SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
ระบบเลขฐาน

เลขฐาน
     ระบบจำานวนที่ใช้กันอยู่ในชีวิตประจำาวันเป็นระบบเลขฐานสิบ
     ซึ่งมีสัญลักษณ์ที่เป็นตัวเลข 10 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, …, 9
ในการใช้งานคอมพิวเตอร์ทำาให้เกิดระบบเลขฐานอื่นๆ คือ
     ระบบเลขฐานสอง มีสัญลักษณ์เป็นตัวเลข 2 ตัว คือ 0 และ 1
     ระบบเลขฐานแปด มีสัญลักษณ์เป็นตัวเลข 8 ตัว คือ 0, 1, 2, 3,
4, 5, 6, และ 7 และ
       ระบบเลขฐานสิบหก มีสัญลักษณ์ที่เป็นตัวเลขและตัวอักษร 16
ตัว
           คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, A, B, C, D, E และ F
     เพื่อให้ทราบว่าจำานวนใดเป็นจำานวนในระบบเลขฐานใด ทำาโดย
เขียนตัวเลขฐานกำากับไว้ที่ท้ายของจำานวนนั้น ยกเว้นเลขฐานสิบ
ตัวอย่างเช่น
                102 หมายถึง           10 ในระบบเลขฐานสอง
                768 หมายถึง 76 ในระบบเลขฐานแปด
           และ 10216       หมายถึง 102 ในระบบเลขฐานสิบหก
     เลขฐานต่างๆสามารถโยงความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันได้ เช่น
สามารถแปลงจากเลขฐานหนึ่งไปยังอีกฐานหนึ่งได้ และเปลี่ยนจาก
เลขฐานต่างๆ ไปยังเลขฐานสิบที่ใช้กันทั่วไป

   ฐานสอง          ฐานแปด            ฐานสิบ         ฐานสิบหก
       10             2                2               2
      100             4                4               4
     1000            10                8               8
     1110            16                14               E
    10000            20                16              10
   100000            40                32              20
ตัวอย่างการแปลงเลขฐานของระบบตัวเลข
การแปลงฐานสองเป็นเลขฐานสิบ :
           หลักการ : คือการเอาค่า Weight ของทุกบิตที่มีค่าเป็น 1 มาบ
วกกัน ดังตัวอย่าง
           ตัวอย่าง : จงแปลง (11011101)2 ให้เป็นเลขฐานสิบ
           (11011101)2 = (1X27) + (1X26) + (0X25) + (1X24) +
    (1X23)+ (1X22) +
                        (0X21) + (1X20)
                      = 128 + 64 + 0 + 16 + 8 + 4 + 0 + 1
                      = (221)10

          ตัวอย่าง : จงเปลี่ยน (1011.101)2 เป็นเลขฐานสิบ
        1    0   1     1     .   1   0    1            ผลลัพธ์

                                               2-3       0.125
                                      2   -2
                                                         0.0
                                2-1                      0.5
                                                         -
                       20                                1.
                  21                                     2.
             22                                          0.
       23                                                8.
                                                         (11.625)
                                                         10



            ∴ (1011.101)2     = (11.625)10

การเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง
          หลักการ
          1. ให้นำาเลขฐานสิบเป็นตัวตั้งและนำา 2 มาหาร ได้เศษเท่าไรจะ
          เป็นค่าบิตที่มีนยสำาคัญน้อยที่สุด (LSB)
                          ั
          2. นำา ผลลัพธ์ที่ได้จากข้อที่ 1 มาตั้งหารด้วย 2 อีกเศษที่จัดจะ
          เป็นบิตถัดไปของเลขฐานสอง
          3. ทำาเหมือนข้อ 2 ไปเรื่อยๆ จนได้ผลลัพธ์เป็นศูนย์ เศษที่ได้จะ
          เป็นบิตเลขฐานสองที่มีนัยสำาคัญมากที่สุด (MSB)
ตัวอย่าง : จงเปลี่ยน (221)10 เป็นเลขฐานสอง
                           2 221             เศษ 1    (LSB)
                           2 110             เศษ 0
                            2 55             เศษ 1
                            2 27          เศษ 1
                            2 13          เศษ 1
                            2     6       เศษ 0
                            2     3       เศษ 1
                            2     1       เศษ 1     (MSB)
                              0
                  ∴ (221)10     = (11011101)2
หมายเหตุ
           1. บิ ต ที่ มี นั ย สำา คั ญ สู ง สุ ด (Most Significant Bit : MSB) คื อ
           บิตที่อยู่ซ้ายมือสุด เป็นบิตที่มีค่าประจำาหลักมากที่สุด
           2. บิตที่มีนัยสำาคัญตำ่าสุด (Least Significant Bit : LSB) คือ บิต
           ที่อยู่ขวามือสุด เป็นบิตที่มีค่าประจำาหลักน้อยที่สุด
วิธีคิดโดยใช้นำ้าหนัก (Weight) ของแต่ละบิต
           ตัวอย่าง จงเปลี่ยน (221)10                 = (……)2
           1. นำาค่านำ้าหนัก (Weight) มาตั้ง โดย Weight ที่มีค่ามากที่สุด
           ต้องไม่เกินจำานวนที่จะเปลี่ยนดังนี้
                356 128 64 32 16 8 4 2 1
           2. เลื อกค่า Weight ที่มีค่ามากที่ สุด และค่ า Weight ตัว อื่น ๆ
           เมื่อนำามารวมกันแล้วให้ได้เท่ากับจำานวนที่ต้องการ
           ค่า Weight 128 64 32 16 8 4 2 1
           เลือก        128 + 64 + 0 + 16 + 8 + 4 + 0 + 1 = 221
           ฐานสอง               1          1 0       1     1 1 0          1
                   ∴ (221)10            = (11011101)2

การเปลี่ยนเลขฐานสิบที่มีจุดทศนิยมเป็นเลขฐานสอง
          หลักการ
          1. ให้เปลี่ยนเลขจำา นวนเต็มหน้าจุดทศนิยมด้วยวิธี ที่กล่าวมา
          แล้ว
          2. ให้นำาเลขจุดทศนิยมมาตั้งแล้วคูณด้วย 2 ผลคูณมีค่าน้อยกว่า
          1 จะได้ค่าเลขฐานสองเป็น 0 แต่ถ้าผลคูณมีค่ามากกว่า 1 หรือ
          เท่ากับ 1 จะได้ค่าเลขฐานสองเป็น 1
3. ให้นำาเลขจุดทศนิยมที่ได้จากผลการคูณใน ‚ มาตั้งและคูณ
          ด้วย 2 และพิจารณาผลลัพธ์เช่นเดียวกับข้อ ‚ และกระบวนการ
          นี้จะทำาต่อไปเรื่อย ๆ จนกว่าผลคูณจะมีค่าเท่ากับ 1 หรือได้ค่าที่
          แม่นยำาเพียงพอแล้ว

          ตัวอย่าง : จงเปลี่ยน (0.375)10 เป็นเลขฐานสอง
           ผลการคูณ                   ผลของจำานวนเต็ม
           0.375 X 2 = 0.75                  0
           0.75 X 2 = 1.5                    1
           0.5 X 2       = 1.0               1
                 ดังนั้น (0.375)10 = (0.011)2
          ตัวอย่าง : จงเปลี่ยน (12.35)10 เป็นฐานสอง
          1. 1. เปลียน (12)10 ให้เป็นเลขฐานสอง
                       ่
                         (12)10 = (1100)2
             2. เปลียน (0.35)10 เป็นเลขฐานสอง
                     ่
           ผลการคูณ                   ผลของจำานวนเต็ม
           0.35 X 2 = 0.7                    0
           0.7 X 2 = 1.4                     1
           0.4 X 2 = 0.8                     0
           0.8 X 2 = 1.6                     1
           0.6 X 2 = 1.2                     1
           0.2 X 2 = 0.4                     0
           0.4 X 2 = 0.8                     0
           0.8 X 2 = 1.6                     1
          การเปลี่ยนจะซำ้ากันไปเรื่อย ๆ จะนำามาใช้เพียง 6 บิต
          ดังนั้น (12.35)10 = (1100.010110)2

การเปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นฐานสิบและเลขฐานสิบเป็นฐานแปด
               การเปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสิบ
               หลั ก เกณฑ์ : นำา ค่ า นำ้า หนั ก (Weight)และเลขฐานแปด
          คูณด้วยเลข
                            ประจำาหลักแล้วนำาผลทีได้ทุกหลักมารวมกัน
                                                     ่
               นำ้า หนั ก : Weight ได้ แ ก่ … 8 83 82 81 80 8-1 8-2
                                                   4

8-3…
               ตัวอย่าง : (134)8 = (…)10
                         (134)8 = (1X82) + (3X81) + (4X80)
                              = 64 + 24 + 4
                               = (92) 10
ดังนั้น (134)8 = (92)10
       จุดทศนิยม
       การเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานแปด
       หลักเกณฑ์ : นำาเลขฐานสิบเป็นตัวตั้งแล้วหารด้วย 8 เศษ
ที่ได้จากการ
                       หารจะเป็ น ค่ า ของเลขฐานแปด ทำา เช่ น เดี ย ว
              กับการเปลี่ยน
                       เลขฐานสิบเป็นฐานสอง
       ตัวอย่าง : (92)10 = (…)8
                    8 92             เศษ 4
                    8 11             เศษ 3
                     8    1          เศษ 1
                     0
                                         1 3 4
              ดังนั้น (92)10 = (134)8

การเปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นสองและเลขฐานสองเป็นฐาน
แปด
    การเปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสอง
    หลักการ : จะต้องใช้เลขฐานสิบเป็นตัวกลางในการเปลี่ยน
    ตัวอย่าง : (134)8 = (…)2
    1. เปลียนเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสิบ
             ่
       (134)8 = (1X88) + (3X81) +    (4X80)
                 = (92)10
    2. เปลียนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง
               ่
       (92)10 = (…)2
       Weight = 64 32 16          8 4      2 1
                  = 64 + 0 + 16 + 8 + 4 + 0 + 0
       เลขฐาน 2 = 1       0   1    1    1 0 0
    ดังนั้น (134)8 = (1011100)2
    การเปลี่ยนเลขฐานสองเป็นเลขฐานแปด
    หลักการ : จะต้องใช้เลขฐานสิบเป็นตัวกลางในการเปลี่ยน

      ตัวอย่าง : (1011100)2 = (…)8
      1. 1. เปลียนเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบ
                ่
         (1011100)2 = 64 + 0 + 16 + 8 + 4 + 0 + 0
                    = (92)10
      2. 2. เปลียนฐานสิบเป็นเลขฐานแปด
                  ่
                8 92         เศษ 4
8   11        เศษ 3
                          8    1        เศษ 1
                          0
                                            1 3 4
                     ดังนั้น (1011100)2 = (134)8

การเปลี่ยนเลขฐานสองเป็นเลขฐานแปดและฐานแปดเป็นเลขฐานสอง วิธี
ลัด
                เลขฐานแปด        เลขฐานสอง
                      0             000
                      1             001
                      2             010
                      3             011
                      4             100
                      5             101
                      6             110
                      7             111
                ตารางเปรียบเทียบเลขฐานแปดและเลขฐานสอง
          จากตารางจะเห็นว่าเลขฐานแปดหนึ่งหลักสามารถแทนด้วยเลข
ฐานสองจำานวน 3 บิต
          ตัวอย่าง : จงแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานแปด
                   (1011100) 2 = (…)8
          วิธทำา :
             ี            001 011 100

                       1   3     4
          ดังนั้น   (1011100) 2 = (134)8

          ตัวอย่าง เปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสอง
                 (6143)8 = (…)2

          วิธทำา
             ี       6    1    4    3

                         110       001       100     011
           ดังนั้น (6143)8 = (110001100011)2
การเปลี่ยนเลขฐานสิบหกเป็นฐานสิบและเลขฐานสิบเป็นฐานสิบหก
การเปลี่ยนเลขฐานสิบหกเป็นเลขฐานสิบ
                    หลักการ : นำา ค่านำ้า หนัก (Weight) ของเลขฐานสิบหก
คูณด้วยเลขประจำา
หลัก และนำาผลที่ได้ทุกหลักมารวมกัน
                 นำ้าหนัก (Weight) : … 164 163 162 161 160 16-1 16-2
16-3…
                  ตัวอย่าง (6C)16 = (…)10
                      (6C)16     = (5X161) + (12X160)
                            = 80 + 12
                            = (92)10
               ดังนั้น      (6C)16    = (92)10
               ตัวอย่าง (0.3)16       = (…)10
                      (0.3.16(0.3)16 = 3X10-1
                            = 3X0.0625
                            = (0.1875)10
               ดังนั้น      (0.3)16   = (0.1878)10

การเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสิบหก
     หลักการ : นำาเลขฐานสิบมาเป็นตัวตั้งแล้วนำา 16 มาหาร เศษที่ได้จาก
การหาร จะเป็นค่า
              เลขฐานสิบหก ทำาเช่นเดียวกับการเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นเลข
     ฐานสอง
     ตัวอย่าง : (92)10 = (…)16
     วิธทำา :
        ี                   16 92         เศษ 12 =C
                       16   5           เศษ         5

                                                5 C
            ดังนั้น (92)10 = (5C)16
     ตัวอย่าง           (0.7875)10 =  (….)16
     วิธทำา
        ี
             ผลการคูณ                ผลของจำานวนเต็ม
             0.7875 X 16 =              12 = C
             12.6                           9
             0.6 X 16        =
             9.6
             0.6 X 16        =              9
             9.6                            9
             0.6 X 16        =
             9.6
     ดังนั้น (0.7875)10 = (0.C9)16
การเปลี่ยนเลขฐานสองเป็นฐานสิบหก และฐานสิบหกเป็นฐานสอง
การเปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสอง
           หลักการ : จะต้องใช้เลขฐานสิบเป็นตัวกลาง

          ตัวอย่าง : (5C)16 = (…)2
               1. เปลียนเลขฐานสิบหกเป็นเลขฐานสิบ
                      ่
                    (5C)16 = (5X161) + (12X160)
                            = 80 + 12
                            = (92)10
               2. เปลียนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง
                        ่
                    (92)10 = (…)2
                     Weight      = 64 32 16 8 4 2 1
                               64 + 0 + 16 + 8 + 4 + 0 + 0
                     เลขฐานสอง = 1        0   1    1   1 0   0
                     ดังนั้น (5C)16   = (1011100)2

การเปลี่ยนเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบหก
     หลักการ : ต้องใช้เลขฐานสิบเป็นตัวกลาง
     ตัวอย่าง : (1011100)2 = (…)16
                1. เปลียน (1011100)2 เป็นเลขฐานสิบ
                       ่
                    (1011100)2 = (92)10
                2. เปลียนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสิบหก
                         ่
                      16 92          เศษ 12 =C
                      16 5         เศษ        5
                              0
                                                5 C
                     ดังนั้น (1011100)2   = (5C)16




       การเปลี่ยนเลขฐานสิบหกเป็นฐานสองและเลขฐานสองเป็นฐานสิบหก
วิธีลัด
               เลขฐานสิบหก       เลขฐานสอง
                    0               0000
                    1               0001
                    2               0010
                    3               0011
                    4               0100
                    5               0101
6             0110
                         7             0111
                         8             1000
                         9             1001
                         A             1010
                         B             1011
                         C             1100
                         D             1101
                         E             1110
                         F             1111
           ตารางเปรียบเทียบเลขฐานสิบหกกับเลขฐานสอง
    จากตารางจะเห็นว่า เลขฐานสิบหกหนึ่งหลักสามารถจะแทนด้วยเลข
ฐานสองจำานวน 4 บิต

    ตัวอย่าง จงเปลียน (1011100)2 เป็นเลขฐานสิบหก
                   ่
    วิธทำา01011100
       ี

            5       12

                  5      C
          ดังนั้น (1011100)2 = (5C)16
    ตัวอย่าง จงเปลียน (1011110111011)2 เป็นเลขฐานสิบหก
                     ่
    วิธทำา0001011110111011
       ี

            1       7        11   11

                1       7       B      B
                 ดังนั้น (1011110111011)2 = (17BB)16
    ตัวอย่าง จงเปลียน (A95)16 เป็นเลขฐานสอง
                   ่
    วิธทำา
       ี               A 9      5

                101010010101
         ดังนั้น (A95)16 = (101010010101)2


แบบฝึกหัด
2.1 จงแปลงเลขฐานสิบต่อไปนี้ เป็นเลขฐานสี่ (base-4) และเลขฐานห้า (base-5)
     a. 10            b. 21
     c. 50            d. 67
     e. 100
  2.2 จงแปลงเลขฐานต่อไปนี้ เป็นเลขฐานสิบ
     a. (24)5               b. (3F7)16
     c. (148)8              d. (ABC)15
  2.3 จงแปลงเลขฐานสองต่อไปนี้ เป็นเลขฐานสิบและให้มีทศนิยมเพียง 4 ตำาแหน่ง
     a. (0.1111)2           b. (0.11010011)2
     c. (001110.111111111)2
  2.4 จงแปลงเลขฐานสิบต่อไปนี้ เป็นเลขฐานสองและให้มีทศนิยมเพียง 4 ตำาแหน่ง
     a. (0.1111)10          b. (947.613)10
     c. (4287.6543)10
  2.5 จงแปลงเลขฐานสิบหกต่อไปนี้ เป็นเลขฐานแปด
     a. (ABCE)16      b. (97F)16
     c. (A0)16
  2.6 จงแปลงเลขฐานแปดต่อไปนี้ เป็นเลขฐานสิบหก
     a. (375)8        b. (054)8
     c. (3517)8

อ้างอิงโปรแกรม
http://kmitlboard.packetlove.com/webserv/bnctool/#b10tob2

Contenu connexe

Tendances

10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
โครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษาโครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษาSaranda Nim
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...Prachoom Rangkasikorn
 
โครงร่างโครงงานกระดาษสา
โครงร่างโครงงานกระดาษสาโครงร่างโครงงานกระดาษสา
โครงร่างโครงงานกระดาษสา1234 Payoon
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่supamit jandeewong
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถามnichalee
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อwisheskerdsilp
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
เกมประกอบการสอนสมการ
เกมประกอบการสอนสมการเกมประกอบการสอนสมการ
เกมประกอบการสอนสมการJirathorn Buenglee
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆLooktan Kp
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล natdhanai rungklin
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพWijitta DevilTeacher
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งkrurutsamee
 

Tendances (20)

10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
โครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษาโครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษา
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
 
โครงร่างโครงงานกระดาษสา
โครงร่างโครงงานกระดาษสาโครงร่างโครงงานกระดาษสา
โครงร่างโครงงานกระดาษสา
 
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
เกมประกอบการสอนสมการ
เกมประกอบการสอนสมการเกมประกอบการสอนสมการ
เกมประกอบการสอนสมการ
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้ง
 

Similaire à การแปลงเลขฐานต่างๆ

การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานการแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานNakamaru Yuichi
 
ระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปดระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปดjibjoy_butsaya
 
การหาเลขฐานต่างๆ
การหาเลขฐานต่างๆการหาเลขฐานต่างๆ
การหาเลขฐานต่างๆNoii Kittiya
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานPreecha Yeednoi
 
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสองการแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสองjibjoy_butsaya
 
bit byte
bit bytebit byte
bit bytepaween
 
Base
BaseBase
Basesa
 
การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานการแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานพัน พัน
 
ระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสองระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสองpharthid
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงRitthinarongron School
 
เลขฐานและการแปลงเลขฐาน
เลขฐานและการแปลงเลขฐานเลขฐานและการแปลงเลขฐาน
เลขฐานและการแปลงเลขฐานAE Mct
 
Multiplier Analysis
Multiplier AnalysisMultiplier Analysis
Multiplier Analysispilnce
 

Similaire à การแปลงเลขฐานต่างๆ (18)

การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานการแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐาน
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐาน
 
ระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปดระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปด
 
การหาเลขฐานต่างๆ
การหาเลขฐานต่างๆการหาเลขฐานต่างๆ
การหาเลขฐานต่างๆ
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐาน
 
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสองการแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
 
เลขฐาน
เลขฐานเลขฐาน
เลขฐาน
 
bit byte
bit bytebit byte
bit byte
 
Base
BaseBase
Base
 
การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานการแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐาน
 
การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานการแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐาน
 
ระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสองระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสอง
 
สอนเลขฐาน
สอนเลขฐานสอนเลขฐาน
สอนเลขฐาน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
 
เลขฐานและการแปลงเลขฐาน
เลขฐานและการแปลงเลขฐานเลขฐานและการแปลงเลขฐาน
เลขฐานและการแปลงเลขฐาน
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
Multiplier Analysis
Multiplier AnalysisMultiplier Analysis
Multiplier Analysis
 

การแปลงเลขฐานต่างๆ

  • 1. ระบบเลขฐาน เลขฐาน ระบบจำานวนที่ใช้กันอยู่ในชีวิตประจำาวันเป็นระบบเลขฐานสิบ ซึ่งมีสัญลักษณ์ที่เป็นตัวเลข 10 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, …, 9 ในการใช้งานคอมพิวเตอร์ทำาให้เกิดระบบเลขฐานอื่นๆ คือ ระบบเลขฐานสอง มีสัญลักษณ์เป็นตัวเลข 2 ตัว คือ 0 และ 1 ระบบเลขฐานแปด มีสัญลักษณ์เป็นตัวเลข 8 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, และ 7 และ ระบบเลขฐานสิบหก มีสัญลักษณ์ที่เป็นตัวเลขและตัวอักษร 16 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, A, B, C, D, E และ F เพื่อให้ทราบว่าจำานวนใดเป็นจำานวนในระบบเลขฐานใด ทำาโดย เขียนตัวเลขฐานกำากับไว้ที่ท้ายของจำานวนนั้น ยกเว้นเลขฐานสิบ ตัวอย่างเช่น 102 หมายถึง 10 ในระบบเลขฐานสอง 768 หมายถึง 76 ในระบบเลขฐานแปด และ 10216 หมายถึง 102 ในระบบเลขฐานสิบหก เลขฐานต่างๆสามารถโยงความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันได้ เช่น สามารถแปลงจากเลขฐานหนึ่งไปยังอีกฐานหนึ่งได้ และเปลี่ยนจาก เลขฐานต่างๆ ไปยังเลขฐานสิบที่ใช้กันทั่วไป ฐานสอง ฐานแปด ฐานสิบ ฐานสิบหก 10 2 2 2 100 4 4 4 1000 10 8 8 1110 16 14 E 10000 20 16 10 100000 40 32 20
  • 2. ตัวอย่างการแปลงเลขฐานของระบบตัวเลข การแปลงฐานสองเป็นเลขฐานสิบ : หลักการ : คือการเอาค่า Weight ของทุกบิตที่มีค่าเป็น 1 มาบ วกกัน ดังตัวอย่าง ตัวอย่าง : จงแปลง (11011101)2 ให้เป็นเลขฐานสิบ (11011101)2 = (1X27) + (1X26) + (0X25) + (1X24) + (1X23)+ (1X22) + (0X21) + (1X20) = 128 + 64 + 0 + 16 + 8 + 4 + 0 + 1 = (221)10 ตัวอย่าง : จงเปลี่ยน (1011.101)2 เป็นเลขฐานสิบ 1 0 1 1 . 1 0 1 ผลลัพธ์ 2-3 0.125 2 -2 0.0 2-1 0.5 - 20 1. 21 2. 22 0. 23 8. (11.625) 10 ∴ (1011.101)2 = (11.625)10 การเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง หลักการ 1. ให้นำาเลขฐานสิบเป็นตัวตั้งและนำา 2 มาหาร ได้เศษเท่าไรจะ เป็นค่าบิตที่มีนยสำาคัญน้อยที่สุด (LSB) ั 2. นำา ผลลัพธ์ที่ได้จากข้อที่ 1 มาตั้งหารด้วย 2 อีกเศษที่จัดจะ เป็นบิตถัดไปของเลขฐานสอง 3. ทำาเหมือนข้อ 2 ไปเรื่อยๆ จนได้ผลลัพธ์เป็นศูนย์ เศษที่ได้จะ เป็นบิตเลขฐานสองที่มีนัยสำาคัญมากที่สุด (MSB)
  • 3. ตัวอย่าง : จงเปลี่ยน (221)10 เป็นเลขฐานสอง 2 221 เศษ 1 (LSB) 2 110 เศษ 0 2 55 เศษ 1 2 27 เศษ 1 2 13 เศษ 1 2 6 เศษ 0 2 3 เศษ 1 2 1 เศษ 1 (MSB) 0 ∴ (221)10 = (11011101)2 หมายเหตุ 1. บิ ต ที่ มี นั ย สำา คั ญ สู ง สุ ด (Most Significant Bit : MSB) คื อ บิตที่อยู่ซ้ายมือสุด เป็นบิตที่มีค่าประจำาหลักมากที่สุด 2. บิตที่มีนัยสำาคัญตำ่าสุด (Least Significant Bit : LSB) คือ บิต ที่อยู่ขวามือสุด เป็นบิตที่มีค่าประจำาหลักน้อยที่สุด วิธีคิดโดยใช้นำ้าหนัก (Weight) ของแต่ละบิต ตัวอย่าง จงเปลี่ยน (221)10 = (……)2 1. นำาค่านำ้าหนัก (Weight) มาตั้ง โดย Weight ที่มีค่ามากที่สุด ต้องไม่เกินจำานวนที่จะเปลี่ยนดังนี้ 356 128 64 32 16 8 4 2 1 2. เลื อกค่า Weight ที่มีค่ามากที่ สุด และค่ า Weight ตัว อื่น ๆ เมื่อนำามารวมกันแล้วให้ได้เท่ากับจำานวนที่ต้องการ ค่า Weight 128 64 32 16 8 4 2 1 เลือก 128 + 64 + 0 + 16 + 8 + 4 + 0 + 1 = 221 ฐานสอง 1 1 0 1 1 1 0 1 ∴ (221)10 = (11011101)2 การเปลี่ยนเลขฐานสิบที่มีจุดทศนิยมเป็นเลขฐานสอง หลักการ 1. ให้เปลี่ยนเลขจำา นวนเต็มหน้าจุดทศนิยมด้วยวิธี ที่กล่าวมา แล้ว 2. ให้นำาเลขจุดทศนิยมมาตั้งแล้วคูณด้วย 2 ผลคูณมีค่าน้อยกว่า 1 จะได้ค่าเลขฐานสองเป็น 0 แต่ถ้าผลคูณมีค่ามากกว่า 1 หรือ เท่ากับ 1 จะได้ค่าเลขฐานสองเป็น 1
  • 4. 3. ให้นำาเลขจุดทศนิยมที่ได้จากผลการคูณใน ‚ มาตั้งและคูณ ด้วย 2 และพิจารณาผลลัพธ์เช่นเดียวกับข้อ ‚ และกระบวนการ นี้จะทำาต่อไปเรื่อย ๆ จนกว่าผลคูณจะมีค่าเท่ากับ 1 หรือได้ค่าที่ แม่นยำาเพียงพอแล้ว ตัวอย่าง : จงเปลี่ยน (0.375)10 เป็นเลขฐานสอง ผลการคูณ ผลของจำานวนเต็ม 0.375 X 2 = 0.75 0 0.75 X 2 = 1.5 1 0.5 X 2 = 1.0 1 ดังนั้น (0.375)10 = (0.011)2 ตัวอย่าง : จงเปลี่ยน (12.35)10 เป็นฐานสอง 1. 1. เปลียน (12)10 ให้เป็นเลขฐานสอง ่ (12)10 = (1100)2 2. เปลียน (0.35)10 เป็นเลขฐานสอง ่ ผลการคูณ ผลของจำานวนเต็ม 0.35 X 2 = 0.7 0 0.7 X 2 = 1.4 1 0.4 X 2 = 0.8 0 0.8 X 2 = 1.6 1 0.6 X 2 = 1.2 1 0.2 X 2 = 0.4 0 0.4 X 2 = 0.8 0 0.8 X 2 = 1.6 1 การเปลี่ยนจะซำ้ากันไปเรื่อย ๆ จะนำามาใช้เพียง 6 บิต ดังนั้น (12.35)10 = (1100.010110)2 การเปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นฐานสิบและเลขฐานสิบเป็นฐานแปด การเปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสิบ หลั ก เกณฑ์ : นำา ค่ า นำ้า หนั ก (Weight)และเลขฐานแปด คูณด้วยเลข ประจำาหลักแล้วนำาผลทีได้ทุกหลักมารวมกัน ่ นำ้า หนั ก : Weight ได้ แ ก่ … 8 83 82 81 80 8-1 8-2 4 8-3… ตัวอย่าง : (134)8 = (…)10 (134)8 = (1X82) + (3X81) + (4X80) = 64 + 24 + 4 = (92) 10
  • 5. ดังนั้น (134)8 = (92)10 จุดทศนิยม การเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานแปด หลักเกณฑ์ : นำาเลขฐานสิบเป็นตัวตั้งแล้วหารด้วย 8 เศษ ที่ได้จากการ หารจะเป็ น ค่ า ของเลขฐานแปด ทำา เช่ น เดี ย ว กับการเปลี่ยน เลขฐานสิบเป็นฐานสอง ตัวอย่าง : (92)10 = (…)8 8 92 เศษ 4 8 11 เศษ 3 8 1 เศษ 1 0 1 3 4 ดังนั้น (92)10 = (134)8 การเปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นสองและเลขฐานสองเป็นฐาน แปด การเปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสอง หลักการ : จะต้องใช้เลขฐานสิบเป็นตัวกลางในการเปลี่ยน ตัวอย่าง : (134)8 = (…)2 1. เปลียนเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสิบ ่ (134)8 = (1X88) + (3X81) + (4X80) = (92)10 2. เปลียนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง ่ (92)10 = (…)2 Weight = 64 32 16 8 4 2 1 = 64 + 0 + 16 + 8 + 4 + 0 + 0 เลขฐาน 2 = 1 0 1 1 1 0 0 ดังนั้น (134)8 = (1011100)2 การเปลี่ยนเลขฐานสองเป็นเลขฐานแปด หลักการ : จะต้องใช้เลขฐานสิบเป็นตัวกลางในการเปลี่ยน ตัวอย่าง : (1011100)2 = (…)8 1. 1. เปลียนเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบ ่ (1011100)2 = 64 + 0 + 16 + 8 + 4 + 0 + 0 = (92)10 2. 2. เปลียนฐานสิบเป็นเลขฐานแปด ่ 8 92 เศษ 4
  • 6. 8 11 เศษ 3 8 1 เศษ 1 0 1 3 4 ดังนั้น (1011100)2 = (134)8 การเปลี่ยนเลขฐานสองเป็นเลขฐานแปดและฐานแปดเป็นเลขฐานสอง วิธี ลัด เลขฐานแปด เลขฐานสอง 0 000 1 001 2 010 3 011 4 100 5 101 6 110 7 111 ตารางเปรียบเทียบเลขฐานแปดและเลขฐานสอง จากตารางจะเห็นว่าเลขฐานแปดหนึ่งหลักสามารถแทนด้วยเลข ฐานสองจำานวน 3 บิต ตัวอย่าง : จงแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานแปด (1011100) 2 = (…)8 วิธทำา : ี 001 011 100 1 3 4 ดังนั้น (1011100) 2 = (134)8 ตัวอย่าง เปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสอง (6143)8 = (…)2 วิธทำา ี 6 1 4 3 110 001 100 011 ดังนั้น (6143)8 = (110001100011)2 การเปลี่ยนเลขฐานสิบหกเป็นฐานสิบและเลขฐานสิบเป็นฐานสิบหก การเปลี่ยนเลขฐานสิบหกเป็นเลขฐานสิบ หลักการ : นำา ค่านำ้า หนัก (Weight) ของเลขฐานสิบหก คูณด้วยเลขประจำา
  • 7. หลัก และนำาผลที่ได้ทุกหลักมารวมกัน นำ้าหนัก (Weight) : … 164 163 162 161 160 16-1 16-2 16-3… ตัวอย่าง (6C)16 = (…)10 (6C)16 = (5X161) + (12X160) = 80 + 12 = (92)10 ดังนั้น (6C)16 = (92)10 ตัวอย่าง (0.3)16 = (…)10 (0.3.16(0.3)16 = 3X10-1 = 3X0.0625 = (0.1875)10 ดังนั้น (0.3)16 = (0.1878)10 การเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสิบหก หลักการ : นำาเลขฐานสิบมาเป็นตัวตั้งแล้วนำา 16 มาหาร เศษที่ได้จาก การหาร จะเป็นค่า เลขฐานสิบหก ทำาเช่นเดียวกับการเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นเลข ฐานสอง ตัวอย่าง : (92)10 = (…)16 วิธทำา : ี 16 92 เศษ 12 =C 16 5 เศษ 5 5 C ดังนั้น (92)10 = (5C)16 ตัวอย่าง (0.7875)10 = (….)16 วิธทำา ี ผลการคูณ ผลของจำานวนเต็ม 0.7875 X 16 = 12 = C 12.6 9 0.6 X 16 = 9.6 0.6 X 16 = 9 9.6 9 0.6 X 16 = 9.6 ดังนั้น (0.7875)10 = (0.C9)16
  • 8. การเปลี่ยนเลขฐานสองเป็นฐานสิบหก และฐานสิบหกเป็นฐานสอง การเปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสอง หลักการ : จะต้องใช้เลขฐานสิบเป็นตัวกลาง ตัวอย่าง : (5C)16 = (…)2 1. เปลียนเลขฐานสิบหกเป็นเลขฐานสิบ ่ (5C)16 = (5X161) + (12X160) = 80 + 12 = (92)10 2. เปลียนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง ่ (92)10 = (…)2 Weight = 64 32 16 8 4 2 1 64 + 0 + 16 + 8 + 4 + 0 + 0 เลขฐานสอง = 1 0 1 1 1 0 0 ดังนั้น (5C)16 = (1011100)2 การเปลี่ยนเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบหก หลักการ : ต้องใช้เลขฐานสิบเป็นตัวกลาง ตัวอย่าง : (1011100)2 = (…)16 1. เปลียน (1011100)2 เป็นเลขฐานสิบ ่ (1011100)2 = (92)10 2. เปลียนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสิบหก ่ 16 92 เศษ 12 =C 16 5 เศษ 5 0 5 C ดังนั้น (1011100)2 = (5C)16 การเปลี่ยนเลขฐานสิบหกเป็นฐานสองและเลขฐานสองเป็นฐานสิบหก วิธีลัด เลขฐานสิบหก เลขฐานสอง 0 0000 1 0001 2 0010 3 0011 4 0100 5 0101
  • 9. 6 0110 7 0111 8 1000 9 1001 A 1010 B 1011 C 1100 D 1101 E 1110 F 1111 ตารางเปรียบเทียบเลขฐานสิบหกกับเลขฐานสอง จากตารางจะเห็นว่า เลขฐานสิบหกหนึ่งหลักสามารถจะแทนด้วยเลข ฐานสองจำานวน 4 บิต ตัวอย่าง จงเปลียน (1011100)2 เป็นเลขฐานสิบหก ่ วิธทำา01011100 ี 5 12 5 C ดังนั้น (1011100)2 = (5C)16 ตัวอย่าง จงเปลียน (1011110111011)2 เป็นเลขฐานสิบหก ่ วิธทำา0001011110111011 ี 1 7 11 11 1 7 B B ดังนั้น (1011110111011)2 = (17BB)16 ตัวอย่าง จงเปลียน (A95)16 เป็นเลขฐานสอง ่ วิธทำา ี A 9 5 101010010101 ดังนั้น (A95)16 = (101010010101)2 แบบฝึกหัด
  • 10. 2.1 จงแปลงเลขฐานสิบต่อไปนี้ เป็นเลขฐานสี่ (base-4) และเลขฐานห้า (base-5) a. 10 b. 21 c. 50 d. 67 e. 100 2.2 จงแปลงเลขฐานต่อไปนี้ เป็นเลขฐานสิบ a. (24)5 b. (3F7)16 c. (148)8 d. (ABC)15 2.3 จงแปลงเลขฐานสองต่อไปนี้ เป็นเลขฐานสิบและให้มีทศนิยมเพียง 4 ตำาแหน่ง a. (0.1111)2 b. (0.11010011)2 c. (001110.111111111)2 2.4 จงแปลงเลขฐานสิบต่อไปนี้ เป็นเลขฐานสองและให้มีทศนิยมเพียง 4 ตำาแหน่ง a. (0.1111)10 b. (947.613)10 c. (4287.6543)10 2.5 จงแปลงเลขฐานสิบหกต่อไปนี้ เป็นเลขฐานแปด a. (ABCE)16 b. (97F)16 c. (A0)16 2.6 จงแปลงเลขฐานแปดต่อไปนี้ เป็นเลขฐานสิบหก a. (375)8 b. (054)8 c. (3517)8 อ้างอิงโปรแกรม http://kmitlboard.packetlove.com/webserv/bnctool/#b10tob2