SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
1
2

ขอบเขตเนื้อหา
สวนที่ 1 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับกองทัพอากาศ
ประวัติความเปนมากองทัพอากาศ
กรอบภารกิจกองทัพอากาศ
พระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ. 2551
สวนที่ 2 ความรูความสามารถทั่วไป
อนุกรมหรือเลขเรียงลําดับ
วิธีบวก
วิธีลบ
วิธีคูณ
วิธียกกําลัง
วิธีหาร
เงื่อนไขภาษา
อุปมาอุปไมย
ความสัมพันธในลักษณะเปนสวนหนึ่งของสิ่งหนึ่ง
ความสัมพันธในลักษณะมีความหมายเหมือนกัน / ตรงขาม
ความสัมพันธในลักษณะหนาที่
ความสัมพันธในลักษณะสิ่งของประเภทเดียวกัน
ความสัมพันธในลักษณะสถานที่
ความสัมพันธในเรื่องของลักษณะนาม
เงื่อนไขสัญลักษณ
คณิตศาสตรทั่วไป
การหาผลบวกของเลขหลายจํานวนเรียงกัน
การหาอัตราสวนและรอยละ
ดอกเบี้ย
การคํานวณระยะหางระหวางเสา
การแจกบัตรอวยพรและการสัมผัสมือ
การแปรผันตรงและการแปรผกผัน
การแกสมการ
การคํานวณเกี่ยวกับขาและหัวของสัตว
คาเฉลี่ย
การหา ครน. และหรม.
ความสามารถทางดานเหตุผล
การคํานวณหาพื้นที่และปริมาตร
การวิเคราะหสรุปเหตุผลทางโอเปอรเรต
ตาราง กราฟและแผนภูมิ
สวนที่ 3 วิชาภาษาไทย
การใชคํา
การใชคําราชาศัพท
การสรุปใจความ
สํานวน สุภาษิต คําพังเพย
การเขียนสะกดการันต
ประโยค
ลักษณะภาษา
การใชภาษา

5
6
7
20
20
25
28
33
41
48
66
66
67
69
70
71
72
74
79
79
81
83
85
87
89
94
94
98
102
105
117
110
111
119
122
131
134
139
140
142
156
3
คําเปนคําตาย
คําเชื่อม
การสะกดคํา
กการเขียนภาษาใหถูกตอง
การเรียงประโยค
บทความสั้น
บทความยาว

สวนที่ 4 ความรูพื้นฐานทางดานภาษาอังกฤษ
ความรูพื้นฐานดานภาษาอังกฤษ
แนวขอสอบ GRAMMAR AND VOCABULARY
แนวขอสอบ VOCABULARY
แนวขอสอบ Reading Comprehension
สวนที่ 5 ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร
ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร
ระบบเครือขาย
อินเตอรเน็ต (Internet)
โปรแกรมประยุกตใชงานประเภทตางๆ
การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟตแวร
ไวรัสคอมพิวเตอร (Computer Virus)
ไมโครซอฟท เวิรด (Microsoft Word)
ไมโครซอฟท เอ็กเซล Microsoft Excel
ไมโครซอฟท พาวเวอรพอยท Microsoft PowerPoint
สวนที่ 6 ความรูพื้นฐานกฎหมายทั่วไป

166
168
174
179
182
188
194
200
224
228
233
238
238
252
256
257
261
262
264
267

ประเภทและการจัดทํากฎหมาย

272

การแบงแยกประเภทกฎหมาย

273

สรุปสาระสําคัญของกฎหมายแพงและพาณิชย

275

สรุปสาระสําคัญกฎหมายรัฐธรรมนูญ

281
4

ประวัติความเปนมากองทัพอากาศ
กิจการบินของไทย เริ่มตนในรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จ พระมงกุฏเกลาเจาอยูหัว เมื่อ
มีชาวตางประเทศ ไดนําเครื่องบิน มาแสดงใหชาวไทย ไดชมเปนครั้งแรก เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ
2454 อันทําให ผูบังคับบัญชา ระดับสูง ของกองทัพ ในสมัยนั้น พิจารณาเห็นวา ประเทศไทย
จํ า เป น ต อ งมี เ ครื่ อ งบิ น ไว เ พื่ อ ป อ งกั น ภั ย ที่ จ ะเกิ ด แก ป ระเทศชาติ ในอนาคต ด ว ยเหตุ นี้
กระทรวงกลาโหม จึงไดตั้ง "แผนกการบิน" ขึ้นในกองทัพบก พรอมทั้งไดคัดเลือกนายทหารบก 3
คน ซึ่งมีคุณสมบัติเหมาะสม ไปศึกษาวิชาการ ณ ประเทศฝรั่งเศส อันไดแก พันตรีหลวงศักดิ์ศัล
ยาวุธ รอยเอกหลวงอาวุธสิขิกร และ รอยโท ทิพย เกตุทัต ทั้ง 3 ทานนี้ ในเวลาตอมา ไดรับ
พระราชทานยศ และบรรดาศักดิ์ ตามลําดับ คือ พลอากาศโท พระยาเฉลิมอากาศ, นาวา
อากาศเอก พระยาเวหาสยานศิลปสิทธิ์ และ นาวาอากาศเอก พระยาทะยานพิฆาต และ
กองทัพอากาศไดยกยองใหเปน "บุพการีของกองทัพอากาศ"
ในขณะที่นายทหารทั้งสามกําลังศึกษาวิชาการบินอยูนั้นทางราชการ ไดสั่งซื้อเครื่องบิน
รวมทั้ง มีผูบริจาคเงินรวมสมทบซื้อดวยเปนครั้งแรก จํานวน 8 เครื่อง คือเครื่องบินเบรเกตปก 2
ชั้น จํานวน 4 เครื่อง และ เครื่องบินนิเออปอรตปกชั้นเดียว จํานวน 4 เครื่อง อันอาจกลาวไดวา
กําลังทางอากาศของไทย เริ่มตนจากนักบินเพียง 3 คน และเครื่องบินอีก 8 เครื่องเทานั้น การบิน
ของไทยในระยะแรก ไดใชสนามมาสระปทุม หรือราชกรีฑาสโมสรในปจจุบัน เปนสนามบิน แต
ดวยความไมสะดวกหลายประการ บุพการีทั้ง 3 ทาน จึงไดพิจารณาหาพื้นที่ ที่มีความเหมาะสม
ตอการบิน และไดเลือกเอาตําบลดอนเมือง เปนที่ต้ังสนามบิน พรอมทั้งไดกอสรางอาคาร สถานที่
โรงเก็บเครื่องบินอยางถาวรขึ้น เมื่อการโยกยายกําลังพล อุปกรณ และเครื่องบิน ไปไวยังที่ตั้งใหม
เรียบรอยแลว ในวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2457 กระทรวงกลาโหม จึงไดสั่งยกแผนกการบินขึ้นเปน
"กองบินทหารบก" ซึ่งถือไดวา กิจการการบินของไทย ไดวางรากฐานอยางมั่นคงขึ้นแลว ตั้งแต
บัดนั้นมา กองทัพอากาศจึงถือเอา วันที่ 27 มีนาคม ของทุกปเปน "วันที่ระลึกกองทัพ
อากาศ"
นับแตนั้นมา บทบาทของกําลังทางอากาศ ก็ไดแสดงใหเห็นถึงความสํา คัญ และมีการ
พัฒนาอยางเปนลําดับ นับตั้งแตการเขารวมรบ ในสงครามโลกครั้งที่ 1 กับพันธมิตรในยุโรป เมื่อป
พ.ศ. 2460 ซึ่งทําใหชื่อเสียงและเกียรติภูมิ ของชาติ เปนที่ยอมรับ และยกยอง เปนอันมาก และ
ทางราชการไดยกฐานะ กองบินทหารบกขึ้นเปน "กรมอากาศยานทหารบก" ในเวลาตอมา
กําลังทางอากาศ ไดพัฒนาตอไปอยางไมหยุดยั้ง และเปนกําลังสําคัญ ในการพัฒนาประเทศชาติ
5

ทางดานตางๆ อันเปนรากฐาน ของกิจการหลายอยางในปจจุบัน อาทิ การบินสงไปรษณียทาง
อากาศ การสงแพทย และเวชภัณฑทางอากาศ เปนตน
ในป พ.ศ. 2464 กระทรวงกลาโหม ไดพิจารณาเห็นวา กําลังทางอากาศ มิไดเปนกําลัง
เฉพาะในดานยุทธศาสตรทางทหารเทานั้น แตมีประโยชน อยางกวางขวางตอกิจการดานอื่นๆ อีก
ดวย จึงไดแกไขการเรียกชื่อจาก กรมอากาศยานทหารเปน "กรมอากาศยาน" และเปน "กรม
ทหารอากาศ" ในเวลาตอมา โดยใหอยูในบังคับบัญชาของ รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม
โดยตรง พรอมทั้งไดมีการกําหนดยศทหาร และการเปลี่ยนแปลงเครื่องแบบ จากสีเขียว มาเปนสี
เทา ดังเชนปจจุบันวันที่ 9 เมษายน พ.ศ.2480 กรมทหารอากาศไดยกฐานะเปน "กองทัพอากาศ"
มีนาวาอากาศเอก พระเวชยันตรังสฤษฎ เปนผูบัญชาการทหารอากาศคนแรก กองทัพอากาศ จึง
ไดถือเอาวันที่ 9 เมษายน ของทุกปเปน "วันกองทัพอากาศ"
กําลังทางอากาศ ไดพัฒนาไปอยางมากมาย และไดเปนกําลังสําคัญในการปกปอง รักษา
อธิปไตยของชาติ อาทิ สงครามกรณีพิพาทอินโดจีนฝรั่งเศส และสงครามมหาเอเชียบูรพา รวมทั้ง
เขารวมกับกองกําลังสหประชาชาติ ในสงครามเกาหลี และรวมกับพันธมิตร ในสงครามเวียดนาม
จากเครื่องบินใบพัดเพียง 8 เครื่องในอดีต จนมาถึงเครื่องบินไอพนที่ทันสมัย ในปจจุบัน
กองทัพอากาศ ขอยืนยัน ที่จะดํารงความมุงมั่นในภารกิจ ที่จะพิทักษ รักษาเอกราช และอธิปไตย
ของชาติ ไวใหมั่นคงสภาพตลอดไป

กรอบภารกิจกองทัพอากาศ
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 77
รัฐตองพิทักษรักษาไวซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย เอกราช อธิปไตย และ บูรณภาพแหงเขต
อานาจรัฐ และตองจัดใหมีกาลังทหาร อาวุธยุทโธปกรณ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย จาเปน และ
เพียงพอ เพื่อพิทักษรักษาเอกราช อธิปไตย ความมั่นคงของรัฐ สถาบันพระมหากษัตริย
ผลประโยชนแหงชาติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน
ประมุข และเพื่อการพัฒนาประเทศ
ภารกิจกองทัพอากาศ
พ.ร.บ. จัดระเบียบบริหารราชการ กห. พ.ศ.2551
มาตรา 21
6

มีหนาที่เตรียมกาลังกองทัพอากาศ ปองกันราชอาณาจักรและดาเนินการเกี่ยวกับ
การใชกาลังกองทัพอากาศตามอํานาจหนาที่ของกระทรวงกลาโหม มีผูบัญชาการทหาร
อากาศ เปนผูบังคับบัญชารับผิดชอบ
ยุทธศาสตรกองทัพอากาศ พ.ศ.2551-2562
ยุทธศาสตรที่ 1 พิทักษรักษาและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย
ยุทธศาสตรที่ 2 เสริมสรางสมรรถนะและความพรอมในการปองกันประเทศ
ยุทธศาสตรที่ 3 รักษาความมั่นคงของรัฐ
ยุทธศาสตรที่ 4 รักษาผลประโยชนแหงชาติ

พระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ. 2551
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ใหไว ณ วันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2551
เปนปที่ 63 ในรัชกาลปจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ
ใหประกาศวาโดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยการจัดระเบียบราชการ
กระทรวงกลาโหม จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและ
ยินยอมของสภานิติบัญญัติแหงชาติ ดังตอไปนี้
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม
พ.ศ. 2551”
มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปนตนไป
มาตรา 3 ใหยกเลิก
(1) พระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ. 2503
(2) พระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2507
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้
“ขาราชการทหาร” หมายความวา ขาราชการทหารตามกฎหมายวาดวยระเบียบ
ขาราชการทหาร
“ขาราชการพลเรือนกลาโหม” หมายความวา ขาราชการที่ไดรับการบรรจุและแตงตั้งให
รับราชการในกระทรวงกลาโหมในตําแหนงที่มิใชอัตราทหารและไมมีชั้นยศเพื่อปฏิบัติหนาที่ที่ตอง
ใชความชํานาญเฉพาะทาง
“ทหารกองประจําการ” หมายความวา ทหารกองประจําการตามกฎหมายวาดวยการรับ
7

ราชการทหาร
“นักเรียนในสังกัดกระทรวงกลาโหม” หมายความวานักเรียนในสังกัดกระทรวงกลาโหม
ตามกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการทหาร
“เจาหนาที่ทางทหาร” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมแตงตั้งโดย
ความเห็นชอบของสภากลาโหมเพื่อปฏิบัติภารกิจตามพระราชบัญญัตินี้
“การใชกําลังทหาร” หมายความวา การใชทหารตามมาตรา 6 วรรคหนึ่ง ขาราชการพล
เรือนกลาโหม และเจาหนาที่ทางทหาร เพื่อปฏิบัติภารกิจตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 5 ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมี
อํานาจออกกฎกระทรวง ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ และคําสั่งเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
กฎกระทรวงเมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได

หมวด 1
บททั่วไป
มาตรา 6 ทหาร ประกอบดวย ขาราชการกระทรวงกลาโหมที่เปนขาราชการทหารทหาร
กองประจําการ นักเรียนในสังกัดกระทรวงกลาโหมที่ขึ้นทะเบียนกองประจําการและบุคคลที่ถูก
เรียกเขารับราชการทหารตามกฎหมายวาดวยการนั้น
ขาราชการกระทรวงกลาโหม แบงออกเปนสองประเภท ไดแก ขาราชการทหารและ
ขาราชการพลเรือนกลาโหม
การกําหนดตําแหนง การบรรจุ การแตงตั้ง การปรับตําแหนง การเลื่อนขั้นเงินเดือนการ
บังคับบัญชา วินัยและการรักษาวินัย การดําเนินการทางวินัย การออกจากราชการ การอุทธรณการ
รองทุกข และการอื่นใดตามที่จําเปนเกี่ยวกับขาราชการพลเรือนกลาโหมใหตราเปนพระราช
กฤษฎีกา
อัตราเงินเดือน อัตราเงินประจําตําแหนง การใหไดรับเงินเดือน และการใหไดรับเงินประจํา
ตําแหนง ของขาราชการพลเรือนกลาโหม ใหนําบทบัญญัติที่ใชบังคับแกขาราชการพลเรือนสามัญ
ตามกฎหมายวาดวยเงินเดือนและเงินประจําตําแหนงหรือตามกฎหมายวาดวยการนั้นมาใชบังคับ
โดยอนุโลมไปพลางกอนจนกวาจะไดมีการกําหนดใหมีอัตราเงินเดือนและอัตราเงินประจําตําแหนง
ของข า ราชการพลเรื อ นกลาโหมเป น การเฉพาะตามกฎหมายว า ด วยเงิน เดือ นและเงิน ประจํ า
ตําแหนง
การจายเงินเดือนและเงินประจําตําแหนงใหแกขาราชการพลเรือนกลาโหมใหเปนไปตาม
กฎหมายวาดวยการนั้น ใหขาราชการพลเรือนกลาโหมเปนขาราชการตามกฎหมายวาดวยกองทุน
บําเหน็จบํานาญขาราชการและกฎหมายวาดวยบําเหน็จบํานาญขาราชการ แลวแตกรณี
8

อนุกรมหรือเลขเรียงลําดับ
เลขอนุกรม เปนการเรียงตัวเลข ตามกฎเกณฑโดยอาจจะเรียงเพิ่มขึ้นหรือลดลง หรือ
สลับกันไปก็ได ในการเรียงลําดับนั้นอาจจะเรียงลําดับแบบธรรมดาหลายชั้น หรือเชิงซอนก็ได
ในที่นี้พอจะแยกตามวิธีการ บวก ลบ คูณ หาร ไดดังนี้
วิธีบวก
จะมีการเพิ่มขึ้นแบบเทากัน แบบเรียงลําดับ หรือมีการเพิ่มแบบสลับซับซอน หรือ
สลับกันไปกับเรียงลําดับ
ตัวอยางที่ 1 จงหาตัวเลขถัดไปของ
5
10
วิธีคิด
พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู

15

5

?

?

10
+5

พบวา
นั่นคือ

15
+5

20
+5

+5

ผลตางมีคาเพิ่มขึ้นทีละ 5
ตัวเลขถัดไป มีคาเพิ่มขึ้นจากเลขกอนหนาทีละ 5
ตัวเลขถัดไป คือ 20 + 5 = 25

∴

ตัวอยางที่ 2 จงหาตัวเลขถัดไปของ
2
4
วิธีคิด
พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู
2

4
+2

พบวา
นั่นคือ
∴

20

6
+2

6
10

8
+2

+2

8

10

?
+2

ผลตางมีคาเพิ่มขึ้นทีละ 2
ตัวเลขถัดไป มีคาเพิ่มขึ้นจากเลขกอนหนาทีละ 2
ตัวเลขถัดไป คือ 10 + 2 = 12

?
9

ตัวอยางที่ 3 จงหาตัวเลขถัดไปของ
1
4
วิธีคิด
พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู
1

4
+3

พบวา
นั่นคือ

7
+3

7

+3

ผลตางมีคาเพิ่มขึ้นทีละ 3
ตัวเลขถัดไป มีคาเพิ่มขึ้นจากเลขกอนหนาทีละ 3
ตัวเลขถัดไป คือ 10 + 3 = 13

∴

ตัวอยางที่ 4 จงหาตัวเลขถัดไปของ
5
7
วิธีคิด
พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู
5

7
+2

พบวา
นั่นคือ

9
+2

9

+2

ตัวอยางที่ 5 จงหาตัวเลขถัดไปของ
1
2
วิธีคิด
พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู
1

2
+1

∴

?

?

11
+2

11

ผลตางมีคาเพิ่มขึ้นทีละ 2
ตัวเลขถัดไป มีคาเพิ่มขึ้นจากเลขกอนหนาทีละ 2
ตัวเลขถัดไป คือ 11 + 2 = 13

∴

พบวา
นั่นคือ

?

?

10
+3

10

4
+2

4
11

7
+3

+4

7

11

?

?
+5

ผลตางมีคาเพิ่มขึ้นสะสมทีละ 1
ตัวเลขถัดไป มีคาเพิ่มขึ้นสะสมทีละ 1(เพิ่มขึ้นเทากับ 5)
ตัวเลขถัดไป คือ 11 + 5 = 16
10

1
3

ตัวอยางที่ 56 จงหาตัวเลขถัดไปของ

1

8
9

17
18

?

พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู

วิธีคิด

(1+3) (4+4) (8+9) (17+18)

ชุดที่ 1 เศษ

ชั้นที่ 1
ชั้นที่ 2

1
3

4
4

+1

8
9

+5
+4

17
18

+9
+4

35
31

ชุดที่ 2 สวน

+13
+4

พบวา
ชุดที่ 1

การคิดอนุกรมมี 2 ชุด คือ
การคิดเศษ
เกิดจาก เศษ+สวนของพจนกอนหนา
พจนที่ 2 เกิดจาก เศษ + สวน ของพจนที่ 1 = (1)+(3) = 4
พจนที่ 3 เกิดจาก เศษ + สวน ของพจนที่ 2 = (4)+(4) = 8
พจนที่ 4 เกิดจาก เศษ + สวน ของพจนที่ 3 = (8)+(9) = 17
พจนที่ 5 เกิดจาก เศษ + สวน ของพจนที่ 4 = (17)+(18) = 35
∴ พจนของเศษ คือ 35
ชุดที่ 2
อนุกรมของสวน มี 2 ชั้น
ชั้นที่ 1
พจนที่ 3 มีคาเทากับ พจนที่ 2 – พจนที่ 1 = 4-3
=
3
พจนที่ 4 มีคาเทากับ พจนที่ 3 – พจนที่ 2 = 9-4
=
5
พจนที่ 5 มีคาเทากับ พจนที่ 4 – พจนที่ 3 = 18-9
=
9
ชั้นที่ 2
จากชุดขอมูลของชั้นที่ 1
พจนที่ 2 มีคาเพิ่มขึ้นจากพจนที่ 1 + 4 = (1)+(4) = (5)
พจนที่ 3 มีคาเพิ่มขึ้นจากพจนที่ 2 + 4 = (5)+(4) = (9)
∴ พจนที่ 4 มีคาเพิ่มขึ้นจากพจนที่ 3 + 4 = (9)+(4) = (13)
∴ ตัวเลขถัดไปของชุดขอมูลเดิม คือ (13+18) = 31
∴ พจนของสวน คือ 31
ดังนั้น คําตอบของอนุกรม คือ

35
31
11

อุปมาอุปไมย
อุปมาอุปไมย ทางดานภาษา เปนการวิเคราะหหาความสัมพันธของคูทไดมา และคู
ี่
ถัดไปซึงพอจะแยกยอยรูปแบบของความสัมพันธ ไดดังนี้
่
ความสัมพันธในลักษณะเปนสวนหนึ่งของสิงหนึ่งหรือเปนลักษณะสวนยอยของสวนใหญ
่
ความสัมพันธในลักษณะมีความหมายเหมือนกัน / ตรงขาม
ความสัมพันธในลักษณะหนาที่
ความสัมพันธในลักษณะสิ่งของประเภทเดียวกัน
ความสัมพันธในลักษณะสถานที่
ความสัมพันธในเรื่องของลักษณะนาม
เปนตน
แบบที่ 1

ความสัมพันธในลักษณะเปนสวนหนึ่งของอีกสิ่งหนึ่ง หรือเปนลักษณะ
สวนยอยของสวนใหญ
?:?
ตัวอยางที่ 1 ออกซิเจน : ไฮโดรเจน
ก. ไนโตรเจน : ปุย
ข. น้ํา : โปแตสเซียม
ค. ฟอสฟอรัส : อากาศ
ง. โปรแตสเซียม : แมงกานีส
ตอบ
ก. ไนโตรเจน : ปุย
แนวคิด
ไนโตรเจน เปนสวนประกอบของปุย
ไฮโดรเจน เปนสวนประกอบของน้ํา
?:?
ตัวอยางที่ 2 อําเภอ : ตําบล
ก. จังหวัด : อําเภอ
ข. ภูมิภาค : ประเทศ
ค. จังหวัด : หมูบาน
ง. หมูบาน : ประเทศ
ตอบ
ก. จังหวัด : อําเภอ
แนวคิด
ตําบลเปนสวนหนึ่งของอําเภอ
อําเภอเปนสวนหนึ่งของจังหวัด
ตัวอยางที่ 3 ดาย : ตะเกียง
?:?
ก. หลอดไฟ : ไฟฉาย
ข. เข็ม : ดาย
ค. แกรไฟ : ดินสอ
ง. ดินสอ : ยางลบ
12

ค. แกรไฟ : ดินสอ
ดายเปนสวนที่อยูภายในตะเกียง
แกรไฟ เปนสวนที่อยูภายในดินสอ
?:?
ตัวอยางที่ 4 เพนนี : ปอนด
ก. มิลลิเมตร : เซนติเมตร
ข. รูป : เหรียญ
ค. เยน : บาท
ง. เซนต : ปอนด
ตอบ
ก. มิลลิเมตร : เซนติเมตร
แนวคิด
10 เพนนี เทากับ 1 ปอนด
10 มิลลิเมตร เทากับ 1 เซนติเมตร
?:?
ตัวอยางที่ 5 ป : ศตวรรษ
ก. อาจารย : มหาวิทยาลัย
ข. ตัน : กิโลกรัม
ค. มิลลิเมตร : เมตร
ง. ปอนด : กิโลกรัม
ตอบ
ค. มิลลิเมตร : เมตร
แนวคิด
100 ป เทากับ 1 ศตวรรษ
100 มิลลิเมตร เทากับ 1 เมตร
ตัวอยางที่ 6 ครีม : ผงกาแฟ
?:?
ก. โตะ : นักเรียน
ข. กะเพรา : หมูสับ
ค. ขนมจีน : แปง
ง. นักเรียน : ครู
ตอบ
ข. กะเพรา : หมูสับ
แนวคิด
ครีมกับผงกาแฟ เปนสวนผสมของเครื่องดื่มกาแฟ
กะเพรา กับ หมู สับ เปนสวนผสมของอาหารกะเพราหมูสับ
ตอบ
แนวคิด

แบบที่ 2

ความสัมพันธในดานความหมายที่เหมือนกันหรือคลายคลึงกัน
หรือตรงขามกัน
ตัวอยางที่ 1 ดี : ชั่ว
?:?
ก. อดทน : เขมแข็ง
ข. ยากจน : แสนเข็ญ
ค. สบาย : ลําบาก
ง. ลําบาก : ตรากตรํา
ตอบ
ค. สบาย : ลําบาก
แนวคิด
ดี กับ ชั่ว เปนคําที่มีความหมายตรงกันขามกัน
13

ตัวอยางที่ 2

ตัวอยางที่ 3

ตัวอยางที่ 4

ตัวอยางที่ 5

(สิ่งหนึ่งดี สิ่งหนึ่งไมดี)
สบาย กับ ลําบาก มีความหมายตรงกันขาม (ดี กับ ไมดี)
ไมเทา : ธารพระกร
?:?
ก. น้ําดื่ม : พระสุธา
ข. ซับพระองค : ผาเช็ดตัว
ค. รม : ทรงกลด
ง. แวนตา : ฉลองพระเนตร
ตอบ
ง. แวนตา : ฉลองพระเนตร
แนวคิด
ไมเทา คําราชาศัพท คือธารพระกร
แวนตา คําราชาศัพท คือ ฉลองพระเนตร
น้ําจัณฑ : พระเขนย
?:?
ก. น้ํากิน : สีขาง
ข. น้ําชา : ศอก
ค. เหลา : หมอนหนุน
ง. บุหรี่ : คาง
ตอบ
ค. เหลา : หมอนหนุน
แนวคิด
น้ําจันทร แปลวา เหลา
พระเขนย แปลวา หมอนหนุน
?:?
เสวย : ฉัน
ก. สรงน้ํา : สวรรคต
ข. พระยี่ภู : ศิษย
ค. อาราธนา : อุบาสก
ง. บรรพชา : ทรงศีล
ตอบ
ข. พระยี่ภู : ศิษย
แนวคิด
เสวย เปน คําราชาศัพททใชกับพระเจาแผนดิน
ี่
ฉัน เปนคําที่ใชกับพระสงฆ
เชนเดียวกับ พระยี่ภู ใชกับพระเจาแผนดิน และศิษยเปนคําที่ใช
กับพระสงฆ
หนอน : ผีเสื้อ
?:?
ก. เตา : ตะพาบ
ข. เพลี้ย : จักจั่น
ค. ลูกน้ํา : ยุง
ง. กบ : อึ่งอาง
ตอบ
ค. ลูกน้ํา : ยุง
แนวคิด
หนองเมื่อโตเต็มวัยจะเปนผีเสื้อ
เชนเดียวกับ ลูกน้ํา เมื่อโตจะเปนยุง
14

แบบที่3

ความสัมพันธในดานหนาที่ที่สัมพันธกัน

ตัวอยางที่ 1 โรงเรียน : ครู
?:?
ก. ทหาร : ตํารวจ
ข. หางสรรพสินคา : พนักงาน
ค. วัด : พระ
ง. นายกรัฐมนตรี : รัฐสภา
ตอบ
ค. วัด : พระ
แนวคิด
โรงเรียน
มีครูเปนผูสอน
ในวัด
มีพระเปนผูเทศน
ตัวอยางที่ 2 ครู : สอน ? : ?
ก. ทหาร : ปน
ข. พระ : เทศน
ค. วิทยากร : ผูฟง
ง. นักเขียน : นิยาย
ตอบ
ข. พระ : เทศน
แนวคิด
ครูทําหนาที่ในการสอน
พระทําหนาที่เทศนาญาติโยม
ตัวอยางที่ 3 ชาง : งวง ? : ?
ก. ปลา : กระพุงแกม
ข. แรด : นอ
ค. จิงโจ : กระเปาหนาทอง
ง. คน : แขน
ตอบ
ง. คน : แขน
แนวคิด
ชาง มี งวง ไวจับสิ่งของ
คน มีแขน ไวจับสิ่งของ
?:?
ตัวอยางที่ 4 ศาล : ความยุติธรรม
ก. โรงเรียน : การศึกษา
ข. โตะ : เกาอี้
ค. ทหาร : ปน
ง. ทนาย : อัยการ
ตอบ
ก. โรงเรียน : การศึกษา
แนวคิด
ศาลพิจารณาคดีเพื่อใหเกิดความยุตธรรม
ิ
โรงเรียนใหความรู การศึกษา แกเด็กนักเรียน
15

เงื่อนไขสัญลักษณ
เงื่อนไขสัญลักษณ เงื่อนไขสัญลักษณ ลักษณะของเงือนไขจะประกอบดวยสัญลักษณ
่
ตัวอักษรและเครื่องหมายทางคณิตศาสตร แลววิเคราะหสรุปเหตุผลจากเงื่อนไขที่ใหมา
เครื่องหมายทางคณิตศาสตร
= หมายถึง
เทากับ
หมายถึง
ไมเทากับ
≠
> หมายถึง
มากกวา
< หมายถึง
นอยกวา
> หมายถึง
ไมมากกวา
< หมายถึง
ไมนอยกวา
≥ หมายถึง
มากกวาหรือเทากับ
≤
หมายถึง
นอยกวาหรือเทากับ

สรุปคุณสมบัติที่ควรทราบกอนการแกปญหาโจทย
1) กฎการสลับที่ A = B แลว B = A
A > B แลว B < A
2) ถา A = B = C แลว A = C
3) ถา A > B = C แลว A > C
4) ถา A > B < C แลวสรุปไมได
5) ถา A > B แลว A + C > B + C
6) ถา A > B และ C > D แลว A + C > B + D
7) ถา A > B > C แลว A2 > B2 และ

1 1
> >C
B A
16

ขั้นตอนการแกปญหา
1) เปลี่ยนเครื่องหมาย
> เปน ≥
< เปน ≤
2) หาตัวรวม ที่เหมือนกันของเงือนไขที่ใหมา
่
3) หาความสัมพันธตามขอสรุปที่ใหมา

คําชี้แจง
ตอบขอ 1
ตอบขอ 2
ตอบขอ 3
ตอบขอ 4

ถาขอสรุปทั้งสองถูกตองหรือเปนจริงตามเงื่อนไข
ถาขอสรุปทั้งสองผิดหรือไมเปนจริงตามเงื่อนไข
ถาขอสรุปทั้งสองไมสามารถสรุปไดแนชัดวาเปนจริงหรือเปนเท็จ
ถาขอสรุปทั้งสองแตกตางกัน

ตัวอยางที่ 1
เงื่อนไขที่ 1 A> B< C > E
เงื่อนไขที่ 2 F < K < S > B < P
ขอสรุปที่ 1 A > S
ขอสรุปที่ 2 K ≠ E
แนวคิด
1) เปลี่ยนเครื่องหมาย
A≤ B ≥ C > E
F<K ≥ S>B ≥ P
2) ตัวรวมจาก และ คือ B
จาก ขอสรุปที่ 1 A > S
หาความสัมพันธ B ->A จาก
A≤ B ≥ C > E
∴ A≤ B
หาความสัมพันธ B ->S จาก
F<K ≥ S>B ≥ P
∴S > B
จาก A ≤ B และ S > B เขียนใหมเปน A ≤ B < S
∴A< S
17

การหาอัตราสวนและรอยละ
อัตราสวนเปนการเปรียบเทียบจํานวนตั้งแต 2 จํานวนขึ้นไป
เชน อายุของ A : B เทากับ 1 : 2 หมายความวา ถา A อายุ 1 ป B จะมีอายุ 2
ป หรือ

A
1
=
B
2

รอยละ ( เปอรเซ็นต ) หมายถึง อัตราสวนที่มีจํานวนที่สองเปน 100 หรือเปนการ
เทียบจากสวนรอย
เชน
20 % หมายความวา 20 ใน 100

1.
2.
3.
4.
5.

*** สิ่งที่นาสนใจเกี่ยวกับรอยละ ***
รอยละของสิ่งของที่แตกตางกันบวกลบกันไมได
รอยละของสิ่งเดียวกันบวกลบกันได
รอยละเกี่ยวกับดอกเบี้ยตองเทียบตนทุนเปน 100 บาท ในเวลา 1 ป
เสมอ
รอยละเกี่ยวกับกําไรขาดทุน เทียบจากตนทุนเปน 100 บาทเสมอ
รอยละเกี่ยวกับการลดราคา ตองเทียบจากราคาปายเปน 100 บาทเสมอ

1. เลข 2 จํานวนรวมกันเปน 25 ถาจํานวนนอยเปน 40% ของ 25 จํานวนมากมีคาเทาไร
1) 10
2) 15
3) 20
4) 25
วิธีทํา จํานวนนอยเปน 40% ของ 25 คือ

∴

40
× 25 = 10
100

จํานวนมาก + จํานวนนอย = 25
จํานวนมาก + 10
= 25
จํานวนมาก
= 25 - 10 = 15

2. นาย ก. มีเงินเปนสองเทาของนาย ข. นาย ข.มีเงินเปน
200 บาท นาย ก. มีเงินเปนเทาไร
1) 150
2) 180
วิธีทํา
นาย ค. มีเงิน 200 บาท

3) 200

3
4

ของนาย ค. ถานาย ค. มีเงิน
4) 300
18

การหาความเขมขนและอัตราสวนผสม
ความเขมขนของสาร( X ) =

ปริมาณของสาร( X )
ปริมาณทั้งหมดของสารผสม

ความเขมขนเดิม ปริมาตรใหม
=
ความเขมขนใหม ปริมาตรเดิม

( แบบผกผัน )

1. มีน้ําเกลือที่มีความเขมขน 10 % อยูจํานวน 50 ลิตร จะตองเติมน้ําลงไปอีกกี่ลิตร จึงจะทํา
ใหน้ําเกลือมีความเขมขนลดลง เหลือเพียง 5 %
1) 25
2) 50
3) 75
4) 100
ความเขมขนเดิม ปริมาตรใหม
=
วิธีทํา
จากสูตร
ความเขมขนใหม ปริมาตรเดิม
10
5

=

X

=

X
50

10 × 50
5

=

100

ปริมาตรใหม - ปริมาตรเดิม = น้ําที่เติมลงไป
100
50 =
50

∴

จะตองเติมน้ําลงไปอีก 50 ลิตร

2. มีน้ําเกลือที่มีความเขมขน 10 % อยูจํานวน 40 ลิตร และเติมน้ําลงไปอีก 10 ลิตร จงหา
ความเขมขนของน้ําเกลือใหมหลังจากที่เติมน้ําลงไปวามีความเขมขนกี่เปอรเซ็นต
1) 6
2) 8
3) 10
4) 12
ความเขมขนเดิม ปริมาตรใหม
=
วิธีทํา
จากสูตร
ความเขมขนใหม ปริมาตรเดิม
10
X

=

50
40

พลิกทั้งคู

X
10

=

40
50
19

∴

10 × 40

=

X

5
ความเขมขนของน้ําเกลือใหมคือ 8 %

=

8

3. สารละลายเกลือจํานวน 40 แกลลอน มีความเขมขนของเกลือ 5 % ถาตองการให
สารละลายดังกลาว มีความเขมขนเพิ่มขึ้นเปน 20 % จะตองระเหยน้ําออกไปกี่แกลลอน
1) 20
2) 25
3) 30
4) 35
ความเขมขนเดิม ปริมาตรใหม
=
วิธีทํา
จากสูตร
ความเขมขนใหม ปริมาตรเดิม

X

=

5
20
5 × 40
20

X
40

=
=

10

ปริมาตรเดิม - ปริมาตรใหม = น้ําทีระเหยไป
่
40
10 = 30
∴ น้ําที่ระเหยออกไป 30 ลิตร

การทํางาน
สูตร

( คน) ๅ
( งาน) ๅ

=

( คน) 2

( เวลา) ๅ

( งาน) 2

( งาน) ๅ

( คน) ๅ × ( เวลา ) ๅ
( งาน ) ๅ

หาเวลาเมื่อชวยกันทํางาน

เวลาทั้งหมดที่ใช =

=

=

( เวลา) 2
( งาน) 2

( คน) 2 × ( เวลา ) 2
( งาน) 2

( เวลา) 1 × ( เวลา) 2
( เวลา) 1 + ( เวลา) 2

จํานวนคนงานแปรผันตรงกับปริมาณงาน คือ คนงานเพิ่มปริมาณงานตองเพิ่มตามไปดวย
จํานวนคนงานแปรผกผันกับเวลาที่ใชทางาน คือ จํานวนคนงานเพิ่มเวลาทีใชตองนอยลง
ํ
่ 
เวลาที่ใชทํางานแปรผันตรงกับปริมาณงาน คือ เวลามากขึ้นปริมาณงานตองมากตามไปดวย
20

ตาราง กราฟ และแผนภูมิ
เทคนิคการทําขอสอบแบบตาราง
1. ใหยุบตัวเลขใหเหลือเพียง 2 หรือ 3 หลัก
2. ถาโจทยถามมากกวาหรือนอยกวาใหนาเลขมาลบกันกอนแลวคอยคํานวณตัวเลข
ํ
3. ถาโจทยใหหาชวงระหวางป และมีคําวาโดยเฉลี่ย ใหหารดวยจํานวนป
4. สูตรการคํานวณ ใหดูในเรื่องรอยละเปอรเซ็นต
คําสั่ง ในขอสอบจะประกอบดวยขอมูลชุดหนึ่งในรูปขอตารางและในแตละขอจะมีคําถามกับตัวเลือก 1
– 4 มาใหใหศึกษาขอมูลทีกําหนดแลวนําความรูที่ไดจากขอมูลดังกลาวมาพิจารณาตอบคําถาม
่
ตารางที่ 1 พื้นที่เพาะปลูกชนิดตางๆ แยกตามภาคป 2552
หนวย : ไร
ภาค
ขาวโพด
ยาสูบ
ถั่วเขียว
ขาวจาว
เหนือ
28,862
38,438
32,882
99,990
กลาง
34,280
42,495
28,889
126,440
ใต
28,975
32,735
36,250
94,123
ตะวันออกเฉียงเหนือ
27,364
31,295
33,330
94,789
1. ภาคใตมีพื้นทีเพาะปลูกยาสูบคิดเปนกี่เปอรเซ็นตของพื้นที่เพาะปลูกขาวจาว
่
1. 27 %
2. 35 %
3. 42 %
4. 63 %
2. ภาคใดมีพื้นที่การเพาะปลูกของพืชทุกชนิดรวมกันนอยที่สุด
1. ภาคเหนือ
2. ภาคกลาง
3. ภาคใต
4. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
3. พื้นที่การเพาะปลูกขาวจาวมากกวาพื้นทีการเพาะปลูกถั่วเขียวอยูรอยละเทาใด
่
1. รอยละ 97
2. รอยละ 117
3. รอยละ 217
4. รอยละ 317
4. พื้นที่การเพาะปลูกของภาคเหนือนอยกวาพื้นที่การเพาะปลูกของภาคกลางอยูรอยละเทาใด
1. รอยละ 13
2. รอยละ 17
3. รอยละ 24
4. รอยละ 32
5. พื้นที่การเพาะปลูกขาวจาวของภาคเหนือรวมภาคใตคิดเปนรอยละเทาใดของภาคกลาง
1. รอยละ 65
2. รอยละ 82
3. รอยละ 154
4. รอยละ 215
21

การเขียนภาษาใหถูกตอง
ขอบกพรองของประโยค มีดังนี้
1. ใชคําผิดความหมาย
2. ใชคําผิดหนาที่
3. ใชสํานวนตางประเทศ
4. ใชภาษาฟุมเฟอย
5. ใชภาษากํากวม
6. เรียงลําดับคําไมถูกตอง
7. ประโยคไมจบเพราะขาดสวนสรุป
8. ใชคําเชื่อมผิด
1. ใชคําผิดความหมาย
เมื่องบประมาณดําเนินการมีนอยเขาจึงตัดรอนคนงานที่ไมจําเปนออก
ประโยคบกพรอง :
เมื่องบประมาณดําเนินการมีนอยเขาจึงตัดคนงานที่ไมจําเปนออก
ประโยคถูกตอง :
:
ตัดรอน = ตัดไมตรี
เหตุผล
บานหลังนี้พังโยเยเนื่องจากถูกพายุใหญพัดเมื่อสัปดาหที่แลว
ประโยคบกพรอง :
ประโยคถูกตอง :
บานหลังนี้พังเนื่องจากถูกพายุใหญพัดเมื่อสัปดาหที่แลว
:
โยเย = โยกคลอน ใชกับคําวา “ พัง ” ไมได
เหตุผล
2. ใชคําผิดหนาที่
ประโยคบกพรอง :
ประโยคถูกตอง :
เหตุผล
:
ประโยคบกพรอง :
ประโยคถูกตอง

:

เหตุผล

:

ใชสํานวนตางประเทศ
ประโยคบกพรอง :
ประโยคถูกตอง :
:
เหตุผล
ประโยคบกพรอง :
ประโยคถูกตอง :
:
เหตุผล
ประโยคบกพรอง :

คนเราเลือกเกิดไมได แตเลือกอนาคตไดถามีมุมานะ
คนเราเลือกเกิดไมได แตเลือกอนาคตไดถามีความมุมานะ
“ มุมานะ ” เปนคํากิริยา คําที่ใชถูกตองคือคํานาม “ ความมุมานะ ”
เปนคํานาม
อีรักถูกโดดเดี่ยวจากโลกภายนอก องคการกาชาดจึงไดเรียกรองใหมี
การชวยเหลือผูเดือดรอนในบริเวณดังกลาว
อีรักถูกทอดทิ้งจากโลกภายนอก องคการกาชาดจึงไดเรียกรองใหมี
การชวยเหลือผูเดือดรอนในบริเวณดังกลาว
“โดดเดี่ยว” เปนคําวิเศษณ คําที่ใชถูกตองคือคํากิริยา “ ทอดทิ้ง ” เปน
คํากิริยา
มันเปนเวลาบายเมื่อขาพเจาเดินทางมาถึงจังหวัดเชียงใหม
ขาพเจาเดินทางมาถึงจังหวัดเชียงใหมเวลาบาย ( ก็เปนเวลาบาย )
“ มันเปน... ” เปนสํานวนตางประเทศ
เธอเดินเขามาในหองพรอมดวยรอยยิ้ม
เธอเดินยิ้มมาในหอง
“ พรอมดวยรอยยิ้ม... ” เปนสํานวนตางประเทศ
สมรักษซอนรางอยูในเสื้อคลุมสีน้ําเงิน
22
ประโยคถูกตอง
เหตุผล

:
:

สมรักษสวมเสื้อคลุมสีน้ําเงิน
“ ซอนราง... ” เปนสํานวนตางประเทศ

3. ใชภาษาฟุมเฟอย
ประโยคบกพรอง
ประโยคถูกตอง
เหตุผล
หนึ่ง
ประโยคบกพรอง
ประโยคถูกตอง
เหตุผล
คําหนึ่ง

:
:
:

ชาติไทยเปนชาติเกาแกมาแตดั้งเดิม
ชาติไทยเปนชาติเกาแก
“ เกาแก ” กับ “ ดั้งเดิม ” มีความหมายเหมือนกัน ควรเลือกคําใดคํา

:
:
:

ผูตั้งเคหสถานบานเรือนอยูในเมืองยอมไดรับอากาศที่ไมบริสุทธิ์
ผูตั้งบานเรือนอยูในเมืองยอมไดรับอากาศที่ไมบริสทธิ์
ุ
“เคหสถาน” กับ “บานเรือน” มีความหมายเหมือนกัน ควรเลือกคําใด

4. ใชภาษากํากวม
ประโยคบกพรอง
ประโยคถูกตอง
เหตุผล
ประโยคบกพรอง
ประโยคถูกตอง
เหตุผล
คน

:
:
:
:
:
:

มีแตคนชมวาแมเลี้ยงฉันดี
มีแตคนชมวาแมเลี้ยง+ฉันดี หรือมีแตคนชมวาแม+เลียงฉันดี
้
กํากวมตรงคําวา “ แมเลี้ยง ” ตีความหมายได 2 นัย
ใหพนักงานเชือฟงนายจางทุกคน
่
ใหพนักงานทุกคนเชื่อฟงนายจาง
กํากวมตรงคําวา “ ทุกคน ” ตีความหมายได 2 นัยคือ พนักงานทุก
นายจางทุกคน

5. เรียงลําดับคําไมถูกตอง
ประโยคบกพรอง
ประโยคถูกตอง
ประโยคบกพรอง
ประโยคถูกตอง
ประโยคบกพรอง
ประโยคถูกตอง
ประโยคบกพรอง
ประโยคถูกตอง
ประโยคบกพรอง

:
:
:
:
:
:
:
:
:

ฝนตกหนักจนทางขางหนามองไมเห็น
ฝนตกหนักจนมองไมเห็นทางขางหนา
เขาไมทราบสิงถูกตองวาเปนอยางไร
่
เขาไมทราบวาสิ่งถูกตองเปนอยางไร
เวียตกงบุกหมูบานโจมตีใกลกรุงพนมเปญ
เวียตกงบุกโจมตีหมูบานใกลกรุงพนมเปญ
ความปรารถนาสูงสุดของดิฉันคือสอบเขารับราชการใหไดในขณะนี้
ความปรารถนาสูงสุดของดิฉันในขณะนีคือสอบเขารับราชการใหได
้
อยางจริงใจผมนับถือคุณตังแตพบกันครังแรก
้
้
23

โปรแกรมประยุกตใชงานประเภทตางๆ
โปรแกรมตารางทําการ (Spreadsheets)
เปนซอฟตแวรที่มีไวใหผูใชสรางตารางและจัดระบบการเงิน โดยการใสขอมูลลงในแถว
(Row) และสดมภ (Column) จัดเรียงเปนตะแกรงบนจอภาพของคอมพิวเตอร ตัวอยางของ
โปรแกรมตารางทําการที่สําคัญ ไดแก VisiCalc, Multiplan, Lotus 1–2–3, Microsoft Excel,
Quattro Pro เปนตน
ประโยชนของโปรแกรมตารางทําการ คือ
1. เตรียมการและจัดการวิเคราะหงบประมาณทางการเงินเพื่อเสนอผูบริหาร
2. ทําการพยากรณยอดขายโดยดูจากแนวโนมในอดีต และสรางคาพยากรณ
ในอนาคตไดดวย
3. ควบคุมระบบสินคาคงคลัง
4. กําหนดราคาสินคาโดยใชขอมูลตนทุนของสินคาเปนตัวกําหนด
5. วิเคราะห Product Performance โดยอาศัยปจจัยจากตนทุนของการผลิต
ยอดขายและความพอใจของลูกคา
6. มีการวิเคราะหขอมูลและแสดงผลเปนกราฟเพื่อชวยในการตัดสินใจ
7. ใชในการวิเคราะหหาหนทางของการลงทุนและวิเคราะหคาใชจาย
ความสามารถที่เปนจุดเดนของโปรแกรมตารางทําการ คือ การคํานวณไดเอง
โดยอัตโนมัติ (Automatic Recalculating) นอกจากนี้ยังสามารถใชในการสรางแบบจําลองเพื่อ
ใชในการตัดสินใจภายใตคําถามประเภท “What If” คําถามประเภทนี้หมายความวา จะเกิดอะไร
ขึ้นถาหากวาปจจัยบางอยางเปลี่ยนไป เชน จะเกิดอะไรขึ้นถาหากวาตนทุนวัตถุดิบในการผลิตขึ้น
ราคาไปอีก 10% เปนตน
ตําแหนงที่บันทึกขอมูล เซลลแตละเซลลที่ปรากฏในตาราทําการนั้น จะบงบอกถึง
ตําแหนงของแถวละสดมภ ซึ่งเซลลที่ A1 นั้น ปกติจะเรียกวา Home Address โดยสดมภสุดทาย
ของ Lotus 1–2–3 ก็คือ IV
Control Panel หรือ Status Line จะประกอบดวยขอสนเทศของการใชงานในระบบ
กระดาษทําการ โดยที่ Control Panel จะเปลี่ยนแปลงสารสนเทศของการใชงานไปตามการเลือก
ของผูใชงาน ตัวอยางของ Control Panel ไดแก Cell Pointer, Menu Line และ Mode Indicator
กราฟก เปนความสามารถดานหนึ่งของโปรแกรมตารางทําการ โดยโปรแกรมจะ
สรางรูปกราฟแบบตาง ๆ เพื่อใชในการตัดสินเพื่อวางแผน หรือเลือกยุทธวิธีดําเนินงาน แผนภูมิที่
เลือกสรางจะประกอบดวยกราฟตาง ๆ ที่ใชงานตามความเหมาะสม ดังนี้
24

สรุปสาระสําคัญของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550
บททั่วไป
ประเทศไทยเปนราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียว จะแบงแยกมิได
ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลยอมไดรับความ
คุมครอง
ประชาชนชาวไทยไมวาเหลากําเนิด เพศ หรือศาสนาใด ยอมอยูในความคุมครองแหง
รัฐธรรมนูญนี้เสมอกัน
รัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมายกฎหรือ
ขอบังคับ ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเปนอันใชบังคับมิได

พระมหากษัตริย
องคพระมหากษัตริยทรงดํารงอยูในฐานะอันเปนที่เคารพสักการะ ผูใดจะละเมิดมิได
ผูใดจะกลาวหาหรือฟองรองพระมหากษัตริยในทางใด ๆ มิได
พระมหากษัตริยทรงเปนพุทธมามกะ และทรงเปนอัครศาสนูปถัมภก
พระมหากษัตริยทรงดํารงตําแหนงจอมทัพไทย
พระมหากษัตริยทรงเลือกและทรงแตงตั้งผูทรงคุณวุฒิเปนประธานองคมนตรีคน
หนึ่งและองคมนตรีอื่นอีกไมเกินสิบแปดคนประกอบเปนคณะองคมนตรีคณะองคมนตรี มี
หน า ที่ ถ วายความเห็ น ต อ พระมหากษั ต ริ ย ใ นพระราชกรณี ย กิ จ ทั้ ง ปวงที่ พ ระมหากษั ต ริ ย ท รง
ปรึกษา และมีหนาที่อื่นตามที่บัญญัติในรัฐธรรมนูญนี้

สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย
บุคคลยอมอางศักดิ์ศรีความเปนมนุษยหรือใชสิทธิและเสรีภาพของตนไดเทาที่ไม
ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอื่น ไมเปนปฏิปกษตอรัฐธรรมนูญ หรือไมขัดตอศีลธรรมอันดี
ของประชาชน
บุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญนี้รับรองไว สามารถยกบทบัญญัติ
แหงรัฐธรรมนูญนี้เพื่อใชสิทธิทางศาลหรือยกขึ้นเปนขอตอสูคดีในศาลได

ความเสมอภาค
บุคคลยอมเสมอกันในกฎหมายและไดรับความคุมครองตามกฎหมายเทาเทียมกัน
25

ชายและหญิงมีสิทธิเทาเทียมกัน
การเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตอบุคคลเพราะเหตุแหงความแตกตางในเรื่องถิ่น
กําเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะ
ทาง เศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมืองอัน
ไมขัดตอบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ จะกระทํามิได

สิทธิและเสรีภาพสวนบุคคล
บุคคลยอมมีสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและรางกาย
การทรมาน ทารุณกรรม หรือการลงโทษดวยวิธีการโหดรายหรือไรมนุษยธรรม จะ
กระทํามิได แตการลงโทษตามคําพิพากษาของศาลหรือตามที่กฎหมายบัญญัติไมถือวาเปนการ
ลงโทษดวยวิธีการโหดรายหรือไรมนุษยธรรม
บุคคลยอมมีเสรีภาพในเคหสถาน
การเขาไปในเคหสถานโดยปราศจากความยินยอมของผูครอบครอง หรือการตรวจคน
เคหสถานหรือในที่รโหฐาน จะกระทํามิได เวนแตมีคําสั่งหรือหมายของศาลหรือมีเหตุอยางอื่น
ตามที่กฎหมายบัญญัติ

สิทธิพิทักษรัฐธรรมนูญ
บุ ค คลจะใช สิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพตามรั ฐ ธรรมนู ญ เพื่ อ ล ม ล า งการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขตามรัฐธรรมนูญนี้ หรือเพื่อใหไดมาซึ่งอํานาจใน
การปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิไดเปนไปตามวิถีทางที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญนี้ มิได

หนาที่ของชนชาวไทย
บุคคลมีหนาที่พิทักษรักษาไวซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขตามรัฐธรรมนูญนี้
บุคคลมีหนาที่ปองกันประเทศ รักษาผลประโยชนของชาติ และปฏิบัติตามกฎหมาย
บุคคลมีหนาที่ไปใชสิทธิเลือกตั้ง

แนวนโยบายดานการบริหารราชการแผนดิน
รัฐตองดําเนินการตามแนวนโยบายดานการบริหารราชการแผนดิน ดังตอไปนี้
26

สั่งซื้อไดที่
www.SheetRam.com
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,
085-9679080,085-9993722,085-9993740

More Related Content

More from บ.ชีทราม จก.

คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นคณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นบ.ชีทราม จก.
 
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...บ.ชีทราม จก.
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...บ.ชีทราม จก.
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 บ.ชีทราม จก.
 

More from บ.ชีทราม จก. (9)

คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นคณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
 
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
 
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวชข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
 

E-BOOK คู่มือเตรียมสอบ ข้อสอบ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57

  • 1. 1
  • 2. 2 ขอบเขตเนื้อหา สวนที่ 1 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับกองทัพอากาศ ประวัติความเปนมากองทัพอากาศ กรอบภารกิจกองทัพอากาศ พระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ. 2551 สวนที่ 2 ความรูความสามารถทั่วไป อนุกรมหรือเลขเรียงลําดับ วิธีบวก วิธีลบ วิธีคูณ วิธียกกําลัง วิธีหาร เงื่อนไขภาษา อุปมาอุปไมย ความสัมพันธในลักษณะเปนสวนหนึ่งของสิ่งหนึ่ง ความสัมพันธในลักษณะมีความหมายเหมือนกัน / ตรงขาม ความสัมพันธในลักษณะหนาที่ ความสัมพันธในลักษณะสิ่งของประเภทเดียวกัน ความสัมพันธในลักษณะสถานที่ ความสัมพันธในเรื่องของลักษณะนาม เงื่อนไขสัญลักษณ คณิตศาสตรทั่วไป การหาผลบวกของเลขหลายจํานวนเรียงกัน การหาอัตราสวนและรอยละ ดอกเบี้ย การคํานวณระยะหางระหวางเสา การแจกบัตรอวยพรและการสัมผัสมือ การแปรผันตรงและการแปรผกผัน การแกสมการ การคํานวณเกี่ยวกับขาและหัวของสัตว คาเฉลี่ย การหา ครน. และหรม. ความสามารถทางดานเหตุผล การคํานวณหาพื้นที่และปริมาตร การวิเคราะหสรุปเหตุผลทางโอเปอรเรต ตาราง กราฟและแผนภูมิ สวนที่ 3 วิชาภาษาไทย การใชคํา การใชคําราชาศัพท การสรุปใจความ สํานวน สุภาษิต คําพังเพย การเขียนสะกดการันต ประโยค ลักษณะภาษา การใชภาษา 5 6 7 20 20 25 28 33 41 48 66 66 67 69 70 71 72 74 79 79 81 83 85 87 89 94 94 98 102 105 117 110 111 119 122 131 134 139 140 142 156
  • 3. 3 คําเปนคําตาย คําเชื่อม การสะกดคํา กการเขียนภาษาใหถูกตอง การเรียงประโยค บทความสั้น บทความยาว สวนที่ 4 ความรูพื้นฐานทางดานภาษาอังกฤษ ความรูพื้นฐานดานภาษาอังกฤษ แนวขอสอบ GRAMMAR AND VOCABULARY แนวขอสอบ VOCABULARY แนวขอสอบ Reading Comprehension สวนที่ 5 ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร ระบบเครือขาย อินเตอรเน็ต (Internet) โปรแกรมประยุกตใชงานประเภทตางๆ การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟตแวร ไวรัสคอมพิวเตอร (Computer Virus) ไมโครซอฟท เวิรด (Microsoft Word) ไมโครซอฟท เอ็กเซล Microsoft Excel ไมโครซอฟท พาวเวอรพอยท Microsoft PowerPoint สวนที่ 6 ความรูพื้นฐานกฎหมายทั่วไป 166 168 174 179 182 188 194 200 224 228 233 238 238 252 256 257 261 262 264 267 ประเภทและการจัดทํากฎหมาย 272 การแบงแยกประเภทกฎหมาย 273 สรุปสาระสําคัญของกฎหมายแพงและพาณิชย 275 สรุปสาระสําคัญกฎหมายรัฐธรรมนูญ 281
  • 4. 4 ประวัติความเปนมากองทัพอากาศ กิจการบินของไทย เริ่มตนในรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จ พระมงกุฏเกลาเจาอยูหัว เมื่อ มีชาวตางประเทศ ไดนําเครื่องบิน มาแสดงใหชาวไทย ไดชมเปนครั้งแรก เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ 2454 อันทําให ผูบังคับบัญชา ระดับสูง ของกองทัพ ในสมัยนั้น พิจารณาเห็นวา ประเทศไทย จํ า เป น ต อ งมี เ ครื่ อ งบิ น ไว เ พื่ อ ป อ งกั น ภั ย ที่ จ ะเกิ ด แก ป ระเทศชาติ ในอนาคต ด ว ยเหตุ นี้ กระทรวงกลาโหม จึงไดตั้ง "แผนกการบิน" ขึ้นในกองทัพบก พรอมทั้งไดคัดเลือกนายทหารบก 3 คน ซึ่งมีคุณสมบัติเหมาะสม ไปศึกษาวิชาการ ณ ประเทศฝรั่งเศส อันไดแก พันตรีหลวงศักดิ์ศัล ยาวุธ รอยเอกหลวงอาวุธสิขิกร และ รอยโท ทิพย เกตุทัต ทั้ง 3 ทานนี้ ในเวลาตอมา ไดรับ พระราชทานยศ และบรรดาศักดิ์ ตามลําดับ คือ พลอากาศโท พระยาเฉลิมอากาศ, นาวา อากาศเอก พระยาเวหาสยานศิลปสิทธิ์ และ นาวาอากาศเอก พระยาทะยานพิฆาต และ กองทัพอากาศไดยกยองใหเปน "บุพการีของกองทัพอากาศ" ในขณะที่นายทหารทั้งสามกําลังศึกษาวิชาการบินอยูนั้นทางราชการ ไดสั่งซื้อเครื่องบิน รวมทั้ง มีผูบริจาคเงินรวมสมทบซื้อดวยเปนครั้งแรก จํานวน 8 เครื่อง คือเครื่องบินเบรเกตปก 2 ชั้น จํานวน 4 เครื่อง และ เครื่องบินนิเออปอรตปกชั้นเดียว จํานวน 4 เครื่อง อันอาจกลาวไดวา กําลังทางอากาศของไทย เริ่มตนจากนักบินเพียง 3 คน และเครื่องบินอีก 8 เครื่องเทานั้น การบิน ของไทยในระยะแรก ไดใชสนามมาสระปทุม หรือราชกรีฑาสโมสรในปจจุบัน เปนสนามบิน แต ดวยความไมสะดวกหลายประการ บุพการีทั้ง 3 ทาน จึงไดพิจารณาหาพื้นที่ ที่มีความเหมาะสม ตอการบิน และไดเลือกเอาตําบลดอนเมือง เปนที่ต้ังสนามบิน พรอมทั้งไดกอสรางอาคาร สถานที่ โรงเก็บเครื่องบินอยางถาวรขึ้น เมื่อการโยกยายกําลังพล อุปกรณ และเครื่องบิน ไปไวยังที่ตั้งใหม เรียบรอยแลว ในวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2457 กระทรวงกลาโหม จึงไดสั่งยกแผนกการบินขึ้นเปน "กองบินทหารบก" ซึ่งถือไดวา กิจการการบินของไทย ไดวางรากฐานอยางมั่นคงขึ้นแลว ตั้งแต บัดนั้นมา กองทัพอากาศจึงถือเอา วันที่ 27 มีนาคม ของทุกปเปน "วันที่ระลึกกองทัพ อากาศ" นับแตนั้นมา บทบาทของกําลังทางอากาศ ก็ไดแสดงใหเห็นถึงความสํา คัญ และมีการ พัฒนาอยางเปนลําดับ นับตั้งแตการเขารวมรบ ในสงครามโลกครั้งที่ 1 กับพันธมิตรในยุโรป เมื่อป พ.ศ. 2460 ซึ่งทําใหชื่อเสียงและเกียรติภูมิ ของชาติ เปนที่ยอมรับ และยกยอง เปนอันมาก และ ทางราชการไดยกฐานะ กองบินทหารบกขึ้นเปน "กรมอากาศยานทหารบก" ในเวลาตอมา กําลังทางอากาศ ไดพัฒนาตอไปอยางไมหยุดยั้ง และเปนกําลังสําคัญ ในการพัฒนาประเทศชาติ
  • 5. 5 ทางดานตางๆ อันเปนรากฐาน ของกิจการหลายอยางในปจจุบัน อาทิ การบินสงไปรษณียทาง อากาศ การสงแพทย และเวชภัณฑทางอากาศ เปนตน ในป พ.ศ. 2464 กระทรวงกลาโหม ไดพิจารณาเห็นวา กําลังทางอากาศ มิไดเปนกําลัง เฉพาะในดานยุทธศาสตรทางทหารเทานั้น แตมีประโยชน อยางกวางขวางตอกิจการดานอื่นๆ อีก ดวย จึงไดแกไขการเรียกชื่อจาก กรมอากาศยานทหารเปน "กรมอากาศยาน" และเปน "กรม ทหารอากาศ" ในเวลาตอมา โดยใหอยูในบังคับบัญชาของ รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม โดยตรง พรอมทั้งไดมีการกําหนดยศทหาร และการเปลี่ยนแปลงเครื่องแบบ จากสีเขียว มาเปนสี เทา ดังเชนปจจุบันวันที่ 9 เมษายน พ.ศ.2480 กรมทหารอากาศไดยกฐานะเปน "กองทัพอากาศ" มีนาวาอากาศเอก พระเวชยันตรังสฤษฎ เปนผูบัญชาการทหารอากาศคนแรก กองทัพอากาศ จึง ไดถือเอาวันที่ 9 เมษายน ของทุกปเปน "วันกองทัพอากาศ" กําลังทางอากาศ ไดพัฒนาไปอยางมากมาย และไดเปนกําลังสําคัญในการปกปอง รักษา อธิปไตยของชาติ อาทิ สงครามกรณีพิพาทอินโดจีนฝรั่งเศส และสงครามมหาเอเชียบูรพา รวมทั้ง เขารวมกับกองกําลังสหประชาชาติ ในสงครามเกาหลี และรวมกับพันธมิตร ในสงครามเวียดนาม จากเครื่องบินใบพัดเพียง 8 เครื่องในอดีต จนมาถึงเครื่องบินไอพนที่ทันสมัย ในปจจุบัน กองทัพอากาศ ขอยืนยัน ที่จะดํารงความมุงมั่นในภารกิจ ที่จะพิทักษ รักษาเอกราช และอธิปไตย ของชาติ ไวใหมั่นคงสภาพตลอดไป กรอบภารกิจกองทัพอากาศ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 77 รัฐตองพิทักษรักษาไวซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย เอกราช อธิปไตย และ บูรณภาพแหงเขต อานาจรัฐ และตองจัดใหมีกาลังทหาร อาวุธยุทโธปกรณ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย จาเปน และ เพียงพอ เพื่อพิทักษรักษาเอกราช อธิปไตย ความมั่นคงของรัฐ สถาบันพระมหากษัตริย ผลประโยชนแหงชาติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน ประมุข และเพื่อการพัฒนาประเทศ ภารกิจกองทัพอากาศ พ.ร.บ. จัดระเบียบบริหารราชการ กห. พ.ศ.2551 มาตรา 21
  • 6. 6 มีหนาที่เตรียมกาลังกองทัพอากาศ ปองกันราชอาณาจักรและดาเนินการเกี่ยวกับ การใชกาลังกองทัพอากาศตามอํานาจหนาที่ของกระทรวงกลาโหม มีผูบัญชาการทหาร อากาศ เปนผูบังคับบัญชารับผิดชอบ ยุทธศาสตรกองทัพอากาศ พ.ศ.2551-2562 ยุทธศาสตรที่ 1 พิทักษรักษาและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย ยุทธศาสตรที่ 2 เสริมสรางสมรรถนะและความพรอมในการปองกันประเทศ ยุทธศาสตรที่ 3 รักษาความมั่นคงของรัฐ ยุทธศาสตรที่ 4 รักษาผลประโยชนแหงชาติ พระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ. 2551 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2551 เปนปที่ 63 ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ ใหประกาศวาโดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยการจัดระเบียบราชการ กระทรวงกลาโหม จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและ ยินยอมของสภานิติบัญญัติแหงชาติ ดังตอไปนี้ มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ. 2551” มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป มาตรา 3 ใหยกเลิก (1) พระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ. 2503 (2) พระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2507 มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ “ขาราชการทหาร” หมายความวา ขาราชการทหารตามกฎหมายวาดวยระเบียบ ขาราชการทหาร “ขาราชการพลเรือนกลาโหม” หมายความวา ขาราชการที่ไดรับการบรรจุและแตงตั้งให รับราชการในกระทรวงกลาโหมในตําแหนงที่มิใชอัตราทหารและไมมีชั้นยศเพื่อปฏิบัติหนาที่ที่ตอง ใชความชํานาญเฉพาะทาง “ทหารกองประจําการ” หมายความวา ทหารกองประจําการตามกฎหมายวาดวยการรับ
  • 7. 7 ราชการทหาร “นักเรียนในสังกัดกระทรวงกลาโหม” หมายความวานักเรียนในสังกัดกระทรวงกลาโหม ตามกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการทหาร “เจาหนาที่ทางทหาร” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมแตงตั้งโดย ความเห็นชอบของสภากลาโหมเพื่อปฏิบัติภารกิจตามพระราชบัญญัตินี้ “การใชกําลังทหาร” หมายความวา การใชทหารตามมาตรา 6 วรรคหนึ่ง ขาราชการพล เรือนกลาโหม และเจาหนาที่ทางทหาร เพื่อปฏิบัติภารกิจตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 5 ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมี อํานาจออกกฎกระทรวง ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ และคําสั่งเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงเมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได หมวด 1 บททั่วไป มาตรา 6 ทหาร ประกอบดวย ขาราชการกระทรวงกลาโหมที่เปนขาราชการทหารทหาร กองประจําการ นักเรียนในสังกัดกระทรวงกลาโหมที่ขึ้นทะเบียนกองประจําการและบุคคลที่ถูก เรียกเขารับราชการทหารตามกฎหมายวาดวยการนั้น ขาราชการกระทรวงกลาโหม แบงออกเปนสองประเภท ไดแก ขาราชการทหารและ ขาราชการพลเรือนกลาโหม การกําหนดตําแหนง การบรรจุ การแตงตั้ง การปรับตําแหนง การเลื่อนขั้นเงินเดือนการ บังคับบัญชา วินัยและการรักษาวินัย การดําเนินการทางวินัย การออกจากราชการ การอุทธรณการ รองทุกข และการอื่นใดตามที่จําเปนเกี่ยวกับขาราชการพลเรือนกลาโหมใหตราเปนพระราช กฤษฎีกา อัตราเงินเดือน อัตราเงินประจําตําแหนง การใหไดรับเงินเดือน และการใหไดรับเงินประจํา ตําแหนง ของขาราชการพลเรือนกลาโหม ใหนําบทบัญญัติที่ใชบังคับแกขาราชการพลเรือนสามัญ ตามกฎหมายวาดวยเงินเดือนและเงินประจําตําแหนงหรือตามกฎหมายวาดวยการนั้นมาใชบังคับ โดยอนุโลมไปพลางกอนจนกวาจะไดมีการกําหนดใหมีอัตราเงินเดือนและอัตราเงินประจําตําแหนง ของข า ราชการพลเรื อ นกลาโหมเป น การเฉพาะตามกฎหมายว า ด วยเงิน เดือ นและเงิน ประจํ า ตําแหนง การจายเงินเดือนและเงินประจําตําแหนงใหแกขาราชการพลเรือนกลาโหมใหเปนไปตาม กฎหมายวาดวยการนั้น ใหขาราชการพลเรือนกลาโหมเปนขาราชการตามกฎหมายวาดวยกองทุน บําเหน็จบํานาญขาราชการและกฎหมายวาดวยบําเหน็จบํานาญขาราชการ แลวแตกรณี
  • 8. 8 อนุกรมหรือเลขเรียงลําดับ เลขอนุกรม เปนการเรียงตัวเลข ตามกฎเกณฑโดยอาจจะเรียงเพิ่มขึ้นหรือลดลง หรือ สลับกันไปก็ได ในการเรียงลําดับนั้นอาจจะเรียงลําดับแบบธรรมดาหลายชั้น หรือเชิงซอนก็ได ในที่นี้พอจะแยกตามวิธีการ บวก ลบ คูณ หาร ไดดังนี้ วิธีบวก จะมีการเพิ่มขึ้นแบบเทากัน แบบเรียงลําดับ หรือมีการเพิ่มแบบสลับซับซอน หรือ สลับกันไปกับเรียงลําดับ ตัวอยางที่ 1 จงหาตัวเลขถัดไปของ 5 10 วิธีคิด พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู 15 5 ? ? 10 +5 พบวา นั่นคือ 15 +5 20 +5 +5 ผลตางมีคาเพิ่มขึ้นทีละ 5 ตัวเลขถัดไป มีคาเพิ่มขึ้นจากเลขกอนหนาทีละ 5 ตัวเลขถัดไป คือ 20 + 5 = 25 ∴ ตัวอยางที่ 2 จงหาตัวเลขถัดไปของ 2 4 วิธีคิด พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู 2 4 +2 พบวา นั่นคือ ∴ 20 6 +2 6 10 8 +2 +2 8 10 ? +2 ผลตางมีคาเพิ่มขึ้นทีละ 2 ตัวเลขถัดไป มีคาเพิ่มขึ้นจากเลขกอนหนาทีละ 2 ตัวเลขถัดไป คือ 10 + 2 = 12 ?
  • 9. 9 ตัวอยางที่ 3 จงหาตัวเลขถัดไปของ 1 4 วิธีคิด พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู 1 4 +3 พบวา นั่นคือ 7 +3 7 +3 ผลตางมีคาเพิ่มขึ้นทีละ 3 ตัวเลขถัดไป มีคาเพิ่มขึ้นจากเลขกอนหนาทีละ 3 ตัวเลขถัดไป คือ 10 + 3 = 13 ∴ ตัวอยางที่ 4 จงหาตัวเลขถัดไปของ 5 7 วิธีคิด พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู 5 7 +2 พบวา นั่นคือ 9 +2 9 +2 ตัวอยางที่ 5 จงหาตัวเลขถัดไปของ 1 2 วิธีคิด พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู 1 2 +1 ∴ ? ? 11 +2 11 ผลตางมีคาเพิ่มขึ้นทีละ 2 ตัวเลขถัดไป มีคาเพิ่มขึ้นจากเลขกอนหนาทีละ 2 ตัวเลขถัดไป คือ 11 + 2 = 13 ∴ พบวา นั่นคือ ? ? 10 +3 10 4 +2 4 11 7 +3 +4 7 11 ? ? +5 ผลตางมีคาเพิ่มขึ้นสะสมทีละ 1 ตัวเลขถัดไป มีคาเพิ่มขึ้นสะสมทีละ 1(เพิ่มขึ้นเทากับ 5) ตัวเลขถัดไป คือ 11 + 5 = 16
  • 10. 10 1 3 ตัวอยางที่ 56 จงหาตัวเลขถัดไปของ 1 8 9 17 18 ? พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู วิธีคิด (1+3) (4+4) (8+9) (17+18) ชุดที่ 1 เศษ ชั้นที่ 1 ชั้นที่ 2 1 3 4 4 +1 8 9 +5 +4 17 18 +9 +4 35 31 ชุดที่ 2 สวน +13 +4 พบวา ชุดที่ 1 การคิดอนุกรมมี 2 ชุด คือ การคิดเศษ เกิดจาก เศษ+สวนของพจนกอนหนา พจนที่ 2 เกิดจาก เศษ + สวน ของพจนที่ 1 = (1)+(3) = 4 พจนที่ 3 เกิดจาก เศษ + สวน ของพจนที่ 2 = (4)+(4) = 8 พจนที่ 4 เกิดจาก เศษ + สวน ของพจนที่ 3 = (8)+(9) = 17 พจนที่ 5 เกิดจาก เศษ + สวน ของพจนที่ 4 = (17)+(18) = 35 ∴ พจนของเศษ คือ 35 ชุดที่ 2 อนุกรมของสวน มี 2 ชั้น ชั้นที่ 1 พจนที่ 3 มีคาเทากับ พจนที่ 2 – พจนที่ 1 = 4-3 = 3 พจนที่ 4 มีคาเทากับ พจนที่ 3 – พจนที่ 2 = 9-4 = 5 พจนที่ 5 มีคาเทากับ พจนที่ 4 – พจนที่ 3 = 18-9 = 9 ชั้นที่ 2 จากชุดขอมูลของชั้นที่ 1 พจนที่ 2 มีคาเพิ่มขึ้นจากพจนที่ 1 + 4 = (1)+(4) = (5) พจนที่ 3 มีคาเพิ่มขึ้นจากพจนที่ 2 + 4 = (5)+(4) = (9) ∴ พจนที่ 4 มีคาเพิ่มขึ้นจากพจนที่ 3 + 4 = (9)+(4) = (13) ∴ ตัวเลขถัดไปของชุดขอมูลเดิม คือ (13+18) = 31 ∴ พจนของสวน คือ 31 ดังนั้น คําตอบของอนุกรม คือ 35 31
  • 11. 11 อุปมาอุปไมย อุปมาอุปไมย ทางดานภาษา เปนการวิเคราะหหาความสัมพันธของคูทไดมา และคู ี่ ถัดไปซึงพอจะแยกยอยรูปแบบของความสัมพันธ ไดดังนี้ ่ ความสัมพันธในลักษณะเปนสวนหนึ่งของสิงหนึ่งหรือเปนลักษณะสวนยอยของสวนใหญ ่ ความสัมพันธในลักษณะมีความหมายเหมือนกัน / ตรงขาม ความสัมพันธในลักษณะหนาที่ ความสัมพันธในลักษณะสิ่งของประเภทเดียวกัน ความสัมพันธในลักษณะสถานที่ ความสัมพันธในเรื่องของลักษณะนาม เปนตน แบบที่ 1 ความสัมพันธในลักษณะเปนสวนหนึ่งของอีกสิ่งหนึ่ง หรือเปนลักษณะ สวนยอยของสวนใหญ ?:? ตัวอยางที่ 1 ออกซิเจน : ไฮโดรเจน ก. ไนโตรเจน : ปุย ข. น้ํา : โปแตสเซียม ค. ฟอสฟอรัส : อากาศ ง. โปรแตสเซียม : แมงกานีส ตอบ ก. ไนโตรเจน : ปุย แนวคิด ไนโตรเจน เปนสวนประกอบของปุย ไฮโดรเจน เปนสวนประกอบของน้ํา ?:? ตัวอยางที่ 2 อําเภอ : ตําบล ก. จังหวัด : อําเภอ ข. ภูมิภาค : ประเทศ ค. จังหวัด : หมูบาน ง. หมูบาน : ประเทศ ตอบ ก. จังหวัด : อําเภอ แนวคิด ตําบลเปนสวนหนึ่งของอําเภอ อําเภอเปนสวนหนึ่งของจังหวัด ตัวอยางที่ 3 ดาย : ตะเกียง ?:? ก. หลอดไฟ : ไฟฉาย ข. เข็ม : ดาย ค. แกรไฟ : ดินสอ ง. ดินสอ : ยางลบ
  • 12. 12 ค. แกรไฟ : ดินสอ ดายเปนสวนที่อยูภายในตะเกียง แกรไฟ เปนสวนที่อยูภายในดินสอ ?:? ตัวอยางที่ 4 เพนนี : ปอนด ก. มิลลิเมตร : เซนติเมตร ข. รูป : เหรียญ ค. เยน : บาท ง. เซนต : ปอนด ตอบ ก. มิลลิเมตร : เซนติเมตร แนวคิด 10 เพนนี เทากับ 1 ปอนด 10 มิลลิเมตร เทากับ 1 เซนติเมตร ?:? ตัวอยางที่ 5 ป : ศตวรรษ ก. อาจารย : มหาวิทยาลัย ข. ตัน : กิโลกรัม ค. มิลลิเมตร : เมตร ง. ปอนด : กิโลกรัม ตอบ ค. มิลลิเมตร : เมตร แนวคิด 100 ป เทากับ 1 ศตวรรษ 100 มิลลิเมตร เทากับ 1 เมตร ตัวอยางที่ 6 ครีม : ผงกาแฟ ?:? ก. โตะ : นักเรียน ข. กะเพรา : หมูสับ ค. ขนมจีน : แปง ง. นักเรียน : ครู ตอบ ข. กะเพรา : หมูสับ แนวคิด ครีมกับผงกาแฟ เปนสวนผสมของเครื่องดื่มกาแฟ กะเพรา กับ หมู สับ เปนสวนผสมของอาหารกะเพราหมูสับ ตอบ แนวคิด แบบที่ 2 ความสัมพันธในดานความหมายที่เหมือนกันหรือคลายคลึงกัน หรือตรงขามกัน ตัวอยางที่ 1 ดี : ชั่ว ?:? ก. อดทน : เขมแข็ง ข. ยากจน : แสนเข็ญ ค. สบาย : ลําบาก ง. ลําบาก : ตรากตรํา ตอบ ค. สบาย : ลําบาก แนวคิด ดี กับ ชั่ว เปนคําที่มีความหมายตรงกันขามกัน
  • 13. 13 ตัวอยางที่ 2 ตัวอยางที่ 3 ตัวอยางที่ 4 ตัวอยางที่ 5 (สิ่งหนึ่งดี สิ่งหนึ่งไมดี) สบาย กับ ลําบาก มีความหมายตรงกันขาม (ดี กับ ไมดี) ไมเทา : ธารพระกร ?:? ก. น้ําดื่ม : พระสุธา ข. ซับพระองค : ผาเช็ดตัว ค. รม : ทรงกลด ง. แวนตา : ฉลองพระเนตร ตอบ ง. แวนตา : ฉลองพระเนตร แนวคิด ไมเทา คําราชาศัพท คือธารพระกร แวนตา คําราชาศัพท คือ ฉลองพระเนตร น้ําจัณฑ : พระเขนย ?:? ก. น้ํากิน : สีขาง ข. น้ําชา : ศอก ค. เหลา : หมอนหนุน ง. บุหรี่ : คาง ตอบ ค. เหลา : หมอนหนุน แนวคิด น้ําจันทร แปลวา เหลา พระเขนย แปลวา หมอนหนุน ?:? เสวย : ฉัน ก. สรงน้ํา : สวรรคต ข. พระยี่ภู : ศิษย ค. อาราธนา : อุบาสก ง. บรรพชา : ทรงศีล ตอบ ข. พระยี่ภู : ศิษย แนวคิด เสวย เปน คําราชาศัพททใชกับพระเจาแผนดิน ี่ ฉัน เปนคําที่ใชกับพระสงฆ เชนเดียวกับ พระยี่ภู ใชกับพระเจาแผนดิน และศิษยเปนคําที่ใช กับพระสงฆ หนอน : ผีเสื้อ ?:? ก. เตา : ตะพาบ ข. เพลี้ย : จักจั่น ค. ลูกน้ํา : ยุง ง. กบ : อึ่งอาง ตอบ ค. ลูกน้ํา : ยุง แนวคิด หนองเมื่อโตเต็มวัยจะเปนผีเสื้อ เชนเดียวกับ ลูกน้ํา เมื่อโตจะเปนยุง
  • 14. 14 แบบที่3 ความสัมพันธในดานหนาที่ที่สัมพันธกัน ตัวอยางที่ 1 โรงเรียน : ครู ?:? ก. ทหาร : ตํารวจ ข. หางสรรพสินคา : พนักงาน ค. วัด : พระ ง. นายกรัฐมนตรี : รัฐสภา ตอบ ค. วัด : พระ แนวคิด โรงเรียน มีครูเปนผูสอน ในวัด มีพระเปนผูเทศน ตัวอยางที่ 2 ครู : สอน ? : ? ก. ทหาร : ปน ข. พระ : เทศน ค. วิทยากร : ผูฟง ง. นักเขียน : นิยาย ตอบ ข. พระ : เทศน แนวคิด ครูทําหนาที่ในการสอน พระทําหนาที่เทศนาญาติโยม ตัวอยางที่ 3 ชาง : งวง ? : ? ก. ปลา : กระพุงแกม ข. แรด : นอ ค. จิงโจ : กระเปาหนาทอง ง. คน : แขน ตอบ ง. คน : แขน แนวคิด ชาง มี งวง ไวจับสิ่งของ คน มีแขน ไวจับสิ่งของ ?:? ตัวอยางที่ 4 ศาล : ความยุติธรรม ก. โรงเรียน : การศึกษา ข. โตะ : เกาอี้ ค. ทหาร : ปน ง. ทนาย : อัยการ ตอบ ก. โรงเรียน : การศึกษา แนวคิด ศาลพิจารณาคดีเพื่อใหเกิดความยุตธรรม ิ โรงเรียนใหความรู การศึกษา แกเด็กนักเรียน
  • 15. 15 เงื่อนไขสัญลักษณ เงื่อนไขสัญลักษณ เงื่อนไขสัญลักษณ ลักษณะของเงือนไขจะประกอบดวยสัญลักษณ ่ ตัวอักษรและเครื่องหมายทางคณิตศาสตร แลววิเคราะหสรุปเหตุผลจากเงื่อนไขที่ใหมา เครื่องหมายทางคณิตศาสตร = หมายถึง เทากับ หมายถึง ไมเทากับ ≠ > หมายถึง มากกวา < หมายถึง นอยกวา > หมายถึง ไมมากกวา < หมายถึง ไมนอยกวา ≥ หมายถึง มากกวาหรือเทากับ ≤ หมายถึง นอยกวาหรือเทากับ สรุปคุณสมบัติที่ควรทราบกอนการแกปญหาโจทย 1) กฎการสลับที่ A = B แลว B = A A > B แลว B < A 2) ถา A = B = C แลว A = C 3) ถา A > B = C แลว A > C 4) ถา A > B < C แลวสรุปไมได 5) ถา A > B แลว A + C > B + C 6) ถา A > B และ C > D แลว A + C > B + D 7) ถา A > B > C แลว A2 > B2 และ 1 1 > >C B A
  • 16. 16 ขั้นตอนการแกปญหา 1) เปลี่ยนเครื่องหมาย > เปน ≥ < เปน ≤ 2) หาตัวรวม ที่เหมือนกันของเงือนไขที่ใหมา ่ 3) หาความสัมพันธตามขอสรุปที่ใหมา คําชี้แจง ตอบขอ 1 ตอบขอ 2 ตอบขอ 3 ตอบขอ 4 ถาขอสรุปทั้งสองถูกตองหรือเปนจริงตามเงื่อนไข ถาขอสรุปทั้งสองผิดหรือไมเปนจริงตามเงื่อนไข ถาขอสรุปทั้งสองไมสามารถสรุปไดแนชัดวาเปนจริงหรือเปนเท็จ ถาขอสรุปทั้งสองแตกตางกัน ตัวอยางที่ 1 เงื่อนไขที่ 1 A> B< C > E เงื่อนไขที่ 2 F < K < S > B < P ขอสรุปที่ 1 A > S ขอสรุปที่ 2 K ≠ E แนวคิด 1) เปลี่ยนเครื่องหมาย A≤ B ≥ C > E F<K ≥ S>B ≥ P 2) ตัวรวมจาก และ คือ B จาก ขอสรุปที่ 1 A > S หาความสัมพันธ B ->A จาก A≤ B ≥ C > E ∴ A≤ B หาความสัมพันธ B ->S จาก F<K ≥ S>B ≥ P ∴S > B จาก A ≤ B และ S > B เขียนใหมเปน A ≤ B < S ∴A< S
  • 17. 17 การหาอัตราสวนและรอยละ อัตราสวนเปนการเปรียบเทียบจํานวนตั้งแต 2 จํานวนขึ้นไป เชน อายุของ A : B เทากับ 1 : 2 หมายความวา ถา A อายุ 1 ป B จะมีอายุ 2 ป หรือ A 1 = B 2 รอยละ ( เปอรเซ็นต ) หมายถึง อัตราสวนที่มีจํานวนที่สองเปน 100 หรือเปนการ เทียบจากสวนรอย เชน 20 % หมายความวา 20 ใน 100 1. 2. 3. 4. 5. *** สิ่งที่นาสนใจเกี่ยวกับรอยละ *** รอยละของสิ่งของที่แตกตางกันบวกลบกันไมได รอยละของสิ่งเดียวกันบวกลบกันได รอยละเกี่ยวกับดอกเบี้ยตองเทียบตนทุนเปน 100 บาท ในเวลา 1 ป เสมอ รอยละเกี่ยวกับกําไรขาดทุน เทียบจากตนทุนเปน 100 บาทเสมอ รอยละเกี่ยวกับการลดราคา ตองเทียบจากราคาปายเปน 100 บาทเสมอ 1. เลข 2 จํานวนรวมกันเปน 25 ถาจํานวนนอยเปน 40% ของ 25 จํานวนมากมีคาเทาไร 1) 10 2) 15 3) 20 4) 25 วิธีทํา จํานวนนอยเปน 40% ของ 25 คือ ∴ 40 × 25 = 10 100 จํานวนมาก + จํานวนนอย = 25 จํานวนมาก + 10 = 25 จํานวนมาก = 25 - 10 = 15 2. นาย ก. มีเงินเปนสองเทาของนาย ข. นาย ข.มีเงินเปน 200 บาท นาย ก. มีเงินเปนเทาไร 1) 150 2) 180 วิธีทํา นาย ค. มีเงิน 200 บาท 3) 200 3 4 ของนาย ค. ถานาย ค. มีเงิน 4) 300
  • 18. 18 การหาความเขมขนและอัตราสวนผสม ความเขมขนของสาร( X ) = ปริมาณของสาร( X ) ปริมาณทั้งหมดของสารผสม ความเขมขนเดิม ปริมาตรใหม = ความเขมขนใหม ปริมาตรเดิม ( แบบผกผัน ) 1. มีน้ําเกลือที่มีความเขมขน 10 % อยูจํานวน 50 ลิตร จะตองเติมน้ําลงไปอีกกี่ลิตร จึงจะทํา ใหน้ําเกลือมีความเขมขนลดลง เหลือเพียง 5 % 1) 25 2) 50 3) 75 4) 100 ความเขมขนเดิม ปริมาตรใหม = วิธีทํา จากสูตร ความเขมขนใหม ปริมาตรเดิม 10 5 = X = X 50 10 × 50 5 = 100 ปริมาตรใหม - ปริมาตรเดิม = น้ําที่เติมลงไป 100 50 = 50 ∴ จะตองเติมน้ําลงไปอีก 50 ลิตร 2. มีน้ําเกลือที่มีความเขมขน 10 % อยูจํานวน 40 ลิตร และเติมน้ําลงไปอีก 10 ลิตร จงหา ความเขมขนของน้ําเกลือใหมหลังจากที่เติมน้ําลงไปวามีความเขมขนกี่เปอรเซ็นต 1) 6 2) 8 3) 10 4) 12 ความเขมขนเดิม ปริมาตรใหม = วิธีทํา จากสูตร ความเขมขนใหม ปริมาตรเดิม 10 X = 50 40 พลิกทั้งคู X 10 = 40 50
  • 19. 19 ∴ 10 × 40 = X 5 ความเขมขนของน้ําเกลือใหมคือ 8 % = 8 3. สารละลายเกลือจํานวน 40 แกลลอน มีความเขมขนของเกลือ 5 % ถาตองการให สารละลายดังกลาว มีความเขมขนเพิ่มขึ้นเปน 20 % จะตองระเหยน้ําออกไปกี่แกลลอน 1) 20 2) 25 3) 30 4) 35 ความเขมขนเดิม ปริมาตรใหม = วิธีทํา จากสูตร ความเขมขนใหม ปริมาตรเดิม X = 5 20 5 × 40 20 X 40 = = 10 ปริมาตรเดิม - ปริมาตรใหม = น้ําทีระเหยไป ่ 40 10 = 30 ∴ น้ําที่ระเหยออกไป 30 ลิตร การทํางาน สูตร ( คน) ๅ ( งาน) ๅ = ( คน) 2 ( เวลา) ๅ ( งาน) 2 ( งาน) ๅ ( คน) ๅ × ( เวลา ) ๅ ( งาน ) ๅ หาเวลาเมื่อชวยกันทํางาน เวลาทั้งหมดที่ใช = = = ( เวลา) 2 ( งาน) 2 ( คน) 2 × ( เวลา ) 2 ( งาน) 2 ( เวลา) 1 × ( เวลา) 2 ( เวลา) 1 + ( เวลา) 2 จํานวนคนงานแปรผันตรงกับปริมาณงาน คือ คนงานเพิ่มปริมาณงานตองเพิ่มตามไปดวย จํานวนคนงานแปรผกผันกับเวลาที่ใชทางาน คือ จํานวนคนงานเพิ่มเวลาทีใชตองนอยลง ํ ่  เวลาที่ใชทํางานแปรผันตรงกับปริมาณงาน คือ เวลามากขึ้นปริมาณงานตองมากตามไปดวย
  • 20. 20 ตาราง กราฟ และแผนภูมิ เทคนิคการทําขอสอบแบบตาราง 1. ใหยุบตัวเลขใหเหลือเพียง 2 หรือ 3 หลัก 2. ถาโจทยถามมากกวาหรือนอยกวาใหนาเลขมาลบกันกอนแลวคอยคํานวณตัวเลข ํ 3. ถาโจทยใหหาชวงระหวางป และมีคําวาโดยเฉลี่ย ใหหารดวยจํานวนป 4. สูตรการคํานวณ ใหดูในเรื่องรอยละเปอรเซ็นต คําสั่ง ในขอสอบจะประกอบดวยขอมูลชุดหนึ่งในรูปขอตารางและในแตละขอจะมีคําถามกับตัวเลือก 1 – 4 มาใหใหศึกษาขอมูลทีกําหนดแลวนําความรูที่ไดจากขอมูลดังกลาวมาพิจารณาตอบคําถาม ่ ตารางที่ 1 พื้นที่เพาะปลูกชนิดตางๆ แยกตามภาคป 2552 หนวย : ไร ภาค ขาวโพด ยาสูบ ถั่วเขียว ขาวจาว เหนือ 28,862 38,438 32,882 99,990 กลาง 34,280 42,495 28,889 126,440 ใต 28,975 32,735 36,250 94,123 ตะวันออกเฉียงเหนือ 27,364 31,295 33,330 94,789 1. ภาคใตมีพื้นทีเพาะปลูกยาสูบคิดเปนกี่เปอรเซ็นตของพื้นที่เพาะปลูกขาวจาว ่ 1. 27 % 2. 35 % 3. 42 % 4. 63 % 2. ภาคใดมีพื้นที่การเพาะปลูกของพืชทุกชนิดรวมกันนอยที่สุด 1. ภาคเหนือ 2. ภาคกลาง 3. ภาคใต 4. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3. พื้นที่การเพาะปลูกขาวจาวมากกวาพื้นทีการเพาะปลูกถั่วเขียวอยูรอยละเทาใด ่ 1. รอยละ 97 2. รอยละ 117 3. รอยละ 217 4. รอยละ 317 4. พื้นที่การเพาะปลูกของภาคเหนือนอยกวาพื้นที่การเพาะปลูกของภาคกลางอยูรอยละเทาใด 1. รอยละ 13 2. รอยละ 17 3. รอยละ 24 4. รอยละ 32 5. พื้นที่การเพาะปลูกขาวจาวของภาคเหนือรวมภาคใตคิดเปนรอยละเทาใดของภาคกลาง 1. รอยละ 65 2. รอยละ 82 3. รอยละ 154 4. รอยละ 215
  • 21. 21 การเขียนภาษาใหถูกตอง ขอบกพรองของประโยค มีดังนี้ 1. ใชคําผิดความหมาย 2. ใชคําผิดหนาที่ 3. ใชสํานวนตางประเทศ 4. ใชภาษาฟุมเฟอย 5. ใชภาษากํากวม 6. เรียงลําดับคําไมถูกตอง 7. ประโยคไมจบเพราะขาดสวนสรุป 8. ใชคําเชื่อมผิด 1. ใชคําผิดความหมาย เมื่องบประมาณดําเนินการมีนอยเขาจึงตัดรอนคนงานที่ไมจําเปนออก ประโยคบกพรอง : เมื่องบประมาณดําเนินการมีนอยเขาจึงตัดคนงานที่ไมจําเปนออก ประโยคถูกตอง : : ตัดรอน = ตัดไมตรี เหตุผล บานหลังนี้พังโยเยเนื่องจากถูกพายุใหญพัดเมื่อสัปดาหที่แลว ประโยคบกพรอง : ประโยคถูกตอง : บานหลังนี้พังเนื่องจากถูกพายุใหญพัดเมื่อสัปดาหที่แลว : โยเย = โยกคลอน ใชกับคําวา “ พัง ” ไมได เหตุผล 2. ใชคําผิดหนาที่ ประโยคบกพรอง : ประโยคถูกตอง : เหตุผล : ประโยคบกพรอง : ประโยคถูกตอง : เหตุผล : ใชสํานวนตางประเทศ ประโยคบกพรอง : ประโยคถูกตอง : : เหตุผล ประโยคบกพรอง : ประโยคถูกตอง : : เหตุผล ประโยคบกพรอง : คนเราเลือกเกิดไมได แตเลือกอนาคตไดถามีมุมานะ คนเราเลือกเกิดไมได แตเลือกอนาคตไดถามีความมุมานะ “ มุมานะ ” เปนคํากิริยา คําที่ใชถูกตองคือคํานาม “ ความมุมานะ ” เปนคํานาม อีรักถูกโดดเดี่ยวจากโลกภายนอก องคการกาชาดจึงไดเรียกรองใหมี การชวยเหลือผูเดือดรอนในบริเวณดังกลาว อีรักถูกทอดทิ้งจากโลกภายนอก องคการกาชาดจึงไดเรียกรองใหมี การชวยเหลือผูเดือดรอนในบริเวณดังกลาว “โดดเดี่ยว” เปนคําวิเศษณ คําที่ใชถูกตองคือคํากิริยา “ ทอดทิ้ง ” เปน คํากิริยา มันเปนเวลาบายเมื่อขาพเจาเดินทางมาถึงจังหวัดเชียงใหม ขาพเจาเดินทางมาถึงจังหวัดเชียงใหมเวลาบาย ( ก็เปนเวลาบาย ) “ มันเปน... ” เปนสํานวนตางประเทศ เธอเดินเขามาในหองพรอมดวยรอยยิ้ม เธอเดินยิ้มมาในหอง “ พรอมดวยรอยยิ้ม... ” เปนสํานวนตางประเทศ สมรักษซอนรางอยูในเสื้อคลุมสีน้ําเงิน
  • 22. 22 ประโยคถูกตอง เหตุผล : : สมรักษสวมเสื้อคลุมสีน้ําเงิน “ ซอนราง... ” เปนสํานวนตางประเทศ 3. ใชภาษาฟุมเฟอย ประโยคบกพรอง ประโยคถูกตอง เหตุผล หนึ่ง ประโยคบกพรอง ประโยคถูกตอง เหตุผล คําหนึ่ง : : : ชาติไทยเปนชาติเกาแกมาแตดั้งเดิม ชาติไทยเปนชาติเกาแก “ เกาแก ” กับ “ ดั้งเดิม ” มีความหมายเหมือนกัน ควรเลือกคําใดคํา : : : ผูตั้งเคหสถานบานเรือนอยูในเมืองยอมไดรับอากาศที่ไมบริสุทธิ์ ผูตั้งบานเรือนอยูในเมืองยอมไดรับอากาศที่ไมบริสทธิ์ ุ “เคหสถาน” กับ “บานเรือน” มีความหมายเหมือนกัน ควรเลือกคําใด 4. ใชภาษากํากวม ประโยคบกพรอง ประโยคถูกตอง เหตุผล ประโยคบกพรอง ประโยคถูกตอง เหตุผล คน : : : : : : มีแตคนชมวาแมเลี้ยงฉันดี มีแตคนชมวาแมเลี้ยง+ฉันดี หรือมีแตคนชมวาแม+เลียงฉันดี ้ กํากวมตรงคําวา “ แมเลี้ยง ” ตีความหมายได 2 นัย ใหพนักงานเชือฟงนายจางทุกคน ่ ใหพนักงานทุกคนเชื่อฟงนายจาง กํากวมตรงคําวา “ ทุกคน ” ตีความหมายได 2 นัยคือ พนักงานทุก นายจางทุกคน 5. เรียงลําดับคําไมถูกตอง ประโยคบกพรอง ประโยคถูกตอง ประโยคบกพรอง ประโยคถูกตอง ประโยคบกพรอง ประโยคถูกตอง ประโยคบกพรอง ประโยคถูกตอง ประโยคบกพรอง : : : : : : : : : ฝนตกหนักจนทางขางหนามองไมเห็น ฝนตกหนักจนมองไมเห็นทางขางหนา เขาไมทราบสิงถูกตองวาเปนอยางไร ่ เขาไมทราบวาสิ่งถูกตองเปนอยางไร เวียตกงบุกหมูบานโจมตีใกลกรุงพนมเปญ เวียตกงบุกโจมตีหมูบานใกลกรุงพนมเปญ ความปรารถนาสูงสุดของดิฉันคือสอบเขารับราชการใหไดในขณะนี้ ความปรารถนาสูงสุดของดิฉันในขณะนีคือสอบเขารับราชการใหได ้ อยางจริงใจผมนับถือคุณตังแตพบกันครังแรก ้ ้
  • 23. 23 โปรแกรมประยุกตใชงานประเภทตางๆ โปรแกรมตารางทําการ (Spreadsheets) เปนซอฟตแวรที่มีไวใหผูใชสรางตารางและจัดระบบการเงิน โดยการใสขอมูลลงในแถว (Row) และสดมภ (Column) จัดเรียงเปนตะแกรงบนจอภาพของคอมพิวเตอร ตัวอยางของ โปรแกรมตารางทําการที่สําคัญ ไดแก VisiCalc, Multiplan, Lotus 1–2–3, Microsoft Excel, Quattro Pro เปนตน ประโยชนของโปรแกรมตารางทําการ คือ 1. เตรียมการและจัดการวิเคราะหงบประมาณทางการเงินเพื่อเสนอผูบริหาร 2. ทําการพยากรณยอดขายโดยดูจากแนวโนมในอดีต และสรางคาพยากรณ ในอนาคตไดดวย 3. ควบคุมระบบสินคาคงคลัง 4. กําหนดราคาสินคาโดยใชขอมูลตนทุนของสินคาเปนตัวกําหนด 5. วิเคราะห Product Performance โดยอาศัยปจจัยจากตนทุนของการผลิต ยอดขายและความพอใจของลูกคา 6. มีการวิเคราะหขอมูลและแสดงผลเปนกราฟเพื่อชวยในการตัดสินใจ 7. ใชในการวิเคราะหหาหนทางของการลงทุนและวิเคราะหคาใชจาย ความสามารถที่เปนจุดเดนของโปรแกรมตารางทําการ คือ การคํานวณไดเอง โดยอัตโนมัติ (Automatic Recalculating) นอกจากนี้ยังสามารถใชในการสรางแบบจําลองเพื่อ ใชในการตัดสินใจภายใตคําถามประเภท “What If” คําถามประเภทนี้หมายความวา จะเกิดอะไร ขึ้นถาหากวาปจจัยบางอยางเปลี่ยนไป เชน จะเกิดอะไรขึ้นถาหากวาตนทุนวัตถุดิบในการผลิตขึ้น ราคาไปอีก 10% เปนตน ตําแหนงที่บันทึกขอมูล เซลลแตละเซลลที่ปรากฏในตาราทําการนั้น จะบงบอกถึง ตําแหนงของแถวละสดมภ ซึ่งเซลลที่ A1 นั้น ปกติจะเรียกวา Home Address โดยสดมภสุดทาย ของ Lotus 1–2–3 ก็คือ IV Control Panel หรือ Status Line จะประกอบดวยขอสนเทศของการใชงานในระบบ กระดาษทําการ โดยที่ Control Panel จะเปลี่ยนแปลงสารสนเทศของการใชงานไปตามการเลือก ของผูใชงาน ตัวอยางของ Control Panel ไดแก Cell Pointer, Menu Line และ Mode Indicator กราฟก เปนความสามารถดานหนึ่งของโปรแกรมตารางทําการ โดยโปรแกรมจะ สรางรูปกราฟแบบตาง ๆ เพื่อใชในการตัดสินเพื่อวางแผน หรือเลือกยุทธวิธีดําเนินงาน แผนภูมิที่ เลือกสรางจะประกอบดวยกราฟตาง ๆ ที่ใชงานตามความเหมาะสม ดังนี้
  • 24. 24 สรุปสาระสําคัญของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 บททั่วไป ประเทศไทยเปนราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียว จะแบงแยกมิได ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลยอมไดรับความ คุมครอง ประชาชนชาวไทยไมวาเหลากําเนิด เพศ หรือศาสนาใด ยอมอยูในความคุมครองแหง รัฐธรรมนูญนี้เสมอกัน รัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมายกฎหรือ ขอบังคับ ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเปนอันใชบังคับมิได พระมหากษัตริย องคพระมหากษัตริยทรงดํารงอยูในฐานะอันเปนที่เคารพสักการะ ผูใดจะละเมิดมิได ผูใดจะกลาวหาหรือฟองรองพระมหากษัตริยในทางใด ๆ มิได พระมหากษัตริยทรงเปนพุทธมามกะ และทรงเปนอัครศาสนูปถัมภก พระมหากษัตริยทรงดํารงตําแหนงจอมทัพไทย พระมหากษัตริยทรงเลือกและทรงแตงตั้งผูทรงคุณวุฒิเปนประธานองคมนตรีคน หนึ่งและองคมนตรีอื่นอีกไมเกินสิบแปดคนประกอบเปนคณะองคมนตรีคณะองคมนตรี มี หน า ที่ ถ วายความเห็ น ต อ พระมหากษั ต ริ ย ใ นพระราชกรณี ย กิ จ ทั้ ง ปวงที่ พ ระมหากษั ต ริ ย ท รง ปรึกษา และมีหนาที่อื่นตามที่บัญญัติในรัฐธรรมนูญนี้ สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย บุคคลยอมอางศักดิ์ศรีความเปนมนุษยหรือใชสิทธิและเสรีภาพของตนไดเทาที่ไม ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอื่น ไมเปนปฏิปกษตอรัฐธรรมนูญ หรือไมขัดตอศีลธรรมอันดี ของประชาชน บุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญนี้รับรองไว สามารถยกบทบัญญัติ แหงรัฐธรรมนูญนี้เพื่อใชสิทธิทางศาลหรือยกขึ้นเปนขอตอสูคดีในศาลได ความเสมอภาค บุคคลยอมเสมอกันในกฎหมายและไดรับความคุมครองตามกฎหมายเทาเทียมกัน
  • 25. 25 ชายและหญิงมีสิทธิเทาเทียมกัน การเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตอบุคคลเพราะเหตุแหงความแตกตางในเรื่องถิ่น กําเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะ ทาง เศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมืองอัน ไมขัดตอบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ จะกระทํามิได สิทธิและเสรีภาพสวนบุคคล บุคคลยอมมีสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและรางกาย การทรมาน ทารุณกรรม หรือการลงโทษดวยวิธีการโหดรายหรือไรมนุษยธรรม จะ กระทํามิได แตการลงโทษตามคําพิพากษาของศาลหรือตามที่กฎหมายบัญญัติไมถือวาเปนการ ลงโทษดวยวิธีการโหดรายหรือไรมนุษยธรรม บุคคลยอมมีเสรีภาพในเคหสถาน การเขาไปในเคหสถานโดยปราศจากความยินยอมของผูครอบครอง หรือการตรวจคน เคหสถานหรือในที่รโหฐาน จะกระทํามิได เวนแตมีคําสั่งหรือหมายของศาลหรือมีเหตุอยางอื่น ตามที่กฎหมายบัญญัติ สิทธิพิทักษรัฐธรรมนูญ บุ ค คลจะใช สิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพตามรั ฐ ธรรมนู ญ เพื่ อ ล ม ล า งการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขตามรัฐธรรมนูญนี้ หรือเพื่อใหไดมาซึ่งอํานาจใน การปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิไดเปนไปตามวิถีทางที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญนี้ มิได หนาที่ของชนชาวไทย บุคคลมีหนาที่พิทักษรักษาไวซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขตามรัฐธรรมนูญนี้ บุคคลมีหนาที่ปองกันประเทศ รักษาผลประโยชนของชาติ และปฏิบัติตามกฎหมาย บุคคลมีหนาที่ไปใชสิทธิเลือกตั้ง แนวนโยบายดานการบริหารราชการแผนดิน รัฐตองดําเนินการตามแนวนโยบายดานการบริหารราชการแผนดิน ดังตอไปนี้