SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  13
Télécharger pour lire hors ligne
โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ
จากพฤษภาฯ ๒๕๓๕ ถึงปัจจุบัน	
โดย	
ศาสตราจารย์ ดร. เกษียร เตชะพีระ	
กีรตยาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 	
สาขาสังคมศาสตร์ ประจําปี ๒๕๕๕	
27/06/56	
 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕	
 1
เกริ่นนํา	
•  ในโอกาส ๒๑ ป พฤษภาประชาธิปไตย ๒๕๓๕ และทามกลางกระแส
ความขัดแยงรุนแรงทางการเมืองเสื้อสีปจจุบัน ผมอยากทบทวนโจทย
ทางการเมืองและความพยายามหาคำตอบที่เปลี่ยนไปในรอบ ๒ ทศวรรษ
โดยฝายตาง ๆ ที่มีบทบาทสำคัญในความขัดแยง โดยแบงหัวขอยอยเปน:Y
•  ๑) บริบทความคิดการเมืองหลังพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๕Y
๒) โจทยใหญทางการเมืองของฝายเสื้อเหลืองและพันธมิตรY
๓) โจทยใหญทางการเมืองของฝายเสื้อแดงและแนวรวมY
๔) ปญหาความสัมพันธระหวางการเมืองกับศีลธรรมY
27/06/56	
 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕	
 2
งานวิชาการที่บันดาลใจและเป็นฐานคิดข้อมูล	
•  พัชราภา ตันตราจิน. ความคิดทางสังคมการเมืองของเสกสรรค ประเสริฐ
กุล. (๒๕๕๖)Y
•  อุเชนทร เชียงเสน. “ประวัติศาสตรการเมืองภาคประชาชน: ความคิดและ
ปฏิบัติการของ “นักกิจกรรมทางการเมือง” ในปจจุบัน.” (๒๕๕๖)Y
•  โครงการวิจัย “ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย” ของทีมอาจารยอภิชาต
สถิตนิรามัย, ยุกติ มุกดาวิจิตรกับคณะ (๒๕๕๓-๒๕๕๖)Y
•  Andrew Walker. Thailand’s Political Peasants: Power in the Modern
Rural Economy. (2012)Y
27/06/56	
 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕	
 3
๑) บริบทความคิดการเมืองหลังพฤษภาคม ๒๕๓๕	
  
การเมืองหลัง ๒๕๓๕/ เศรษฐกิจหลัง ๒๕๓๕/
วิกฤตY รัฐประหาร รสช. ๒๕๓๔ 
การลุกฮือพฤษภา ๒๕๓๕Y
วิกฤตตมยำกุง ก.ค. ๒๕๔๐ 
เงินกูพวงเงื่อนไข IMFY
ปญหาY นักเลือกตั้ง/ระบอบเลือกตั้งธิปไตยY ทุนนิยมโลกาภิวัตนY
คำตอบY การเมืองภาคประชาชนY เศรษฐกิจทางเลือกชุมชน/พอเพียงY
ทักษิณY ประชาธิปไตยแบบตัวแทนที่กินไดY ประชานิยมเพื่อทุนนิยมY
27/06/56	
 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕	
 4
๒) โจทย์ใหญ่ทางการเมืองของฝ่ายเสื้อเหลืองและพันธมิตร	
27/06/56	
 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕	
 5
ความคิดของเสกสรรค์ในบริบทกระแสความคิดการเมืองปัจจุบัน 	
  
•  อำนาจทุน: ทุนนิยมโลกาภิวัตน à sovereignty เสื่อม à nationalism เสื่อม
à political consensus  consent เสื่อม = ความไรเสถียรภาพทางการเมือง
เรื้อรังเพราะรัฐขาดพรองความชอบธรรม, ฉันทมติและฉันทานุมัติจากสังคม
ภาคสวนตาง ๆ นอกคูหาเลือกตั้งY
•  เหลืองเห็น แดงมองขาม นิติราษฎรจบแค มิ.ย. - ธ.ค. ๒๔๗๕ (อำนาจรัฐ,
เครือขายอำมาตย) ไมขึ้นม.ค. - มี.ค. ๒๔๗๕ ดวยซ้ำ (เคาโครงเศรษฐกิจของ
หลวงประดิษฐมนูธรรม ซึ่งมีที่มาจากวิกฤตเศรษฐกิจทุนนิยมตกต่ำใหญทั่ว
โลก ค.ศ. ๑๙๒๙) ขณะที่อำนาจทุนโลกสำคัญขึ้นเรื่อย ๆ และเปนเนื้อเดียวกับ
อำนาจรัฐ (ดูตอนน้ำทวม)Y
•  แตวิธีแกของเหลืองคือเผด็จการทหารหรืออำนาจพิเศษของคนดีผูมีความเปน
ไทยมากกวา ซึ่งไม workY
27/06/56	
 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕	
 6
๓) โจทยใหญทางการเมืองของฝายเสื้อแดงและแนวรวม	
27/06/56	
 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕	
 7
มุมมองต่อชนบทที่เปลี่ยนไป	
  
ภาพเดิมกอนรัฐประหาร ๒๕๔๙/ ภาพใหมหลังรัฐประหาร ๒๕๔๙/
ชนบท = เกษตรY เกษตรเปนสวนรองที่ลดนอยถอยลงของเศรษฐกิจชนบทY
ชาวนายากจน ทำไดไมพอกินY ชาวนารายไดปานกลางผลิตภาพต่ำพยุงไวดวยเงินอุดหนุนจากรัฐ ปญหาหลักคือความ
เหลื่อมล้ำภายในและภายนอกมิติตาง ๆY
อยูภายใตระบบอุปถัมภY ดึงอำนาจภายนอก (ไมวาผี,รัฐ,ทุน,ชุมชน) มาตะลอมใชเพื่อดูดเอาทรัพยากร, ทุนและ
เทคโนโลยีมาเพิ่มผลิตภาพY
ขาดความรูการศึกษาY รอบรูโลกกวางผานเครือขายสายใยชาวบานนอกถิ่น (แรงงานอพยพไปทำงานตางถิ่น
แลวสงเงินกลับบาน)Y
ซื้อสิทธิ์ขายเสียงY สังคมการเมืองชนบทที่ตอรองตะลอมกดดันอำนาจภายนอกและขัดแยงตรวจสอบถวง
ดุลกันภายในตามธรรมนูญชนบทY
การเมืองภาคประชาชนเปนทางออกY การเลือกตั้งระดับตาง ๆ เปนทางหลักในการตอรองกดดันชวงชิงนโยบายและ
ทรัพยากรจากรัฐ การเมืองภาคประชาชนเปนสวนนอยY
เศรษฐกิจพอเพียง/ชุมชนเปนทางเลือกY เศรษฐกิจการคาที่ดึงดูดปจจัยภายนอกมาเพิ่มผลิตภาพชวยใหประคองฐานะคนชั้น
กลางไวไดY27/06/56	
 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕	
 8
จุดอับตันของสังคมการเมืองชนบท	
  
1)  ในทางเศรษฐกิจ ภาวะรัฐโอบอุมอุดหนุนจุนเจือชาวนารายไดปานกลางผลิต
ภาพต่ำดังที่เปนอยูจะยั่งยืนยาวนานไดยาก มีขีดจำกัด รัฐจะกระเตงอุมเลี้ยง
ไขเลี้ยงตอยพวกเขาซึ่งเปนประชากรสวนใหญในชนบทไปไดนานแคไหน?
ปญหาขาดทุนและเสี่ยงสูงจากนโยบายจำนำขาวทุกเม็ดเปนตัวอยางY
2)  คานิยมธรรมนูญชนบทของสังคมการเมืองชนบทมีลักษณะคับแคบ เฉพาะ
สวน parochial และแตกตางตรงขามกับประชาสังคมอยางที่เปนอยู หากไม
ปรับเปลี่ยนคลี่คลายขยายตัว ก็ยากจะพาไปสูสังคมการเมืองรวมกันในระดับ
ชาติอันเปนที่รับไดของหลักการเมืองสากลสมัยใหม เชน ทาทีไมใสใจไยดี
เรื่องสิทธิมนุษยชนในกรณีฆาตัดตอนยาเสพติด เปนตนY
27/06/56	
 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕	
 9
๔) ปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับศีลธรรม	
27/06/56	
 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕	
 10
คําถามต่อธรรมวิทยาแห่งพลเมืองใหม่
ที่แยกสังคมการเมืองออกจากศีลธรรม	
  
•  ผูเขียนใชกรอบแนวคิดเรื่องธรรมวิทยาแหงพลเมือง (civic หรือ civil religion) ของ Robert Bellah เพื่อ
ศึกษาความคิดซึ่งอยูเบื้องหลังความขัดแยงทางการเมืองปจจุบันระหวางเสื้อเหลือง -เสื้อแดง โดยพบวา
อุดมการณของพวกเสื้อแดงหลัก ๆ แลวเปนผลผลิตทางความคิดของนักประวัติศาสตร ซึ่งปฏิเสธคานิยม
แบบจารีตของไทยทั้งที่เปนคานิยมทางศีลธรรมและการเมือง ที่ผูกโยงอยางใกลชิดกับพุทธศาสนาและ
ระบบกษัตริย เหลาประกาศกของธรรมวิทยาแหงพลเมืองใหมซึ่งสวนใหญเปนนักประวัติศาสตรอาชีพชั้น
นำของไทย เลือกที่จะทดแทนสิ่งเหลานี้ดวยตัวระบอบประชาธิปไตยที่เนนความเทาเทียมกัน ซึ่งก็ตอง
อาศัยการดำรงอยูของ มวลมหาประชาชนผูลวงรูแจงและความแนนอนวาจะตองเกิดขึ้นของกระบวนการ
ทางประวัติศาสตรอีกทีหนึ่งกอน ในขณะที่ความตื่นตัวทางการเมืองและความใฝฝนในความเสมอภาค (ทั้ง
ในแงของผลประโยชนและสิ่งอื่นใด) อาจถือไดวาเปนคุณสมบัติอยางหนึ่งของการเปน พลเมืองที่ดี แตเปน
เรื่องไมงายนักที่จะเห็นวาธรรมวิทยาแหงพลเมืองที่ปราศจากเนื้อหาทาง ศาสนาหรือจริยธรรมเลยจะ
สามารถยึดโยงประชาชาติใดใหอยูดวยกันไดเปนเวลาที่นานพอ สังคมในอุดมคติที่ไมตองการสำนึกทางศีล
ธรรมนี้อาจเกิดขึ้นไดจริง แตจะเหมาะหรือไมกับการพัฒนาจิตวิญญาณของมนุษยเปนเรื่องที่ยังตองการคำ
ตอบ[
สมบัติ จันทรวงศ, “ความแตกแยกของธรรมวิทยาแหงพลเมืองกับมุมมองทางปรัชญาการเมืองฯ”, ๒๕๕๕ Y
27/06/56	
 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕	
 11
วิจารณ์แห่งวิจารณ์: 
ปัญหาของสังคมการเมืองที่ถือลัทธิยึดศีลธรรมเป็นเจ้าเรือน	
  
•  “...คนชั่วที่แอบอางเปนคนไทย...” :
[ศีลธรรม+ชาตินิยม+การเมือง
วัฒนธรรม+กฎหมาย+ความเปน
พลเมือง+เอกลักษณชาติ]Y
•  Politics + Morality in a free
marketplace of moral ideas ✔ Y
•  Politics + Moralism esp. a self-
centered, coercive one ?
Y
27/06/56	
 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕	
 12	
“ตามรอยพระยุคลบาทกับการมีสวนรวมในการพัฒนาประเทศของทหารอาชีพ”Y
อาคารรณภากาศ โรงเรียนนายเรืออากาศ เขตสายไหม กรุงเทพฯ ๓๑ ส.ค. ๒๕๔๙Y
วิจารณ์แห่งวิจารณ์: 
ปัญหาของสังคมการเมืองที่ถือลัทธิยึดศีลธรรมเป็นเจ้าเรือน	
  
•  Irreducible moral pluralism in the modern worldY
•  No free marketplace of moral ideas in Thai societyY
•  Moralizing pretensions of the political eliteY
•  Unchecked  unbalanced self-proclaimed arbiter of public morality/
Moral Thainess ISOY
•  The irresoluble contradiction between [the principle of “the end
justifies the means” à la politics]  [the principle of “the moral unity of
means and end” à la moral life]Y
27/06/56	
 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕	
 13

Contenu connexe

Similaire à โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน

ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติTeeranan
 
สงครามสารสนเทศ 97
สงครามสารสนเทศ 97สงครามสารสนเทศ 97
สงครามสารสนเทศ 97Kan Yuenyong
 
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าTeeranan
 
Global issues 220355
Global issues 220355Global issues 220355
Global issues 220355Teeranan
 
World issues 160155
World issues 160155World issues 160155
World issues 160155Teeranan
 
World issues
World issuesWorld issues
World issuesTeeranan
 
บทความวิชาการ --เศรษฐศาสตร์การเมืองคืออะไร
บทความวิชาการ --เศรษฐศาสตร์การเมืองคืออะไรบทความวิชาการ --เศรษฐศาสตร์การเมืองคืออะไร
บทความวิชาการ --เศรษฐศาสตร์การเมืองคืออะไรSakdaNasongsi1
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุFURD_RSU
 
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้านใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้านPrapatsorn Chaihuay
 
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้านใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้านPrapatsorn Chaihuay
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศpentanino
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศpentanino
 
9. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-59
9. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-599. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-59
9. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-59Taraya Srivilas
 
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติบันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติJunya Yimprasert
 
Economics of Politics
Economics of PoliticsEconomics of Politics
Economics of PoliticsKan Yuenyong
 

Similaire à โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน (18)

ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
 
สงครามสารสนเทศ 97
สงครามสารสนเทศ 97สงครามสารสนเทศ 97
สงครามสารสนเทศ 97
 
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
 
Global issues 220355
Global issues 220355Global issues 220355
Global issues 220355
 
World issues 160155
World issues 160155World issues 160155
World issues 160155
 
World issues
World issuesWorld issues
World issues
 
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
 
บทความวิชาการ --เศรษฐศาสตร์การเมืองคืออะไร
บทความวิชาการ --เศรษฐศาสตร์การเมืองคืออะไรบทความวิชาการ --เศรษฐศาสตร์การเมืองคืออะไร
บทความวิชาการ --เศรษฐศาสตร์การเมืองคืออะไร
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
 
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้านใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
 
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้านใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
 
9. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-59
9. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-599. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-59
9. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-59
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติบันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
 
Economics of Politics
Economics of PoliticsEconomics of Politics
Economics of Politics
 
Politics1
Politics1Politics1
Politics1
 

Plus de Kan Yuenyong

The Myth of Neoliberalism Discourse and The Ordo Manifesto of 1936
The Myth of Neoliberalism Discourse and The Ordo Manifesto of 1936The Myth of Neoliberalism Discourse and The Ordo Manifesto of 1936
The Myth of Neoliberalism Discourse and The Ordo Manifesto of 1936Kan Yuenyong
 
IQM slide pitch deck
IQM slide pitch deckIQM slide pitch deck
IQM slide pitch deckKan Yuenyong
 
Japanese Politics of Religion
Japanese Politics of ReligionJapanese Politics of Religion
Japanese Politics of ReligionKan Yuenyong
 
How Think Tanks use ROMA to Shape Public Policy Fostering Better Society
How Think Tanks use ROMA to Shape Public Policy Fostering Better SocietyHow Think Tanks use ROMA to Shape Public Policy Fostering Better Society
How Think Tanks use ROMA to Shape Public Policy Fostering Better SocietyKan Yuenyong
 
Assassination of Shinzo Abe
Assassination of Shinzo AbeAssassination of Shinzo Abe
Assassination of Shinzo AbeKan Yuenyong
 
The Grassroots Covid-19 Resilience
The Grassroots Covid-19 ResilienceThe Grassroots Covid-19 Resilience
The Grassroots Covid-19 ResilienceKan Yuenyong
 
Katechon and Cognitive Revolution: An Emergence of the 21st Century Global Po...
Katechon and Cognitive Revolution: An Emergence of the 21st Century Global Po...Katechon and Cognitive Revolution: An Emergence of the 21st Century Global Po...
Katechon and Cognitive Revolution: An Emergence of the 21st Century Global Po...Kan Yuenyong
 
Russo - Ukrainian War Updates III: Defcon 3
Russo - Ukrainian War Updates III: Defcon 3Russo - Ukrainian War Updates III: Defcon 3
Russo - Ukrainian War Updates III: Defcon 3Kan Yuenyong
 
Russo - Ukrainian War Update II: How the fox wars read through the fog of war
Russo - Ukrainian War Update II: How the fox wars read through the fog of warRusso - Ukrainian War Update II: How the fox wars read through the fog of war
Russo - Ukrainian War Update II: How the fox wars read through the fog of warKan Yuenyong
 
Updated Situation on Russia's Invasion on Ukraine
Updated Situation on Russia's Invasion on UkraineUpdated Situation on Russia's Invasion on Ukraine
Updated Situation on Russia's Invasion on UkraineKan Yuenyong
 
SEM on MIDUS Dataset
SEM on MIDUS DatasetSEM on MIDUS Dataset
SEM on MIDUS DatasetKan Yuenyong
 
Cryptocurrency and digital economy
Cryptocurrency and digital economy Cryptocurrency and digital economy
Cryptocurrency and digital economy Kan Yuenyong
 
|QAB> : Quantum Computing, AI and Blockchain
|QAB> : Quantum Computing, AI and Blockchain|QAB> : Quantum Computing, AI and Blockchain
|QAB> : Quantum Computing, AI and BlockchainKan Yuenyong
 
The Public Administration’s Cybernetic Governance Paradigm in Digital Era
The Public Administration’s Cybernetic Governance Paradigm in Digital EraThe Public Administration’s Cybernetic Governance Paradigm in Digital Era
The Public Administration’s Cybernetic Governance Paradigm in Digital EraKan Yuenyong
 
Tax policy event study
Tax policy event study Tax policy event study
Tax policy event study Kan Yuenyong
 
Interviews in Qualitative Research with Kantian and Phenominological Philosophy
Interviews in Qualitative Research with Kantian and Phenominological PhilosophyInterviews in Qualitative Research with Kantian and Phenominological Philosophy
Interviews in Qualitative Research with Kantian and Phenominological PhilosophyKan Yuenyong
 
Multipleregression covidmobility and Covid-19 policy recommendation
Multipleregression covidmobility and Covid-19 policy recommendationMultipleregression covidmobility and Covid-19 policy recommendation
Multipleregression covidmobility and Covid-19 policy recommendationKan Yuenyong
 
Complexity and Scenario Planning
Complexity and Scenario PlanningComplexity and Scenario Planning
Complexity and Scenario PlanningKan Yuenyong
 
Participatoy governance and conflict resolution thailand pdf
Participatoy governance and conflict resolution thailand pdfParticipatoy governance and conflict resolution thailand pdf
Participatoy governance and conflict resolution thailand pdfKan Yuenyong
 
Crossing the Rubicon: Post Covid-19 Policy
Crossing the Rubicon: Post Covid-19 PolicyCrossing the Rubicon: Post Covid-19 Policy
Crossing the Rubicon: Post Covid-19 PolicyKan Yuenyong
 

Plus de Kan Yuenyong (20)

The Myth of Neoliberalism Discourse and The Ordo Manifesto of 1936
The Myth of Neoliberalism Discourse and The Ordo Manifesto of 1936The Myth of Neoliberalism Discourse and The Ordo Manifesto of 1936
The Myth of Neoliberalism Discourse and The Ordo Manifesto of 1936
 
IQM slide pitch deck
IQM slide pitch deckIQM slide pitch deck
IQM slide pitch deck
 
Japanese Politics of Religion
Japanese Politics of ReligionJapanese Politics of Religion
Japanese Politics of Religion
 
How Think Tanks use ROMA to Shape Public Policy Fostering Better Society
How Think Tanks use ROMA to Shape Public Policy Fostering Better SocietyHow Think Tanks use ROMA to Shape Public Policy Fostering Better Society
How Think Tanks use ROMA to Shape Public Policy Fostering Better Society
 
Assassination of Shinzo Abe
Assassination of Shinzo AbeAssassination of Shinzo Abe
Assassination of Shinzo Abe
 
The Grassroots Covid-19 Resilience
The Grassroots Covid-19 ResilienceThe Grassroots Covid-19 Resilience
The Grassroots Covid-19 Resilience
 
Katechon and Cognitive Revolution: An Emergence of the 21st Century Global Po...
Katechon and Cognitive Revolution: An Emergence of the 21st Century Global Po...Katechon and Cognitive Revolution: An Emergence of the 21st Century Global Po...
Katechon and Cognitive Revolution: An Emergence of the 21st Century Global Po...
 
Russo - Ukrainian War Updates III: Defcon 3
Russo - Ukrainian War Updates III: Defcon 3Russo - Ukrainian War Updates III: Defcon 3
Russo - Ukrainian War Updates III: Defcon 3
 
Russo - Ukrainian War Update II: How the fox wars read through the fog of war
Russo - Ukrainian War Update II: How the fox wars read through the fog of warRusso - Ukrainian War Update II: How the fox wars read through the fog of war
Russo - Ukrainian War Update II: How the fox wars read through the fog of war
 
Updated Situation on Russia's Invasion on Ukraine
Updated Situation on Russia's Invasion on UkraineUpdated Situation on Russia's Invasion on Ukraine
Updated Situation on Russia's Invasion on Ukraine
 
SEM on MIDUS Dataset
SEM on MIDUS DatasetSEM on MIDUS Dataset
SEM on MIDUS Dataset
 
Cryptocurrency and digital economy
Cryptocurrency and digital economy Cryptocurrency and digital economy
Cryptocurrency and digital economy
 
|QAB> : Quantum Computing, AI and Blockchain
|QAB> : Quantum Computing, AI and Blockchain|QAB> : Quantum Computing, AI and Blockchain
|QAB> : Quantum Computing, AI and Blockchain
 
The Public Administration’s Cybernetic Governance Paradigm in Digital Era
The Public Administration’s Cybernetic Governance Paradigm in Digital EraThe Public Administration’s Cybernetic Governance Paradigm in Digital Era
The Public Administration’s Cybernetic Governance Paradigm in Digital Era
 
Tax policy event study
Tax policy event study Tax policy event study
Tax policy event study
 
Interviews in Qualitative Research with Kantian and Phenominological Philosophy
Interviews in Qualitative Research with Kantian and Phenominological PhilosophyInterviews in Qualitative Research with Kantian and Phenominological Philosophy
Interviews in Qualitative Research with Kantian and Phenominological Philosophy
 
Multipleregression covidmobility and Covid-19 policy recommendation
Multipleregression covidmobility and Covid-19 policy recommendationMultipleregression covidmobility and Covid-19 policy recommendation
Multipleregression covidmobility and Covid-19 policy recommendation
 
Complexity and Scenario Planning
Complexity and Scenario PlanningComplexity and Scenario Planning
Complexity and Scenario Planning
 
Participatoy governance and conflict resolution thailand pdf
Participatoy governance and conflict resolution thailand pdfParticipatoy governance and conflict resolution thailand pdf
Participatoy governance and conflict resolution thailand pdf
 
Crossing the Rubicon: Post Covid-19 Policy
Crossing the Rubicon: Post Covid-19 PolicyCrossing the Rubicon: Post Covid-19 Policy
Crossing the Rubicon: Post Covid-19 Policy
 

โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน

  • 1. โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ ๒๕๓๕ ถึงปัจจุบัน โดย ศาสตราจารย์ ดร. เกษียร เตชะพีระ กีรตยาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์ ประจําปี ๒๕๕๕ 27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 1
  • 2. เกริ่นนํา •  ในโอกาส ๒๑ ป พฤษภาประชาธิปไตย ๒๕๓๕ และทามกลางกระแส ความขัดแยงรุนแรงทางการเมืองเสื้อสีปจจุบัน ผมอยากทบทวนโจทย ทางการเมืองและความพยายามหาคำตอบที่เปลี่ยนไปในรอบ ๒ ทศวรรษ โดยฝายตาง ๆ ที่มีบทบาทสำคัญในความขัดแยง โดยแบงหัวขอยอยเปน:Y •  ๑) บริบทความคิดการเมืองหลังพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๕Y ๒) โจทยใหญทางการเมืองของฝายเสื้อเหลืองและพันธมิตรY ๓) โจทยใหญทางการเมืองของฝายเสื้อแดงและแนวรวมY ๔) ปญหาความสัมพันธระหวางการเมืองกับศีลธรรมY 27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 2
  • 3. งานวิชาการที่บันดาลใจและเป็นฐานคิดข้อมูล •  พัชราภา ตันตราจิน. ความคิดทางสังคมการเมืองของเสกสรรค ประเสริฐ กุล. (๒๕๕๖)Y •  อุเชนทร เชียงเสน. “ประวัติศาสตรการเมืองภาคประชาชน: ความคิดและ ปฏิบัติการของ “นักกิจกรรมทางการเมือง” ในปจจุบัน.” (๒๕๕๖)Y •  โครงการวิจัย “ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย” ของทีมอาจารยอภิชาต สถิตนิรามัย, ยุกติ มุกดาวิจิตรกับคณะ (๒๕๕๓-๒๕๕๖)Y •  Andrew Walker. Thailand’s Political Peasants: Power in the Modern Rural Economy. (2012)Y 27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 3
  • 4. ๑) บริบทความคิดการเมืองหลังพฤษภาคม ๒๕๓๕   การเมืองหลัง ๒๕๓๕/ เศรษฐกิจหลัง ๒๕๓๕/ วิกฤตY รัฐประหาร รสช. ๒๕๓๔ การลุกฮือพฤษภา ๒๕๓๕Y วิกฤตตมยำกุง ก.ค. ๒๕๔๐ เงินกูพวงเงื่อนไข IMFY ปญหาY นักเลือกตั้ง/ระบอบเลือกตั้งธิปไตยY ทุนนิยมโลกาภิวัตนY คำตอบY การเมืองภาคประชาชนY เศรษฐกิจทางเลือกชุมชน/พอเพียงY ทักษิณY ประชาธิปไตยแบบตัวแทนที่กินไดY ประชานิยมเพื่อทุนนิยมY 27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 4
  • 6. ความคิดของเสกสรรค์ในบริบทกระแสความคิดการเมืองปัจจุบัน   •  อำนาจทุน: ทุนนิยมโลกาภิวัตน à sovereignty เสื่อม à nationalism เสื่อม à political consensus consent เสื่อม = ความไรเสถียรภาพทางการเมือง เรื้อรังเพราะรัฐขาดพรองความชอบธรรม, ฉันทมติและฉันทานุมัติจากสังคม ภาคสวนตาง ๆ นอกคูหาเลือกตั้งY •  เหลืองเห็น แดงมองขาม นิติราษฎรจบแค มิ.ย. - ธ.ค. ๒๔๗๕ (อำนาจรัฐ, เครือขายอำมาตย) ไมขึ้นม.ค. - มี.ค. ๒๔๗๕ ดวยซ้ำ (เคาโครงเศรษฐกิจของ หลวงประดิษฐมนูธรรม ซึ่งมีที่มาจากวิกฤตเศรษฐกิจทุนนิยมตกต่ำใหญทั่ว โลก ค.ศ. ๑๙๒๙) ขณะที่อำนาจทุนโลกสำคัญขึ้นเรื่อย ๆ และเปนเนื้อเดียวกับ อำนาจรัฐ (ดูตอนน้ำทวม)Y •  แตวิธีแกของเหลืองคือเผด็จการทหารหรืออำนาจพิเศษของคนดีผูมีความเปน ไทยมากกวา ซึ่งไม workY 27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 6
  • 8. มุมมองต่อชนบทที่เปลี่ยนไป   ภาพเดิมกอนรัฐประหาร ๒๕๔๙/ ภาพใหมหลังรัฐประหาร ๒๕๔๙/ ชนบท = เกษตรY เกษตรเปนสวนรองที่ลดนอยถอยลงของเศรษฐกิจชนบทY ชาวนายากจน ทำไดไมพอกินY ชาวนารายไดปานกลางผลิตภาพต่ำพยุงไวดวยเงินอุดหนุนจากรัฐ ปญหาหลักคือความ เหลื่อมล้ำภายในและภายนอกมิติตาง ๆY อยูภายใตระบบอุปถัมภY ดึงอำนาจภายนอก (ไมวาผี,รัฐ,ทุน,ชุมชน) มาตะลอมใชเพื่อดูดเอาทรัพยากร, ทุนและ เทคโนโลยีมาเพิ่มผลิตภาพY ขาดความรูการศึกษาY รอบรูโลกกวางผานเครือขายสายใยชาวบานนอกถิ่น (แรงงานอพยพไปทำงานตางถิ่น แลวสงเงินกลับบาน)Y ซื้อสิทธิ์ขายเสียงY สังคมการเมืองชนบทที่ตอรองตะลอมกดดันอำนาจภายนอกและขัดแยงตรวจสอบถวง ดุลกันภายในตามธรรมนูญชนบทY การเมืองภาคประชาชนเปนทางออกY การเลือกตั้งระดับตาง ๆ เปนทางหลักในการตอรองกดดันชวงชิงนโยบายและ ทรัพยากรจากรัฐ การเมืองภาคประชาชนเปนสวนนอยY เศรษฐกิจพอเพียง/ชุมชนเปนทางเลือกY เศรษฐกิจการคาที่ดึงดูดปจจัยภายนอกมาเพิ่มผลิตภาพชวยใหประคองฐานะคนชั้น กลางไวไดY27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 8
  • 9. จุดอับตันของสังคมการเมืองชนบท   1)  ในทางเศรษฐกิจ ภาวะรัฐโอบอุมอุดหนุนจุนเจือชาวนารายไดปานกลางผลิต ภาพต่ำดังที่เปนอยูจะยั่งยืนยาวนานไดยาก มีขีดจำกัด รัฐจะกระเตงอุมเลี้ยง ไขเลี้ยงตอยพวกเขาซึ่งเปนประชากรสวนใหญในชนบทไปไดนานแคไหน? ปญหาขาดทุนและเสี่ยงสูงจากนโยบายจำนำขาวทุกเม็ดเปนตัวอยางY 2)  คานิยมธรรมนูญชนบทของสังคมการเมืองชนบทมีลักษณะคับแคบ เฉพาะ สวน parochial และแตกตางตรงขามกับประชาสังคมอยางที่เปนอยู หากไม ปรับเปลี่ยนคลี่คลายขยายตัว ก็ยากจะพาไปสูสังคมการเมืองรวมกันในระดับ ชาติอันเปนที่รับไดของหลักการเมืองสากลสมัยใหม เชน ทาทีไมใสใจไยดี เรื่องสิทธิมนุษยชนในกรณีฆาตัดตอนยาเสพติด เปนตนY 27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 9
  • 11. คําถามต่อธรรมวิทยาแห่งพลเมืองใหม่ ที่แยกสังคมการเมืองออกจากศีลธรรม   •  ผูเขียนใชกรอบแนวคิดเรื่องธรรมวิทยาแหงพลเมือง (civic หรือ civil religion) ของ Robert Bellah เพื่อ ศึกษาความคิดซึ่งอยูเบื้องหลังความขัดแยงทางการเมืองปจจุบันระหวางเสื้อเหลือง -เสื้อแดง โดยพบวา อุดมการณของพวกเสื้อแดงหลัก ๆ แลวเปนผลผลิตทางความคิดของนักประวัติศาสตร ซึ่งปฏิเสธคานิยม แบบจารีตของไทยทั้งที่เปนคานิยมทางศีลธรรมและการเมือง ที่ผูกโยงอยางใกลชิดกับพุทธศาสนาและ ระบบกษัตริย เหลาประกาศกของธรรมวิทยาแหงพลเมืองใหมซึ่งสวนใหญเปนนักประวัติศาสตรอาชีพชั้น นำของไทย เลือกที่จะทดแทนสิ่งเหลานี้ดวยตัวระบอบประชาธิปไตยที่เนนความเทาเทียมกัน ซึ่งก็ตอง อาศัยการดำรงอยูของ มวลมหาประชาชนผูลวงรูแจงและความแนนอนวาจะตองเกิดขึ้นของกระบวนการ ทางประวัติศาสตรอีกทีหนึ่งกอน ในขณะที่ความตื่นตัวทางการเมืองและความใฝฝนในความเสมอภาค (ทั้ง ในแงของผลประโยชนและสิ่งอื่นใด) อาจถือไดวาเปนคุณสมบัติอยางหนึ่งของการเปน พลเมืองที่ดี แตเปน เรื่องไมงายนักที่จะเห็นวาธรรมวิทยาแหงพลเมืองที่ปราศจากเนื้อหาทาง ศาสนาหรือจริยธรรมเลยจะ สามารถยึดโยงประชาชาติใดใหอยูดวยกันไดเปนเวลาที่นานพอ สังคมในอุดมคติที่ไมตองการสำนึกทางศีล ธรรมนี้อาจเกิดขึ้นไดจริง แตจะเหมาะหรือไมกับการพัฒนาจิตวิญญาณของมนุษยเปนเรื่องที่ยังตองการคำ ตอบ[ สมบัติ จันทรวงศ, “ความแตกแยกของธรรมวิทยาแหงพลเมืองกับมุมมองทางปรัชญาการเมืองฯ”, ๒๕๕๕ Y 27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 11
  • 12. วิจารณ์แห่งวิจารณ์: ปัญหาของสังคมการเมืองที่ถือลัทธิยึดศีลธรรมเป็นเจ้าเรือน   •  “...คนชั่วที่แอบอางเปนคนไทย...” : [ศีลธรรม+ชาตินิยม+การเมือง วัฒนธรรม+กฎหมาย+ความเปน พลเมือง+เอกลักษณชาติ]Y •  Politics + Morality in a free marketplace of moral ideas ✔ Y •  Politics + Moralism esp. a self- centered, coercive one ? Y 27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 12 “ตามรอยพระยุคลบาทกับการมีสวนรวมในการพัฒนาประเทศของทหารอาชีพ”Y อาคารรณภากาศ โรงเรียนนายเรืออากาศ เขตสายไหม กรุงเทพฯ ๓๑ ส.ค. ๒๕๔๙Y
  • 13. วิจารณ์แห่งวิจารณ์: ปัญหาของสังคมการเมืองที่ถือลัทธิยึดศีลธรรมเป็นเจ้าเรือน   •  Irreducible moral pluralism in the modern worldY •  No free marketplace of moral ideas in Thai societyY •  Moralizing pretensions of the political eliteY •  Unchecked unbalanced self-proclaimed arbiter of public morality/ Moral Thainess ISOY •  The irresoluble contradiction between [the principle of “the end justifies the means” à la politics] [the principle of “the moral unity of means and end” à la moral life]Y 27/06/56 ปาฐกถากีรตยาจารย์สังคมศาสตร์ ๒๕๕๕ 13