ แนวขอสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการพัสดุของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น พ.ศ. 2535 และที่แกไขเพิ่มเติม ถึง (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2553 4. “การพัสดุ” หมายความถึงขอใด ก. การจัดทําเอง ข. การซื้อ ค. การจาง ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ “การพัสดุ” หมายความวา การจัดทําเอง การซื้อ การจาง การจางที่ปรึกษาการจาง ออกแบบและควบคุมงาน การแลกเปลี่ยน การเชา การควบคุม การจําหนาย และการ ดําเนินการอื่นๆ ที่กําหนดไวในระเบียบนี้ 5. ขอใด หมายถึง “พัสดุ” ก. วัสดุ ข. ครุภัณฑ ค. ที่ดินและสิ่งกอสราง ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ “พัสดุ” หมายความวา วัสดุ ครุภัณฑ ที่ดินและสิ่งกอสราง ที่กําหนดไวในหนังสือการ จําแนกประเภทรายจายตามงบประมาณ หรือการจําแนกประเภทรายจายตามสัญญาเงินกู จากตางประเทศ 6. เงินที่หนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่นจัดหารายไดเปนครั้งคราวหรือมีผูอุทิศใหเปน การเฉพาะเจาะจง หมายความถึงขอใด ก. เงินเฉพาะกิจ ข. เงินนอกงบประมาณ ค. เงินกู ง. เงินยืม ตอบ ข. เงินนอกงบประมาณ “เงินนอกงบประมาณ” หมายความวา เงินที่หนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น จัดหารายไดเปนครั้งคราวหรือมีผูอุทิศใหเปนการเฉพาะเจาะจง 7. เงินกูจากตางประเทศ หมายถึงเงินขอใด ก. เงินยืม ข. เงินกู
  • 15. ~ 15 ~ ค. เงินชวยเหลือ ง. เงินกูเฉพาะกิจ ตอบ ข. เงินกู “เงินกู” หมายความวา เงินกูจากตางประเทศ 8. “เงินชวยเหลือ” หมายความถึงเงินชวยเหลือจากขอใด ก. มูลธินิปวีณา ข. สถาบันการเงินระหวางประเทศ ค. เงินชวยเหลือจากรัฐบาล ง. ถูกทุกขอ ตอบ ข. สถาบันการเงินระหวางประเทศ “เงินชวยเหลือ” หมายความวา เงินที่ไดรับความชวยเหลือจากรัฐบาลตางประเทศ องคการระหวางประเทศ สถาบันการเงินระหวางประเทศ องคการตางประเทศทั้ง ในระดับ รัฐบาลและที่มิใชระดับรัฐบาล มูลนิธิหรือเอกชนตางประเทศ 9. ขอใด หมายถึง “หนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น” ก. องคการบริหารสวนจังหวดเทศบาล ข.องคการบริหารสวนตําบล ค. กิจการพาณิชยของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ “หนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น” หมายความวา องคการบริหารสวน จังหวดเทศบาล และองคการบริหารสวนตําบล ทั้งนี้ ใหหมายความรวมถึงกิจการพาณิชย ของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่นดวย 10. “หัวหนาฝายบริหารของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น” หมายถึงใคร ก. นายกองคการบริหารสวนจังหวัด ข. นายกเทศมนตรี ค. นายกองคการบริหารสวนตําบล ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ “หัวหนาฝายบริหารของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น” หมายถึง นายก องคการบริหารสวนจังหวัด นายกเทศมนตรี และนายกองคการบริหารสวนตําบล 11. “รัฐวิสาหกิจ” หมายความถึง ก. รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ ข. รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการคลัง
  • 16. ~ 16 ~ ค. รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการพัสดุ ง. ถูกทุกขอ ตอบ ก. รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ “รัฐวิสาหกิจ” หมายความวา รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ 12. คําวา “ผูถือหุนรายใหญ” ใหหมายความวาผูถือหุนซึ่งถือหุนเกินกวารอยละเทาใดใน กิจการนั้น ข. รอยละยี่สิบหา ก. รอยละยี่สิบ ค. รอยละสี่สิบหา ง. รอยละหาสิบเอ็ด ตอบ ข. รอยละยี่สิบหา คําวา “ผูถือหุนรายใหญ” ใหหมายความวาผูถือหุนซึ่งถือหุนเกินกวารอยละยี่สิบหา ในกิจการนั้นหรือในอัตราอื่น ตามที่ปลัดกระทรวงมหาดไทยเห็นสมควรประกาศกําหนด สําหรับกิจการบางประเภทหรือบางขนาด 13.ผูเสนอราคาหรือผูเสนองานที่ถูกตัดรายชื่อออกจากการเปนผูเสนอราคาหรือผูเสนองาน เพราะเหตุเปนผูเสนอราคาที่มีผลประโยชนรวมกัน อาจอุทธรณคําสั่งดังกลาวตอผูใด ก. ปลัดอําเภอ ข. ผูวาราชการจังหวัด ค. นายกองคการบริหารสวนตําบล ง. นายกองคการบริหารสวนจังหวัด ตอบ ข. ผูวาราชการจังหวัด 14.ผูเสนอราคาหรือผูเสนองานที่ถูกตัดรายชื่อออกจากการเปนผูเสนอราคาหรือผูเสนองาน เพราะเหตุเปนผูเสนอราคาที่มีผลประโยชนรวมกัน อาจอุทธรณคําสั่งโดยตองอุทธรณภายใน ระยะเวลาใด ก. 3 วัน ข. 5 วัน ค. 7 วัน ง. 15 วัน ตอบ ก. 3 วัน ผูเสนอราคาหรือผูเสนองานที่ถูกตัดรายชื่อออกจากการเปนผูเสนอราคาหรือผูเสนอ งานเพราะเหตุเปนผูเสนอราคาที่มีผลประโยชนรวมกัน อาจอุทธรณคําสั่งดังกลาวตอผูวา ราชการจังหวัด โดยอุทธรณภายใน 3 วัน นับแตวันที่ไดรับแจงพรอมทั้ง แสดงเหตุผลของ การอุทธรณและเอกสารที่เกี่ยวของมาดวย
  • 17. ~ 17 ~ 15. การซื้อหรือการจางกระทําไดกี่วิธี ก. 3 วิธี ข. 4 วิธี ค. 5 วิธี ง. 6 วิธี ตอบ ค. 5 วิธี วิธีซื้อและวิธีจาง การซื้อหรือการจางกระทําได 5 วิธี คือ (1) วิธีตกลงราคา (2) วิธีสอบราคา (3) วิธีประกวดราคา (4) วิธีพิเศษ (5) วิธีกรณีพิเศษ 16. การซื้อหรือการจางโดยวิธีตกลงราคาครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาเทาใด ก. ไมเกิน 100,000 บาท ข. ราคาเกิน 100,000 บาท แตไมเกิน 2,000,000 บาท ค. มีราคาเกิน 2,000,000 บาท ง. แลวแตกรณี ตอบ มีราคาเกิน 2,000,000 บาท การซื้อหรือการจางโดยวิธีตกลงราคา ไดแก การซื้อหรือการจางครั้ง หนึ่งซึ่งมีราคา ไมเกิน 100,000 บาท 17. การซื้อหรือการจางโดยวิธีสอบราคาครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาเทาใด ก. ไมเกิน 100,000 บาท ข. ราคาเกิน 100,000 บาท แตไมเกิน 2,000,000 บาท ค. มีราคาเกิน 2,000,000 บาท ง. แลวแตกรณี ตอบ ข. ราคาเกิน 100,000 บาท แตไมเกิน 2,000,000 บาท การซื้อหรือการจางโดยวิธีสอบราคา ไดแก การซื้อหรือการจางครั้ง หนึ่งซึ่งมีราคา เกิน 100,000 บาท แตไมเกิน 2,000,000 บาท
  • 18. ~ 18 ~ แนวขอสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยวิธีการงบประมาณ ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2541 แกไขเพิมเติมถึง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2543 ่ 4. แผนงานหรืองานสําหรับประมาณการดานรายรับและรายจายแสดงในรูปตัวเลขจํานวนเงิน หมายความถึง ก. โครงการ ข. งบประมาณ ค. การตั้งงบประมาณ ง. แผนงาน ตอบ ข. งบประมาณ "งบประมาณ" หมายความวา แผนงานหรืองานสําหรับประมาณการดานรายรับและ รายจา ยแสดงในรูป ตัว เลขจํ า นวนเงิ น การตั้ ง งบประมาณ คือ การแสดงแผนดํ า เนิ น งาน ออกเปนตัวเลขจํานวนเงิน 5. ภารกิจแตละดานที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นมีหนาที่ตามกฎหมายวาดวยองคกร ปกครองสวนทองถิ่นแตละรูปแบบ หมายความถึง ก. แผนงาน ข. นโยบาย ค. ยุทธศาสตร ง. เปาหมาย ตอบ ก. แผนงาน "แผนงาน" หมายความวา ภารกิจแตละดานที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นมีหนาที่ ตามกฎหมายวาดวยองคกรปกครองสวนทองถิ่นแตละรูปแบบ 6. "สภาทองถิ่น" หมายความถึงขอใด ก. สภาองคการบริหารสวนจังหวัด ข. สภาเทศบาล ค. สภาองคการบริหารสวนตําบล ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ "สภาทองถิ่น" หมายความวา สภาองคการบริหารสวนจังหวัด สภาเทศบาลและสภา องคการบริหารสวนตําบล
  • 19. ~ 19 ~ 7. "ปงบประมาณ" หมายถึงชวงเวลาใด ก. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม ของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของปถัดไป ข. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 สิงหาคม ของปหนึ่งถึงวันที่ 31 กรกฎาคมของปถัดไป ค. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 กันยายน ของปหนึ่งถึงวันที่ 31 สิงหาคมของปถัดไป ง. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 มกราคา ของปหนึ่งถึงวันที่ 31 ธันวาคมของปถัดไป ตอบ ก. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม ของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของป ถัดไป "ปงบประมาณ" หมายความวา ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม ของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของปถัดไป และใหใชป พ.ศ.ที่ถัดไปนั้นเปนชื่อสําหรับปงบประมาณนั้น 8. "เจาหนาที่งบประมาณ" หมายถึงผูใด ก. ปลัดองคการบริหารสวนจังหวัด ข. ปลัดเทศบาล ค. ปลัดองคการบริหารสวนตําบล ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ "เจาหนาที่งบประมาณ" หมายความวา ปลัดองคการบริหารสวนจังหวัด ปลัดเทศบาลและปลัดองคการบริหารสวนตําบล 9. รูปแบบและเอกสารใด ๆ ตลอดจนระบบและวิธีการงบประมาณขององคกรปกครองสวน ทองถิ่น ใหเปนไปตามที่ผูใดกําหนด ก. ก.พ.ร. ข. กพ. ค. กรมการปกครอง ง. อบจ. ตอบ ค. กรมการปกครอง บรรดารูปแบบและเอกสารใด ๆ ตลอดจนระบบและวิธีการงบประมาณ ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ใหเปนไปตามที่กรมการปกครองกําหนด 10.งบประมาณรายจายประจําปขององคกรปกครองสวนทองถิ่น จําแนกไดเปน ก. งบประมาณรายจายทั่วไป ข. งบประมาณรายจายเฉพาะการ ค. ถูกทั้ง ขอ ก. และ ขอ ข. ง. ไมมีขอใดกลาวถูกตอง
  • 20. ~ 20 ~ แนวขอสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการตรวจสอบ ภายในขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2545 2. “การตรวจสอบภายใน” หมายความถึงขอใด ก. การตรวจสอบการปฏิบัติตามแผนงานที่เกี่ยวกับการบริหารงบประมาณการเงิน การพัสดุและทรัพยสิน ข. การตรวจสอบบัญชี ค. การวิเคราะหประเมินประสิทธิผลของการควบคุมภายในขององคกรปกครองสวน ทองถิ่น ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ “การตรวจสอบภายใน” หมายถึง การตรวจสอบการปฏิบัติตามแผนงานที่เกี่ยวกับ การบริหารงบประมาณการเงิน การพัสดุและทรัพยสิน การบริหารงานดานอื่น ๆ ตลอดจน การตรวจสอบบัญชี การวิเคราะหประเมินความเพียงพอและประสิทธิผลของการควบคุม ภายในขององคกรปกครองสวนทองถิ่น รวมทั้งการรายงานผลการตรวจสอบและขอเสนอแนะ 3. หนวยงานตามโครงสรางการแบงสวนราชการขององคกรปกครองสวนทองถิ่น และให หมายความรวมถึงกิจการที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นบริหารหรือกํากับดูแล หมายความ ถึงขอใด ก. หนวยกํากับดูแล ข. หนวยรับตรวจ ค. หนวยติดตาม ง. หนวยตรวจสอบ ตอบ ข. หนวยรับตรวจ “หนวยรับตรวจ” หมายถึง หนวยงานตามโครงสรางการแบงสวนราชการของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น และใหหมายความรวมถึงกิจการที่องคกรปกครองสวนทองถิ่น บริหารหรือกํากับดูแล 4. ผูตรวจสอบภายในเสนอแผนการตรวจสอบประจําปตอผูบริหารทองถิ่น เพื่อพิจารณา อนุมัติภายในเดือนใดของทุกป ก. เดือนสิงหาคม ข. เดือนกันยายน
  • 21. ~ 21 ~ สั่งซื้อไดที่ www.SheetRam.com โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422, 085-9679080,085-9993722,085-9993740