SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  23
Télécharger pour lire hors ligne
1
2

ขอบเขตเนื้อหา
ความรูทั่วไปเกี่ยวกับ กรมโรงงานอุตสาหกรรม
ความรูทั่วไปเกี่ยวกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม
4
สัญลักษณ
5
วิสัยทัศน
5
พันธกิจ
5
คานิยม
6
กฎหมายที่เกี่ยวของกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม
พรบ.โรงงาน
6
พรบ.จดทะเบียนเครื่องจักร
28
พรบ. วัตถุอันตราย
37
แนวขอสอบ พรบ.จดทะเบียนเครื่องจักร
64
แนวขอสอบ พรบ.โรงงาน
68
แนวขอสอบ วัตถุอันตราย
75
ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการงานทั่วไป
การบริหารจัดการภายในองคกร การประสานงาน การวางแผนงาน
81
องคประกอบขององคกรและการบริหาร
84
ประเภทองคการ
84
หลักการทั่วไปของการบริหาร
88
อํานาจหนาที่และความรับผิดชอบ
97
การมอบหมายอํานาจหนาที่
100
การจัดแผนกงาน
103
โครงสรางและแผนภูมิขององคการ
108
แผนภูมิขององคการ
111
ระบบการบริหารองคการ
112
การควบคุมองคการ
114
การวางแผนงาน
115
การบริหารงบประมาณ
122
การาบริหารคงคลัง
141
พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน
160
แนวขอสอบ พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน
206
ความรูเกี่ยวกับระเบียบงานสารบรรณ
226
แนวขอสอบ ความรูเกี่ยวกับระเบียบงานสารบรรณ
241
ระเบียบสํานักนายกฯ วาดวยการพัสดุ 2535 และที่แกไขเพิ่มเติม
262
แนวขอสอบ ระเบียบสํานักนายกฯ วาดวยการพัสดุ 2535 และที่แกไขเพิ่มเติม 335
3

ความรูทั่วไปเกียวกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม

่
อุตสาหกรรมยุคแรก
ประเทศไทยเริ่มมีการประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมมาแตสมัยโบราณ
แตการ
อุตสาหกรรมในขณะนั้นเปนประเภทสินคาหัตถกรรมและอุตสาหกรรมในครัว เรือน เชน การ
ทอผา การตีเหล็ก การจักสาน การแกะสลักไม การทําทองรูปพรรณ และการประกอบกิจการ
อุตสาหกรรมที่ใชแรงงาน เชน โรงงานสุรา โรงงานน้ําตาลทรายแดง
ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุล จอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 แหงราชวงศ
จักรี ไดมีโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญเกิดขึ้นโดยมีชาวตางประเทศเขามาสรางโรงงาน
เชน โรงกษาปณ โรงสีขาว โรงเลื่อย และหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ไดมีการพัฒนาดานการ
อุตสาหกรรม โดยเอกชนไดเริ่มลงทุนกอสรางโรงงานอุตสาหกรรมขึ้นอีกหลายประเภท เชน
โรงงานบุหรี่ โรงงานทํากระดาษ โรงงานทําน้ําอัดลม โรงงานทําสบู แตเนื่องจากสภาวะ
เศรษฐกิจตกต่ําลงทั่วโลกในป พ.ศ. 2470 สงผลกระทบตอเศรษฐกิจของไทยดวย ทําใหไมมี
การขยายตัวทางอุตสาหกรรมในประเทศในชวงเวลาดังกลาว
การกอตั้งกรมโรงงานอุตสาหกรรม
(1) พ.ศ. 2475 หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง รัฐบาลไดยึดแนวการบริหาร
ประเทศ โดยคํานึงถึงความสมบูรณของราษฎรทางดานเศรษฐกิจจึงไดจัดทําแผนการ
ดําเนินการ ทางเศรษฐกิจในสวนที่เกียวของกับการอุตสาหกรรม กิจการบางอยางที่เปน
่
สาธารณูปโภค รัฐจะเขาควบคุมดูแลตลอดจนการรวมงานกับบริษัทเอกชนดําเนินการในรูป
ของบริษัท สาธารณะ สวนที่ไมเปนสาธารณูปโภคจะใหประชาชนดําเนินการธุรกิจ
อุตสาหกรรมได
(2) พ.ศ. 2485 เพื่อเปนการเสริมสรางและพัฒนาอุตสาหกรรม รัฐบาลในสมัยนั้นจึง
มีนโยบายที่จะจัดสรางและดําเนินการอุตสาหกรรมและการ พาณิชยกรรมภายในประเทศให
เปนปกแผน โดยแกไขพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม โดยยุบกระทรวงการ
เศรษฐกิจและจัดตั้งกระทรวงใหมขึ้น 2 กระทรวงคือ
- กระทรวงพาณิชย
- กระทรวงอุตสาหกรรม
(3) 5 พฤษภาคม 2485 กรมโรงงานอุตสาหกรรม ไดรับการสถาปนาเปนหนวยงาน
ในสังกัดกระทรวงการอุตสาหกรรม โดยมีหนาที่ดูแลโรงงานตางๆที่เปนของรัฐ ควบคุมดูแล
4

การดําเนินงานของโรงงานเหลานั้นใหมีประสิทธิภาพ ปรับปรุงมาตรฐานแหงคุณภาพและ
ปริมาณ ตลอดจนรักษาระดับราคาของผลิตภัณฑที่โรงงานตางๆผลิตจําหนายแกประชาชน
พรอมทั้งสนับสนุนสงเสริมอุตสาหกรรมที่เห็นวามีความจําเปนแกประเทศชาติใน ยาม
สงคราม
สัญลักษณ

ความเปนไทย หนาจั่ว ลายไทย ลายกนก โรงงานอุตสาหกรรมตางๆ ตราสัญลักษณ แสดง
ถึงความเรียบงาย แสดงความเปนไทยสมัยใหม ลักษณะคลายเปลวไฟเพลิงในโรงงาน
อุตสาหกรรมอันหมายถึงความรุงเรือง ความเจริญ การงาน ฯลฯ
ดานนอกเปนรูปเฟอง หมายถึง อุตสาหกรรม
ภายในเปนรูปวงกลมเปนรูปพระนารายณ หมายถึง การปกปองดูแลความปลอดภัยใน
โรงงานอุตสาหกรรมตางๆ และยังหมายถึงการสรางเสริมและพัฒนาทางดานอุตสาหกรรมของ
ประเทศใหกาวหนา สามารถแขงขันกับตางประเทศได
สีธงชาติ หมายถึง อุตสาหกรรมไทย ที่มีความมั่งคง ความกาวหนา การสงเสริม
อุตสาหกรรมไทยใหเจริญยิ่งๆขึ้น
วิสัยทัศน
องคกรชั้นนําดานการบริหารจัดการสิ่งแวดลอมและความปลอดภัย ภาคอุตสาหกรรม
พันธกิจ
1. บริหารจัดการ การกํากับดูแลธุรกิจอุตสาหกรรมรวมถึงวัตถุอนตราย ดานการผลิต
ั
สิ่งแวดลอม ความปลอดภัย เพื่อใหเปนไปตามกฎหมายและดําเนินการใหเปนไปตาม
ขอตกลง กฎ ระเบียบระหวางประเทศ
2. สงเสริม สนับสนุนขอมูลและองคความรูดานเครื่องจักร การผลิต สิ่งแวดลอม ความ

ปลอดภัย วัตถุอันตราย พลังงาน และความรับผิดชอบตอสังคม เพื่อประโยชนในการพัฒนา
5

พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ใหไว ณ วันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2535
เปนปที่ 47 ในรัชกาลปจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรด
เกลาฯ ใหประกาศวา
โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยโรงงาน
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและ
ยินยอมของสภานิติบัญญัติแหงชาติ ทําหนาที่รัฐสภา ดังตอไปนี้
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535”
มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
มาตรา 3 ใหยกเลิก
(1) พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2512
(2) พระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2518
(3) พระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2522
มาตรา 4 พระราชบั ญ ญั ติ นี้ มิ ใ ห ใ ช บั ง คั บ แก โ รงงานของทางราชการที่
ดําเนินการ โดยทางราชการ เพื่อประโยชนแหงความมั่นคงและความปลอดภัยของประเทศ
แตในการประกอบกิจการโรงงานดังกลาวใหนําหลักเกณฑและวิธีการเกี่ยว กับการประกอบ
กิจการโรงงานตามพระราชบัญญัตินี้ไปเปนแนวทางในการดําเนินงาน
มาตรา 5 ในพระราชบัญญัตินี้
“โรงงาน” หมายความวา อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะที่ใชเครื่องจักรมี
กําลังรวมตั้งแตหาแรงมาหรือกําลังเทียบเทาตั้งแตหาแรงมาขึ้นไป หรือใชคนงานตั้งแตเจ็ด
คนขึ้นไปโดยใชเครื่องจักรหรือไมก็ตาม สําหรับทํา ผลิต ประกอบ บรรจุ ซอม ซอมบํารุง
ทดสอบ ปรับปรุง แปรสภาพ ลําเลียง เก็บรักษา หรือทําลายสิ่งใด ๆ ทั้งนี้ ตามประเภทหรือ
ชนิดของโรงงานที่กําหนดในกฎกระทรวง
“ตั้งโรงงาน” หมายความวา การกอสรางอาคารเพื่อติดตั้งเครื่องจักรสําหรับ
ประกอบกิจการโรงงาน หรือนําเครื่องจักรสําหรับประกอบกิจการโรงงานมาติดตั้งในอาคาร
สถานที่หรือยานพาหนะที่จะประกอบกิจการ
6

“ประกอบกิจการโรงงาน” หมายความวา การทํา ผลิต ประกอบ บรรจุ ซอม
ซอมบํารุง ทดสอบ ปรับปรุง แปรสภาพ ลําเลียง เก็บรักษา หรือทําลายสิ่งใด ๆ ตามลักษณะ
กิจการของโรงงานแตไมรวมถึงการทดลองเดินเครื่องจักร
“เครื่องจักร” หมายความวา สิ่งที่ประกอบดวยชิ้นสวนหลายชิ้นสําหรับใช
กอกําเนิดพลังงาน เปลี่ยนหรือแปลงสภาพพลังงาน หรือสงพลังงาน ทั้งนี้ ดวยกําลังน้ํา ไอ
น้ํ า ลม ก า ซ ไฟฟ า หรื อ พลั ง งานอื่ น อย า งใดอย า งหนึ่ ง หรื อ หลายอย า งรวมกั น และ
หมายความรวมถึงเครื่องอุปกรณ ไฟลวีล ปุลเล สายพาน เพลา เกียร หรือสิ่งอื่นที่ทํางาน
สนองกัน
“คนงาน” หมายความวา ผูซึ่งทํางานในโรงงาน ทั้งนี้ ไมรวมถึงผูซึ่งทํางาน
ฝายธุรการ
“ผูอนุญาต” หมายความวา ปลัดกระทรวงหรือผูซึ่งปลัดกระทรวงมอบหมาย
ตามความเหมาะสม
“ใบอนุญาต” หมายความวา ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน
“พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติการตาม
พระราชบัญญัตินี้
“ปลัดกระทรวง” หมายความวา ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม
“รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 6 ให รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงอุ ต สาหกรรมรั ก ษาการตาม
พระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจแตงตั้งพนักงานเจาหนาที่กับออกกฎกระทรวงกําหนด
คาธรรมเนียมไมเกินอัตราคาธรรมเนียมทายพระราชบัญญัตินี้ ยกเวนคาธรรมเนียม และ
กําหนดกิจการอื่นเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
กฎกระทรวงและประกาศของรัฐมนตรีที่ออกตามความในพระราชบัญญัตนเมือ
ิ ี้ ่
ไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได
หมวด 1
การประกอบกิจการโรงงาน
มาตรา 7 ให รั ฐ มนตรี มี อํ า นาจออกกฎกระทรวงกํ า หนดให โ รงงานตาม
ประเภทชนิดหรือขนาดใดเปนโรงงานจําพวกที่ 1 โรงงานจําพวกที่ 2 หรือโรงงานจําพวกที่ 3
แลวแตกรณี โดยคํานึงถึงความจําเปนในการควบคุมดูแล การปองกันเหตุเดือดรอนรําคาญ
7

แนวขอสอบพระราชบัญญัติจดทะเบียนเครื่องจักร พ.ศ. 2514
แกไขเพิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2530
่
3. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับ “จดทะเบียนเครื่องจักร”
ก. การจดทะเบียนกรรมสิทธิ์เครื่องจักร
ข. การจดทะเบียนนิติกรรมอื่นเกี่ยวกับเครื่องจักรในภายหลัง
ค. ถูกทั้ง ขอ ก. และ ขอ ข.
ง. ไมมีขอใดกลาวถูกตอง
ตอบ ค. ถูกทั้ง ขอ ก. และ ขอ ข.
“จดทะเบียนเครื่องจักร” หมายความวา การจดทะเบียนกรรมสิทธิ์เครื่องจักรและ
หรือการจดทะเบียนนิติกรรมอื่นเกี่ยวกับเครื่องจักรในภายหลัง
4. กอนมีคําสั่งเพิกถอนหนังสือสําคัญแสดงการจดทะเบียนเครื่องจักรใหนายทะเบียนแจง
เปนหนังสือใหเจาของเครื่องจักรและหรือผูมีสวนไดเสียทราบเพื่อใหโอกาสคัดคาน ถาไมมี
การคัดคานจากบุคคลดังกลาวภายในกี่วันนับแตวันที่ไดรับหนังสือ
ก. 7 วัน
ข. 15 วัน
ค. 30 วัน
ง. 60 วัน
ตอบ ง. 60 วัน
กอนมีคําสั่งเพิกถอนหนังสือสําคัญแสดงการจดทะเบียนเครื่องจักรใหนายทะเบียน
แจง เปนหนังสือใหเจาของเครื่องจักรและหรือผูมีสวนไดเสียทราบเพื่อใหโอกาส คัดคาน ถา
ไมมีการคัดคานจากบุคคลดังกลาวภายในหกสิบวันนับแตวันที่ไดรับหนังสือ แจงจากนาย
ทะเบียน ใหถือวาไมมีการคัดคาน
5. กรณีมีการคัดคานการจดทะเบียนนั้น นายทะเบียนจะตองพิจารณาใหแลวเสร็จภายในกี่
วันนับแตวันไดรับคําคัดคาน
ก. 7 วัน
ข. 15 วัน
ง. 45 วัน
ค. 30 วัน
ตอบ ข. 15 วัน
8

ในกรณีที่มี ก ารคัดค านภายในกําหนดเวลา ใหนายทะเบี ยนพิจารณาให แล ว เสร็ จ
ภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดรับคําคัดคาน ถานายทะเบียนไมเห็นดวยกับการคัดคานให
นายทะเบี ยนสั่ งเพิกถอนหนัง สื อ สําคัญแสดงการจดทะเบี ยนเครื่ อ งจัก รนั้ นและแจ งเปน
หนังสือใหผูคัดคานทราบ
6. ในกรณีที่ผูคัดคานไมเห็นดวยกับการสั่งเพิกถอนหนังสือสําคัญแสดงการจดทะเบียน ผู
คัดคานมีสิทธิอุทธรณตอรัฐมนตรีภายในกี่วันนับแตวันที่ไดรับหนังสือจากนายทะเบียน
ก. 15 วัน
ข. 30 วัน
ค. 45 วัน
ง. 60 วัน
ตอบ ง. 60 วัน
ในกรณีที่ผูคัดคานไมเห็นดวยกับการสั่งเพิกถอนหนังสือสําคัญแสดงการจดทะเบียน
ตามวรรคสาม ผูคัดคานมีสิทธิอุทธรณตอรัฐมนตรีภายในหกสิบวันนับแตวันที่ไดรับหนังสือ
จากนายทะเบียน การยื่นอุทธรณใหเปนไปตามระเบียบที่รัฐมนตรีกําหนด
7. หลังจากที่รัฐมนตรีไดรับหนังสืออุทธรณการเพิกถอนการจดทะเบียนนั้น จะตองพิจารณา
ใหแลวเสร็จในกี่วัน
ก. 15 วัน
ข. 30 วัน
ค. 45 วัน
ง. 60 วัน
ตอบ ข. 30 วัน
ในกรณีที่มีการอุทธรณตอรัฐมนตรี ใหรัฐมนตรีพิจารณาอุทธรณใหแลวเสร็จภายใน
สามสิบวันนับแตวันที่ไดรับอุทธรณ เวนแตมีเหตุจําเปนใหขยายระยะเวลาพิจารณาอุทธรณ
ไดอีกสามสิบวัน หากรัฐมนตรีไมมีคําวินิจฉัยภายในกําหนดเวลาดังกลาวใหถือวาอุทธรณฟง
ขึ้น
8. ในกรณี ที่ เครื่อ งจั ก รถู ก ทํ าลาย หรื อ ชํ ารุ ด จนไม ส ามารถใช เ ครื่ อ งจั ก รนั้น ต อ ไปได ให
เจาของเครื่องจักรแจงเปนหนังสือตอนายทะเบียนภายในกี่วัน
ก. เจ็ดวัน
ข. สิบหาวัน
ค. สามสิบวัน
ง. สี่สิบหาวัน
ตอบ ข. สิบหาวัน
9

แนวขอสอบพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
3. พรบ.โรงงาน ใชบังคับแกโรงงานของทางราชการเพื่อประโยชนขอใด
ก. ความมั่นคง
ข. ความปลอดภัยของประเทศ
ค. ถูกทั้ง ขอ ก. และ ขอ ข.
ง. ไมมีขอใดกลาวถูกตอง
ตอบ ค. ถูกทั้ง ขอ ก. และ ขอ ข.
พระราชบั ญ ญั ติ นี้ มิ ใ ห ใ ช บั ง คั บ แก โ รงงานของทางราชการที่ ดํ า เนิ น การ โดยทาง
ราชการ เพื่อประโยชนแหงความมั่นคงและความปลอดภัยของประเทศ แตในการประกอบ
กิจการโรงงานดังกลาวใหนําหลักเกณฑและวิธีการเกี่ยว กับการประกอบกิจการโรงงานตาม
พระราชบัญญัตินี้ไปเปนแนวทางในการดําเนินงาน
4.ขอใดมีความหมายถึง “โรงงาน” ตามพระราชบัญญัตินี้
ก. ยานพาหนะที่ใชเครื่องจักรมีกําลังรวมตั้งแตหาแรงมาขึ้นไป
ข. สถานที่ที่ใชคนงานตั้งแตเจ็ดคนขึ้นไป
ค. ถูกทั้ง ขอ ก. และ ขอ ข.
ง. ไมมีขอใดกลาวถูกตอง
ตอบ ง. ไมมีขอใดกลาวถูกตอง
“โรงงาน” หมายความวา อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะที่ใชเครื่องจักรมีกําลังรวม
ตั้งแตหาแรงมาหรือกําลังเทียบเทาตั้งแตหาแรงมาขึ้นไป หรือใชคนงานตั้งแตเจ็ดคนขึ้นไป
โดยใชเครื่องจักรหรือไมก็ตาม สําหรับทํา ผลิต ประกอบ บรรจุ ซอม ซอมบํารุง ทดสอบ
ปรับปรุง แปรสภาพ ลําเลียง เก็บรักษา หรือทําลายสิ่งใด ๆ ทั้งนี้ ตามประเภทหรือชนิดของ
โรงงานที่กําหนดในกฎกระทรวง
5. ผูรักษาการตาม พรบ.โรงงานคือผูใด
ก. รัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
ข. รัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชย
ค. รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม
ง. นายกรัฐมนตรี
ตอบ ค. รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม
10

รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจ
แต ง ตั้ ง พนั ก งานเจ า หน า ที่ กั บ ออกกฎกระทรวงกํ า หนดค า ธรรมเนี ย มไม เ กิ น อั ต รา
ค า ธรรมเนี ย มท า ยพระราชบั ญ ญั ติ นี้ ยกเว น ค า ธรรมเนี ย ม และกํ า หนดกิ จ การอื่ น เพื่ อ
ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
6. การประกอบกิจการโรงงาน ที่ตองไดรับใบอนุญาตกอนจึงจะดําเนินการได เปนโรงงาน
จําพวกใด
ก. โรงงานจําพวกที่ 1
ข. โรงงานจําพวกที่ 2
ค. โรงงานจําพวกที่ 3
ง. โรงงานจําพวกที่ 4
ตอบ ค. โรงงานจําพวกที่ 3
รัฐมนตรีมีอํานาจออกกฎกระทรวงกําหนดใหโรงงานตามประเภทชนิดหรือขนาดใด
เปนโรงงานจําพวกที่ 1 โรงงานจําพวกที่ 2 หรือโรงงานจําพวกที่ 3 แลวแตกรณี โดยคํานึงถึง
ความจําเปนในการควบคุมดูแล การปองกันเหตุเดือดรอนรําคาญ การปองกันความเสียหาย
และการป อ งกั น อั น ตรายตามระดั บ ความรุ น แรงของผลกระทบที่ จ ะมี ต อ ประชาชนหรื อ
สิ่งแวดลอม โดยแบงออกเปนดังนี้
(1) โรงงานจํ า พวกที่ 1 ได แ ก โ รงงานประเภท ชนิ ด และขนาดที่ ส ามารถ
ประกอบกิจการโรงงานไดทันทีตามความประสงคของผูประกอบกิจการโรงงาน
(2) โรงงานจํ า พวกที่ 2 ได แ ก โ รงงานประเภท ชนิ ด และขนาดที่ เ มื่ อ จะ
ประกอบกิจการโรงงานตองแจงใหผูอนุญาตทราบกอน
(3) โรงงานจําพวกที่ 3 ไดแกโรงงานประเภท ชนิด และขนาดที่การตั้งโรงงาน
จะตองไดรับใบอนุญาตกอนจึงจะดําเนินการได
7. การขอตออายุใบอนุญาตโรงงาน ตองกระทําภายในกี่วันนับแตวันหมดอายุ
ก. 15 วัน
ข. 30 วัน
ค. 45 วัน
ง. 60 วัน
ตอบ ง. 60 วัน
8.หากมีคําสั่งไมออกใบอนุญาตหรือตออายุใบอนุญาต ผูขอตออายุใบอนุญาตมีสิทธิอุทธรณ
ตอรัฐมนตรีไดภายในกี่วันนับแตวันที่ไดทราบคําสั่ง
ก. 7 วัน
ข. 15 วัน
11

แนวขอสอบพระราชบัญญัติวตถุอันตราย พ.ศ. 2535 แกไข
ั
เพิ่มเติมพระราชบัญญัติวตถุอันตราย (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2551
ั
4. “อนุสัญญาหามอาวุธเคมี” มีขึ้นเมื่อใด
ก. วันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2536
ข. วันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2536
ค. วันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2536
ง. วันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2536
ตอบ ก. วันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2536
“อนุสัญญาหามอาวุธเคมี” หมายความวา อนุสัญญาวาดวยการหามพัฒนา ผลิต
สะสม และใชอาวุธเคมี และวาดวยการทําลายอาวุธเหลานี้ ซึ่งทําขึ้นเมื่อวันที่ 13 มกราคม
พ.ศ. 2536
5. ผูควบคุม สงเสริมและติดตามดูแลการดําเนินงานของเลขานุการ และผูชวยเลขานุการของ
คณะกรรมการวัตถุอันตรายในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย คือใคร
ก. รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม
ข. รัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ
ค. รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ
รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงคมนาคม รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ
สิ่ ง แวดล อ ม รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงพลั ง งาน รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงมหาดไทย
รัฐมนตรีวาการกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข
และรัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม ควบคุม สงเสริมและติดตามดูแลการดําเนินงาน
ของเลขานุการ และผูชวยเลขานุการของคณะกรรมการวัตถุอันตรายในการปฏิบัติการตาม
พระราชบัญญัตินี้
12

6. คณะกรรมการวัตถุอันตราย มีผูใดเปนประธานกรรมการ
ก. ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม
ข. อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ
ค. อธิบดีสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม
ง. อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม
ตอบ ก. ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม
ใหมีคณะกรรมการวัตถุอันตรายคณะหนึ่ง ประกอบดวย ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม
เป น ประธานกรรมการ ผู บัญ ชาการตํ า รวจแห ง ชาติ อธิ บ ดี ก รมการขนสง ทางบก อธิ บ ดี
กรมการคาภายใน อธิบดีกรมการแพทย อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ อธิบดีกรมธุรกิจพลังงาน
อ ธิ บ ดี ก ร ม ป ร ะ ม ง อ ธิ บ ดี ก ร ม ป ศุ สั ต ว อ ธิ บ ดี ก ร ม วิ ช า ก า ร เ ก ษ ต ร อ ธิ บ ดี
กรมวิทยาศาสตรการแพทย อธิบดีกรมสงเสริมการเกษตร เลขาธิการคณะกรรมการอาหาร
และยา เลขาธิ ก ารสํ า นั ก งานปรมาณู เ พื่ อ สั น ติ เลขาธิ ก ารสํ า นั ก งานมาตรฐาน
ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ผูแทนกระทรวงกลาโหม ผูแทนกระทรวงคมนาคม ผูแทนสํานักงาน
มาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ และผูทรงคุณวุฒิซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งไมเกิน
สิบคนเปนกรรมการ และอธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรมเปนกรรมการและเลขานุการ และ
ผูแทนกรมธุรกิจพลังงาน ผูแทนกรมโรงงานอุตสาหกรรม ผูแทนกรมวิชาการเกษตร ผูแทน
สํ า นั ก งานคณะกรรมการอาหารและยา และผู แ ทนสํ า นั ก งานปรมาณู เ พื่ อ สั น ติ เ ป น
ผูชวยเลขานุการ
7.คณะกรรมการวัตถุอันตราย อยูในตําแหนงคราวละกี่ป
ก. หนึ่งป
ข. สองป
ค. สามป
ง. สี่ป
ตอบ ค. สามป
กรรมการผูทรงคุณวุฒิมีวาระอยูในตําแหนงคราวละสามป กรรมการผูทรงคุณวุฒิซึ่ง
พนจากตําแหนงอาจไดรับแตงตั้งอีกได แตจะดํารงตําแหนงเกินสองวาระติดตอกันไมได
8. วัตถุอันตรายที่หามมิใหมีการผลิต การนําเขา การสงออก หรือการมีไวในครอบครอง คือ
วัตถุอันตรายชนิดใด
ก. วัตถุอันตรายชนิดที่ 1
ข. วัตถุอันตรายชนิดที่ 2
ง. วัตถุอันตรายชนิดที่ 4
ค. วัตถุอันตรายชนิดที่ 3
ตอบ ง. วัตถุอันตรายชนิดที่ 4
13

การบริหารจัดการภายในองคกร
องคการ (Organization) มีความสัมพันธเกี่ยวของกับการบริหาร (Administration)
อยางลึกซึ้ง นักวิชาการสมัยกอนมักศึกษาการบริหารในลักษณะของกระบวนการ
(Process) และจัดองคการใหอยูในสวนหนึ่งหรือขั้นตอนหนึ่งของกระบวนการบริหาร
นักวิชาการสมัยใหมบางกลุมพิจารณาองคการกวางยิ่งขึ้นและใหความสําคัญแก
องคการมากขึ้นกวาแตกอน โดยถือวาองคการเปนโครงสรางหลักของการบริหารและเปน
ปจจัยหลักที่จะทําใหการบริหารดําเนินไปตามเปาหมาย
ซึ่งในทัศนะนี้การบริหารและ
องคการจะตองศึกษาควบคูกันไปในลักษณะของระบบ (A Systems Approach) โดยถือวา
องคการและการบริหารเปนระบบของความสัมพันธระหวางระบบยอย ๆ ภายในรวมตัวกัน
เปนระบบที่มีวัตถุประสงคเฉพาะหนึ่ง ๆ ซึ่งกอนที่เราจะไดศึกษาในรายละเอียดก็ควรจะไดทํา
ความเขาใจถึงความหมายของการบริหารและองคการใหเขาใจอยางถองแทเสียกอน
ความหมายขององคการและการบริหาร
ความหมายของการบริหาร นักวิชาการไดใหคํานิยามของคําวา "การ
บริหารหรือการจัดการ" (Administration or Management) ไวคลายคลึงกัน เชน
Ernest Dale กลาววา "การบริหารเปนการจัดการโดยมนุษย เปนการ
ตัดสินใจ และเปนกระบวนการของการรวบรวมและแจกแจงทรัพยากรเพื่อที่จะใหบรรลุ
วัตถุประสงคที่ไดตั้งเอาไว
Kast และ Rosenzweing
กลาววา "การบริหารเปนการรวมมือและ
ประสานงานกันระหวางมนุษยและทรัพยากรทางวัตถุอื่น ๆ เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคที่ไดตั้ง
เอาไว" และพวกเขายังเสนออีกวา "ปจจัยพื้นฐานในการบริหาร" จะตองมีอยางนอย 4
ประการ คือ
1. วัตถุประสงคที่ตั้งเอาไว
2. มนุษยที่พรอมจะปฏิบัติงาน
3. เทคโนโลยีในการดําเนินการ
4. องคการที่จะดําเนินการ
14

Harold Koontz เสนอวา "การบริหาร คือ การดําเนินงานใหบรรลุ
วัตถุประสงคที่กําหนดไว โดยอาศัยปจจัยทั้งหลาย ไดแก คน เงิน วัตถุสิ่งของเปนอุปกรณ
ในการปฏิบัติงานนั้น"
Peter F. Drucker พิจารณาการบริหารในเชิงพฤติกรรม "การบริหารคือศิลปะ
ในการทํางานใหบรรลุเปาหมายรวมกับผูอื่น"
ชุบ กาญจนประการ กลาววา "การบริหารหมายถึง การทํางานของคณะ
บุคคลตั้งแตสองคนขึ้นไปที่รวมกันปฏิบัติงานใหบรรลุเปาหมายรวมกัน"
สมพงศ เกษมสิน พิจารณาวา "การบริหาร คือ การใชศาสตรและศิลป
นําเอาทรัพยากรการบริหารมาประกอบการตามกระบวนการบริหารใหบรรลุวัตถุประสงคที่
กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพ"
นักวิชาการบางกลุม พิจารณาวาการบริหารเปน "การที่ใหมีการดําเนินการ
โดยใชบุคคลอื่น"
"การพยายามที่จะทําใหเกิดบรรลุวัตถุประสงคที่ตองการโดย
เสียเวลา คาใชจาย และการดําเนินงานนอยที่สุด" หรืออาจกลาววา "เปน
กระบวนการซึ่ ง ป จ เจกบุ ค คลและกลุ ม ดํ า เนิ น งานร ว มกั น เพื่ อ ให บ รรลุ สู วั ต ถุ ป ระสงค
รวมกัน"
สรุปไดวา การบริหารหรือการจัดการเปนการดําเนินงานหรือกระบวนการใด ๆ
ของบุคคลตั้งแต 2 คนขึ้นไป เพื่อที่จะใหบรรลุวัตถุประสงคที่ไดตั้งเอาไวรวมกัน โดย
คํานึงถึงการจัดสรรทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพเขามาชวย
ความแตกตางระหวางการบริหารกับการจัดการ คําวา "การบริหาร"
(Administration) มักจะใชในเรื่องที่เกี่ยวกับการทํางานในระดับสูงขององคการ ระดับการ
กําหนดนโยบาย การวางแผน การจัดหลักสูตร การบริหาร และนักบริหารระดับประเทศ
รวมทั้งนิยมใชในองคการของรัฐบาล หรือในหนวยงานที่ไมหวังผลกําไร
สวนคําวา "การจัดการ" (Management) มักจะใชในเรื่องที่เกี่ยวกับการ
ทํางานในระดับต่ําขององคการ เปนการบริหารงานภายในองคการ ระดับของการนําไป
ปฏิบัติ หรือการดําเนินงานโดยตรง และนิยมใชในองคการทางธุรกิจ หรือองคการที่มุงผล
กําไรเปนสวนใหญ
อยางไรก็ตาม ในเรื่องหลักการจัดองคการและการจัดการนี้อนุโลมใหใชคํา
ทั้งสองแทนกันไดและมีความหมายเชนเดียวกับคําวา การบริหาร ดังนิยามที่กลาวมา
15

พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ใหไว ณ วันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2551
เปนปที่ 63 ในรัชกาลปจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ
ิ
ใหประกาศวา
โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการพลเรือน
พระราชบัญญัตินมีบทบัญญัตบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของ
ี้
ิ
บุคคลซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 31 มาตรา 33 มาตรา 43 และมาตรา 64 ของ
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหง
กฎหมาย
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอม
ของสภานิตบัญญัติแหงชาติ ดังตอไปนี้
ิ
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.
2551”
มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวนถัดจากวันประกาศในราชกิจจา
ั
นุเบกษา เปนตนไป
มาตรา 3 ใหยกเลิก
(1) พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2535
(2) พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2537
(3) พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2538
(4) พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2544
มิใหนําคําสั่งหัวหนาคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ที่ 38/2519 ลงวันที่ 21 ตุลาคม
2519 มาใชบังคับแกขาราชการพลเรือน
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตนี้
ิ
“ขาราชการพลเรือน” หมายความวา บุคคลซึ่งไดรับบรรจุและแตงตั้งตาม
พระราชบัญญัตินี้ ใหรับราชการโดยไดรับเงินเดือนจากเงินงบประมาณในกระทรวง กรมฝาย
พลเรือน
16

“ขาราชการฝายพลเรือน” หมายความวา ขาราชการพลเรือน และขาราชการอื่นใน
กระทรวง กรมฝายพลเรือน ตามกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการประเภทนั้น
“กระทรวง” หมายความรวมถึงสํานักนายกรัฐมนตรีและทบวง
“รัฐมนตรีเจาสังกัด” หมายความวา รัฐมนตรีวาการกระทรวง รัฐมนตรีวาการทบวง

และ หมายความรวมถึงนายกรัฐมนตรีในฐานะเปนผูบังคับบัญชาสํานักนายกรัฐมนตรี และ
นายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีในฐานะเปนผูบังคับบัญชาสวนราชการที่มีฐานะเปนกรมและไม
สังกัดกระทรวง
“ปลัดกระทรวง” หมายความรวมถึงปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีและปลัดทบวง
“กรม” หมายความรวมถึงสวนราชการที่มีฐานะเปนกรม
“อธิบดี” หมายความวา หัวหนาสวนราชการระดับกรมหรือเทียบเทากรม
“สวนราชการ” หมายความวา สวนราชการตามกฎหมายวาดวยการปรับปรุงกระทรวง
ทบวง กรม และสวนราชการที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดิน
และมีฐานะ ไมต่ํากวากรม
มาตรา 5 ใหนายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
ลักษณะ 1
คณะกรรมการขาราชการพลเรือน
มาตรา 6 ใหมีคณะกรรมการขาราชการพลเรือนคณะหนึ่ง เรียกโดยยอวา “ก.พ.”
ประกอบดวยนายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย เปนประธาน
ปลัดกระทรวงการคลัง ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ และเลขาธิการคณะกรรมการ
พัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ เปนกรรมการโดยตําแหนง และกรรมการซึ่งทรง
พระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตั้ง จากผูทรงคุณวุฒิดานการบริหารทรัพยากรบุคคล ดานการ
บริหารและการจัดการ และดานกฎหมาย ซึ่งมีผลงานเปนที่ประจักษในความสามารถมาแลว
และเปนผูที่ไดรับการสรรหาตามหลักเกณฑ วิธการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎ ก.พ. จํานวน
ี
ไมนอยกวาหาคน แตไมเกินเจ็ดคน และใหเลขาธิการ ก.พ. เปนกรรมการและเลขานุการ
กรรมการซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตังตองไมเปนผูดํารงตําแหนงทาง
้
การเมือง กรรมการหรือผูดํารงตําแหนงที่รับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมืองหรือ
เจาหนาที่ในพรรคการเมือง และมิไดเปนกรรมการโดยตําแหนงอยูแลว
17

แนวขอสอบ ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
5.

ผูใดเปนประธานในคณะกรรมการขาราชการพลเรือน
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. คณะรัฐมนตรี
ค. ปลัดกระทรวงการคลัง
ง. ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ
ตอบ ก. นายกรัฐมนตรี
“ก.พ.”ประกอบดวยนายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรี
มอบหมาย เปนประธานปลัดกระทรวงการคลัง (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.
2551 มาตรา 6)

6.

ขอใดไมใชกรรมการโดยตําแหนงในคณะกรรมการขาราชการพลเรือน
ก. ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ
ข. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
ค. ปลัดกระทรวงการคลัง
ง. ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี
ตอบ ง. ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี
“ก.พ.”ประกอบดวยนายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรี
มอบหมาย เปนประธานปลัดกระทรวงการคลัง ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ และ
เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ เปนกรรมการโดย
ตําแหนง (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 6)

7.

กรรมการซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกลาแตงตั้งจากผูทรงคุณวุฒินั้น จะตองเปนบุคคลที่มี
ความสามารถในดานใด
ก. ดานการบริหารทรัพยากรบุคคล
ข. ดานการบริหารและการจัดการ
ค. ดานกฎหมาย
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
กรรมการซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตั้ง จากผูทรงคุณวุฒิดานการบริหาร
ทรัพยากรบุคคล ดานการบริหารและการจัดการ และดานกฎหมาย ซึ่งมีผลงานเปน
ที่ประจักษในความสามารถมาแลว และเปนผูที่ไดรับการสรรหาตามหลักเกณฑ วิธีการ
และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎ ก.พ. จํานวนไมนอยกวาหาคน แตไมเกินเจ็ดคน และให
18

เลขาธิการ ก.พ. เปนกรรมการและเลขานุการ (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551
มาตรา 6)
8.

คณะกรรมการจากขอขางตนนั้น จะมีตําแหนงอยูในวาระคราวละกี่ป
ก. 2 ป
ข. 3 ป
ค. 4 ป
ง. 5 ป
ตอบ ข. 3 ป
กรรมการซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตั้งใหอยูในตําแหนงไดคราวละสาม
ป ถาตําแหนงกรรมการวางลงกอนกําหนดและยังมีกรรมการดังกลาวเหลืออยูอีกไมนอย
กวาสามคน ใหกรรมการที่เหลือปฏิบัติหนาที่ตอไปได (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน
พ.ศ.2551 มาตรา 7)

9.

เมื่อตําแหนงกรรมการวางลงนั้น อาจจะไมแตงตั้งกรรมการแทนก็ได ในกรณีที่วาระของ
กรรมการเหลือไมถึงกี่วัน
ก. 30 วัน
ข. 60 วัน
ค. 90 วัน
ง. 180 วัน
ตอบ ง. 180 วัน
เมื่อตําแหนงกรรมการวางลงกอนกําหนดใหดําเนินการแตงตั้งกรรมการแทน
ภายในกําหนด สามสิบวัน เวนแตวาระของกรรมการเหลือไมถึงหนึ่งรอยแปดสิบวันจะไม
แตงตั้งกรรมการแทนก็ได ผูซึ่งไดรับแตงตั้งเปนกรรมการแทนนั้นใหอยูในตําแหนงไดเพียง
เทากําหนดเวลาของผูซึ่งตนแทน (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 7)

10.

ขอใดมิใชอํานาจหนาที่ของ กพ.
ก. ใหความเห็นชอบ กรอบอําตรากําลังของสวนราชการ
ข. ออกกฎ ก.พ.
ค. กําหนดอัตราคาธรรมเนียมในการปฏิบัติการเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล
ง. พิจารณาการเกลี่ยอัตรากําลังระหวางสวนราชการตางๆ ภายในกระทรวง
ตอบ ง. พิจารณาการเกลี่ยอัตรากําลังระหวางสวนราชการตางๆ ภายในกระทรวง
การพิจารณาการเกลี่ยอัตรากําลังระหวางสวนราชการตางๆ ภายในกระทรวงเปน
อํานาจหนาที่ของ อ.ก.พ.กระทรวง (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551มาตรา 16)
19

11.

อ.ก.พ. กระทรวง มีบุคคลใดดํารงตําแหนงเปนประธาน
ก. รัฐมนตรีเจาสังกัด
ข. ปลัดกระทรวง
ค. ผูวาราชการจังหวัด
ง. อธิบดี
ตอบ ก. รัฐมนตรีเจาสังกัด
อ.ก.พ. กระทรวง ประกอบดวยรัฐมนตรีเจาสังกัด เปนประธาน ปลัดกระทรวง
เปนรองประธาน และผูแทน ก.พ. ซึ่งตั้งจากขาราชการพลเรือนในสํานักงาน ก.พ. หนึ่งคน
เปนอนุกรรมการโดยตําแหนง และอนุกรรมการ (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.
2551 มาตรา 15)

12.

อ.ก.พ. กรม มีบุคคลใดดํารงตําแหนงเปนประธาน
ก. รัฐมนตรีเจาสังกัด
ข. ปลัดกระทรวง
ค. ผูวาราชการจังหวัด
ง. อธิบดี
ตอบ ง. อธิบดี
อ.ก.พ. กรม ประกอบดวยอธิบดี เปนประธาน รองอธิบดีที่อธิบดีมอบหมายหนึ่ง
คน เปนรองประธาน และอนุกรรมการซึ่งประธาน อ.ก.พ. (พรบ.ระเบียบขาราชการพล
เรือน พ.ศ.2551 มาตรา 17)

13.

อ.ก.พ. จังหวัด มีบุคคลใดดํารงตําแหนงเปนประธาน
ก. รัฐมนตรีเจาสังกัด
ข. ปลัดกระทรวง
ค. ผูวาราชการจังหวัด
ง. อธิบดี
ตอบ ค. ผูวาราชการจังหวัด
อ.ก.พ. จังหวัด ประกอบดวยผูวาราชการจังหวัด เปนประธาน รองผูวาราชการ
จังหวัด ที่ผูวาราชการจังหวัดมอบหมายหนึ่งคน เปนรองประธาน และอนุกรรมการ ซึ่ง
ประธาน อ.ก.พ. (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 19)

14.

"ก.พ.ค." มีชื่อเต็มวาอะไร
ก. กรรมการพิทักษคุณธรรม
ข. คณะกรรมการพิทักษระบบคุณธรรม
ค. คณะกรรมการพิทักษคุณธรรม
ง. กรรมการพิทักษระบบคุณธรรม
ตอบ ข. คณะกรรมการพิทักษระบบคุณธรรม
20

ระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2548
ความหมาย
“งานสารบรรณ” หมายความวา งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแต
การจัดทําการรับ การสง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทําลาย
“หนังสือ” หมายความวา หนังสือราชการ
“สวนราชการ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม สํานักงาน หรือหนวยงานอื่นใด
ของรั ฐ ทั้ง ในราชการบริ ห ารส ว นกลาง ราชการบริ ห ารสว นภู มิ ภ าค ราชการบริ ห ารส ว น
ทองถิ่น หรือในตางประเทศและใหหมายความรวมถึงคณะกรรมการดวย
“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะบุคคลที่ไดรับมอบหมายจากทางราชการให
ปฏิบัติงานในเรื่องใด ๆ และใหหมายความรวมถึงคณะอนุกรรมการ คณะทํางาน หรือคณะ
บุคคลอื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน
ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบนี้

ชนิดของหนังสือ
หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เปนหลักฐานในราชการ ไดแก
1. หนังสือที่มีไปมาระหวางสวนราชการ
2. หนังสือที่สวนราชการมีไปถึงหนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่มี
ไปถึงบุคคลภายนอก
3. หนังสือที่หนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่บุคคลภายนอกมีมาถึง
สวนราชการ
4. เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นเพื่อเปนหลักฐานในราชการ
5. เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับ
หนังสือ มี 6 ชนิด คือ
1. หนังสือภายนอก
2. หนังสือภายใน
3. หนังสือประทับตรา
4. หนังสือสั่งการ
5. หนังสือประชาสัมพันธ
21

6. หนังสือที่เจาหนาที่ทําขึ้น หรือรับไวเปนหลักฐานในราชการ

หนังสือภายนอก
หนังสือภายนอก คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธีโดยใชกระดาษตราครุฑ
เปนหนังสือติดตอระหวางสวนราชการ หรือสวนราชการมีถึงหนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวน
ราชการ หรือที่มีถึงบุคคลภายนอก

หนังสือภายใน
หนังสือภายใน คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธีนอยกวาหนังสือภายนอกเปน
หนังสือติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดเดียวกัน ใชกระดาษบันทึกขอความ

หนังสือประทับตรา
หนั ง สื อ ประทั บ ตรา คื อ หนั ง สื อ ที่ใ ชป ระทับ ตราแทนการลงชื่ อ ของหั ว หน าส ว น
ราชการระดับกรมขึ้นไป โดยใหหัวหนาสวนราชการระดับกอง หรือผูที่ไดรับมอบหมายจาก
หัวหนาสวนราชการระดับกรมขึ้นไป เปนผูรับผิดชอบลงชื่อยอกํากับตรา หนังสือประทับตรา
ใหใชไดทั้งระหวางสวนราชการกับสวนราชการ และระหวางสวนราชการกับบุคคลภายนอก
เฉพาะกรณีที่ไมใชเรื่องสําคัญ ไดแก
1. การขอรายละเอียดเพิ่มเติม
2. การสงสําเนาหนังสือ สิ่งของ เอกสาร หรือบรรณสาร
3. การตอบรับทราบที่ไมเกี่ยวกับราชการสําคัญ หรือการเงิน
4. การแจงผลงานที่ไดดําเนินการไปแลวใหสวนราชการที่เกี่ยวของทราบ
5. การเตือนเรื่องที่คาง
6. เรื่องซึ่งหัวหนาสวนราชการระดับกรมขึ้นไปกําหนดโดยทําเปนคําสั่ง ใหใชหนังสือ
ประทับตรา
หนังสือประทับตรา ใชกระดาษตราครุฑ
22

แนวขอสอบ ระเบียบฯ งานสารบรรณ พ.ศ. 2526
แกไขเพิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548
่
4.

ขอใด หมายถึง งานสารบรรณ
ก. การรับ-สง
ข. การยืม
ค. การเก็บรักษา
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
งานสารบรรณ หมายความวา งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแตการ
จัดทําการรับ การสง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทําลาย (ขอ 6 ระเบียบฯ งานสาร
บรรณ)

5.

ในระเบียบฯ วาดวยงานสารบรรณ คําวา "หนังสือ" หมายถึงขอใด
ก. หนังสือภายใน
ข. หนังสือภายนอก
ค. หนังสือราชการ
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ค. หนังสือราชการ
หนังสือ หมายความวา หนังสือราชการ (ขอ 6 ระเบียบฯ งานสารบรรณ)

6.

ผูรักษาการในระเบียบฯ วาดวยงานสารบรรณ ฉบับปจจุบันคือใคร
ข. นายกรัฐมนตรี
ก. ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี
ค. ปลัดกระทรวงการคลัง
ง. คณะรัฐมนตรี
ตอบ ก. ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี
ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบนี้ (ขอ 8 ระเบียบฯ งานสารบรรณ)

7.

ขอใดมิใชความหมายของหนังสือราชการ
ก. หนังสือที่มีไปมาระหวางสวนราชการ
ข. หนังสือที่สวนราชการมีไปถึงหนวยงานอื่นที่มิใชสวนราชการ
ค. เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นเพื่อใชเปนหลักฐานในราชการ
ง. หนังสือที่มีขึ้นเพื่อใชในการติดตอบุคคลภายนอก
ตอบ ง. หนังสือที่มีขึ้นเพื่อใชในการติดตอบุคคลภายนอก
หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เปนหลักฐานในราชการ ไดแก
1. หนังสือที่มีไปมาระหวางสวนราชการ
23

สั่งซื้อไดที่
www.SheetRam.com
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,
085-9679080,085-9993722,085-9993740

แจงการโอนเงิน พรอมชือ และอีเมลลที่
่
LINE ID : sheetram
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080,
085-9993722,085-9993740

Contenu connexe

Plus de บ.ชีทราม จก.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...บ.ชีทราม จก.
 
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...บ.ชีทราม จก.
 
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...บ.ชีทราม จก.
 
กรมฝนหลวงและการบินเกษตร
กรมฝนหลวงและการบินเกษตรกรมฝนหลวงและการบินเกษตร
กรมฝนหลวงและการบินเกษตรบ.ชีทราม จก.
 
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...บ.ชีทราม จก.
 
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นคณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นบ.ชีทราม จก.
 
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 บ.ชีทราม จก.
 

Plus de บ.ชีทราม จก. (13)

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
 
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
 
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
 
กรมฝนหลวงและการบินเกษตร
กรมฝนหลวงและการบินเกษตรกรมฝนหลวงและการบินเกษตร
กรมฝนหลวงและการบินเกษตร
 
216
216216
216
 
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
 
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นคณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
 
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
 
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวชข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
 

คู่มือสอบนักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ ข้อสอบกรมโรงงานอุตสาหกรรม E-BOOK

  • 1. 1
  • 2. 2 ขอบเขตเนื้อหา ความรูทั่วไปเกี่ยวกับ กรมโรงงานอุตสาหกรรม ความรูทั่วไปเกี่ยวกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม 4 สัญลักษณ 5 วิสัยทัศน 5 พันธกิจ 5 คานิยม 6 กฎหมายที่เกี่ยวของกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม พรบ.โรงงาน 6 พรบ.จดทะเบียนเครื่องจักร 28 พรบ. วัตถุอันตราย 37 แนวขอสอบ พรบ.จดทะเบียนเครื่องจักร 64 แนวขอสอบ พรบ.โรงงาน 68 แนวขอสอบ วัตถุอันตราย 75 ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการงานทั่วไป การบริหารจัดการภายในองคกร การประสานงาน การวางแผนงาน 81 องคประกอบขององคกรและการบริหาร 84 ประเภทองคการ 84 หลักการทั่วไปของการบริหาร 88 อํานาจหนาที่และความรับผิดชอบ 97 การมอบหมายอํานาจหนาที่ 100 การจัดแผนกงาน 103 โครงสรางและแผนภูมิขององคการ 108 แผนภูมิขององคการ 111 ระบบการบริหารองคการ 112 การควบคุมองคการ 114 การวางแผนงาน 115 การบริหารงบประมาณ 122 การาบริหารคงคลัง 141 พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน 160 แนวขอสอบ พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน 206 ความรูเกี่ยวกับระเบียบงานสารบรรณ 226 แนวขอสอบ ความรูเกี่ยวกับระเบียบงานสารบรรณ 241 ระเบียบสํานักนายกฯ วาดวยการพัสดุ 2535 และที่แกไขเพิ่มเติม 262 แนวขอสอบ ระเบียบสํานักนายกฯ วาดวยการพัสดุ 2535 และที่แกไขเพิ่มเติม 335
  • 3. 3 ความรูทั่วไปเกียวกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม  ่ อุตสาหกรรมยุคแรก ประเทศไทยเริ่มมีการประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมมาแตสมัยโบราณ แตการ อุตสาหกรรมในขณะนั้นเปนประเภทสินคาหัตถกรรมและอุตสาหกรรมในครัว เรือน เชน การ ทอผา การตีเหล็ก การจักสาน การแกะสลักไม การทําทองรูปพรรณ และการประกอบกิจการ อุตสาหกรรมที่ใชแรงงาน เชน โรงงานสุรา โรงงานน้ําตาลทรายแดง ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุล จอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 แหงราชวงศ จักรี ไดมีโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญเกิดขึ้นโดยมีชาวตางประเทศเขามาสรางโรงงาน เชน โรงกษาปณ โรงสีขาว โรงเลื่อย และหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ไดมีการพัฒนาดานการ อุตสาหกรรม โดยเอกชนไดเริ่มลงทุนกอสรางโรงงานอุตสาหกรรมขึ้นอีกหลายประเภท เชน โรงงานบุหรี่ โรงงานทํากระดาษ โรงงานทําน้ําอัดลม โรงงานทําสบู แตเนื่องจากสภาวะ เศรษฐกิจตกต่ําลงทั่วโลกในป พ.ศ. 2470 สงผลกระทบตอเศรษฐกิจของไทยดวย ทําใหไมมี การขยายตัวทางอุตสาหกรรมในประเทศในชวงเวลาดังกลาว การกอตั้งกรมโรงงานอุตสาหกรรม (1) พ.ศ. 2475 หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง รัฐบาลไดยึดแนวการบริหาร ประเทศ โดยคํานึงถึงความสมบูรณของราษฎรทางดานเศรษฐกิจจึงไดจัดทําแผนการ ดําเนินการ ทางเศรษฐกิจในสวนที่เกียวของกับการอุตสาหกรรม กิจการบางอยางที่เปน ่ สาธารณูปโภค รัฐจะเขาควบคุมดูแลตลอดจนการรวมงานกับบริษัทเอกชนดําเนินการในรูป ของบริษัท สาธารณะ สวนที่ไมเปนสาธารณูปโภคจะใหประชาชนดําเนินการธุรกิจ อุตสาหกรรมได (2) พ.ศ. 2485 เพื่อเปนการเสริมสรางและพัฒนาอุตสาหกรรม รัฐบาลในสมัยนั้นจึง มีนโยบายที่จะจัดสรางและดําเนินการอุตสาหกรรมและการ พาณิชยกรรมภายในประเทศให เปนปกแผน โดยแกไขพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม โดยยุบกระทรวงการ เศรษฐกิจและจัดตั้งกระทรวงใหมขึ้น 2 กระทรวงคือ - กระทรวงพาณิชย - กระทรวงอุตสาหกรรม (3) 5 พฤษภาคม 2485 กรมโรงงานอุตสาหกรรม ไดรับการสถาปนาเปนหนวยงาน ในสังกัดกระทรวงการอุตสาหกรรม โดยมีหนาที่ดูแลโรงงานตางๆที่เปนของรัฐ ควบคุมดูแล
  • 4. 4 การดําเนินงานของโรงงานเหลานั้นใหมีประสิทธิภาพ ปรับปรุงมาตรฐานแหงคุณภาพและ ปริมาณ ตลอดจนรักษาระดับราคาของผลิตภัณฑที่โรงงานตางๆผลิตจําหนายแกประชาชน พรอมทั้งสนับสนุนสงเสริมอุตสาหกรรมที่เห็นวามีความจําเปนแกประเทศชาติใน ยาม สงคราม สัญลักษณ ความเปนไทย หนาจั่ว ลายไทย ลายกนก โรงงานอุตสาหกรรมตางๆ ตราสัญลักษณ แสดง ถึงความเรียบงาย แสดงความเปนไทยสมัยใหม ลักษณะคลายเปลวไฟเพลิงในโรงงาน อุตสาหกรรมอันหมายถึงความรุงเรือง ความเจริญ การงาน ฯลฯ ดานนอกเปนรูปเฟอง หมายถึง อุตสาหกรรม ภายในเปนรูปวงกลมเปนรูปพระนารายณ หมายถึง การปกปองดูแลความปลอดภัยใน โรงงานอุตสาหกรรมตางๆ และยังหมายถึงการสรางเสริมและพัฒนาทางดานอุตสาหกรรมของ ประเทศใหกาวหนา สามารถแขงขันกับตางประเทศได สีธงชาติ หมายถึง อุตสาหกรรมไทย ที่มีความมั่งคง ความกาวหนา การสงเสริม อุตสาหกรรมไทยใหเจริญยิ่งๆขึ้น วิสัยทัศน องคกรชั้นนําดานการบริหารจัดการสิ่งแวดลอมและความปลอดภัย ภาคอุตสาหกรรม พันธกิจ 1. บริหารจัดการ การกํากับดูแลธุรกิจอุตสาหกรรมรวมถึงวัตถุอนตราย ดานการผลิต ั สิ่งแวดลอม ความปลอดภัย เพื่อใหเปนไปตามกฎหมายและดําเนินการใหเปนไปตาม ขอตกลง กฎ ระเบียบระหวางประเทศ 2. สงเสริม สนับสนุนขอมูลและองคความรูดานเครื่องจักร การผลิต สิ่งแวดลอม ความ  ปลอดภัย วัตถุอันตราย พลังงาน และความรับผิดชอบตอสังคม เพื่อประโยชนในการพัฒนา
  • 5. 5 พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2535 เปนปที่ 47 ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรด เกลาฯ ใหประกาศวา โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยโรงงาน จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและ ยินยอมของสภานิติบัญญัติแหงชาติ ทําหนาที่รัฐสภา ดังตอไปนี้ มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535” มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวัน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป มาตรา 3 ใหยกเลิก (1) พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2512 (2) พระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2518 (3) พระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2522 มาตรา 4 พระราชบั ญ ญั ติ นี้ มิ ใ ห ใ ช บั ง คั บ แก โ รงงานของทางราชการที่ ดําเนินการ โดยทางราชการ เพื่อประโยชนแหงความมั่นคงและความปลอดภัยของประเทศ แตในการประกอบกิจการโรงงานดังกลาวใหนําหลักเกณฑและวิธีการเกี่ยว กับการประกอบ กิจการโรงงานตามพระราชบัญญัตินี้ไปเปนแนวทางในการดําเนินงาน มาตรา 5 ในพระราชบัญญัตินี้ “โรงงาน” หมายความวา อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะที่ใชเครื่องจักรมี กําลังรวมตั้งแตหาแรงมาหรือกําลังเทียบเทาตั้งแตหาแรงมาขึ้นไป หรือใชคนงานตั้งแตเจ็ด คนขึ้นไปโดยใชเครื่องจักรหรือไมก็ตาม สําหรับทํา ผลิต ประกอบ บรรจุ ซอม ซอมบํารุง ทดสอบ ปรับปรุง แปรสภาพ ลําเลียง เก็บรักษา หรือทําลายสิ่งใด ๆ ทั้งนี้ ตามประเภทหรือ ชนิดของโรงงานที่กําหนดในกฎกระทรวง “ตั้งโรงงาน” หมายความวา การกอสรางอาคารเพื่อติดตั้งเครื่องจักรสําหรับ ประกอบกิจการโรงงาน หรือนําเครื่องจักรสําหรับประกอบกิจการโรงงานมาติดตั้งในอาคาร สถานที่หรือยานพาหนะที่จะประกอบกิจการ
  • 6. 6 “ประกอบกิจการโรงงาน” หมายความวา การทํา ผลิต ประกอบ บรรจุ ซอม ซอมบํารุง ทดสอบ ปรับปรุง แปรสภาพ ลําเลียง เก็บรักษา หรือทําลายสิ่งใด ๆ ตามลักษณะ กิจการของโรงงานแตไมรวมถึงการทดลองเดินเครื่องจักร “เครื่องจักร” หมายความวา สิ่งที่ประกอบดวยชิ้นสวนหลายชิ้นสําหรับใช กอกําเนิดพลังงาน เปลี่ยนหรือแปลงสภาพพลังงาน หรือสงพลังงาน ทั้งนี้ ดวยกําลังน้ํา ไอ น้ํ า ลม ก า ซ ไฟฟ า หรื อ พลั ง งานอื่ น อย า งใดอย า งหนึ่ ง หรื อ หลายอย า งรวมกั น และ หมายความรวมถึงเครื่องอุปกรณ ไฟลวีล ปุลเล สายพาน เพลา เกียร หรือสิ่งอื่นที่ทํางาน สนองกัน “คนงาน” หมายความวา ผูซึ่งทํางานในโรงงาน ทั้งนี้ ไมรวมถึงผูซึ่งทํางาน ฝายธุรการ “ผูอนุญาต” หมายความวา ปลัดกระทรวงหรือผูซึ่งปลัดกระทรวงมอบหมาย ตามความเหมาะสม “ใบอนุญาต” หมายความวา ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน “พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้ “ปลัดกระทรวง” หมายความวา ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 6 ให รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงอุ ต สาหกรรมรั ก ษาการตาม พระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจแตงตั้งพนักงานเจาหนาที่กับออกกฎกระทรวงกําหนด คาธรรมเนียมไมเกินอัตราคาธรรมเนียมทายพระราชบัญญัตินี้ ยกเวนคาธรรมเนียม และ กําหนดกิจการอื่นเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงและประกาศของรัฐมนตรีที่ออกตามความในพระราชบัญญัตนเมือ ิ ี้ ่ ไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได หมวด 1 การประกอบกิจการโรงงาน มาตรา 7 ให รั ฐ มนตรี มี อํ า นาจออกกฎกระทรวงกํ า หนดให โ รงงานตาม ประเภทชนิดหรือขนาดใดเปนโรงงานจําพวกที่ 1 โรงงานจําพวกที่ 2 หรือโรงงานจําพวกที่ 3 แลวแตกรณี โดยคํานึงถึงความจําเปนในการควบคุมดูแล การปองกันเหตุเดือดรอนรําคาญ
  • 7. 7 แนวขอสอบพระราชบัญญัติจดทะเบียนเครื่องจักร พ.ศ. 2514 แกไขเพิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2530 ่ 3. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับ “จดทะเบียนเครื่องจักร” ก. การจดทะเบียนกรรมสิทธิ์เครื่องจักร ข. การจดทะเบียนนิติกรรมอื่นเกี่ยวกับเครื่องจักรในภายหลัง ค. ถูกทั้ง ขอ ก. และ ขอ ข. ง. ไมมีขอใดกลาวถูกตอง ตอบ ค. ถูกทั้ง ขอ ก. และ ขอ ข. “จดทะเบียนเครื่องจักร” หมายความวา การจดทะเบียนกรรมสิทธิ์เครื่องจักรและ หรือการจดทะเบียนนิติกรรมอื่นเกี่ยวกับเครื่องจักรในภายหลัง 4. กอนมีคําสั่งเพิกถอนหนังสือสําคัญแสดงการจดทะเบียนเครื่องจักรใหนายทะเบียนแจง เปนหนังสือใหเจาของเครื่องจักรและหรือผูมีสวนไดเสียทราบเพื่อใหโอกาสคัดคาน ถาไมมี การคัดคานจากบุคคลดังกลาวภายในกี่วันนับแตวันที่ไดรับหนังสือ ก. 7 วัน ข. 15 วัน ค. 30 วัน ง. 60 วัน ตอบ ง. 60 วัน กอนมีคําสั่งเพิกถอนหนังสือสําคัญแสดงการจดทะเบียนเครื่องจักรใหนายทะเบียน แจง เปนหนังสือใหเจาของเครื่องจักรและหรือผูมีสวนไดเสียทราบเพื่อใหโอกาส คัดคาน ถา ไมมีการคัดคานจากบุคคลดังกลาวภายในหกสิบวันนับแตวันที่ไดรับหนังสือ แจงจากนาย ทะเบียน ใหถือวาไมมีการคัดคาน 5. กรณีมีการคัดคานการจดทะเบียนนั้น นายทะเบียนจะตองพิจารณาใหแลวเสร็จภายในกี่ วันนับแตวันไดรับคําคัดคาน ก. 7 วัน ข. 15 วัน ง. 45 วัน ค. 30 วัน ตอบ ข. 15 วัน
  • 8. 8 ในกรณีที่มี ก ารคัดค านภายในกําหนดเวลา ใหนายทะเบี ยนพิจารณาให แล ว เสร็ จ ภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดรับคําคัดคาน ถานายทะเบียนไมเห็นดวยกับการคัดคานให นายทะเบี ยนสั่ งเพิกถอนหนัง สื อ สําคัญแสดงการจดทะเบี ยนเครื่ อ งจัก รนั้ นและแจ งเปน หนังสือใหผูคัดคานทราบ 6. ในกรณีที่ผูคัดคานไมเห็นดวยกับการสั่งเพิกถอนหนังสือสําคัญแสดงการจดทะเบียน ผู คัดคานมีสิทธิอุทธรณตอรัฐมนตรีภายในกี่วันนับแตวันที่ไดรับหนังสือจากนายทะเบียน ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 45 วัน ง. 60 วัน ตอบ ง. 60 วัน ในกรณีที่ผูคัดคานไมเห็นดวยกับการสั่งเพิกถอนหนังสือสําคัญแสดงการจดทะเบียน ตามวรรคสาม ผูคัดคานมีสิทธิอุทธรณตอรัฐมนตรีภายในหกสิบวันนับแตวันที่ไดรับหนังสือ จากนายทะเบียน การยื่นอุทธรณใหเปนไปตามระเบียบที่รัฐมนตรีกําหนด 7. หลังจากที่รัฐมนตรีไดรับหนังสืออุทธรณการเพิกถอนการจดทะเบียนนั้น จะตองพิจารณา ใหแลวเสร็จในกี่วัน ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 45 วัน ง. 60 วัน ตอบ ข. 30 วัน ในกรณีที่มีการอุทธรณตอรัฐมนตรี ใหรัฐมนตรีพิจารณาอุทธรณใหแลวเสร็จภายใน สามสิบวันนับแตวันที่ไดรับอุทธรณ เวนแตมีเหตุจําเปนใหขยายระยะเวลาพิจารณาอุทธรณ ไดอีกสามสิบวัน หากรัฐมนตรีไมมีคําวินิจฉัยภายในกําหนดเวลาดังกลาวใหถือวาอุทธรณฟง ขึ้น 8. ในกรณี ที่ เครื่อ งจั ก รถู ก ทํ าลาย หรื อ ชํ ารุ ด จนไม ส ามารถใช เ ครื่ อ งจั ก รนั้น ต อ ไปได ให เจาของเครื่องจักรแจงเปนหนังสือตอนายทะเบียนภายในกี่วัน ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. สี่สิบหาวัน ตอบ ข. สิบหาวัน
  • 9. 9 แนวขอสอบพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 3. พรบ.โรงงาน ใชบังคับแกโรงงานของทางราชการเพื่อประโยชนขอใด ก. ความมั่นคง ข. ความปลอดภัยของประเทศ ค. ถูกทั้ง ขอ ก. และ ขอ ข. ง. ไมมีขอใดกลาวถูกตอง ตอบ ค. ถูกทั้ง ขอ ก. และ ขอ ข. พระราชบั ญ ญั ติ นี้ มิ ใ ห ใ ช บั ง คั บ แก โ รงงานของทางราชการที่ ดํ า เนิ น การ โดยทาง ราชการ เพื่อประโยชนแหงความมั่นคงและความปลอดภัยของประเทศ แตในการประกอบ กิจการโรงงานดังกลาวใหนําหลักเกณฑและวิธีการเกี่ยว กับการประกอบกิจการโรงงานตาม พระราชบัญญัตินี้ไปเปนแนวทางในการดําเนินงาน 4.ขอใดมีความหมายถึง “โรงงาน” ตามพระราชบัญญัตินี้ ก. ยานพาหนะที่ใชเครื่องจักรมีกําลังรวมตั้งแตหาแรงมาขึ้นไป ข. สถานที่ที่ใชคนงานตั้งแตเจ็ดคนขึ้นไป ค. ถูกทั้ง ขอ ก. และ ขอ ข. ง. ไมมีขอใดกลาวถูกตอง ตอบ ง. ไมมีขอใดกลาวถูกตอง “โรงงาน” หมายความวา อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะที่ใชเครื่องจักรมีกําลังรวม ตั้งแตหาแรงมาหรือกําลังเทียบเทาตั้งแตหาแรงมาขึ้นไป หรือใชคนงานตั้งแตเจ็ดคนขึ้นไป โดยใชเครื่องจักรหรือไมก็ตาม สําหรับทํา ผลิต ประกอบ บรรจุ ซอม ซอมบํารุง ทดสอบ ปรับปรุง แปรสภาพ ลําเลียง เก็บรักษา หรือทําลายสิ่งใด ๆ ทั้งนี้ ตามประเภทหรือชนิดของ โรงงานที่กําหนดในกฎกระทรวง 5. ผูรักษาการตาม พรบ.โรงงานคือผูใด ก. รัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ข. รัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชย ค. รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม ง. นายกรัฐมนตรี ตอบ ค. รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม
  • 10. 10 รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจ แต ง ตั้ ง พนั ก งานเจ า หน า ที่ กั บ ออกกฎกระทรวงกํ า หนดค า ธรรมเนี ย มไม เ กิ น อั ต รา ค า ธรรมเนี ย มท า ยพระราชบั ญ ญั ติ นี้ ยกเว น ค า ธรรมเนี ย ม และกํ า หนดกิ จ การอื่ น เพื่ อ ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ 6. การประกอบกิจการโรงงาน ที่ตองไดรับใบอนุญาตกอนจึงจะดําเนินการได เปนโรงงาน จําพวกใด ก. โรงงานจําพวกที่ 1 ข. โรงงานจําพวกที่ 2 ค. โรงงานจําพวกที่ 3 ง. โรงงานจําพวกที่ 4 ตอบ ค. โรงงานจําพวกที่ 3 รัฐมนตรีมีอํานาจออกกฎกระทรวงกําหนดใหโรงงานตามประเภทชนิดหรือขนาดใด เปนโรงงานจําพวกที่ 1 โรงงานจําพวกที่ 2 หรือโรงงานจําพวกที่ 3 แลวแตกรณี โดยคํานึงถึง ความจําเปนในการควบคุมดูแล การปองกันเหตุเดือดรอนรําคาญ การปองกันความเสียหาย และการป อ งกั น อั น ตรายตามระดั บ ความรุ น แรงของผลกระทบที่ จ ะมี ต อ ประชาชนหรื อ สิ่งแวดลอม โดยแบงออกเปนดังนี้ (1) โรงงานจํ า พวกที่ 1 ได แ ก โ รงงานประเภท ชนิ ด และขนาดที่ ส ามารถ ประกอบกิจการโรงงานไดทันทีตามความประสงคของผูประกอบกิจการโรงงาน (2) โรงงานจํ า พวกที่ 2 ได แ ก โ รงงานประเภท ชนิ ด และขนาดที่ เ มื่ อ จะ ประกอบกิจการโรงงานตองแจงใหผูอนุญาตทราบกอน (3) โรงงานจําพวกที่ 3 ไดแกโรงงานประเภท ชนิด และขนาดที่การตั้งโรงงาน จะตองไดรับใบอนุญาตกอนจึงจะดําเนินการได 7. การขอตออายุใบอนุญาตโรงงาน ตองกระทําภายในกี่วันนับแตวันหมดอายุ ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 45 วัน ง. 60 วัน ตอบ ง. 60 วัน 8.หากมีคําสั่งไมออกใบอนุญาตหรือตออายุใบอนุญาต ผูขอตออายุใบอนุญาตมีสิทธิอุทธรณ ตอรัฐมนตรีไดภายในกี่วันนับแตวันที่ไดทราบคําสั่ง ก. 7 วัน ข. 15 วัน
  • 11. 11 แนวขอสอบพระราชบัญญัติวตถุอันตราย พ.ศ. 2535 แกไข ั เพิ่มเติมพระราชบัญญัติวตถุอันตราย (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2551 ั 4. “อนุสัญญาหามอาวุธเคมี” มีขึ้นเมื่อใด ก. วันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2536 ข. วันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2536 ค. วันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2536 ง. วันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2536 ตอบ ก. วันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2536 “อนุสัญญาหามอาวุธเคมี” หมายความวา อนุสัญญาวาดวยการหามพัฒนา ผลิต สะสม และใชอาวุธเคมี และวาดวยการทําลายอาวุธเหลานี้ ซึ่งทําขึ้นเมื่อวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2536 5. ผูควบคุม สงเสริมและติดตามดูแลการดําเนินงานของเลขานุการ และผูชวยเลขานุการของ คณะกรรมการวัตถุอันตรายในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย คือใคร ก. รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม ข. รัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ค. รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงคมนาคม รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่ ง แวดล อ ม รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงพลั ง งาน รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีวาการกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข และรัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม ควบคุม สงเสริมและติดตามดูแลการดําเนินงาน ของเลขานุการ และผูชวยเลขานุการของคณะกรรมการวัตถุอันตรายในการปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้
  • 12. 12 6. คณะกรรมการวัตถุอันตราย มีผูใดเปนประธานกรรมการ ก. ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ข. อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ ค. อธิบดีสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ง. อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม ตอบ ก. ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ใหมีคณะกรรมการวัตถุอันตรายคณะหนึ่ง ประกอบดวย ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม เป น ประธานกรรมการ ผู บัญ ชาการตํ า รวจแห ง ชาติ อธิ บ ดี ก รมการขนสง ทางบก อธิ บ ดี กรมการคาภายใน อธิบดีกรมการแพทย อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ อธิบดีกรมธุรกิจพลังงาน อ ธิ บ ดี ก ร ม ป ร ะ ม ง อ ธิ บ ดี ก ร ม ป ศุ สั ต ว อ ธิ บ ดี ก ร ม วิ ช า ก า ร เ ก ษ ต ร อ ธิ บ ดี กรมวิทยาศาสตรการแพทย อธิบดีกรมสงเสริมการเกษตร เลขาธิการคณะกรรมการอาหาร และยา เลขาธิ ก ารสํ า นั ก งานปรมาณู เ พื่ อ สั น ติ เลขาธิ ก ารสํ า นั ก งานมาตรฐาน ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ผูแทนกระทรวงกลาโหม ผูแทนกระทรวงคมนาคม ผูแทนสํานักงาน มาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ และผูทรงคุณวุฒิซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งไมเกิน สิบคนเปนกรรมการ และอธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรมเปนกรรมการและเลขานุการ และ ผูแทนกรมธุรกิจพลังงาน ผูแทนกรมโรงงานอุตสาหกรรม ผูแทนกรมวิชาการเกษตร ผูแทน สํ า นั ก งานคณะกรรมการอาหารและยา และผู แ ทนสํ า นั ก งานปรมาณู เ พื่ อ สั น ติ เ ป น ผูชวยเลขานุการ 7.คณะกรรมการวัตถุอันตราย อยูในตําแหนงคราวละกี่ป ก. หนึ่งป ข. สองป ค. สามป ง. สี่ป ตอบ ค. สามป กรรมการผูทรงคุณวุฒิมีวาระอยูในตําแหนงคราวละสามป กรรมการผูทรงคุณวุฒิซึ่ง พนจากตําแหนงอาจไดรับแตงตั้งอีกได แตจะดํารงตําแหนงเกินสองวาระติดตอกันไมได 8. วัตถุอันตรายที่หามมิใหมีการผลิต การนําเขา การสงออก หรือการมีไวในครอบครอง คือ วัตถุอันตรายชนิดใด ก. วัตถุอันตรายชนิดที่ 1 ข. วัตถุอันตรายชนิดที่ 2 ง. วัตถุอันตรายชนิดที่ 4 ค. วัตถุอันตรายชนิดที่ 3 ตอบ ง. วัตถุอันตรายชนิดที่ 4
  • 13. 13 การบริหารจัดการภายในองคกร องคการ (Organization) มีความสัมพันธเกี่ยวของกับการบริหาร (Administration) อยางลึกซึ้ง นักวิชาการสมัยกอนมักศึกษาการบริหารในลักษณะของกระบวนการ (Process) และจัดองคการใหอยูในสวนหนึ่งหรือขั้นตอนหนึ่งของกระบวนการบริหาร นักวิชาการสมัยใหมบางกลุมพิจารณาองคการกวางยิ่งขึ้นและใหความสําคัญแก องคการมากขึ้นกวาแตกอน โดยถือวาองคการเปนโครงสรางหลักของการบริหารและเปน ปจจัยหลักที่จะทําใหการบริหารดําเนินไปตามเปาหมาย ซึ่งในทัศนะนี้การบริหารและ องคการจะตองศึกษาควบคูกันไปในลักษณะของระบบ (A Systems Approach) โดยถือวา องคการและการบริหารเปนระบบของความสัมพันธระหวางระบบยอย ๆ ภายในรวมตัวกัน เปนระบบที่มีวัตถุประสงคเฉพาะหนึ่ง ๆ ซึ่งกอนที่เราจะไดศึกษาในรายละเอียดก็ควรจะไดทํา ความเขาใจถึงความหมายของการบริหารและองคการใหเขาใจอยางถองแทเสียกอน ความหมายขององคการและการบริหาร ความหมายของการบริหาร นักวิชาการไดใหคํานิยามของคําวา "การ บริหารหรือการจัดการ" (Administration or Management) ไวคลายคลึงกัน เชน Ernest Dale กลาววา "การบริหารเปนการจัดการโดยมนุษย เปนการ ตัดสินใจ และเปนกระบวนการของการรวบรวมและแจกแจงทรัพยากรเพื่อที่จะใหบรรลุ วัตถุประสงคที่ไดตั้งเอาไว Kast และ Rosenzweing กลาววา "การบริหารเปนการรวมมือและ ประสานงานกันระหวางมนุษยและทรัพยากรทางวัตถุอื่น ๆ เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคที่ไดตั้ง เอาไว" และพวกเขายังเสนออีกวา "ปจจัยพื้นฐานในการบริหาร" จะตองมีอยางนอย 4 ประการ คือ 1. วัตถุประสงคที่ตั้งเอาไว 2. มนุษยที่พรอมจะปฏิบัติงาน 3. เทคโนโลยีในการดําเนินการ 4. องคการที่จะดําเนินการ
  • 14. 14 Harold Koontz เสนอวา "การบริหาร คือ การดําเนินงานใหบรรลุ วัตถุประสงคที่กําหนดไว โดยอาศัยปจจัยทั้งหลาย ไดแก คน เงิน วัตถุสิ่งของเปนอุปกรณ ในการปฏิบัติงานนั้น" Peter F. Drucker พิจารณาการบริหารในเชิงพฤติกรรม "การบริหารคือศิลปะ ในการทํางานใหบรรลุเปาหมายรวมกับผูอื่น" ชุบ กาญจนประการ กลาววา "การบริหารหมายถึง การทํางานของคณะ บุคคลตั้งแตสองคนขึ้นไปที่รวมกันปฏิบัติงานใหบรรลุเปาหมายรวมกัน" สมพงศ เกษมสิน พิจารณาวา "การบริหาร คือ การใชศาสตรและศิลป นําเอาทรัพยากรการบริหารมาประกอบการตามกระบวนการบริหารใหบรรลุวัตถุประสงคที่ กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพ" นักวิชาการบางกลุม พิจารณาวาการบริหารเปน "การที่ใหมีการดําเนินการ โดยใชบุคคลอื่น" "การพยายามที่จะทําใหเกิดบรรลุวัตถุประสงคที่ตองการโดย เสียเวลา คาใชจาย และการดําเนินงานนอยที่สุด" หรืออาจกลาววา "เปน กระบวนการซึ่ ง ป จ เจกบุ ค คลและกลุ ม ดํ า เนิ น งานร ว มกั น เพื่ อ ให บ รรลุ สู วั ต ถุ ป ระสงค รวมกัน" สรุปไดวา การบริหารหรือการจัดการเปนการดําเนินงานหรือกระบวนการใด ๆ ของบุคคลตั้งแต 2 คนขึ้นไป เพื่อที่จะใหบรรลุวัตถุประสงคที่ไดตั้งเอาไวรวมกัน โดย คํานึงถึงการจัดสรรทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพเขามาชวย ความแตกตางระหวางการบริหารกับการจัดการ คําวา "การบริหาร" (Administration) มักจะใชในเรื่องที่เกี่ยวกับการทํางานในระดับสูงขององคการ ระดับการ กําหนดนโยบาย การวางแผน การจัดหลักสูตร การบริหาร และนักบริหารระดับประเทศ รวมทั้งนิยมใชในองคการของรัฐบาล หรือในหนวยงานที่ไมหวังผลกําไร สวนคําวา "การจัดการ" (Management) มักจะใชในเรื่องที่เกี่ยวกับการ ทํางานในระดับต่ําขององคการ เปนการบริหารงานภายในองคการ ระดับของการนําไป ปฏิบัติ หรือการดําเนินงานโดยตรง และนิยมใชในองคการทางธุรกิจ หรือองคการที่มุงผล กําไรเปนสวนใหญ อยางไรก็ตาม ในเรื่องหลักการจัดองคการและการจัดการนี้อนุโลมใหใชคํา ทั้งสองแทนกันไดและมีความหมายเชนเดียวกับคําวา การบริหาร ดังนิยามที่กลาวมา
  • 15. 15 พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2551 เปนปที่ 63 ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ ิ ใหประกาศวา โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการพลเรือน พระราชบัญญัตินมีบทบัญญัตบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของ ี้ ิ บุคคลซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 31 มาตรา 33 มาตรา 43 และมาตรา 64 ของ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหง กฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอม ของสภานิตบัญญัติแหงชาติ ดังตอไปนี้ ิ มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551” มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวนถัดจากวันประกาศในราชกิจจา ั นุเบกษา เปนตนไป มาตรา 3 ใหยกเลิก (1) พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 (2) พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2537 (3) พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2538 (4) พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2544 มิใหนําคําสั่งหัวหนาคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ที่ 38/2519 ลงวันที่ 21 ตุลาคม 2519 มาใชบังคับแกขาราชการพลเรือน มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตนี้ ิ “ขาราชการพลเรือน” หมายความวา บุคคลซึ่งไดรับบรรจุและแตงตั้งตาม พระราชบัญญัตินี้ ใหรับราชการโดยไดรับเงินเดือนจากเงินงบประมาณในกระทรวง กรมฝาย พลเรือน
  • 16. 16 “ขาราชการฝายพลเรือน” หมายความวา ขาราชการพลเรือน และขาราชการอื่นใน กระทรวง กรมฝายพลเรือน ตามกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการประเภทนั้น “กระทรวง” หมายความรวมถึงสํานักนายกรัฐมนตรีและทบวง “รัฐมนตรีเจาสังกัด” หมายความวา รัฐมนตรีวาการกระทรวง รัฐมนตรีวาการทบวง  และ หมายความรวมถึงนายกรัฐมนตรีในฐานะเปนผูบังคับบัญชาสํานักนายกรัฐมนตรี และ นายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีในฐานะเปนผูบังคับบัญชาสวนราชการที่มีฐานะเปนกรมและไม สังกัดกระทรวง “ปลัดกระทรวง” หมายความรวมถึงปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีและปลัดทบวง “กรม” หมายความรวมถึงสวนราชการที่มีฐานะเปนกรม “อธิบดี” หมายความวา หัวหนาสวนราชการระดับกรมหรือเทียบเทากรม “สวนราชการ” หมายความวา สวนราชการตามกฎหมายวาดวยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และสวนราชการที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดิน และมีฐานะ ไมต่ํากวากรม มาตรา 5 ใหนายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ลักษณะ 1 คณะกรรมการขาราชการพลเรือน มาตรา 6 ใหมีคณะกรรมการขาราชการพลเรือนคณะหนึ่ง เรียกโดยยอวา “ก.พ.” ประกอบดวยนายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย เปนประธาน ปลัดกระทรวงการคลัง ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ และเลขาธิการคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ เปนกรรมการโดยตําแหนง และกรรมการซึ่งทรง พระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตั้ง จากผูทรงคุณวุฒิดานการบริหารทรัพยากรบุคคล ดานการ บริหารและการจัดการ และดานกฎหมาย ซึ่งมีผลงานเปนที่ประจักษในความสามารถมาแลว และเปนผูที่ไดรับการสรรหาตามหลักเกณฑ วิธการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎ ก.พ. จํานวน ี ไมนอยกวาหาคน แตไมเกินเจ็ดคน และใหเลขาธิการ ก.พ. เปนกรรมการและเลขานุการ กรรมการซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตังตองไมเปนผูดํารงตําแหนงทาง ้ การเมือง กรรมการหรือผูดํารงตําแหนงที่รับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมืองหรือ เจาหนาที่ในพรรคการเมือง และมิไดเปนกรรมการโดยตําแหนงอยูแลว
  • 17. 17 แนวขอสอบ ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 5. ผูใดเปนประธานในคณะกรรมการขาราชการพลเรือน ก. นายกรัฐมนตรี ข. คณะรัฐมนตรี ค. ปลัดกระทรวงการคลัง ง. ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ ตอบ ก. นายกรัฐมนตรี “ก.พ.”ประกอบดวยนายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรี มอบหมาย เปนประธานปลัดกระทรวงการคลัง (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 มาตรา 6) 6. ขอใดไมใชกรรมการโดยตําแหนงในคณะกรรมการขาราชการพลเรือน ก. ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ ข. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ค. ปลัดกระทรวงการคลัง ง. ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ตอบ ง. ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี “ก.พ.”ประกอบดวยนายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรี มอบหมาย เปนประธานปลัดกระทรวงการคลัง ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ และ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ เปนกรรมการโดย ตําแหนง (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 6) 7. กรรมการซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกลาแตงตั้งจากผูทรงคุณวุฒินั้น จะตองเปนบุคคลที่มี ความสามารถในดานใด ก. ดานการบริหารทรัพยากรบุคคล ข. ดานการบริหารและการจัดการ ค. ดานกฎหมาย ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ กรรมการซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตั้ง จากผูทรงคุณวุฒิดานการบริหาร ทรัพยากรบุคคล ดานการบริหารและการจัดการ และดานกฎหมาย ซึ่งมีผลงานเปน ที่ประจักษในความสามารถมาแลว และเปนผูที่ไดรับการสรรหาตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎ ก.พ. จํานวนไมนอยกวาหาคน แตไมเกินเจ็ดคน และให
  • 18. 18 เลขาธิการ ก.พ. เปนกรรมการและเลขานุการ (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 6) 8. คณะกรรมการจากขอขางตนนั้น จะมีตําแหนงอยูในวาระคราวละกี่ป ก. 2 ป ข. 3 ป ค. 4 ป ง. 5 ป ตอบ ข. 3 ป กรรมการซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตั้งใหอยูในตําแหนงไดคราวละสาม ป ถาตําแหนงกรรมการวางลงกอนกําหนดและยังมีกรรมการดังกลาวเหลืออยูอีกไมนอย กวาสามคน ใหกรรมการที่เหลือปฏิบัติหนาที่ตอไปได (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 7) 9. เมื่อตําแหนงกรรมการวางลงนั้น อาจจะไมแตงตั้งกรรมการแทนก็ได ในกรณีที่วาระของ กรรมการเหลือไมถึงกี่วัน ก. 30 วัน ข. 60 วัน ค. 90 วัน ง. 180 วัน ตอบ ง. 180 วัน เมื่อตําแหนงกรรมการวางลงกอนกําหนดใหดําเนินการแตงตั้งกรรมการแทน ภายในกําหนด สามสิบวัน เวนแตวาระของกรรมการเหลือไมถึงหนึ่งรอยแปดสิบวันจะไม แตงตั้งกรรมการแทนก็ได ผูซึ่งไดรับแตงตั้งเปนกรรมการแทนนั้นใหอยูในตําแหนงไดเพียง เทากําหนดเวลาของผูซึ่งตนแทน (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 7) 10. ขอใดมิใชอํานาจหนาที่ของ กพ. ก. ใหความเห็นชอบ กรอบอําตรากําลังของสวนราชการ ข. ออกกฎ ก.พ. ค. กําหนดอัตราคาธรรมเนียมในการปฏิบัติการเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล ง. พิจารณาการเกลี่ยอัตรากําลังระหวางสวนราชการตางๆ ภายในกระทรวง ตอบ ง. พิจารณาการเกลี่ยอัตรากําลังระหวางสวนราชการตางๆ ภายในกระทรวง การพิจารณาการเกลี่ยอัตรากําลังระหวางสวนราชการตางๆ ภายในกระทรวงเปน อํานาจหนาที่ของ อ.ก.พ.กระทรวง (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551มาตรา 16)
  • 19. 19 11. อ.ก.พ. กระทรวง มีบุคคลใดดํารงตําแหนงเปนประธาน ก. รัฐมนตรีเจาสังกัด ข. ปลัดกระทรวง ค. ผูวาราชการจังหวัด ง. อธิบดี ตอบ ก. รัฐมนตรีเจาสังกัด อ.ก.พ. กระทรวง ประกอบดวยรัฐมนตรีเจาสังกัด เปนประธาน ปลัดกระทรวง เปนรองประธาน และผูแทน ก.พ. ซึ่งตั้งจากขาราชการพลเรือนในสํานักงาน ก.พ. หนึ่งคน เปนอนุกรรมการโดยตําแหนง และอนุกรรมการ (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 มาตรา 15) 12. อ.ก.พ. กรม มีบุคคลใดดํารงตําแหนงเปนประธาน ก. รัฐมนตรีเจาสังกัด ข. ปลัดกระทรวง ค. ผูวาราชการจังหวัด ง. อธิบดี ตอบ ง. อธิบดี อ.ก.พ. กรม ประกอบดวยอธิบดี เปนประธาน รองอธิบดีที่อธิบดีมอบหมายหนึ่ง คน เปนรองประธาน และอนุกรรมการซึ่งประธาน อ.ก.พ. (พรบ.ระเบียบขาราชการพล เรือน พ.ศ.2551 มาตรา 17) 13. อ.ก.พ. จังหวัด มีบุคคลใดดํารงตําแหนงเปนประธาน ก. รัฐมนตรีเจาสังกัด ข. ปลัดกระทรวง ค. ผูวาราชการจังหวัด ง. อธิบดี ตอบ ค. ผูวาราชการจังหวัด อ.ก.พ. จังหวัด ประกอบดวยผูวาราชการจังหวัด เปนประธาน รองผูวาราชการ จังหวัด ที่ผูวาราชการจังหวัดมอบหมายหนึ่งคน เปนรองประธาน และอนุกรรมการ ซึ่ง ประธาน อ.ก.พ. (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 19) 14. "ก.พ.ค." มีชื่อเต็มวาอะไร ก. กรรมการพิทักษคุณธรรม ข. คณะกรรมการพิทักษระบบคุณธรรม ค. คณะกรรมการพิทักษคุณธรรม ง. กรรมการพิทักษระบบคุณธรรม ตอบ ข. คณะกรรมการพิทักษระบบคุณธรรม
  • 20. 20 ระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2548 ความหมาย “งานสารบรรณ” หมายความวา งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแต การจัดทําการรับ การสง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทําลาย “หนังสือ” หมายความวา หนังสือราชการ “สวนราชการ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม สํานักงาน หรือหนวยงานอื่นใด ของรั ฐ ทั้ง ในราชการบริ ห ารส ว นกลาง ราชการบริ ห ารสว นภู มิ ภ าค ราชการบริ ห ารส ว น ทองถิ่น หรือในตางประเทศและใหหมายความรวมถึงคณะกรรมการดวย “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะบุคคลที่ไดรับมอบหมายจากทางราชการให ปฏิบัติงานในเรื่องใด ๆ และใหหมายความรวมถึงคณะอนุกรรมการ คณะทํางาน หรือคณะ บุคคลอื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบนี้ ชนิดของหนังสือ หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เปนหลักฐานในราชการ ไดแก 1. หนังสือที่มีไปมาระหวางสวนราชการ 2. หนังสือที่สวนราชการมีไปถึงหนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่มี ไปถึงบุคคลภายนอก 3. หนังสือที่หนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่บุคคลภายนอกมีมาถึง สวนราชการ 4. เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นเพื่อเปนหลักฐานในราชการ 5. เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับ หนังสือ มี 6 ชนิด คือ 1. หนังสือภายนอก 2. หนังสือภายใน 3. หนังสือประทับตรา 4. หนังสือสั่งการ 5. หนังสือประชาสัมพันธ
  • 21. 21 6. หนังสือที่เจาหนาที่ทําขึ้น หรือรับไวเปนหลักฐานในราชการ หนังสือภายนอก หนังสือภายนอก คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธีโดยใชกระดาษตราครุฑ เปนหนังสือติดตอระหวางสวนราชการ หรือสวนราชการมีถึงหนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวน ราชการ หรือที่มีถึงบุคคลภายนอก หนังสือภายใน หนังสือภายใน คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธีนอยกวาหนังสือภายนอกเปน หนังสือติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดเดียวกัน ใชกระดาษบันทึกขอความ หนังสือประทับตรา หนั ง สื อ ประทั บ ตรา คื อ หนั ง สื อ ที่ใ ชป ระทับ ตราแทนการลงชื่ อ ของหั ว หน าส ว น ราชการระดับกรมขึ้นไป โดยใหหัวหนาสวนราชการระดับกอง หรือผูที่ไดรับมอบหมายจาก หัวหนาสวนราชการระดับกรมขึ้นไป เปนผูรับผิดชอบลงชื่อยอกํากับตรา หนังสือประทับตรา ใหใชไดทั้งระหวางสวนราชการกับสวนราชการ และระหวางสวนราชการกับบุคคลภายนอก เฉพาะกรณีที่ไมใชเรื่องสําคัญ ไดแก 1. การขอรายละเอียดเพิ่มเติม 2. การสงสําเนาหนังสือ สิ่งของ เอกสาร หรือบรรณสาร 3. การตอบรับทราบที่ไมเกี่ยวกับราชการสําคัญ หรือการเงิน 4. การแจงผลงานที่ไดดําเนินการไปแลวใหสวนราชการที่เกี่ยวของทราบ 5. การเตือนเรื่องที่คาง 6. เรื่องซึ่งหัวหนาสวนราชการระดับกรมขึ้นไปกําหนดโดยทําเปนคําสั่ง ใหใชหนังสือ ประทับตรา หนังสือประทับตรา ใชกระดาษตราครุฑ
  • 22. 22 แนวขอสอบ ระเบียบฯ งานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แกไขเพิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548 ่ 4. ขอใด หมายถึง งานสารบรรณ ก. การรับ-สง ข. การยืม ค. การเก็บรักษา ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ งานสารบรรณ หมายความวา งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแตการ จัดทําการรับ การสง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทําลาย (ขอ 6 ระเบียบฯ งานสาร บรรณ) 5. ในระเบียบฯ วาดวยงานสารบรรณ คําวา "หนังสือ" หมายถึงขอใด ก. หนังสือภายใน ข. หนังสือภายนอก ค. หนังสือราชการ ง. ถูกทุกขอ ตอบ ค. หนังสือราชการ หนังสือ หมายความวา หนังสือราชการ (ขอ 6 ระเบียบฯ งานสารบรรณ) 6. ผูรักษาการในระเบียบฯ วาดวยงานสารบรรณ ฉบับปจจุบันคือใคร ข. นายกรัฐมนตรี ก. ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ค. ปลัดกระทรวงการคลัง ง. คณะรัฐมนตรี ตอบ ก. ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบนี้ (ขอ 8 ระเบียบฯ งานสารบรรณ) 7. ขอใดมิใชความหมายของหนังสือราชการ ก. หนังสือที่มีไปมาระหวางสวนราชการ ข. หนังสือที่สวนราชการมีไปถึงหนวยงานอื่นที่มิใชสวนราชการ ค. เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นเพื่อใชเปนหลักฐานในราชการ ง. หนังสือที่มีขึ้นเพื่อใชในการติดตอบุคคลภายนอก ตอบ ง. หนังสือที่มีขึ้นเพื่อใชในการติดตอบุคคลภายนอก หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เปนหลักฐานในราชการ ไดแก 1. หนังสือที่มีไปมาระหวางสวนราชการ
  • 23. 23 สั่งซื้อไดที่ www.SheetRam.com โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422, 085-9679080,085-9993722,085-9993740 แจงการโอนเงิน พรอมชือ และอีเมลลที่ ่ LINE ID : sheetram โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080, 085-9993722,085-9993740