SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  25
Télécharger pour lire hors ligne
การจัดทํารายงานโครงการ 5 บท



          ในการจัดทํารายงานวิชาโครงการในลักษณะ 5 บท มาตรฐานทางวิชาการมีคณครูหลายทาน
                                                                               ุ
ใหความสนใจเปนอยางมาก และเสนอใหมีการกําหนดมาตรฐานรูปแบบการพิมพรายงานในหัวขอ
ตางๆเพื่อใหเกิดมาตรฐาน และมีรูปแบบเดียวกัน
          จากการที่ไดไปศึกษาเอกสารจากหลายวิทยาลัย และเอกสารที่สวนกลาง(สอศ.) ที่เคยสง
เผยแพรไปยังสถานศึกษาในเรื่องการจัดทํารายงานวิชาโครงการ พบวา สถานศึกษาไดมีการพัฒนา
รูปแบบการจัดทํารายงาน หลากหลายรูปแบบ ที่ผานมา มีทั้งลักษณะ 3 บท 5 บท(เชิงวิจัย) และบาง
สถานศึกษาไมไดกําหนดเปนบท แตครูกําหนดหัวขอใหผูเรียนไปศึกษา
          สําหรับในปการศึกษานี้ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ตองการพัฒนาทักษะวิจัย
ใหนักศึกษาอาชีวศึกษา โดยการบูรณาการความรูในสาขาวิชาชีพ โดยใหผูเรียนสามารถการสราง
ชิ้นงาน/โครงการและสิ่งประดิษฐตางๆ โดยมีกระบวนการวิจัยเปนสวนหนึ่งของการเรียนรูเพื่อพิสจน
                                                                                           ู
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการสรางชินงาน/โครงการและสิ่งประดิษฐดงกลาว โดยผานการเรียน
                                          ้                          ั
การสอนวิชาโครงการหรือวิชาชีพ
          ซึ่งขั้นตอนสุดทายการศึกษาในรายวิชาโครงการกําหนดใหผูเรียนจะตองมีการจัดทํารายงาน
เพื่อเผยแพรผลงาน ซึ่งจะเปนการสะทอนผลการศึกษาและการปฏิบติงานใหเกิดความเขาใจใน
                                                                ั
ผลงาน ทั้งแกผูเรียน ผูสนใจ และผูเกี่ยวของ

         จึงขอเสนอตัวอยางรูปแบบการจัดทํารายงาน ขอกําหนดการพิมพ ลักษณะ ผลงานทาง
วิชาการ 5 บท ซึ่งไดตวอยางมาจาก คูมอการจัดทําโครงการ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.)
                       ั             ื
2545 (ปรับปรุง 2546) และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชั้นสูง (ปวส.) 2546. ของสถาบันการ
อาชีวศึกษาภาคตะวันออก1 และขอขอบคุณ อ.ปยะศักดิ์ เวียงคํา วิทยาลัยเทคนิคปราจีน ที่ไดมอบ
เอกสารสวนนี้มาเปนตัวอยางเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู (เปนตัวอยางแนวทางเทานั้น ซึงสถานศึกษา
                                                                                 ่
/ครูผูสอนสามารถนําไปพัฒนา ปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสมของสถานศึกษาและโครงการของ
ผูเรียน แตใหคงลักษณะรายงานการวิจัย 5 บท)
          ซึ่งวิทยาลัยเทคนิคปราจีน การกําหนดรูปแบบการจัดทํารายงานแนว 5 บทไวนาสนใจ ดังนี้
44


                ตัวอยางโครงรางรายงานวิจัย 5 บท
                       ตัวอยางหนาที่ 1 ปกนอก เขาปกแข็ง


                                                               ขนาด 24 หนา



                     หุนยนตดูดฝุนอัตโนมัติ
               AUTOMATIC CLEAN ROBOT
                                                               ขนาด 22 หนา



                          นายวัชระ คุณวิวัฒน
                          นายวุฒิชย นอยคําปน
                                  ั
                                                            ขนาด 18 หนา


            โครงการนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร
                      ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
          คณะวิชาไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส
                            วิทยาลัยเทคนิคปราจีนบุรี         ปการศึกษาที่จบ
                                ปการศึกษา 2547


หมายเหตุ เสนอรูปแบบ เพือเปนตัวอยาง/แนวทางเทานัน ซึ่งสถานศึกษา/ครูผูสอนสามารถ
                        ่                        ้
นําไปพัฒนา ปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสมของสถานศึกษาและโครงการของผูเรียน แตให
คงลักษณะรูปแบบรายงานการวิจย 5 บท
                            ั
45

          ตัวอยางหนาที่ 2
(กระดาษเปลารองปกใน 1 แผน)
46

                                 ตัวอยางหนาที่ 3 ใบรับรองโครงการ




                                                                     ขนาด 18 หนา
                                        ใบรับรองโครงการ
                                     วิทยาลัยเทคนิคปราจีนบุรี

เรื่อง หุนยนตดดฝุนอัตโนมัติ
                ู

โดย นายวัชระ คุณวิวัฒน           รหัส 4631050033
    นายวุฒชัย นอยคําปน
           ิ                      รหัส 4631050034

ไดรบอนุมัติใหนับเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
    ั
คณะวิชาไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส

_________________________หัวหนาแผนกวิชา _______________________หัวหนาคณะวิชา
   (………………………)                              (………………………)
               วันที…………เดือน…………………………….พ.ศ……………..
                    ่

คณะกรรมการสอบโครงการ
_______________________________________________ประธานกรรมการ
(           ชื่ออาจารย          )

_______________________________________________กรรมการ
(           ชื่ออาจารย          )

_______________________________________________กรรมการ
(           ชื่ออาจารย          )
47
                                                  ทั้งหนานี้ ใชนาด
                                                       16 ปกติ
                ตัวอยางหนาที่ 4 ปกใน



               หุนยนตดูดฝุนอัตโนมัติ
                            




                นายวัชระ คุณวิวัฒน
                นายวุฒิชัย นอยคําปน




  โครงการนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร
            ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
คณะวิชาไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส

              วิทยาลัยเทคนิคปราจีนบุรี
                  ปการศึกษา 2547
48

                                       ตัวอยางหนาที่ 5 บทคัดยอ

                                                                       ขนาด 16 ปกติ

ชื่อ            :   นายวัชระ คุณวิวัฒน , นายวุฒิชัย นอยคําปน
ชื่อเรื่อง      :   หุนยนตดดฝุนอัตโนมัติ
                               ู
สาขาวิชา        :   อิเล็กทรอนิกส
คณะวิชา         :   ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส
ที่ปรึกษา       :   อาจารยวเิ ชียร ทวีสุข , อาจารยชูเกียรติ คีรี
ปการศึกษา      :   2547                                               ขนาด 18 หนา

                                              บทคัดยอ
                                                                            ขนาด 16 ปกติ

   โครงการ เรื่อง หุนยนตดูดฝุนอัตโนมัติ มีจุดมุงหมายเพื่อ……………………………….
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………


   การเขียนบทคัดยอ
           จะตองกลาวถึงหัวขอตอไปนี้
           * ชื่อโครงการ
           * วัตถุประสงค
           * สวนประกอบของโครงการ ตามลักษณะของบลอกไดอะแกรม
           * รูปแบบของการทดลอง
           * ผลการทดลอง และสรุปผลการทดลอง
           เขียนเปนยอหนาเดียวกัน โดยความยาวไมเกิน 1/2 หนากระดาษ



                                                  (ค)
49

                    ตัวอยางหนาที่ 6 กิตติกรรมประกาศ
                                                                 ขนาด 18 หนา

                          กิตติกรรมประกาศ
                                                                 ขนาด 16 ปกติ
   คําขอบคุณผูใหความชวยเหลือตาง ๆ ……………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………..



                                                        นายวัชระ คุณวิวัฒน
                                                        นายวุฒิชย นอยคําปน
                                                                ี




                                   (ง)
50

                                     ตัวอยางหนาที่ 7 สารบัญ

                                                                ขนาด 18 หนา
                                            สารบัญ              หางจากขอบบน 2 นิ้ว



เรื่อง                                                                     หนา
บทคัดยอ                                                                    ค
                                                ขนาด 16 ปกติ
กิตติกรรมประกาศ                                                             ง
สารบัญตาราง                                                                 ช
สารบัญรูป                                                                   ซ
บทที่ 1 บทนํา                                                               1
        1.1 ความเปนมาของโครงการ
        1.2 วัตถุประสงคของโครงการ
        1.3 ขอบเขตของโครงการ
        1.4 วิธีการดําเนินการ
        1.5 ประโยชนท่ไดรับของโครงการ
                           ี
        1.6 นิยามศัพท
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยที่เกียวของ
                             ั ่
        2.1 ไมโครคอนโทรลเลอร MCS-51
        2.2 อัลตราโซนิคเซ็นเตอร
        2.3 สเต็ปมอเตอร
        2.4 งานวิจยทีเ่ กี่ยวของ (ถามี)
                     ั
บทที่ 3 วิธีดําเนินงานโครงการ/วิธีดําเนินการวิจัย
        3.1 แผนผังการทํางานของหุนยนต
        3.2 การออกแบบวงจร
        3.3 การออกแบบโปรแกรมควบคุม
        3.4 อุปกรณทใชในการทดลอง
                       ี่
บทที่ 4 ผลการทดลอง
        4.1 การทดสอบหุนยนต
        4.2 ผลจากการทดสอบหุนยนต
        4.3 การนําไปใชงาน


                                               (จ)
51
                                                              ขนาด 18 หนา
                                      สารบัญ(ตอ)

บทที่ 5 สรุปผลและขอเสนอแนะ                                   ขนาด 16 ปกติ
        5.1 สรุปผลการทดลอง
        5.2 ปญหาและอุปสรรคในการทดลอง
        5.3 ขอเสนอแนะและแนวทางในการพัฒนา
บรรณานุกรม
ภาคผนวก ก.
        * ชุดคําสั่งการทํางานของโปรแกรมควบคุมหุนยนตดดฝุน
                                                      ู
        * รูปแสดงสวนประกอบของหุนยนตดูดฝุน
                                           
        * รายละเอียดของอุปกรณ
        * วงจรพิมพ
        * การวางแผนอุปกรณบนวงจรพิมพ
ภาคผนวก ข.
        * คุณสมบัติของ IC 89C2051
ประวัติผูจัดทํา




                                          (ฉ)
52

                                                    ขนาด 18 หนา
                                   สารบัญตาราง
                                                    ขนาด 16 ปกติ

                                                     หนา
ตารางที่ 2.1 คุณสมบัติของไมโครคอนโทรลเลอร MCS-51     5




                                   (ช)
53
                                                 ขนาด 18 หนา
                                     สารบัญรูป
                                                 ขนาด 16 ปกติ

                                                          หนา
รูปที่ 3.1 บลอกไดอะแกรมสวนประกอบหุนยนต                 20
          *
          *
          *




                                    (ซ)
54

                                                                            ขนาด 18 หนา
                                             บทที่ 1
                                                                             ขนาด 16 หนา
                                              บทนํา
1. ความเปนมาของโครงการ                                                      ขนาด 16 ปกติ
       กลาวถึงความเปนมา เหตุจูงใจที่ตองทําโครงการนี้
                                                                การยอหนาใหม ใหหางจาก
2. วัตถุประสงคของโครงการ                                       ขอบกระดาษ4 ตัวอักษรหรือ
         2.1 เพื่อสรางหุนยนตดูดฝุนแบบอัตโนมัติ
                                                               ประมาณ 1 เซนติเมตร ทุกครั้ง
         2.2 เพื่อศึกษาหลักการทํางานของไมโครคอนโทรลเลอร MCS-51
         2.3 เพื่อศึกษาหลักการทํางานของอัตราโซนิค
         2.4 เพื่อศึกษาการทํางานของสเต็ปปงมอเตอร

3. ขอบเขตของโครงการ (ระบุขอบเขตของงานที่ตองการทํา ใชเครื่องมือและอุปกรณอะไรบาง)
       3.1 เดินหลบสิ่งกีดขวางไดอยางอัตโนมัติ
                                                          หัวขอยอย บรรทัดตอไปใหเยื้อง
               3.1.1 เดินตามเสนสีขาว
                                                            ลดหลั่นกันไปแบบขั้นบันได
               3.1.2 เดินไดเฉพาะบริเวณทีมีแสงสวาง
                                           ่
                        3.1.2.1 เดินไดเฉพาะแสงสวางไมนอยกวา 100 ลักส
                                                        
       3.2 ใชกับแหลงจายตรงขนาด 12 โวลท

4. ประโยชนที่ไดรับจากโครงการ
       ประโยชนที่ไดจากการทําโครงการ โดยเขียนเปนขอ ๆ

5. วิธีการดําเนินการ
         เขียนเปนลําดับขั้นตอนในการปฏิบัติดาเนินงาน ตั้งแตเริ่มตนหาหัวเรืองที่สนใจ จนกระทั่ง
                                            ํ                               ่
การจัดทําคูมือโครงการ

6. นิยามศัพท
        นิยามศัพทที่เกียวของที่สําคัญเพื่อใหเกิดความเขาใจในงาน
                        ่
55
                                                                                   ขนาด 18 หนา
                                               บทที่ 2

                                 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

       ในการศึกษาเรืองหุนยนตดูดฝุนอัตโนมัติ ผูวิจัยไดรวบรวมแนวคิดทฤษฎีและหลักการตางๆ
                    ่
จากเอกสารและงานวิจยทีเ่ กียวของดังตอไปนี้
                   ั ่
                                                                                          ขนาด 16 หนา
2.1 ไมโครคอนโทรลเลอร MCS-51
        ไมโครคอนโทรลเลอร 89C52 พรอมกับคอมไพเลอรสําหรับแปลโปรแกรม ใชภาษาอะไร
ก็ตองกลาวถึงภาษานัน รวมทั้ง วิธีการที่ไดมาซึ่งคอมไพเลอรตัวนั้น และการใชอุปกรณอะไร
                    ้
บันทึกโปรแกรมลงในตัวชิพไมโครคอนโทรลเลอร
                                                                                              ขนาด 16 ปกติ
2.2 อัลตราโซนิคเซ็นเตอร

2.3 สเต็ปปงมอเตอร
           

           กลาวถึงทฤษฎีที่เกี่ยวของที่นํามาใชในการทําโครงการ และตองครบถวน ตัวอยางเชน เรื่อง
 หุนยนตดูดฝุนอัตโนมัติ ในเนื้องานใชไมโครคอนโทรลเลอรเบอร 89C52 ใชสเต็ปปงมอเตอรเปนตัว
 ขับเคลื่อน ใชอัลตราโซนิกเปนตัวตรวจจับปองกันการชน
           * ไมโครคอนโทรลเลอร 89C52 พรอมกับคอมไพเลอรสําหรับแปลโปรแกรม ใชภาษาอะไรก็
 ตองกลาวถึงภาษานั้น รวมทั้งวิธีการที่ไดมาซึ่งคอมไพเลอรตัวนั้น และการใชอุปกรณอะไร บันทึก
 โปรแกรมลงในตัวชิพ ไมโครคอนโทรลเลอร
           * สเต็ปปงมอเตอรพรอมทั้งการบังคับ
           * คลื่นอุลตราโซนิก พรอมทั้งวิธีการกําเนิดคลื่น และวิธีการตรวจจับ
 เทาที่ตรวจพบนักศึกษามักจะลอกหนังสือตํารา หรือบทที่ 2 ของกลุมอื่นมา ซึ่งเปนเรื่องที่ไรมารยาท
 ทางวิชาการ ใหนักศึกษาเรียบเรียงใหกระชับ แลวอางอิงเอกสารที่นําขอมูลมานั้นในบรรณานุกรม
56




                                       บทที่ 3                       ขนาด 18 หนา


                   วิธีดําเนินโครงการดําเนินการ/วธีดําเนินการวิจัย
                                                                       ขนาด 16 หนา
กลาวถึงออกแบบโดยละเอียด ยกตัวอยางดังตอไปนี้
3.1 บล็อกไดอะแกรมของหุนยนตทุกภาค
        พรอมทั้งอธิบายการทํางานของแตละภาคอยางละเอียด
3.2 การออกแบบแตละบล็อกและวงจรแตละภาค
                                                                         ขนาด 16 ปกติ
3.3 ผังงานในการทํางานของระบบ
3.4 รูปแบบวงจรและการคํานวณที่มาของอุปกรณ
3.5 แหลงจายไฟของระบบและการปองกันการลัดวงจร
3.6 การออกแบบชุดคําสั่ง (ไดแก โฟลชารจแสดงขั้นตอนของโปรแกรมการทํางาน)
57




                                                 บทที่ 4                                ขนาด 18 หนา


                            ผลการทดลอง/วิจัยละการวิเคราะหขอมูล
                                                           

          ใหกลาวถึงวิธีการทดลอง วาทําอยางไรใหมีภาพประกอบตามวิธีการที่ทดลองนั้น ผลที่ได
 เปนอยางไร ลักษณะของสัญญาณที่จําเปนบางจุด เมื่อใหทํางานซ้ํา ๆ ตั้งแต 20 ครั้งขึ้นไป มีอัตราใน
 การทํางานที่ประสบความสําเร็จกี่ครั้ง หากมีขอผิดพลาดและทําการแกไขแลว ผลเปนอยางไร ตาราง
 บันทึกผลการทดลอง กราฟรูปคลื่นที่แสดงถึงประสิทธิภาพของโครงการ


                                                                                   ขนาด 16 หนา
1.1 การทดสอบหุนยนต
   - วิธีการ/ขันตอนทดสอบ
               ้

1.2 ผลการจากการทดสอบหุนยนต
    - ผลการวิเคระหขอมูลที่เปนตัวเลขหรือคาสถิติที่คํานวณไดนยมนําเสนอในรูปตารางและแผยภูมิ
                                                               ิ
กราฟประกอบ
    - การแปลความหมายขอมูลจากตาราง

1.3 การนําไปใชงาน
58


                                                                             ขนาด 18 หนา

                                            บทที่ 5

                             สรุป อภิปรายผลและขอเสนอแนะ

            ใหนําผลการทดลองไปปรึกษาอาจารยที่ปรึกษา วาเปนที่พอใจ หรือตรงกับขอบเขตของงานแลว
   หรือยัง แลวใหแกไขตามที่ อาจารยปรึกษาแนะนํา จนอาจารยที่ปรึกษาอนุญาตใหนัดนําเสนอแลว
   จึงสรุปผลการทดลองวาไดผลอยางไร มีปญหาอุปสรรคอะไร หากมีใครสนใจจะทําตอจะเสนอแนะใหผทําู
   ตอพัฒนา หรือแกไขอะไร อยางไร

5.1 สรุปผลการทดลอง                                                      ขนาด 16 หนา
         -สวนนีจะสรุปเกี่ยวกับวัตถุประสงคของโครงการ วิธดําเนินโครงการ
                 ้                                         ี
ไดแก เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูลและผลการทดลอง

5.2 ปญหาและอุปสรรคในการทดลอง สอดคลองหรือขัดแยงในทางทฤษฎีอยางไร

      - สวนนีจะเปนการอภิปรายผล วาทําไมผลการทดลองจึงเปนเชนนี้ สอดคลองหรือขัดแยง
              ้
ในทางทฤษฎีอยางไร ปญหาและอุปสรรคในการทดลอง(ปญหาทางเทคนิค)

5.3 ขอเสนอแนะและแนวทางในการพัฒนา
         - สิ่งที่คาดวาเปนไปได เพื่อใหสามารถพัฒนาตอไป ไดอยางสมเหตุสมผล
59

                                                                                ขนาด 18 หนา


                                           บรรณานุกรม

ภาษาไทย
หนังสือ
                                                                                        ขนาด 16 ปกติ
() ชื่อผูแตง . ชื่อหนังสือ . พิมพครั้งที่ . จังหวัด; สํานักพิมพ . ป พ.ศ. ที่พิมพ.
ตัวอยาง
(1)ธนัท ชัยยุทธ . วงจรอิเล็กทรอนิกสพื้นฐาน . พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร; อักษรเจริญ
              ทัศน.2545.
(2)ปรีชา ชนะสงคราม และ สมพล ศรีสะอาน . มอเตอรกระแสตรงพืนฐาน . กรุงเทพมหานคร :  ้
                ซีเอ็ดยูเคชั่น . 2545.
-เวน 8 ตัวอักษร-เมื่อเขียนในบรรทัดเดียวไมพอ เมื่อขึ้นบรรทัดใหมใหยอหนาเขาไป 8 ตัวอักษร
วารสาร
()ชื่อผูแตง . "ชื่อเรื่อง" . ชื่อวารสาร . ฉบับที่ ; หนาที่ .
ตัวอยาง
(3)ยืน ภูสวรรณ. "การใชคอมพิวเตอรชวยในการเรียนการสอน". วารสารไมโครคอมพิวเตอร.
              ุ                                 
                ฉบับที่ 126 กุมภาพันธ 2545 ; 120-129.
หมายเหตุ ใหเรียงลําดับชื่อผูแตงตามลําดับตัวอักษรภาษาไทยและใสหมายเลขกํากับแตละรายการ
ไวหนา โดยเขียนไวในเครื่องหมาย ()

ภาษาอังกฤษ
        ใชรูปแบบเดียวกับภาษาไทย และเรียงลําดับผูแตงตามอักษรภาษาอังกฤษ เชน
(4)Heinich, Robert and Russal, Jame D. Instructional Media : the New Technologies of
        Instruction. New York: John Wiley&Sons Inc.,1982.

เว็ปไซท
         ถามีการอางอิงขอมูลจากเว็บไซต ใหอางอิงเปนชื่อเว็บไซตที่อางถึงขอมูลอยู และเรียงลําดับ
ตามอักษรภาษาอังกฤษ
(5)http://www.elecnet.chandra.ac.th/tipntrick/stepper/index.html
(6)http://www.kmitnb.ac.th/mte/motor/index.html
60


                                                                  ขนาด 18 หนา
                                       ภาคผนวก

ประกอบดวยรายละเอียดตาง ๆ ดังนี้ (ถามี)
ก) ชุดคําสั่งหรือโปรแกรมที่ใชควบคุมการทํางาน
ข) Data Sheet
ค) รายการอุปกรณ
ง) ภาพถายแสดง สวนประกอบการติดตั้ง
จ) ภาพวงจรพิมพ (ภาพแผนปรินซ)
ซ) ภาพวงจรทีมีขนาดใหญไมสามารถแสดงอยูในรูปกระดาษ A4ได และอื่น ๆ ที่มี
               ่
61



                                                                    ขนาด 18 หนา
                                      ประวัติผูจัดทํา



ชื่อ - สกุล
ชื่อเรื่อง (ชื่อโครงการ)
สาขาวิชา



ประวัติ
            ประวัติสวนตัว
วัน เดือน ป ที่เกิด อายุ
ที่อยู (ปจจุบัน)

         ประวัติการศึกษา
ป พ.ศ. 25.. ปวช. สาขาวิชาชาง……………………
ป พ.ศ. 2547 ปวส. สาขาวิชาชางอิเล็กทรอนิกส วิทยาลัยเทคนิคปราจีนบุรี
62




                                  สวนประกอบของโครงการ

1. ปก ทําดวยกระดาษแข็ง และชื่อหัวขอโครงการ ชื่อโครงการ ชื่อผูจดทําโครงการวิชา
                                                                    ั
   และปการศึกษาที่จบ สันขางพิมพชื่อโครงการและปการศึกษาที่จบ
          1.1 ใบรองปก มีไวเพื่อยึดปกใหตดกับเลมหนังสือ และชวยปองกันเนือหนังสือเมื่อปกหลุด
                                             ิ                            ้
ใชกระดาษสีขาวปลอยเปนแผนซอนบนหนังสือ
          1.2 ปกใน ขอความในปกจะเหมือนกับปกแข็งดานนอกทุกอยางและเปนภาษาไทย พิมพไม
ใชตัวหนา
          1.3 ใบรองปกหลัง อยูกอนปกหลังเปนกระดาษเปลาสีขาว
2. ใบรับรองโครงการ ใบรับรองโครงการ อนุมัติใหนบโครงการ ระดับประกาศนียบัตร………….
                                                        ั
    สาขาวิชาชาง……………………. นี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตร…
    ตองมีการอนุมัตผลจากกรรมการผูสอบ จึงจะสมบูรณ
                     ิ
3. บทคัดยอ ใหเขียนบทคัดยอ เปนการสรุปยอความหลักการและเหตุผลความสําคัญของเนื้อหา
   ที่จัดทํา
4. กิตติกรรมประกาศ เปนการแสดงคําอุทิศความดีของหนังสือใหแกผูมีพระคุณ ซึงไดใหความ
                                                                             ่
ชวยเหลือสนับสนุนจนโครงการสําเร็จดวยดี
5. สารบัญ เปนหนาบอกรายการและตําแหนงของเนื้อหาสาระในเลม เชนบอกบทอยูหนาทีเ่ ทาใด
   อาจเพิ่มหนาสารบัญตาราง และสารบัญภาพประกอบเพิ่มเติม
6. เนื้อเรื่อง
          บทที่ 1 บทนํา
          บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยที่เกียวของ
                                    ั ่
          บทที่ 3 วิธีดําเนินโครงการ/วิธีดําเนินการวิจัย
          บทที่ 4 ผลการทดลอง/วิจัย และการวิเคราะหขอมูล
          บทที่ 5 สรุป อภิปรายและขอเสนอแนะ

หมายเหตุ รายละเอียดแตละบท ไดแสดงไวในหนาทีบทตาง ๆ ขางตนแลว
                                             ่
63



7. บรรณานุกรม เอกสารอางอิง เปนรายการแสดงรายชือหนังสือที่ใชคนควาหรืออางอิง
                                                       ่          
   ตองพิมพใหถูกตอง และดูรายละเอียดไดในหนาบรรณานุกรม
8. ภาคผนวก เปนสวนขอมูลอื่น ๆ ที่ตองการเพิ่มเติม และ มีความสําคัญในการคนควา และใช
   เปนอางอิงได เชน Data sheet รายการอุปกรณ ภาพถายชิ้นงาน โปรแกรมควบคุมการทํางาน
   แตละเรื่องแบงเปนภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ตามความเหมาะสม
9. ประวัติ ผูจัดทํา แสดงชือ อายุ การศึกษา ประสบการณ อาชีพ และ ความสามารถของผูจัดทํา
                           ่
   โครงการ เปนกระดาษหนาสุดทายของเนื้อหา ถาผูจดทํามากกวา 1 คน ใหคนแยกคนละหนา
                                                     ั
64




                                 รายละเอียดการพิมพ

* การพิมพใหใชตวอักษร AngsanaUPC เทานั้น โดยมีขอกําหนดดังนี้
                    ั
         1. บทที่ และชื่อเรื่องบท ใชขนาด 18 แบบ หนา หางจากขอบบน 2 นิ้ว
         2. หนาอื่นที่ไมใชหนาบท ใหหางจากขอบบน 1.5 นิ้ว
                                        
         3. ถาเปนการพิมพขอความปกติใช ขนาด 16 และ หัวขอเนื้อหา ใหใช ขนาด 16 แบบหนา
         4. การใชภาษาอังกฤษใหใชรูปแบบเดียวกันรูปแบบที่เปนภาษาไทย
* การตั้งหนากระดาษ
         1. ขอบบน 1.5 นิ้ว
         2. ขอบซาย 1.5 นิ้ว
         3. ขอบขวา 1 นิ้ว
         4. ขอบลาง 1 นิ้ว
* ขึ้นตนบทใหมใหคําวา "บทที่.." หางจากขอบบน 2 นิ้ว และไมพมพตัวเลขบอกหนา
                                                                ิ
* ตัวเลขบอกหนาใหพิมพบนตําแหนงของขอบบนขวา หางจากขอบกระดาษดานบน 0.5 นิ้ว
  และหางจากขอบขวา 0.5 นิ้ว และตัวอักษร AngsanaUPC ขนาดปกติ 16
* ตั้งแตบทคัดยอจนถึงบทที่ 1 ใหพิมพเลขหนาขอบลาง ตรงกลาง เปนภาษาไทยและมีวงเล็บ
  โดยเริ่มหนาบทคัดยอเปน (ค) ไปจนถึงหนากอนบทที่ 1
65



                                              การจัดหนากระดาษ
                                                                                                       กระดาษ A4
                หนาปกติทั่วไป                                       หนาเริ่มตนบทตาง ๆ
              ใหกั้นบน 1 1/2 นิ้ว                                     ใหกั้นบน 2 นิ้ว




                                 หนาทั่วไปใหเริ่มชิดขอบบน 1.5 นิ้ว ทุกหนา ยกเวนบทที่
กั้นหนา 1 1/2 นิ้ว                                      บทที่ 3                         เวน 1 บรรทัด
                                             การออกแบบและการดําเนินงาน

                                                                                                        กั้นหลัง 1 นิ้ว




                                                                                     กั้นลาง 1 นิ้ว
66



                                        บรรณานุกรม

สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก1 วิทยาลัยเทคนิคปราจีน. คูมือการจัดทําโครงการ หลักสูตร
         ประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) 2545 (ปรับปรุง 2546) และหลักสูครประกาศนียบัตร
         วิชาชั้นสูง (ปวส.) 2546. ฉบับสําเนา




เปนอยางไรบางคะคุณครูทุกทานพอจะไดตัวอยาง
67

Contenu connexe

Tendances

ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4preecha2001
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapkrupornpana55
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfJiruttiPommeChuaikho
 
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่พัน พัน
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อwisheskerdsilp
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
การบ้านป.1
การบ้านป.1การบ้านป.1
การบ้านป.1krumolticha
 
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft WordSupreeyar philarit
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงBoomCNC
 
แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนดอกหญ้า ธรรมดา
 
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) Np Vnk
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1KruKaiNui
 
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทยโครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทยกก กอล์ฟ
 

Tendances (20)

การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
 
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
การบ้านป.1
การบ้านป.1การบ้านป.1
การบ้านป.1
 
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
 
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPointแบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
เพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการเพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการ
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
 
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทยโครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
 

Similaire à รูปแบบโครงการ

การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...Usmaan Hawae
 
ตยคู่มือ
ตยคู่มือตยคู่มือ
ตยคู่มือunyaparnss
 
Supattra s
Supattra sSupattra s
Supattra speerapit
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2Surapong Jakang
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมWichai Likitponrak
 
วงจรชีวิตพยาธิใบไม้ในตับ
วงจรชีวิตพยาธิใบไม้ในตับวงจรชีวิตพยาธิใบไม้ในตับ
วงจรชีวิตพยาธิใบไม้ในตับnay220
 
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์waranyuati
 
รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2557
รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2557รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2557
รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2557Panatchakorn Chaiyanon
 
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้าKruthai Kidsdee
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จโครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จNoot Ting Tong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จโครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จNoot Ting Tong
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timssNirut Uthatip
 
Scireleaseditem pisa-timss
Scireleaseditem pisa-timssScireleaseditem pisa-timss
Scireleaseditem pisa-timssBiobiome
 
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSSตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSSkunkrooyim
 
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timssNaughtily NaRee
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timssNirut Uthatip
 

Similaire à รูปแบบโครงการ (20)

การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
 
ตยคู่มือ
ตยคู่มือตยคู่มือ
ตยคู่มือ
 
Supattra s
Supattra sSupattra s
Supattra s
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
Apatsara palaut
Apatsara palautApatsara palaut
Apatsara palaut
 
วงจรชีวิตพยาธิใบไม้ในตับ
วงจรชีวิตพยาธิใบไม้ในตับวงจรชีวิตพยาธิใบไม้ในตับ
วงจรชีวิตพยาธิใบไม้ในตับ
 
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
 
รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2557
รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2557รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2557
รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2557
 
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จโครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จโครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
 
Pisa
PisaPisa
Pisa
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
 
Scireleaseditem pisa-timss
Scireleaseditem pisa-timssScireleaseditem pisa-timss
Scireleaseditem pisa-timss
 
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSSตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
 
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
 
Astroplan18
Astroplan18Astroplan18
Astroplan18
 

Plus de skiats

การ Setup disk quota กับ user ทุกคน
การ Setup disk quota กับ user ทุกคนการ Setup disk quota กับ user ทุกคน
การ Setup disk quota กับ user ทุกคนskiats
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาskiats
 
ตัวแปรและค่าคงที่ basic data type
ตัวแปรและค่าคงที่ basic data typeตัวแปรและค่าคงที่ basic data type
ตัวแปรและค่าคงที่ basic data typeskiats
 
4 - statement
4  - statement4  - statement
4 - statementskiats
 
การใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadminการใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadminskiats
 
แบบจำลองข้อมูล
แบบจำลองข้อมูลแบบจำลองข้อมูล
แบบจำลองข้อมูลskiats
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลskiats
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการskiats
 
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้skiats
 
รวบรวมความต้องการ
รวบรวมความต้องการรวบรวมความต้องการ
รวบรวมความต้องการskiats
 
DFD ภาษาอังกฤษ
DFD ภาษาอังกฤษDFD ภาษาอังกฤษ
DFD ภาษาอังกฤษskiats
 
การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDskiats
 
วงจรพัฒนาระบบ SDLC
วงจรพัฒนาระบบ SDLCวงจรพัฒนาระบบ SDLC
วงจรพัฒนาระบบ SDLCskiats
 
ความหมายการวิเคราะห์ระบบ
ความหมายการวิเคราะห์ระบบความหมายการวิเคราะห์ระบบ
ความหมายการวิเคราะห์ระบบskiats
 
อุปกรณ์รับและแสดงผล
อุปกรณ์รับและแสดงผลอุปกรณ์รับและแสดงผล
อุปกรณ์รับและแสดงผลskiats
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์skiats
 
การ Normalization
การ Normalizationการ Normalization
การ Normalizationskiats
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลskiats
 
Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์
Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์
Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์skiats
 
Lecture5 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Lecture5 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์Lecture5 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Lecture5 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์skiats
 

Plus de skiats (20)

การ Setup disk quota กับ user ทุกคน
การ Setup disk quota กับ user ทุกคนการ Setup disk quota กับ user ทุกคน
การ Setup disk quota กับ user ทุกคน
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
 
ตัวแปรและค่าคงที่ basic data type
ตัวแปรและค่าคงที่ basic data typeตัวแปรและค่าคงที่ basic data type
ตัวแปรและค่าคงที่ basic data type
 
4 - statement
4  - statement4  - statement
4 - statement
 
การใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadminการใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadmin
 
แบบจำลองข้อมูล
แบบจำลองข้อมูลแบบจำลองข้อมูล
แบบจำลองข้อมูล
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการ
 
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
 
รวบรวมความต้องการ
รวบรวมความต้องการรวบรวมความต้องการ
รวบรวมความต้องการ
 
DFD ภาษาอังกฤษ
DFD ภาษาอังกฤษDFD ภาษาอังกฤษ
DFD ภาษาอังกฤษ
 
การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFD
 
วงจรพัฒนาระบบ SDLC
วงจรพัฒนาระบบ SDLCวงจรพัฒนาระบบ SDLC
วงจรพัฒนาระบบ SDLC
 
ความหมายการวิเคราะห์ระบบ
ความหมายการวิเคราะห์ระบบความหมายการวิเคราะห์ระบบ
ความหมายการวิเคราะห์ระบบ
 
อุปกรณ์รับและแสดงผล
อุปกรณ์รับและแสดงผลอุปกรณ์รับและแสดงผล
อุปกรณ์รับและแสดงผล
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
การ Normalization
การ Normalizationการ Normalization
การ Normalization
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
 
Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์
Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์
Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์
 
Lecture5 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Lecture5 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์Lecture5 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Lecture5 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 

รูปแบบโครงการ

  • 1. การจัดทํารายงานโครงการ 5 บท ในการจัดทํารายงานวิชาโครงการในลักษณะ 5 บท มาตรฐานทางวิชาการมีคณครูหลายทาน ุ ใหความสนใจเปนอยางมาก และเสนอใหมีการกําหนดมาตรฐานรูปแบบการพิมพรายงานในหัวขอ ตางๆเพื่อใหเกิดมาตรฐาน และมีรูปแบบเดียวกัน จากการที่ไดไปศึกษาเอกสารจากหลายวิทยาลัย และเอกสารที่สวนกลาง(สอศ.) ที่เคยสง เผยแพรไปยังสถานศึกษาในเรื่องการจัดทํารายงานวิชาโครงการ พบวา สถานศึกษาไดมีการพัฒนา รูปแบบการจัดทํารายงาน หลากหลายรูปแบบ ที่ผานมา มีทั้งลักษณะ 3 บท 5 บท(เชิงวิจัย) และบาง สถานศึกษาไมไดกําหนดเปนบท แตครูกําหนดหัวขอใหผูเรียนไปศึกษา สําหรับในปการศึกษานี้ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ตองการพัฒนาทักษะวิจัย ใหนักศึกษาอาชีวศึกษา โดยการบูรณาการความรูในสาขาวิชาชีพ โดยใหผูเรียนสามารถการสราง ชิ้นงาน/โครงการและสิ่งประดิษฐตางๆ โดยมีกระบวนการวิจัยเปนสวนหนึ่งของการเรียนรูเพื่อพิสจน ู ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการสรางชินงาน/โครงการและสิ่งประดิษฐดงกลาว โดยผานการเรียน ้ ั การสอนวิชาโครงการหรือวิชาชีพ ซึ่งขั้นตอนสุดทายการศึกษาในรายวิชาโครงการกําหนดใหผูเรียนจะตองมีการจัดทํารายงาน เพื่อเผยแพรผลงาน ซึ่งจะเปนการสะทอนผลการศึกษาและการปฏิบติงานใหเกิดความเขาใจใน ั ผลงาน ทั้งแกผูเรียน ผูสนใจ และผูเกี่ยวของ จึงขอเสนอตัวอยางรูปแบบการจัดทํารายงาน ขอกําหนดการพิมพ ลักษณะ ผลงานทาง วิชาการ 5 บท ซึ่งไดตวอยางมาจาก คูมอการจัดทําโครงการ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ั ื 2545 (ปรับปรุง 2546) และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชั้นสูง (ปวส.) 2546. ของสถาบันการ อาชีวศึกษาภาคตะวันออก1 และขอขอบคุณ อ.ปยะศักดิ์ เวียงคํา วิทยาลัยเทคนิคปราจีน ที่ไดมอบ เอกสารสวนนี้มาเปนตัวอยางเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู (เปนตัวอยางแนวทางเทานั้น ซึงสถานศึกษา ่ /ครูผูสอนสามารถนําไปพัฒนา ปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสมของสถานศึกษาและโครงการของ ผูเรียน แตใหคงลักษณะรายงานการวิจัย 5 บท) ซึ่งวิทยาลัยเทคนิคปราจีน การกําหนดรูปแบบการจัดทํารายงานแนว 5 บทไวนาสนใจ ดังนี้
  • 2. 44 ตัวอยางโครงรางรายงานวิจัย 5 บท ตัวอยางหนาที่ 1 ปกนอก เขาปกแข็ง ขนาด 24 หนา หุนยนตดูดฝุนอัตโนมัติ AUTOMATIC CLEAN ROBOT ขนาด 22 หนา นายวัชระ คุณวิวัฒน นายวุฒิชย นอยคําปน ั ขนาด 18 หนา โครงการนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง คณะวิชาไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส วิทยาลัยเทคนิคปราจีนบุรี ปการศึกษาที่จบ ปการศึกษา 2547 หมายเหตุ เสนอรูปแบบ เพือเปนตัวอยาง/แนวทางเทานัน ซึ่งสถานศึกษา/ครูผูสอนสามารถ ่ ้ นําไปพัฒนา ปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสมของสถานศึกษาและโครงการของผูเรียน แตให คงลักษณะรูปแบบรายงานการวิจย 5 บท ั
  • 3. 45 ตัวอยางหนาที่ 2 (กระดาษเปลารองปกใน 1 แผน)
  • 4. 46 ตัวอยางหนาที่ 3 ใบรับรองโครงการ ขนาด 18 หนา ใบรับรองโครงการ วิทยาลัยเทคนิคปราจีนบุรี เรื่อง หุนยนตดดฝุนอัตโนมัติ ู โดย นายวัชระ คุณวิวัฒน รหัส 4631050033 นายวุฒชัย นอยคําปน ิ รหัส 4631050034 ไดรบอนุมัติใหนับเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ั คณะวิชาไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส _________________________หัวหนาแผนกวิชา _______________________หัวหนาคณะวิชา (………………………) (………………………) วันที…………เดือน…………………………….พ.ศ…………….. ่ คณะกรรมการสอบโครงการ _______________________________________________ประธานกรรมการ ( ชื่ออาจารย ) _______________________________________________กรรมการ ( ชื่ออาจารย ) _______________________________________________กรรมการ ( ชื่ออาจารย )
  • 5. 47 ทั้งหนานี้ ใชนาด 16 ปกติ ตัวอยางหนาที่ 4 ปกใน หุนยนตดูดฝุนอัตโนมัติ  นายวัชระ คุณวิวัฒน นายวุฒิชัย นอยคําปน โครงการนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง คณะวิชาไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส วิทยาลัยเทคนิคปราจีนบุรี ปการศึกษา 2547
  • 6. 48 ตัวอยางหนาที่ 5 บทคัดยอ ขนาด 16 ปกติ ชื่อ : นายวัชระ คุณวิวัฒน , นายวุฒิชัย นอยคําปน ชื่อเรื่อง : หุนยนตดดฝุนอัตโนมัติ ู สาขาวิชา : อิเล็กทรอนิกส คณะวิชา : ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส ที่ปรึกษา : อาจารยวเิ ชียร ทวีสุข , อาจารยชูเกียรติ คีรี ปการศึกษา : 2547 ขนาด 18 หนา บทคัดยอ ขนาด 16 ปกติ โครงการ เรื่อง หุนยนตดูดฝุนอัตโนมัติ มีจุดมุงหมายเพื่อ………………………………. ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… การเขียนบทคัดยอ จะตองกลาวถึงหัวขอตอไปนี้ * ชื่อโครงการ * วัตถุประสงค * สวนประกอบของโครงการ ตามลักษณะของบลอกไดอะแกรม * รูปแบบของการทดลอง * ผลการทดลอง และสรุปผลการทดลอง เขียนเปนยอหนาเดียวกัน โดยความยาวไมเกิน 1/2 หนากระดาษ (ค)
  • 7. 49 ตัวอยางหนาที่ 6 กิตติกรรมประกาศ ขนาด 18 หนา กิตติกรรมประกาศ ขนาด 16 ปกติ คําขอบคุณผูใหความชวยเหลือตาง ๆ ………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. นายวัชระ คุณวิวัฒน นายวุฒิชย นอยคําปน ี (ง)
  • 8. 50 ตัวอยางหนาที่ 7 สารบัญ ขนาด 18 หนา สารบัญ หางจากขอบบน 2 นิ้ว เรื่อง หนา บทคัดยอ ค ขนาด 16 ปกติ กิตติกรรมประกาศ ง สารบัญตาราง ช สารบัญรูป ซ บทที่ 1 บทนํา 1 1.1 ความเปนมาของโครงการ 1.2 วัตถุประสงคของโครงการ 1.3 ขอบเขตของโครงการ 1.4 วิธีการดําเนินการ 1.5 ประโยชนท่ไดรับของโครงการ ี 1.6 นิยามศัพท บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยที่เกียวของ ั ่ 2.1 ไมโครคอนโทรลเลอร MCS-51 2.2 อัลตราโซนิคเซ็นเตอร 2.3 สเต็ปมอเตอร 2.4 งานวิจยทีเ่ กี่ยวของ (ถามี) ั บทที่ 3 วิธีดําเนินงานโครงการ/วิธีดําเนินการวิจัย 3.1 แผนผังการทํางานของหุนยนต 3.2 การออกแบบวงจร 3.3 การออกแบบโปรแกรมควบคุม 3.4 อุปกรณทใชในการทดลอง ี่ บทที่ 4 ผลการทดลอง 4.1 การทดสอบหุนยนต 4.2 ผลจากการทดสอบหุนยนต 4.3 การนําไปใชงาน (จ)
  • 9. 51 ขนาด 18 หนา สารบัญ(ตอ) บทที่ 5 สรุปผลและขอเสนอแนะ ขนาด 16 ปกติ 5.1 สรุปผลการทดลอง 5.2 ปญหาและอุปสรรคในการทดลอง 5.3 ขอเสนอแนะและแนวทางในการพัฒนา บรรณานุกรม ภาคผนวก ก. * ชุดคําสั่งการทํางานของโปรแกรมควบคุมหุนยนตดดฝุน ู * รูปแสดงสวนประกอบของหุนยนตดูดฝุน  * รายละเอียดของอุปกรณ * วงจรพิมพ * การวางแผนอุปกรณบนวงจรพิมพ ภาคผนวก ข. * คุณสมบัติของ IC 89C2051 ประวัติผูจัดทํา (ฉ)
  • 10. 52 ขนาด 18 หนา สารบัญตาราง ขนาด 16 ปกติ หนา ตารางที่ 2.1 คุณสมบัติของไมโครคอนโทรลเลอร MCS-51 5 (ช)
  • 11. 53 ขนาด 18 หนา สารบัญรูป ขนาด 16 ปกติ หนา รูปที่ 3.1 บลอกไดอะแกรมสวนประกอบหุนยนต 20 * * * (ซ)
  • 12. 54 ขนาด 18 หนา บทที่ 1 ขนาด 16 หนา บทนํา 1. ความเปนมาของโครงการ ขนาด 16 ปกติ กลาวถึงความเปนมา เหตุจูงใจที่ตองทําโครงการนี้ การยอหนาใหม ใหหางจาก 2. วัตถุประสงคของโครงการ ขอบกระดาษ4 ตัวอักษรหรือ 2.1 เพื่อสรางหุนยนตดูดฝุนแบบอัตโนมัติ  ประมาณ 1 เซนติเมตร ทุกครั้ง 2.2 เพื่อศึกษาหลักการทํางานของไมโครคอนโทรลเลอร MCS-51 2.3 เพื่อศึกษาหลักการทํางานของอัตราโซนิค 2.4 เพื่อศึกษาการทํางานของสเต็ปปงมอเตอร 3. ขอบเขตของโครงการ (ระบุขอบเขตของงานที่ตองการทํา ใชเครื่องมือและอุปกรณอะไรบาง) 3.1 เดินหลบสิ่งกีดขวางไดอยางอัตโนมัติ หัวขอยอย บรรทัดตอไปใหเยื้อง 3.1.1 เดินตามเสนสีขาว ลดหลั่นกันไปแบบขั้นบันได 3.1.2 เดินไดเฉพาะบริเวณทีมีแสงสวาง ่ 3.1.2.1 เดินไดเฉพาะแสงสวางไมนอยกวา 100 ลักส  3.2 ใชกับแหลงจายตรงขนาด 12 โวลท 4. ประโยชนที่ไดรับจากโครงการ ประโยชนที่ไดจากการทําโครงการ โดยเขียนเปนขอ ๆ 5. วิธีการดําเนินการ เขียนเปนลําดับขั้นตอนในการปฏิบัติดาเนินงาน ตั้งแตเริ่มตนหาหัวเรืองที่สนใจ จนกระทั่ง ํ ่ การจัดทําคูมือโครงการ 6. นิยามศัพท นิยามศัพทที่เกียวของที่สําคัญเพื่อใหเกิดความเขาใจในงาน ่
  • 13. 55 ขนาด 18 หนา บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ในการศึกษาเรืองหุนยนตดูดฝุนอัตโนมัติ ผูวิจัยไดรวบรวมแนวคิดทฤษฎีและหลักการตางๆ ่ จากเอกสารและงานวิจยทีเ่ กียวของดังตอไปนี้ ั ่ ขนาด 16 หนา 2.1 ไมโครคอนโทรลเลอร MCS-51 ไมโครคอนโทรลเลอร 89C52 พรอมกับคอมไพเลอรสําหรับแปลโปรแกรม ใชภาษาอะไร ก็ตองกลาวถึงภาษานัน รวมทั้ง วิธีการที่ไดมาซึ่งคอมไพเลอรตัวนั้น และการใชอุปกรณอะไร ้ บันทึกโปรแกรมลงในตัวชิพไมโครคอนโทรลเลอร ขนาด 16 ปกติ 2.2 อัลตราโซนิคเซ็นเตอร 2.3 สเต็ปปงมอเตอร  กลาวถึงทฤษฎีที่เกี่ยวของที่นํามาใชในการทําโครงการ และตองครบถวน ตัวอยางเชน เรื่อง หุนยนตดูดฝุนอัตโนมัติ ในเนื้องานใชไมโครคอนโทรลเลอรเบอร 89C52 ใชสเต็ปปงมอเตอรเปนตัว ขับเคลื่อน ใชอัลตราโซนิกเปนตัวตรวจจับปองกันการชน * ไมโครคอนโทรลเลอร 89C52 พรอมกับคอมไพเลอรสําหรับแปลโปรแกรม ใชภาษาอะไรก็ ตองกลาวถึงภาษานั้น รวมทั้งวิธีการที่ไดมาซึ่งคอมไพเลอรตัวนั้น และการใชอุปกรณอะไร บันทึก โปรแกรมลงในตัวชิพ ไมโครคอนโทรลเลอร * สเต็ปปงมอเตอรพรอมทั้งการบังคับ * คลื่นอุลตราโซนิก พรอมทั้งวิธีการกําเนิดคลื่น และวิธีการตรวจจับ เทาที่ตรวจพบนักศึกษามักจะลอกหนังสือตํารา หรือบทที่ 2 ของกลุมอื่นมา ซึ่งเปนเรื่องที่ไรมารยาท ทางวิชาการ ใหนักศึกษาเรียบเรียงใหกระชับ แลวอางอิงเอกสารที่นําขอมูลมานั้นในบรรณานุกรม
  • 14. 56 บทที่ 3 ขนาด 18 หนา วิธีดําเนินโครงการดําเนินการ/วธีดําเนินการวิจัย ขนาด 16 หนา กลาวถึงออกแบบโดยละเอียด ยกตัวอยางดังตอไปนี้ 3.1 บล็อกไดอะแกรมของหุนยนตทุกภาค พรอมทั้งอธิบายการทํางานของแตละภาคอยางละเอียด 3.2 การออกแบบแตละบล็อกและวงจรแตละภาค ขนาด 16 ปกติ 3.3 ผังงานในการทํางานของระบบ 3.4 รูปแบบวงจรและการคํานวณที่มาของอุปกรณ 3.5 แหลงจายไฟของระบบและการปองกันการลัดวงจร 3.6 การออกแบบชุดคําสั่ง (ไดแก โฟลชารจแสดงขั้นตอนของโปรแกรมการทํางาน)
  • 15. 57 บทที่ 4 ขนาด 18 หนา ผลการทดลอง/วิจัยละการวิเคราะหขอมูล  ใหกลาวถึงวิธีการทดลอง วาทําอยางไรใหมีภาพประกอบตามวิธีการที่ทดลองนั้น ผลที่ได เปนอยางไร ลักษณะของสัญญาณที่จําเปนบางจุด เมื่อใหทํางานซ้ํา ๆ ตั้งแต 20 ครั้งขึ้นไป มีอัตราใน การทํางานที่ประสบความสําเร็จกี่ครั้ง หากมีขอผิดพลาดและทําการแกไขแลว ผลเปนอยางไร ตาราง บันทึกผลการทดลอง กราฟรูปคลื่นที่แสดงถึงประสิทธิภาพของโครงการ ขนาด 16 หนา 1.1 การทดสอบหุนยนต - วิธีการ/ขันตอนทดสอบ ้ 1.2 ผลการจากการทดสอบหุนยนต - ผลการวิเคระหขอมูลที่เปนตัวเลขหรือคาสถิติที่คํานวณไดนยมนําเสนอในรูปตารางและแผยภูมิ ิ กราฟประกอบ - การแปลความหมายขอมูลจากตาราง 1.3 การนําไปใชงาน
  • 16. 58 ขนาด 18 หนา บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและขอเสนอแนะ ใหนําผลการทดลองไปปรึกษาอาจารยที่ปรึกษา วาเปนที่พอใจ หรือตรงกับขอบเขตของงานแลว หรือยัง แลวใหแกไขตามที่ อาจารยปรึกษาแนะนํา จนอาจารยที่ปรึกษาอนุญาตใหนัดนําเสนอแลว จึงสรุปผลการทดลองวาไดผลอยางไร มีปญหาอุปสรรคอะไร หากมีใครสนใจจะทําตอจะเสนอแนะใหผทําู ตอพัฒนา หรือแกไขอะไร อยางไร 5.1 สรุปผลการทดลอง ขนาด 16 หนา -สวนนีจะสรุปเกี่ยวกับวัตถุประสงคของโครงการ วิธดําเนินโครงการ ้ ี ไดแก เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูลและผลการทดลอง 5.2 ปญหาและอุปสรรคในการทดลอง สอดคลองหรือขัดแยงในทางทฤษฎีอยางไร - สวนนีจะเปนการอภิปรายผล วาทําไมผลการทดลองจึงเปนเชนนี้ สอดคลองหรือขัดแยง ้ ในทางทฤษฎีอยางไร ปญหาและอุปสรรคในการทดลอง(ปญหาทางเทคนิค) 5.3 ขอเสนอแนะและแนวทางในการพัฒนา - สิ่งที่คาดวาเปนไปได เพื่อใหสามารถพัฒนาตอไป ไดอยางสมเหตุสมผล
  • 17. 59 ขนาด 18 หนา บรรณานุกรม ภาษาไทย หนังสือ ขนาด 16 ปกติ () ชื่อผูแตง . ชื่อหนังสือ . พิมพครั้งที่ . จังหวัด; สํานักพิมพ . ป พ.ศ. ที่พิมพ. ตัวอยาง (1)ธนัท ชัยยุทธ . วงจรอิเล็กทรอนิกสพื้นฐาน . พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร; อักษรเจริญ ทัศน.2545. (2)ปรีชา ชนะสงคราม และ สมพล ศรีสะอาน . มอเตอรกระแสตรงพืนฐาน . กรุงเทพมหานคร : ้ ซีเอ็ดยูเคชั่น . 2545. -เวน 8 ตัวอักษร-เมื่อเขียนในบรรทัดเดียวไมพอ เมื่อขึ้นบรรทัดใหมใหยอหนาเขาไป 8 ตัวอักษร วารสาร ()ชื่อผูแตง . "ชื่อเรื่อง" . ชื่อวารสาร . ฉบับที่ ; หนาที่ . ตัวอยาง (3)ยืน ภูสวรรณ. "การใชคอมพิวเตอรชวยในการเรียนการสอน". วารสารไมโครคอมพิวเตอร. ุ  ฉบับที่ 126 กุมภาพันธ 2545 ; 120-129. หมายเหตุ ใหเรียงลําดับชื่อผูแตงตามลําดับตัวอักษรภาษาไทยและใสหมายเลขกํากับแตละรายการ ไวหนา โดยเขียนไวในเครื่องหมาย () ภาษาอังกฤษ ใชรูปแบบเดียวกับภาษาไทย และเรียงลําดับผูแตงตามอักษรภาษาอังกฤษ เชน (4)Heinich, Robert and Russal, Jame D. Instructional Media : the New Technologies of Instruction. New York: John Wiley&Sons Inc.,1982. เว็ปไซท ถามีการอางอิงขอมูลจากเว็บไซต ใหอางอิงเปนชื่อเว็บไซตที่อางถึงขอมูลอยู และเรียงลําดับ ตามอักษรภาษาอังกฤษ (5)http://www.elecnet.chandra.ac.th/tipntrick/stepper/index.html (6)http://www.kmitnb.ac.th/mte/motor/index.html
  • 18. 60 ขนาด 18 หนา ภาคผนวก ประกอบดวยรายละเอียดตาง ๆ ดังนี้ (ถามี) ก) ชุดคําสั่งหรือโปรแกรมที่ใชควบคุมการทํางาน ข) Data Sheet ค) รายการอุปกรณ ง) ภาพถายแสดง สวนประกอบการติดตั้ง จ) ภาพวงจรพิมพ (ภาพแผนปรินซ) ซ) ภาพวงจรทีมีขนาดใหญไมสามารถแสดงอยูในรูปกระดาษ A4ได และอื่น ๆ ที่มี ่
  • 19. 61 ขนาด 18 หนา ประวัติผูจัดทํา ชื่อ - สกุล ชื่อเรื่อง (ชื่อโครงการ) สาขาวิชา ประวัติ ประวัติสวนตัว วัน เดือน ป ที่เกิด อายุ ที่อยู (ปจจุบัน) ประวัติการศึกษา ป พ.ศ. 25.. ปวช. สาขาวิชาชาง…………………… ป พ.ศ. 2547 ปวส. สาขาวิชาชางอิเล็กทรอนิกส วิทยาลัยเทคนิคปราจีนบุรี
  • 20. 62 สวนประกอบของโครงการ 1. ปก ทําดวยกระดาษแข็ง และชื่อหัวขอโครงการ ชื่อโครงการ ชื่อผูจดทําโครงการวิชา ั และปการศึกษาที่จบ สันขางพิมพชื่อโครงการและปการศึกษาที่จบ 1.1 ใบรองปก มีไวเพื่อยึดปกใหตดกับเลมหนังสือ และชวยปองกันเนือหนังสือเมื่อปกหลุด ิ ้ ใชกระดาษสีขาวปลอยเปนแผนซอนบนหนังสือ 1.2 ปกใน ขอความในปกจะเหมือนกับปกแข็งดานนอกทุกอยางและเปนภาษาไทย พิมพไม ใชตัวหนา 1.3 ใบรองปกหลัง อยูกอนปกหลังเปนกระดาษเปลาสีขาว 2. ใบรับรองโครงการ ใบรับรองโครงการ อนุมัติใหนบโครงการ ระดับประกาศนียบัตร…………. ั สาขาวิชาชาง……………………. นี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตร… ตองมีการอนุมัตผลจากกรรมการผูสอบ จึงจะสมบูรณ ิ 3. บทคัดยอ ใหเขียนบทคัดยอ เปนการสรุปยอความหลักการและเหตุผลความสําคัญของเนื้อหา ที่จัดทํา 4. กิตติกรรมประกาศ เปนการแสดงคําอุทิศความดีของหนังสือใหแกผูมีพระคุณ ซึงไดใหความ ่ ชวยเหลือสนับสนุนจนโครงการสําเร็จดวยดี 5. สารบัญ เปนหนาบอกรายการและตําแหนงของเนื้อหาสาระในเลม เชนบอกบทอยูหนาทีเ่ ทาใด อาจเพิ่มหนาสารบัญตาราง และสารบัญภาพประกอบเพิ่มเติม 6. เนื้อเรื่อง บทที่ 1 บทนํา บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยที่เกียวของ ั ่ บทที่ 3 วิธีดําเนินโครงการ/วิธีดําเนินการวิจัย บทที่ 4 ผลการทดลอง/วิจัย และการวิเคราะหขอมูล บทที่ 5 สรุป อภิปรายและขอเสนอแนะ หมายเหตุ รายละเอียดแตละบท ไดแสดงไวในหนาทีบทตาง ๆ ขางตนแลว ่
  • 21. 63 7. บรรณานุกรม เอกสารอางอิง เปนรายการแสดงรายชือหนังสือที่ใชคนควาหรืออางอิง ่  ตองพิมพใหถูกตอง และดูรายละเอียดไดในหนาบรรณานุกรม 8. ภาคผนวก เปนสวนขอมูลอื่น ๆ ที่ตองการเพิ่มเติม และ มีความสําคัญในการคนควา และใช เปนอางอิงได เชน Data sheet รายการอุปกรณ ภาพถายชิ้นงาน โปรแกรมควบคุมการทํางาน แตละเรื่องแบงเปนภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ตามความเหมาะสม 9. ประวัติ ผูจัดทํา แสดงชือ อายุ การศึกษา ประสบการณ อาชีพ และ ความสามารถของผูจัดทํา ่ โครงการ เปนกระดาษหนาสุดทายของเนื้อหา ถาผูจดทํามากกวา 1 คน ใหคนแยกคนละหนา ั
  • 22. 64 รายละเอียดการพิมพ * การพิมพใหใชตวอักษร AngsanaUPC เทานั้น โดยมีขอกําหนดดังนี้ ั 1. บทที่ และชื่อเรื่องบท ใชขนาด 18 แบบ หนา หางจากขอบบน 2 นิ้ว 2. หนาอื่นที่ไมใชหนาบท ใหหางจากขอบบน 1.5 นิ้ว  3. ถาเปนการพิมพขอความปกติใช ขนาด 16 และ หัวขอเนื้อหา ใหใช ขนาด 16 แบบหนา 4. การใชภาษาอังกฤษใหใชรูปแบบเดียวกันรูปแบบที่เปนภาษาไทย * การตั้งหนากระดาษ 1. ขอบบน 1.5 นิ้ว 2. ขอบซาย 1.5 นิ้ว 3. ขอบขวา 1 นิ้ว 4. ขอบลาง 1 นิ้ว * ขึ้นตนบทใหมใหคําวา "บทที่.." หางจากขอบบน 2 นิ้ว และไมพมพตัวเลขบอกหนา ิ * ตัวเลขบอกหนาใหพิมพบนตําแหนงของขอบบนขวา หางจากขอบกระดาษดานบน 0.5 นิ้ว และหางจากขอบขวา 0.5 นิ้ว และตัวอักษร AngsanaUPC ขนาดปกติ 16 * ตั้งแตบทคัดยอจนถึงบทที่ 1 ใหพิมพเลขหนาขอบลาง ตรงกลาง เปนภาษาไทยและมีวงเล็บ โดยเริ่มหนาบทคัดยอเปน (ค) ไปจนถึงหนากอนบทที่ 1
  • 23. 65 การจัดหนากระดาษ กระดาษ A4 หนาปกติทั่วไป หนาเริ่มตนบทตาง ๆ ใหกั้นบน 1 1/2 นิ้ว ใหกั้นบน 2 นิ้ว หนาทั่วไปใหเริ่มชิดขอบบน 1.5 นิ้ว ทุกหนา ยกเวนบทที่ กั้นหนา 1 1/2 นิ้ว บทที่ 3 เวน 1 บรรทัด การออกแบบและการดําเนินงาน กั้นหลัง 1 นิ้ว กั้นลาง 1 นิ้ว
  • 24. 66 บรรณานุกรม สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก1 วิทยาลัยเทคนิคปราจีน. คูมือการจัดทําโครงการ หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) 2545 (ปรับปรุง 2546) และหลักสูครประกาศนียบัตร วิชาชั้นสูง (ปวส.) 2546. ฉบับสําเนา เปนอยางไรบางคะคุณครูทุกทานพอจะไดตัวอยาง
  • 25. 67