SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  25
Télécharger pour lire hors ligne
นวั ต กรรมเทคโนโลยี ส ารสนเทศทางสุ ข ภาพ

                                               อ.สิรินยา พวงจำปา



Sunday, March 4, 12
วั ต ถุ ป ระสงค เชิ ง พฤติ ก รรม
                 —ระบุประโยชนของนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศทาง
                      สุขภาพไดถูกตอง
                 —วิเคราะหการใชนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศทาง
                      สุขภาพไดถูกตอง




Sunday, March 4, 12
นวั ต กรรม (INNOVATION)
                —หมายถึงความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐใหม ๆ ที่
                      ยังไมเคยมีใชมากอน หรือเปนการพัฒนาดัดแปลงมา
                      จากของเดิมที่มีอยูแลว ใหทันสมัยและใชไดผลดียิ่งขึ้น




Sunday, March 4, 12
การพ ั ฒ นา นว ั ต กรรม แบ ง ออกเป น 3 ระยะ
                — ระยะที่ 1 มีการประดิษฐคิดคน (INNOVATION) หรือเปนการ
                      ปรุงแตงของเกาใหเหมาะสมกับกาลสมัย
                — ระยะที่ 2 พัฒนาการ (DEVELOPMENT) มีการทดลองใน
                      แหลงทดลองจัดทำอยูในลักษณะของโครงการทดลองปฏิบัติ
                      กอน (PILOT PROJECT)
                — ระยะที่ 3 การนำเอาไปปฏิบัติในสถานการณทั่วไป ซึ่งจัดวา
                      เปนนวัตกรรมขั้นสมบูรณ


Sunday, March 4, 12
ลั ก ษณะของนวั ต กรรม
                      1. สิ่งใหมที่ไมเคยมีผูใดเคยทำมากอนเลย
                      2. สิ่งใหมที่เคยทำมาแลวในอดีตแตไดมีการ
                      รื้อฟนขึ้นมาใหม
                      3. สิ่งใหมที่มีการพัฒนามาจากของเกาที่มีอยูเดิม



Sunday, March 4, 12
นวัตกรรมทางการพยาบาล

                      กระบวนการ ผลลัพธทางการพยาบาลที่ไดสรางขึ้นใหม
                      รวมทั้งเปนการพัฒนาปรับปรุง ดัดแปลงนวัตกรรมใหดี
                      ยิ่งขึ้น ซึ่งจะสงผลตอการพัฒนาวิชาชีพได




Sunday, March 4, 12
ความสำคัญของนวัตกรรมทางการพยาบาล
             •        การแขงขันดานการใหบริการทางการพยาบาลของโรงพยาบาลตางๆ
             •        เพื่อพัฒนาคุณภาพการพยาบาลใหดียิ่งขึ้น
             •        เปนสวนหนึ่งที่ชวยในการสงเสริมใหเกิดการบริการที่มีประสิทธิภาพ
             •        ยกระดับของโรงพยาบาลใหดีขึ้น
             •        ลดคาใชจายในระบบสุขภาพ
             •        เปนการสงเสริมการพัฒนาระบบสุขภาพที่เขมแข็ง


Sunday, March 4, 12
บทบาทของพยาบาล กับ นวัตกรรม
                สามารถแบงไดเปน 3 ดาน ดังนี้
                       ดานการคิดคนนวัตกรรม คือ วางแผนการใชนวัตกรรม บทบาทการมีสวนรวม
                      ในการคิดคนนวัตกรรม ทางสุขภาพใหมๆ หรือรวมวางแผนการใชนวัตกรรมที่มี
                      อยูแลว
                      ดานเปนผูใชนวัตกรรม ควรศึกษานวัตกรรมใหเขาใจถองแท ถึงขอดี ขอเสีย
                      และเตรียมเจาหนาที่ ใหเขาใจนวัตกรรมถูกตองตรงกัน การใชนวัตกรรมควรยึด
                      หลักการสาธารณสุขมูลฐาน โดยเนนกระบวน การเรียนรูนวัตกรรมมากกวาผล
                      งาน
                      ดานการประเมินผล เมื่อนำนวัตกรรมไปใชในสถานที่บริการทางสุขภาพที่ใดแลว
                      ในระยะเริ่มแรก ควรติดตามนิเทศอยางใกลชิด และประเมินผลเปนระยะๆ เพื่อ
                      รูขอดี ขอเสียของการดำเนินงาน แลวนำมาแกไข ปรับปรุงพัฒนาตอไป
Sunday, March 4, 12
แนวทางในการพัฒนานวัตกรรมทางการพยาบาล
                      การรวมกันกำหนดวิสัยทัศนและกลยุทธในการพัฒนานวัตกรรม
                      สภาพแวดลอมที่สนับสนุนการพัฒนานวัตกรรม
                      การบริหารทรัพยากร เพื่อใหเกิดการพัฒนานวัตกรรมขึ้นในองคกร:ทรัพยากรที่
                      สำคัญในการพัฒนา นวัตกรรมขององคกร คืองบประมาณ บุคลากร เวลา และ
                      ขอมูลสาระสนเทศ
                      กระบวนการสรางเครือขายเพื่อการพัฒนานวัตกรรม ผานเทคโนโลยี สารสนเทศ
                      เพื่อใหเกิดการพัฒนาผลงาน
                      การกำหนดโครงการพัฒนานวัตกรรม
                      การพัฒนาทักษะในการสรางนวัตกรรม
                      การยอมรับและสรางแรงจูงใจในการพัฒนานวัตกรรม
                      บุคคลภายนอกที่มีสวนเกี่ยวของกับการพัฒนานวัตกรรม

Sunday, March 4, 12
ป ญ ญาประดิ ษ ฐ (ARTIFICIAL INTELLIGENCE: AI)


       —    เลียนแบบกระบวนการคิดของมนุษย
             ใหมีพฤติกรรมใกลเคียงกับมนุษย




Sunday, March 4, 12
ลั ก ษณะของAI
                 —สามารถเรียนรูไดจากประสบการณ

                 —สามารถตอบสนองตอสถาณการณใหมๆไดอยางรวดเร็ว

                 —ใชความเปนเหตุผลในการแกปญหาและสามารถดำเนินการได
                      อยางมีประสิทธิผล
                 —รับรูถึงความสัมพันธขององคประกอบที่แตกตางกันในแตละส
                      ถาณการณ



Sunday, March 4, 12
ประโยชน  ข องป  ญ ญาประด ิ ษ ฐ 
                —มีความเที่ยงตรงและรวดเร็วในการแกปญหา

                —ชวยในการแกปญหาที่ยุงยาก ซึ่งไมสามารถดำเนินการดวยวิธี
                      ทางคอมพิวเตอรทั่วไป
                —สนับสนุนในการแกปญหาที่มีขอมูลไมชัดเจน   หรือไมสมบูรณ
                —เพิ่มผลผลิตในการดำเนินงาน

                —จัดการสารสนเทศที่เกินภาระงาน    โดยการสรุปหรือแปรความ
                      สารสนเทศที่มีปริมาณมาก

Sunday, March 4, 12
AI
                —EXPERT SYSTEM

                —NATURAL LANGUAGE TECHNOLOGY

                —ROBOTIC & SENSORY SYSTEM

                —INTELLIGENCE COMPUTER-AIDED INSTRUCTION

                —MACHINE LEARNING




Sunday, March 4, 12
Sunday, March 4, 12
Sunday, March 4, 12
ปจจุบัน “นวัตกรรม” ถือเปนเครื่องมือสำคัญในการบริหารการเปลี่ยนแปลง
              (CHANGE) ในโลกยุคเศรษฐกิจสรางสรรค (CREATIVE ECONOMY) โดยมีเปา
              หมายเพื่อใหเกิดการสรางมูลคา (VALUE CREATION)

              ในระยะเวลาที่ผานมา ภาคอุตสาหกรรมของประเทศมุงเนนในดานการพัฒนา
              นวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและลดตนทุนการผลิตเพื่อยกระดับ
              ศักยภาพทางการแขงขันขององคกร หากแตการดำเนินการดังกลาวสามารถทำได
              เพียงระดับหนึ่งเทานั้น เนื่องจากผลิตภัณฑดังกลาวกาวกระโดดไปสูตลาดใน
              ระดับสากลก็มักจะประสบปญหาดานตนทุนที่ไมสามารถแขงขันกับประเทศที่มี
              ความพรอมดานวัตถุดิบ แรงงาน และเทคโนโลยี ดังนั้น การพัฒนานวัตกรรมใน
              ระยะหลังจึงมุงไปที่ "การสรางความแตกตาง" (DIFFERENTIATION) จาก
              ผลิตภัณฑเดิม รวมทั้งเนน "การสรางตราสินคา" (BRANDING) ของผลิตภัณฑ
              ดวยการนำเรื่องราวและวิถึการดำเนินงานตางๆ รวมทั้งการออกแบบมาผสม
              ผสานกับความรูทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

Sunday, March 4, 12
Sunday, March 4, 12
เวปไซต  ท ี ่ ค วรเข  า ไปศ ึ ก ษาเร ื ่ อ งนว ั ต กรรม
                      ◦ สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ HTTP://WWW.NIA.OR.TH
                      ◦ ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ (NATIONAL
                        ELECTRONICS AND COMPUTER TECHNOLOGY CENTER : NECTEC หรือ
                        เนคเทค) HTTP://WWW.NECTEC.OR.TH/
                      ◦ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) HTTP://
                        WWW.NSTDA.OR.TH/
                      ◦ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี HTTP://WWW.MOST.GO.TH/
                      ◦ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) HTTP://
                        WWW.THAIHEALTH.OR.TH
                      ◦ ศูนยกลางความรูแหงชาติ WWW.TKC.GO.TH 

Sunday, March 4, 12
ค น หาตั ว อย า งนวั ต กรรม
                —สืบคนนวัตกรรมจากเว็บไซตที่กำหนด ใชคำสำคัญ
                      นวัตกรรม หรือ ปญญาประดิษฐ
                —วิเคราะหดังนี้

                      ◦ตรงตามเกณฑของนวัตกรรมหรือไม
                      ◦เกี่ยวของกับพยาบาลอยางไร
                      ◦เกี่ยวของกับเทคโนโลยีสารสนเทศหรือไม
                —สง LINK ขึ้น FB และ COMMENT การวิเคราะห
Sunday, March 4, 12
Sunday, March 4, 12
Sunday, March 4, 12
Sunday, March 4, 12
วาจา.เวอร์ชั่น 6.0' คอมพิวเตอร์พูดได้


               เทคโนโลยีสังเคราะหเสียงพูด (TEXTTO-SPEECH SYNTHESIS :
               TTS) เปนเทคโนโลยีดานคอมพิวเตอรประเภทปญญาประดิษฐ ชวย
               แปลงขอความจากตัวอักษรเปนเสียงพูดหรือเสียงอานไดโดยอัตโนมัติ
               ซึ่งศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ (เนคเทค)
               ไดพัฒนาเทคโนโลยีภายใตชื่อ "วาจา เวอรชั่น 6.0" เปนเทคโนโลยีใหม
               ที่บีบอัดฐานขอมูลเสียงขนาดใหญเปนแบบจำลองทางสถิติในการ
               สังเคราะหเสียง แบบจำลองสามารถผลิตเสียงไดราบเรียบ ไมเกิดการ
               สะดุด อีกทั้งสามารถปรับคาตางๆในเนื้อเสียง เชน เสียงสูงต่ำ เสียงสั้น
               ยาว

Sunday, March 4, 12
วาจา.เวอร์ชั่น 6.0' คอมพิวเตอร์พูดได้


                  ที่ผานมามีหนวยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนนำ "วาจา เวอรชั่น 6.0" ไป
                  ใหบริการในองคกรของตนในรูปแบบที่หลากหลาย อาทิ โรงพยาบาล
                  จุฬาลงกรณ สภากาชาดไทย พัฒนาเปนระบบติดตามดูแลผูปวยเบาหวาน
                  ผานโทรศัพทมือถือ ผูปวยและแพทยสามารถกำหนดเวลาในการติดตามผล
                  การรักษาและการดูแลสุขภาพตนเอง, โรงพยาบาลเทศบาลเชียงใหมนำไป
                  ประกอบใชในระบบเรียกคิวผูปวยในโรงพยาบาล, มหาวิทยาลัยรามคำแหง
                  นำไปใชสราง ELEARNING CONTENT สำหรับการเรียนการสอน, โรง
                  พยาบาลศิริราชนำไปใชในการชวยใหผูปวยที่มีปญหาในการออกเสียง
                  สามารถสื่อสารไดดวยการใชเสียงสังเคราะหที่เรียกชื่อวา ICU TALK

Sunday, March 4, 12
Sunday, March 4, 12

Contenu connexe

Tendances

NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2563
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2560 (ฉบับที่ 24)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2560 (ฉบับที่ 24)NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2560 (ฉบับที่ 24)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2560 (ฉบับที่ 24)
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 17 ประจำเดือนสิงหาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 17 ประจำเดือนสิงหาคม 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 17 ประจำเดือนสิงหาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 17 ประจำเดือนสิงหาคม 2559
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2562
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2559 (ฉบับที่ 19)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2559 (ฉบับที่ 19)NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2559 (ฉบับที่ 19)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2559 (ฉบับที่ 19)
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 

Tendances (18)

NSTDA Commercialization 2015
NSTDA Commercialization 2015NSTDA Commercialization 2015
NSTDA Commercialization 2015
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
 
หนังสือแผนกลยุทธ์ฉบับที่ 6
หนังสือแผนกลยุทธ์ฉบับที่ 6หนังสือแผนกลยุทธ์ฉบับที่ 6
หนังสือแผนกลยุทธ์ฉบับที่ 6
 
NECTEC Annual Report 2014
NECTEC Annual Report 2014NECTEC Annual Report 2014
NECTEC Annual Report 2014
 
รายงานประจำปี 2559 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
รายงานประจำปี 2559 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติรายงานประจำปี 2559 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
รายงานประจำปี 2559 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2563
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
 
NSTDA Annual Report 2015
NSTDA Annual Report 2015NSTDA Annual Report 2015
NSTDA Annual Report 2015
 
Innovation Journey 20151003-04 NIDA
Innovation Journey 20151003-04 NIDAInnovation Journey 20151003-04 NIDA
Innovation Journey 20151003-04 NIDA
 
S&T- Innovation and sustainable SME development
S&T- Innovation and sustainable SME developmentS&T- Innovation and sustainable SME development
S&T- Innovation and sustainable SME development
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2560 (ฉบับที่ 24)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2560 (ฉบับที่ 24)NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2560 (ฉบับที่ 24)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2560 (ฉบับที่ 24)
 
รายงานประจำปี 2560
รายงานประจำปี 2560รายงานประจำปี 2560
รายงานประจำปี 2560
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 17 ประจำเดือนสิงหาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 17 ประจำเดือนสิงหาคม 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 17 ประจำเดือนสิงหาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 17 ประจำเดือนสิงหาคม 2559
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2562
 
Healthcare innovation 20160217 BDMSNIA
Healthcare innovation 20160217 BDMSNIAHealthcare innovation 20160217 BDMSNIA
Healthcare innovation 20160217 BDMSNIA
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2559 (ฉบับที่ 19)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2559 (ฉบับที่ 19)NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2559 (ฉบับที่ 19)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2559 (ฉบับที่ 19)
 

Similaire à Unit10

ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนาศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
rattapol
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
paewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
paewwaew
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
supap6259
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
NuTty Quiz
 
chapter1 Educational innovation
chapter1 Educational innovationchapter1 Educational innovation
chapter1 Educational innovation
Changnoi Etc
 

Similaire à Unit10 (20)

การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
 
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seekerรายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
 
พฤติกรรมงานชิ้นที่2
พฤติกรรมงานชิ้นที่2พฤติกรรมงานชิ้นที่2
พฤติกรรมงานชิ้นที่2
 
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
 
Nrct
NrctNrct
Nrct
 
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนาศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15
Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15
Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15
 
Innovation Journey 20160613 TOT
Innovation Journey 20160613 TOTInnovation Journey 20160613 TOT
Innovation Journey 20160613 TOT
 
TSP I Newsletter Dec 09
TSP I Newsletter Dec 09TSP I Newsletter Dec 09
TSP I Newsletter Dec 09
 
Sakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plantsSakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plants
 
chapter1 Educational innovation
chapter1 Educational innovationchapter1 Educational innovation
chapter1 Educational innovation
 

Unit10

  • 1. นวั ต กรรมเทคโนโลยี ส ารสนเทศทางสุ ข ภาพ อ.สิรินยา พวงจำปา Sunday, March 4, 12
  • 2. วั ต ถุ ป ระสงค เชิ ง พฤติ ก รรม —ระบุประโยชนของนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศทาง สุขภาพไดถูกตอง —วิเคราะหการใชนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศทาง สุขภาพไดถูกตอง Sunday, March 4, 12
  • 3. นวั ต กรรม (INNOVATION) —หมายถึงความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐใหม ๆ ที่ ยังไมเคยมีใชมากอน หรือเปนการพัฒนาดัดแปลงมา จากของเดิมที่มีอยูแลว ใหทันสมัยและใชไดผลดียิ่งขึ้น Sunday, March 4, 12
  • 4. การพ ั ฒ นา นว ั ต กรรม แบ ง ออกเป น 3 ระยะ — ระยะที่ 1 มีการประดิษฐคิดคน (INNOVATION) หรือเปนการ ปรุงแตงของเกาใหเหมาะสมกับกาลสมัย — ระยะที่ 2 พัฒนาการ (DEVELOPMENT) มีการทดลองใน แหลงทดลองจัดทำอยูในลักษณะของโครงการทดลองปฏิบัติ กอน (PILOT PROJECT) — ระยะที่ 3 การนำเอาไปปฏิบัติในสถานการณทั่วไป ซึ่งจัดวา เปนนวัตกรรมขั้นสมบูรณ Sunday, March 4, 12
  • 5. ลั ก ษณะของนวั ต กรรม 1. สิ่งใหมที่ไมเคยมีผูใดเคยทำมากอนเลย 2. สิ่งใหมที่เคยทำมาแลวในอดีตแตไดมีการ รื้อฟนขึ้นมาใหม 3. สิ่งใหมที่มีการพัฒนามาจากของเกาที่มีอยูเดิม Sunday, March 4, 12
  • 6. นวัตกรรมทางการพยาบาล กระบวนการ ผลลัพธทางการพยาบาลที่ไดสรางขึ้นใหม รวมทั้งเปนการพัฒนาปรับปรุง ดัดแปลงนวัตกรรมใหดี ยิ่งขึ้น ซึ่งจะสงผลตอการพัฒนาวิชาชีพได Sunday, March 4, 12
  • 7. ความสำคัญของนวัตกรรมทางการพยาบาล • การแขงขันดานการใหบริการทางการพยาบาลของโรงพยาบาลตางๆ • เพื่อพัฒนาคุณภาพการพยาบาลใหดียิ่งขึ้น • เปนสวนหนึ่งที่ชวยในการสงเสริมใหเกิดการบริการที่มีประสิทธิภาพ • ยกระดับของโรงพยาบาลใหดีขึ้น • ลดคาใชจายในระบบสุขภาพ • เปนการสงเสริมการพัฒนาระบบสุขภาพที่เขมแข็ง Sunday, March 4, 12
  • 8. บทบาทของพยาบาล กับ นวัตกรรม สามารถแบงไดเปน 3 ดาน ดังนี้ ดานการคิดคนนวัตกรรม คือ วางแผนการใชนวัตกรรม บทบาทการมีสวนรวม ในการคิดคนนวัตกรรม ทางสุขภาพใหมๆ หรือรวมวางแผนการใชนวัตกรรมที่มี อยูแลว ดานเปนผูใชนวัตกรรม ควรศึกษานวัตกรรมใหเขาใจถองแท ถึงขอดี ขอเสีย และเตรียมเจาหนาที่ ใหเขาใจนวัตกรรมถูกตองตรงกัน การใชนวัตกรรมควรยึด หลักการสาธารณสุขมูลฐาน โดยเนนกระบวน การเรียนรูนวัตกรรมมากกวาผล งาน ดานการประเมินผล เมื่อนำนวัตกรรมไปใชในสถานที่บริการทางสุขภาพที่ใดแลว ในระยะเริ่มแรก ควรติดตามนิเทศอยางใกลชิด และประเมินผลเปนระยะๆ เพื่อ รูขอดี ขอเสียของการดำเนินงาน แลวนำมาแกไข ปรับปรุงพัฒนาตอไป Sunday, March 4, 12
  • 9. แนวทางในการพัฒนานวัตกรรมทางการพยาบาล การรวมกันกำหนดวิสัยทัศนและกลยุทธในการพัฒนานวัตกรรม สภาพแวดลอมที่สนับสนุนการพัฒนานวัตกรรม การบริหารทรัพยากร เพื่อใหเกิดการพัฒนานวัตกรรมขึ้นในองคกร:ทรัพยากรที่ สำคัญในการพัฒนา นวัตกรรมขององคกร คืองบประมาณ บุคลากร เวลา และ ขอมูลสาระสนเทศ กระบวนการสรางเครือขายเพื่อการพัฒนานวัตกรรม ผานเทคโนโลยี สารสนเทศ เพื่อใหเกิดการพัฒนาผลงาน การกำหนดโครงการพัฒนานวัตกรรม การพัฒนาทักษะในการสรางนวัตกรรม การยอมรับและสรางแรงจูงใจในการพัฒนานวัตกรรม บุคคลภายนอกที่มีสวนเกี่ยวของกับการพัฒนานวัตกรรม Sunday, March 4, 12
  • 10. ป ญ ญาประดิ ษ ฐ (ARTIFICIAL INTELLIGENCE: AI) — เลียนแบบกระบวนการคิดของมนุษย ใหมีพฤติกรรมใกลเคียงกับมนุษย Sunday, March 4, 12
  • 11. ลั ก ษณะของAI —สามารถเรียนรูไดจากประสบการณ —สามารถตอบสนองตอสถาณการณใหมๆไดอยางรวดเร็ว —ใชความเปนเหตุผลในการแกปญหาและสามารถดำเนินการได อยางมีประสิทธิผล —รับรูถึงความสัมพันธขององคประกอบที่แตกตางกันในแตละส ถาณการณ Sunday, March 4, 12
  • 12. ประโยชน  ข องป  ญ ญาประด ิ ษ ฐ  —มีความเที่ยงตรงและรวดเร็วในการแกปญหา —ชวยในการแกปญหาที่ยุงยาก ซึ่งไมสามารถดำเนินการดวยวิธี ทางคอมพิวเตอรทั่วไป —สนับสนุนในการแกปญหาที่มีขอมูลไมชัดเจน หรือไมสมบูรณ —เพิ่มผลผลิตในการดำเนินงาน —จัดการสารสนเทศที่เกินภาระงาน โดยการสรุปหรือแปรความ สารสนเทศที่มีปริมาณมาก Sunday, March 4, 12
  • 13. AI —EXPERT SYSTEM —NATURAL LANGUAGE TECHNOLOGY —ROBOTIC & SENSORY SYSTEM —INTELLIGENCE COMPUTER-AIDED INSTRUCTION —MACHINE LEARNING Sunday, March 4, 12
  • 16. ปจจุบัน “นวัตกรรม” ถือเปนเครื่องมือสำคัญในการบริหารการเปลี่ยนแปลง (CHANGE) ในโลกยุคเศรษฐกิจสรางสรรค (CREATIVE ECONOMY) โดยมีเปา หมายเพื่อใหเกิดการสรางมูลคา (VALUE CREATION) ในระยะเวลาที่ผานมา ภาคอุตสาหกรรมของประเทศมุงเนนในดานการพัฒนา นวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและลดตนทุนการผลิตเพื่อยกระดับ ศักยภาพทางการแขงขันขององคกร หากแตการดำเนินการดังกลาวสามารถทำได เพียงระดับหนึ่งเทานั้น เนื่องจากผลิตภัณฑดังกลาวกาวกระโดดไปสูตลาดใน ระดับสากลก็มักจะประสบปญหาดานตนทุนที่ไมสามารถแขงขันกับประเทศที่มี ความพรอมดานวัตถุดิบ แรงงาน และเทคโนโลยี ดังนั้น การพัฒนานวัตกรรมใน ระยะหลังจึงมุงไปที่ "การสรางความแตกตาง" (DIFFERENTIATION) จาก ผลิตภัณฑเดิม รวมทั้งเนน "การสรางตราสินคา" (BRANDING) ของผลิตภัณฑ ดวยการนำเรื่องราวและวิถึการดำเนินงานตางๆ รวมทั้งการออกแบบมาผสม ผสานกับความรูทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี Sunday, March 4, 12
  • 18. เวปไซต  ท ี ่ ค วรเข  า ไปศ ึ ก ษาเร ื ่ อ งนว ั ต กรรม ◦ สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ HTTP://WWW.NIA.OR.TH ◦ ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ (NATIONAL ELECTRONICS AND COMPUTER TECHNOLOGY CENTER : NECTEC หรือ เนคเทค) HTTP://WWW.NECTEC.OR.TH/ ◦ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) HTTP:// WWW.NSTDA.OR.TH/ ◦ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี HTTP://WWW.MOST.GO.TH/ ◦ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) HTTP:// WWW.THAIHEALTH.OR.TH ◦ ศูนยกลางความรูแหงชาติ WWW.TKC.GO.TH  Sunday, March 4, 12
  • 19. ค น หาตั ว อย า งนวั ต กรรม —สืบคนนวัตกรรมจากเว็บไซตที่กำหนด ใชคำสำคัญ นวัตกรรม หรือ ปญญาประดิษฐ —วิเคราะหดังนี้ ◦ตรงตามเกณฑของนวัตกรรมหรือไม ◦เกี่ยวของกับพยาบาลอยางไร ◦เกี่ยวของกับเทคโนโลยีสารสนเทศหรือไม —สง LINK ขึ้น FB และ COMMENT การวิเคราะห Sunday, March 4, 12
  • 23. วาจา.เวอร์ชั่น 6.0' คอมพิวเตอร์พูดได้ เทคโนโลยีสังเคราะหเสียงพูด (TEXTTO-SPEECH SYNTHESIS : TTS) เปนเทคโนโลยีดานคอมพิวเตอรประเภทปญญาประดิษฐ ชวย แปลงขอความจากตัวอักษรเปนเสียงพูดหรือเสียงอานไดโดยอัตโนมัติ ซึ่งศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ (เนคเทค) ไดพัฒนาเทคโนโลยีภายใตชื่อ "วาจา เวอรชั่น 6.0" เปนเทคโนโลยีใหม ที่บีบอัดฐานขอมูลเสียงขนาดใหญเปนแบบจำลองทางสถิติในการ สังเคราะหเสียง แบบจำลองสามารถผลิตเสียงไดราบเรียบ ไมเกิดการ สะดุด อีกทั้งสามารถปรับคาตางๆในเนื้อเสียง เชน เสียงสูงต่ำ เสียงสั้น ยาว Sunday, March 4, 12
  • 24. วาจา.เวอร์ชั่น 6.0' คอมพิวเตอร์พูดได้ ที่ผานมามีหนวยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนนำ "วาจา เวอรชั่น 6.0" ไป ใหบริการในองคกรของตนในรูปแบบที่หลากหลาย อาทิ โรงพยาบาล จุฬาลงกรณ สภากาชาดไทย พัฒนาเปนระบบติดตามดูแลผูปวยเบาหวาน ผานโทรศัพทมือถือ ผูปวยและแพทยสามารถกำหนดเวลาในการติดตามผล การรักษาและการดูแลสุขภาพตนเอง, โรงพยาบาลเทศบาลเชียงใหมนำไป ประกอบใชในระบบเรียกคิวผูปวยในโรงพยาบาล, มหาวิทยาลัยรามคำแหง นำไปใชสราง ELEARNING CONTENT สำหรับการเรียนการสอน, โรง พยาบาลศิริราชนำไปใชในการชวยใหผูปวยที่มีปญหาในการออกเสียง สามารถสื่อสารไดดวยการใชเสียงสังเคราะหที่เรียกชื่อวา ICU TALK Sunday, March 4, 12