SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  16
Télécharger pour lire hors ligne
1
ภาควิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพและการกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
เอกสารประกอบการสอน
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ผู้สอน อาจารย์วรรณพร สาราญพัฒน์
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1 (0505218)
วัตถุประสงค์การเรียนรู้: นิสิตสามารถ
1. อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของกระดูก ข้อต่อและเอ็นกล้ามเนื้อ
2. บอกตาแหน่งและทราบชื่อของกระดูกในร่างกายที่ประกอบกันเป็นกะโหลกศีรษะ หน้า
แขน ขา และกระดูกเชิงกราน
3. จาแนกชนิดของข้อต่อและอธิบายการเคลื่อนไหวของข้อต่อ
บทนากายวิภาคศาสตร์
กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะโครงสร้าง และความสัมพันธ์
กันของส่วนต่างๆ ในร่างกาย ซึ่งการบรรยายทางกายวิภาคนั้นเพื่อให้เป็นที่เข้าใจกันในวงแพทย์จึงได้
กาหนดท่ามาตรฐาน (anatomical position)
Anatomical position คือท่า ยืนตรง ตาทั้งสองข้างมองไปทางด้านหน้า แขนทั้งสองห้อย
แนบลาตัว ฝ่ามือแบบหันไปทางด้านหน้า และเท้าทั้งสองชิดกันตลอด
คาศัพท์ที่เกี่ยวกับข้องกับระนาบ
1. Sagittal plane อยู่ในแนวผ่ากลางของร่างกาย จึงแบ่งร่างกายออกเป็นซีกซ้ายและซีกขวาซึ่ง
มีขนาดเท่ากัน
2. Coronal plane อยู่ในแนวดิ่ง แบ่งร่างกายเป็นครึ่งหน้าและครึ่งหลัง
3. Horizontal or transverse plane อยู่ในแนวนอน แบ่งร่างกายเป็นท่อนบนและท่อนล่าง
คาศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับตาแหน่ง
คาศัพท์ คาจากัดความ ตัวอย่าง
Superior อยู่เหนือต่อ ช่องท้องอยู่ Superior ต่ออุ้งเชิงกราน
Inferior อยู่ใต้ต่อ คออยู่ Inferior ต่อศีรษะ
2
Anterior หรือ ventral อยู่ทางด้านหน้า สะดืออยู่ทางด้าน Anteriorของลาตัว
Posterior หรือ dorsal อยู่ทางด้านหลัง กระดูกสันหลังอยู่ Posterior ของสะดือ
Median อยู่ในแนวผ่ากลาง สะดืออยู่แนว Median line ของร่างกาย
Medial อยู่ใกล้แนวผ่ากลาง ตาอยู่ medial ต่อใบหู
Lateral อยู่ไกลจากแนวผ่ากลาง ตาอยู่ Lateral ต่อรูจมูก
Intermediate อยู่ระหว่าง 2 โครงสร้าง นิ้วนางอยู่ Intermediate ระหว่างนิ้วกลางกับนิ้วก้อย
Distal อยู่ใกล้กับปลาย นิ้วมือ Distal ต่อแขน
Proximal อยู่ใกล้กับโคน ข้อศอกอยู่ Proximal ต่อข้อมือ
Superficial อยู่ใกล้กับผิว ผิวหนังอยู่ Superficial ต่อเส้นเลือด
Deep อยู่ลึกจากผิว กระดูกอยู่ Deep กว่าเส้นเลือด
Internal อยู่ด้านในของผนังท่อ สมองเป็น internal organ ของช่องกะโหลกศีรษะ
External อยู่ด้านนอกของผนังท่อ สะดืออยู่ทางด้าน External ของผนังช่องท้อง
คาศัพท์ทีเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว
คาศัพท์ คาจากัดความ
Flexion การงอหรือการลดมุมระหว่างกระดูกหรือส่วนของร่างกาย
Extension การเหยียดหรือการเพิ่มมุมระหว่างกระดูกหรือส่วนของร่างกาย
Abduction การกางออกจาก midline
Adduction การหุบเข้าหา midline
Rotation การหมุนรอบแกนยาว
Circumduction การหมุนเป็นวงกลม
Supination การหงาย
3
Pronation การคว่า
Inversion การพลิกฝ่าเท้าหันเข้าด้านใน
Eversion การพลิกฝ่าเท้าหันออกด้านนอก
Dorsiflexion การงอข้อมือไปทางด้านหลังมือ หรือการงอข้อเท้าไปทางด้านหลังเท้า/กระดกข้อเท้าขึ้น
Plantar flexion การงอข้อเท้าไปทางด้านฝ่าเท้า
ระบบโครงกระดูก
(Skeletal system)
ระบบโครงกระดูก ประกอบด้วย กระดูก (Bones) กระดูกอ่อน (Cartiliages) ข้อต่อ (Joints)
และเอ็นยึดระหว่างกระดูก (Ligaments)
ส่วนประกอบของกระดูก
1. สารอนินทรีย์ ประกอยด้วย แคลเซียม ฟอสเฟต คาร์บอเนต แมกนีเซียม โซเดียม และโปร
แทสเซียมทาให้กระดูกมีลักษณะแข็ง ทึบ ยึดติดเป็นเนื้อเดียวกันประกอบขึ้นเป็น
รูปร่างของโครงกระดูก
2. สารอินทรีย์ ประกอบด้วย เซลล์กระดูก เส้นเลือด เลือด และเส้นใยคลอลาเจน ไกลโค
โปรตีน ซึ่งทาให้กระดูกมีความยืดหยุ่น แข็งแรง และทนทาน ช่วยป้องกันไม่ให้กระดูกหักง่าย
โครงสร้างของกระดูก
1.ไขกระดูก (Bone marrow) บรรจุอยู่ในโพรงกระดูก ในผู้ใหญ่ไขกระดูกแบ่งเป็น 2
ชนิด ได้แก่ ไขกระดูกแดง ซึ่งพบได้ที่ปลายของกระดูกยาวและในกระดูกพรุน มีหน้าที่สร้างเม็ดเลือด
แดงและเม็ดเลือดขาวบางชนิด อีกส่วนหนึ่งคือ ไขกระดูกเหลืองมีเซลล์ไขมันมากพบได้ในกระดูกยาว
2. กระดูกพรุน (Spongy bones) มีลักษณะเป็นรูพรุนคล้ายฟองน้าสานกันเป็นร่างแห่อยู่
ภายในกระดูกทึบบริเวณหัวท้ายของกระดูก ทาให้กระดูกมีน้าหนักเบา ภายในเต็มไปด้วยไขกระดูก
แดง
3. กระดูกทึบ (Compact bones) เนื้อของกระดูกจะเรียงกันเป็นแผ่นทึบแข็ง
4. เยื่อหุ้มภายในของกระดูก (Endosteum) เป็นผนังบางๆ ที่มีลักษณะละเอียดอยู่ข้างใน
ช่องว่างของกระดูก
5. เยื่อหุ้มภายนอกกระดูก (Periosteum) เป็นผนังที่หุ้มชั้นนอกของกระดูก ชั้นนี้มีหลอดเลือด
หลอดน้าเหลือง และเส้นประสาทมาหล่อเลี้ยงมากมาย และติดต่อทะลุเข้าไปในไขกระดูกในโพรง
กระดูก
4
การจาแนกกระดูก
1. กระดูกยาว (Long bones) เป็นกระดูกจาพวกรยางค์มีลักษณะรูปยาว ส่วนกลางเรียว
คอดเป็นท่อกลวงเรียกว่า shaft ตอนปลายทั้งสองข้างจะโตออกเล็กน้อยเพื่อประกอบเป็นข้อต่อ เรียก
Epiphysis เช่น กระดูกแขน ขา เป็นต้น
2. กระดูกสั้น (Short bones) เป็นกระดูกท่อนสั้นๆ ประกอบด้วยกระดูกพรุน (Spongy
bones) และหุ้มบางๆด้วยกระดูกแข็ง (Compact bones) เช่นกระดูกข้อมือ, ข้อเท้า
3. กระดูกแบน (flat bones) กระดูกชนิดนี้มีลักษณะแบนและบางประกอบด้วยกระดูก 3 ชั้น
ชั้นนอกและชั้นในเป็นกระดูกแข็ง ส่วนชั้นกลางเป็นกระดูกพรุน เช่น กระดูกเชิงกราน กระดูกสะบัก
กระดูกกะโหลกศีรษะ กระดูกซี่โครง ฯลฯ
4. กระดูกรูปแปลก (Irregular bones) กระดูกพวกนี้มีรูปร่างต่างๆกัน ไม่แน่นอน เช่น กระดูก
สันหลัง
ส่วนประกอบของกระดูกยาว
แสดงลักษณะของกระดูกยาว (Long bone)
-Epiphysis เป็นส่วนที่อยู่บริเวณปลาย 2 ข้างของกระดูก ประกอบด้วย กระดูกแข็งหรือทึบหุ้มอยู่
ด้านนอก และกระดูกพรุนอยู่ด้านใน
-Diaphysis (shaft) เป็นส่วนที่อยู่บริเวณกลางของกระดูกยาว ประกอบด้วยกระดูกแข็งซึ่งถูกหุ้มด้วย
เยื่อหุ้มกระดูก (periosteum) ซิ่งมีหลอดเลือด เส้นประสาทและหลอดน้าเหลืองผ่านเข้ากระดูกทาง
เยื่อนี้ ถัดเข้าไปเป็นไขกระดูก (yellow marrow) ทาหน้าที่เป็นแหล่งสะสมไขมัน ซึ่งถูกหุ้มด้วยเยื่อบุ
เรียกว่า endosteum
5
หน้าที่ของกระดูก
1. การค้าจุน เช่น กระดูกบริเวณลาตัว แขนขา ทาให้ร่างกายสามารถทรงตัวได้
2. การป้องกัน ไม่ให้อวัยวะภายในได้รับความกระทบกระเทือน เช่น กะโหลกหุ้มสมอง
3. การเคลื่อนไหว เช่นกระดูกแขนขา มีเอ็ดยึดติดกับกล้ามเนื้อ เมื่อกล้ามเนื้อหดตัวทาให้
ร่างกายเคลื่อนไหว
4. การสะสม เช่น สะสมไขมันในไขกระดูกชนิด yellow marrow และเป็นแหล่งเก็บสะสม
ธาตุแคลเซียม ร่างกายสามาถนาไปใช้ได้เมื่อยามจาเป็น
5. การสร้างเม็ดเลือด เกิดการสร้างเม็ดเลือดที่ไขกระดูกแดง
จานวนกระดูก
มนุษย์เมื่อแรกเกิดจะมีกระดูกประมาณ 270 ชิ้น จานวนของกระดูกจะลดน้อยลงเมื่อเติบโต
ขึ้น เนื่องจากกระดูกหลายชิ้นมารวมเป็นชิ้นเดียว ดังนั้นในผู้ใหญ่กระดูกที่เจริญเต็มที่แล้วจะมี 206
ชิ้น โครงกระดูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ กระดูกแกนกลางประกอบด้วย กะโหลกศีรษะ กระดูกhyoid
กระดูกสันหลัง และกระดูกช่องอก อีกส่วนคือกระดูกรยางค์ประกอบด้วย กระดูกบริเวณไหล่ กระดูก
แขน กระดูกเชิงกราน และกระดูกขา
ชื่อส่วนต่างๆ ของกระดูก
Condyle คือ ปุ่มกลมเรียบมักจะใกล้กับข้อต่อ เช่น ปุ่มตอนปลายของกระดูกต้นขา
Crest หมายถึง สันของกระดูกแบน เช่น สันของกระดูกสะโพก
Head เป็นส่วนหัวของกระดูก อยู่เหนือส่วนคอที่เรียกว่า neck เช่น หัวกระดูกต้นแขน
Process ส่วนที่ยื่นออกมา เช่น Styloid process ของกระดูกปลายแขนอันนอก
Spine แง่เรียวแหลม เล็ก เช่น ปุ่มแหลมของกระดูกสันหลัง
Trochanter เป็น process ที่ใหญ่ เช่น Greater trochanter ของกระดูกต้นขา
Tubercle แง่เล็กยื่นออกมา เช่น Lesser tubercle ของกระดูกต้นแขน
Tuberosity เป็นปุ่มกลางใหญ่ยื่นออกมาลักษณะไม่เรียบ เช่น ส่วนต้นของกระดูกหน้าแข้ง
Fissure มีรอยขีดลึกลงไปในกระดูก
Foramen เป็นช่องใหญ่ในกระดูกสาหรับให้เส้นเลือดผ่านได้
Fossa เป็นแอ่งตื้นเช่น iliac fossa
Sinus เป็นโพรงอากาศเล็กๆ ที่พบในกระดูก เช่น ที่กระดูกหน้าผาก
กระดูกกะโหลกศีรษะ (Cranium) มี 8 ชิ้น คือ
- กระดูกหน้าผาก (frontal bone) 1 ชิ้น เป็นส่วนบนของเบ้าตา ภายในมีโพรงอากาศ
เรียกว่าfrontal sinus
- กระดูกข้างศีรษะ (Parietal bones) 2 ชิ้น ซึ่งเชื่อมกันบริเวณกลางตัวเรียกว่า sagittal
sutureเป็นกระดูกที่อยู่ระหว่างกระดูกหน้าผาก และกระดูกท้ายทอย
- กระดูกท้ายทอย (Occipital bones) 1 ชิ้น มีแนวเชื่อมต่อกับกระดูกข้างศีรษะ เรียกว่า
lambdoidal suture ที่ฐานของกระดูกนี้มีรูเปิดขนาดใหญ่เรียกว่า foramen magnum
- กระดูกขมับ (Temporal bones) 2 ชิ้น
6
- กระดูกรูปผีเสื้อ (Sphenoid bone) 1 ชิ้น มีลักษณะคล้ายผีเสื้อโดยตัวผีเสื้อประกอบเป็น
ฐานของกะโหลกศีรษะอยู่ตรงกลาง และมีส่วนปีกยื่นออกไปทั้ง 2 ข้างติดกับกระดูกขมับในกระดูกนี้
จะมีโพรงอากาศด้วย
- กระดูกขื่อจมูกหรือใต้สันจมูก (Ethmoid bone) 1 ชิ้น เป็นแผ่นบางๆโปร่งพรุนประกอบ
เป็นหลังคาของจมูก และปิดฐานของศีรษะด้านหน้า ภายในมีโพรงอากาศหลายกลุ่ม
กระดูกกะโหลกศีรษะด้านข้าง
กระดูกกะโหลกศีรษะด้านหน้า
7
กระดูกที่ประกอบกันเป็นหน้า (Face) มี 14 ชิ้นคือ
- กระดูกสันจมูก (Nasal bones) 2 ชิ้น เป็นกระดูกที่บริเวณส่วนบนของจมูกต่อกับ
หน้าผาก
- กระดูกตรงกลางจมูกภายใน(Vomer bone) 1 ชิ้น กระดูกที่เป็นส่วนล่างของผนังกั้น
จมูก
- กระดูกข้างในจมูก(Inferior conchae) 2 ชิ้น เป็นกระดูกโค้งที่ยื่นออกจากบริเวณผนัง
ด้านข้างของจมูก
- กระดูกข้างถุงน้าตา(Lacrimal bones) 2 ชิ้น อยู่ที่ผนังด้านในของเบ้าตาและมีร่อง
เป็นทางผ่านของน้าตา
- กระดูกโหนกแก้ม (Zygomatic bones หรือ Molar bones) 2 ชิ้น อยู่ที่บริเวณแก้ม
และผนังด้านข้างของเบ้าตา
- กระดูกเพดาน(Palatine bones) 2 ชิ้น เป็นส่วนหลังของเพดานแข็ง (hard palate)
ส่วนหน้าของเพดานแข็งคือ กระดูก Maxilla
- กระดูกขากรรไกรบน (Maxilla bones) 2 ชิ้น กระดูกขากรรไกรบน เป็นพื้นของเบ้าตา
และผนังด้านข้างของจมูก
- กระดูกขากรรไกรล่าง (Mandible bone) 1 ชิ้น กระดูกขากรรไกรล่างมีแอ่งเป็นที่ตั้ง
ของฟัน
กระดูกประกอบเป็นหน้า
กระดูกบริเวณไหล่ (Shoulder girdle)
- กระดูกไหลปลาร้า (Clavicles) 2ชิ้น มีลักษณะเป็นแท่งโค้งยาว ปลายด้านในต่อกับ
manubrium ของกระดูก sternum ปลายด้านนอกต่อกับ acromion process ของกระดูกscapula
- กระดูกสะบัก (Scapula) 2 ชิ้น มีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมด้านข้างเป็นแอ่งเรียกว่า
glenoid cavity ซึ่งต่อกับหัวของกระดูกแขนเกิดเป็นข้อไหล่ ด้านหลังของสะบัก มีสันแหลมยื่นออก
เรียกว่า spinous process ซึ่งส่วนปลายสุดยื่นไปบริเวณหัวไหล่เรียกว่า acromion process
ด้านหน้าของกระดูกสะบักมีส่วนที่ยื่นออกเรียกว่า coracoid process
8
กระดูกประกอบเป็นข้อไหล่
กระดูกแขน (Upper limb)
- กระดูกต้นแขน(Humerus) ส่วนปลายมี head ต่อกับ glenoid cavity ของกระดูก
Scapula ประกอบเป็นข้อไหล่ ส่วนปลายล่างต่อกับกระดูก radius และ ulna เป็นบริเวณข้อศอก
เป็นบริเวณข้อศอก (elbow joint)
- กระดูกปลายแขนอันใน (Ulna) อยู่ด้านในใกล้ลาตัว ส่วนที่ยื่นไปทางตอนบนของ
ด้านหลังเรียกว่า Olecranon process เป็นส่วนที่ต่อกับกระดูก humerus ส่วนปลายด้านล่างที่ยื่น
ออกเรียกว่า styloid process เป็นส่วนที่ต่อกับกระดูกข้อมือ
- กระดูกปลายแขนอันนอก (Radius) อยู่ด้านห่างจากลาตัว ส่วน head อยู่ทางด้านบนต่อ
กับกระดูก humerus ส่วนปลายล่างยื่นออกเรียกว่า styloid process ต่อกับกระดูกข้อมือแถวบน
- กระดูกข้อมือ(Carpus) เป็นกระดูกข้อมือมี 8 ชิ้น เรียงตัว 2 แถว ดังนี้ แถวส่วนต้น
ประกอบด้วยกระดูกเรียงจากนิ้วหัวแม่มือเข้าหาด้านนิ้วก้อย ได้แก่ scaphoid, lunate, triquetral
และ pisifrom แถวส่วนปลาย (distal row) ประกอบด้วยกระดูกเรียงจากนิ้วหัวแม่มือเข้าหาด้าน
นิ้วก้อย ได้แก่ trapezium, trapezoid, capitate และ hamate
- กระดูกฝ่ามือ (Metacarpus) 5 ชิ้น ต่อจากกระดูกข้อมือ และกระดูกนิ้ว
- กระดูกนิ้วมือ (Phalanges) 14 ชิ้น แต่ละนิ้วประกอบด้วย กระดูกนิ้วมือ 3 ชิ้น ได้แก่
Proximal, middle และ distal ยกเว้นนิ้วหัวแม่มือประกอบด้วย กระดูกนิ้วมือ 2 ชิ้น ได้แก่
proximal และ distal phalanges
9
กระดูกแขนและข้อมือ
กระดูกเชิงกราน (Pelvic girdle)
กระดูกเชิงกรานประกอบด้วยกระดูกสะโพก 2 ชิ้น และ Sacrum 1 ชิ้น
กระดูกสะโพก (Hip bones) ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ ilium, ischium และ pubis ผิว
ด้านนอกมีแอ่งลึกเรียกว่า acetabulum เป็นส่วนของข้อสะโพกและเกิดจากการเชื่อมของกระดูกทั้ง
3 ส่วน
กระดูกสะโพกส่วน Ilium เชื่อมต่อกับกระดูก sacrum โดย sacroiliac joint ทางด้านหลัง
และ pubisทั้งสองเชื่อมต่อกันทางด้านหน้า เรียกว่า symphysis pubis
ข้อเปรียบเทียบลักษณะเชิงกรานของเพศหญิงและชาย
1. กระดูกเชิงกรานของเพศหญิงเบาและบางกว่าในเพศชาย
2. เพศหญิงมีรูเปิดทางด้านบน และล่างใหญ่กว่าในเพศชายและมีลักษณะกลม
3. Pubic arch ของเพศหญิงกว้างมากกว่าในเพศชาย
Acetabulum
10
กระดูกขา (Lower limb)
- กระดูกต้นขา (Femur) 2 ชิ้น เป็นกระดูกต้นขาที่มีความยาวที่สุดและแข็งแรงที่สุดใน
ร่างกาย ส่วนบนมี Head ต่อกับ acetabulum ของกระดูกสะโพก ภายในข้อต่อมีเอ็นยึดและเป็นทาง
ที่หลอดเลือดเข้าไปเลี้ยงบริเวณหัวกระดูก ส่วนปลายของ femur ยื่นออกทางด้านข้างเป็น lateral,
medial condyles ซึ่งต่อกับกระดูก tibia และ patella ประกอบเป็นส่วนของข้อเข่า (knee joint)
- กระดูกสะบ้า (Patella) 2 ชิ้น เป็นกระดูกสะบ้าอยู่ด้านหน้าของข้อเข่ามีลักษณะเป็นรูป
สามเหลี่ยม ด้านหลังของกระดูกนี้คือ Femur ด้านหน้ามี tendon ของกล้ามเนื้อ quadriceps
femoris ยึดกระดูกและเป็นส่วนประกอบของข้อเข่า
- กระดูกหน้าแข้ง (Tibia) 2 ชิ้น อยู่ทางด้านใน มีขนาดใหญ่กว่ากระดูก fibula ส่วนบน
ต่อกับกระดูก Femur ส่วนล่างยื่นเป็นปุ่มอยู่ด้านในเรียกว่า medial malleolus หรือตาตุ่มด้านใน
และส่วนปลายสุดต่อกับกระดูกข้อเท้า
- กระดูกน่อง (Fibula) 2 ชิ้น มีลักษณะเรียวเล็ก ปลายของส่วนบนคือ head ปลายของ
ส่วนล่างคือ Lateral malleolus หรือตาตุ่มนอก
- กระดูกข้อเท้า (Tarsus) 14 ชิ้น ประกอบด้วย talus 1 ชิ้น calcaneus 2 ชิ้น
navicular 2 ชิ้น cuboid 2 ชิ้น และ cuneiform 6 ชิ้น
- กระดูกฝ่าเท้า (Metatarsal bones) 10 ชิ้น ส่วนต้นต่อกับกระดูกข้อเท้า ส่วนปลายต่อ
กับกระดูก Phalanges
- กระดูกนิ้วเท้า (Phalanges) 28 ชิ้น เป็นกระดูกนิ้วแต่ละนิ้วประกอบด้วยกระดูกนิ้ว 3
ชิ้น เช่นเดียวกับนิ้วมือ ยกเว้นนิ้วหัวแม่เท้าประกอบด้วยกระดูกนิ้ว 2 ชิ้น
11
ข้อต่อและเอ็น (Joints & Ligaments)
เป็นการเชื่อมต่อระหว่างกระดูกกับกระดูก ข้อต่อเกิดจากกระดูกตั้งแต่สองชิ้นขึ้นไปมาต่อกัน
โดยมีเอ็นหรือพังผืด (Ligament) มาช่วยยึดเกาะกันไว้เพื่อประกอบให้กระดูกหลายๆ ชิ้นติดกันเป็น
โครงของร่างกายเป็นส่วนสาคัญของระบบการเคลื่อนไหว โดยทาหน้าที่เป็นจุดหมุนของการ
เคลื่อนไหว การจาแนกชนิดของข้อต่อ แบ่งตามรูปร่างเป็น 3 ชนิด ได้แก่
1. Fibrous joints มีเส้นใยของเนื้อเยื่อเกี่ยวพันเป็นตัวเชื่อมระหว่างกระดูกทาให้มีความ
แข็งแรง และไม่มีการเคลื่อนไหว เช่นข้อต่อบริเวณกระดูกกะโหลกศีรษะและกระดูกหน้า (ยกเว้น
กระดูกขากรรไกรล่าง) ข้อต่อบริเวณปลายของกระดูก Tibia และ Fibula ข้อต่อระหว่างกระดูก
Radius และ Ulna
2. Cartilaginous joints เป็นข้อต่อที่มีกระดูกอ่อนชนิด hyaline หรือ fibrocartilage เชื่อม
ระหว่างกระดูก เช่น Pubic symphysis และ กระดูกสันหลังแต่ละข้อ ข้อต่อประเภทนี้ช่วยรับ
น้าหนักและแรงกดต่างๆ ข้อต่อนี้เคลื่อนไหวได้เล็กน้อย
12
3. Synovial joints เป็นข้อต่อที่พบมากที่สุด บริเวณปลายกระดูกถูกหุ้มด้วยกระดูกอ่อนและมี
Capsule เป็นแผ่นยึดให้กระดูกอยู่ชิดกัน ด้านใน capsule บุด้วยเยื่อเรียกว่า Synovial membrane
เยื่อนี้ทาหน้าที่สร้างของเหลวเรียกว่า Synovial fluid เพื่อหล่อลื่นช่องว่างในข้อต่อ ทาให้ข้อต่อชนิดนี้
เคลื่อนไหวได้มาก สามารถจาแนกข้อต่อตามลักษณะและการเคลื่อนไหวต่างๆ ดังนี้
- Hinge joint เป็นข้อต่อแบบบานพับ ลักษณะของกระดูกเป็นรูปเว้าและรูปนูนมาต่อกัน
สามารถเคลื่อนไหวได้ทิศทางเดียวคือ การงอและเหยียด เช่น ข้อศอก กระดูกขากรรไกรล่าง ข้อต่อ
ระหว่างนิ้ว
- Pivot joint เป็นลักษณะข้อต่อที่มีการเคลื่อนไหวโดยหมุน ซึ่งมีกระดูกหนึ่งหมุนหรือ
สวมอยู่ในวงของกระดูกอีกอันหนึ่ง เช่น กระดูกสันหลังคอชิ้นที่ 1 และ 2 (Atlas and Axis) ข้อต่อ
ส่วนต้นของกระดูก radius และ ulna
- Ball and Socket Joint เป็นข้อต่อชนิดที่ปลายของกระดูกข้างหนึ่งมีหัวกลมสวมเข้าไป
ในเบ้าของกระดูกอีกอันหนึ่ง ทาให้เคลื่อนไหวไปได้ทุกทาง ได้แก่ การงอ เหยียด การกาง หุบ การ
หมุนเข้าด้านในและด้านนอก เช่น ข้อสะโพก ข้อไหล่
- Ellipsoidal (condyloid) joint ข้อต่อนี้เคลื่อนไหวแบบการงอ เหยียด การกาง และหุบ
เช่น กระดูกข้อมือ และข้อต่อระหว่างกระดูกข้อฝ่ามือและกระดูกนิ้ว
- Gliding (plane) joint เป็นข้อต่อแบบลื่นไถล ลักษณะการต่อระหว่างกระดูกแบบที่มี
หัวตัดค่อนข้างเรียบจึงเคลื่อนไหวได้เล็กน้อยและไม่มีแนวทางการเคลื่อนไหวแน่นอน ได้แก่ ข้อต่อ
ระหว่างกระดูกข้อมือและข้อเท้า
- Saddle joint เป็นข้อต่อแบบอานม้า มีลักษณะกระดูกหนึ่งเว้าและกระดูกหนึ่งนูนมา
ประกบกันเข้าพอดี เช่น กระดูกฝ่ามือของนิ้วหัวแม่มือระหว่างกระดูกนิ้วมือชิ้นแรกและกระดูกข้อมือ
13
อ้างอิง
1. ราแพน พรเทพเกษมสันต์. กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์. กรุงเทพฯ: ศิล
ปาบรรณาคาร; 2541.
2. เกล็ดแก้ว ด่านวิวัฒน์. พื้นฐานกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
14
แบบฝึกหัด
ระบบโครงกระดูก
Parietal bone
Temporal Bone
Lambdoidal suture
Occipital bone
zygomatic bone
Maxilla
Coronal suture
Squamosal suture
Nasal bone
Frontal bone
Zygomatic bone
Maxilla
Mandible
Vomer
Temporal bone
Nasal bone
Sphenoid bone
Frontal bone
Ethmoid bone
Lacrimal bone
15
Carpals
Olecranon process
Ulna
Humerus
Metacarpals
Phalanges
Radius
Coracoid process
Coracoid process
Scapula
Spine
Glenoid cavity
Acromion process
Acromion process
16
Tarsals
Fibula
Metatarsal
Calcaneus
Tibia
Phalanges
Femur
Medial condyle
Fibula
Lateral condyle
Tibia
Calcaneus
Tibia
Patella
Sacrum
Coccyx
Acetabulum
Ilium
Sacroiliac joint
Obturator foramen
Ischium
Symphysis pubis

Contenu connexe

Tendances

ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนWan Ngamwongwan
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560Aphisit Aunbusdumberdor
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน Thitaree Samphao
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังWan Ngamwongwan
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)Natthaya Khaothong
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจWan Ngamwongwan
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ Thitaree Samphao
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง Thitaree Samphao
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)Thitaree Samphao
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทWichai Likitponrak
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
ใบงาน 12.1
ใบงาน 12.1ใบงาน 12.1
ใบงาน 12.1oraneehussem
 

Tendances (20)

ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาท
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ใบงาน 12.1
ใบงาน 12.1ใบงาน 12.1
ใบงาน 12.1
 

Similaire à รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1

โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนnokbiology
 
ระบบกระดูก.pptx
ระบบกระดูก.pptxระบบกระดูก.pptx
ระบบกระดูก.pptxKanokvanKS
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อUtai Sukviwatsirikul
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemsupreechafkk
 
ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)พัน พัน
 
Hr1 Type And Physical Prop Fth 467
Hr1 Type And Physical Prop Fth 467Hr1 Type And Physical Prop Fth 467
Hr1 Type And Physical Prop Fth 467off5230
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาTatsawan Khejonrak
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชWichai Likitponrak
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตComputer ITSWKJ
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทWan Ngamwongwan
 
บทที่3 Basic Of Physiological
บทที่3  Basic Of  Physiologicalบทที่3  Basic Of  Physiological
บทที่3 Basic Of PhysiologicalTuk Diving
 

Similaire à รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1 (20)

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 
ระบบกระดูก.pptx
ระบบกระดูก.pptxระบบกระดูก.pptx
ระบบกระดูก.pptx
 
Spinal Injury (Thai)
Spinal Injury (Thai)Spinal Injury (Thai)
Spinal Injury (Thai)
 
Spinal Injury (Thai)
Spinal Injury (Thai)Spinal Injury (Thai)
Spinal Injury (Thai)
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
 
ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)
 
Body
BodyBody
Body
 
หู
หูหู
หู
 
Hr1 Type And Physical Prop Fth 467
Hr1 Type And Physical Prop Fth 467Hr1 Type And Physical Prop Fth 467
Hr1 Type And Physical Prop Fth 467
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมช
 
Skeleton
SkeletonSkeleton
Skeleton
 
Original insect2
Original insect2Original insect2
Original insect2
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
vbvb
vbvbvbvb
vbvb
 
บทที่3 Basic Of Physiological
บทที่3  Basic Of  Physiologicalบทที่3  Basic Of  Physiological
บทที่3 Basic Of Physiological
 

Plus de ประกายทิพย์ แซ่กี่

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาประกายทิพย์ แซ่กี่
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตประกายทิพย์ แซ่กี่
 
อิทธิพลของสังคมประชากรมนุษย์ต่อระบบนิเวศ
อิทธิพลของสังคมประชากรมนุษย์ต่อระบบนิเวศอิทธิพลของสังคมประชากรมนุษย์ต่อระบบนิเวศ
อิทธิพลของสังคมประชากรมนุษย์ต่อระบบนิเวศประกายทิพย์ แซ่กี่
 

Plus de ประกายทิพย์ แซ่กี่ (20)

ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ระบบขับถ่ายปัสสาวะระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
 
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบกล้ามเนื้อ
ระบบกล้ามเนื้อระบบกล้ามเนื้อ
ระบบกล้ามเนื้อ
 
ระบบไหลเวียน
ระบบไหลเวียนระบบไหลเวียน
ระบบไหลเวียน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
 
เนื้อเยื่อและเมมเบรน
เนื้อเยื่อและเมมเบรนเนื้อเยื่อและเมมเบรน
เนื้อเยื่อและเมมเบรน
 
ระบบโครงร่าง
ระบบโครงร่างระบบโครงร่าง
ระบบโครงร่าง
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต
 
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
 
คลื่น แสง เสียง และความร้อน
คลื่น แสง เสียง และความร้อนคลื่น แสง เสียง และความร้อน
คลื่น แสง เสียง และความร้อน
 
กลศาสตร์
กลศาสตร์กลศาสตร์
กลศาสตร์
 
สารเคมีในเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม
สารเคมีในเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมสารเคมีในเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม
สารเคมีในเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม
 
สารเคมีในชีวิตประจำวัน
สารเคมีในชีวิตประจำวันสารเคมีในชีวิตประจำวัน
สารเคมีในชีวิตประจำวัน
 
ฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐานฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐาน
 
อะตอมและนิวเคลียส
อะตอมและนิวเคลียสอะตอมและนิวเคลียส
อะตอมและนิวเคลียส
 
อิทธิพลของสังคมประชากรมนุษย์ต่อระบบนิเวศ
อิทธิพลของสังคมประชากรมนุษย์ต่อระบบนิเวศอิทธิพลของสังคมประชากรมนุษย์ต่อระบบนิเวศ
อิทธิพลของสังคมประชากรมนุษย์ต่อระบบนิเวศ
 

รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1

  • 1. 1 ภาควิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพและการกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เอกสารประกอบการสอน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ผู้สอน อาจารย์วรรณพร สาราญพัฒน์ รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1 (0505218) วัตถุประสงค์การเรียนรู้: นิสิตสามารถ 1. อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของกระดูก ข้อต่อและเอ็นกล้ามเนื้อ 2. บอกตาแหน่งและทราบชื่อของกระดูกในร่างกายที่ประกอบกันเป็นกะโหลกศีรษะ หน้า แขน ขา และกระดูกเชิงกราน 3. จาแนกชนิดของข้อต่อและอธิบายการเคลื่อนไหวของข้อต่อ บทนากายวิภาคศาสตร์ กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะโครงสร้าง และความสัมพันธ์ กันของส่วนต่างๆ ในร่างกาย ซึ่งการบรรยายทางกายวิภาคนั้นเพื่อให้เป็นที่เข้าใจกันในวงแพทย์จึงได้ กาหนดท่ามาตรฐาน (anatomical position) Anatomical position คือท่า ยืนตรง ตาทั้งสองข้างมองไปทางด้านหน้า แขนทั้งสองห้อย แนบลาตัว ฝ่ามือแบบหันไปทางด้านหน้า และเท้าทั้งสองชิดกันตลอด คาศัพท์ที่เกี่ยวกับข้องกับระนาบ 1. Sagittal plane อยู่ในแนวผ่ากลางของร่างกาย จึงแบ่งร่างกายออกเป็นซีกซ้ายและซีกขวาซึ่ง มีขนาดเท่ากัน 2. Coronal plane อยู่ในแนวดิ่ง แบ่งร่างกายเป็นครึ่งหน้าและครึ่งหลัง 3. Horizontal or transverse plane อยู่ในแนวนอน แบ่งร่างกายเป็นท่อนบนและท่อนล่าง คาศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับตาแหน่ง คาศัพท์ คาจากัดความ ตัวอย่าง Superior อยู่เหนือต่อ ช่องท้องอยู่ Superior ต่ออุ้งเชิงกราน Inferior อยู่ใต้ต่อ คออยู่ Inferior ต่อศีรษะ
  • 2. 2 Anterior หรือ ventral อยู่ทางด้านหน้า สะดืออยู่ทางด้าน Anteriorของลาตัว Posterior หรือ dorsal อยู่ทางด้านหลัง กระดูกสันหลังอยู่ Posterior ของสะดือ Median อยู่ในแนวผ่ากลาง สะดืออยู่แนว Median line ของร่างกาย Medial อยู่ใกล้แนวผ่ากลาง ตาอยู่ medial ต่อใบหู Lateral อยู่ไกลจากแนวผ่ากลาง ตาอยู่ Lateral ต่อรูจมูก Intermediate อยู่ระหว่าง 2 โครงสร้าง นิ้วนางอยู่ Intermediate ระหว่างนิ้วกลางกับนิ้วก้อย Distal อยู่ใกล้กับปลาย นิ้วมือ Distal ต่อแขน Proximal อยู่ใกล้กับโคน ข้อศอกอยู่ Proximal ต่อข้อมือ Superficial อยู่ใกล้กับผิว ผิวหนังอยู่ Superficial ต่อเส้นเลือด Deep อยู่ลึกจากผิว กระดูกอยู่ Deep กว่าเส้นเลือด Internal อยู่ด้านในของผนังท่อ สมองเป็น internal organ ของช่องกะโหลกศีรษะ External อยู่ด้านนอกของผนังท่อ สะดืออยู่ทางด้าน External ของผนังช่องท้อง คาศัพท์ทีเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว คาศัพท์ คาจากัดความ Flexion การงอหรือการลดมุมระหว่างกระดูกหรือส่วนของร่างกาย Extension การเหยียดหรือการเพิ่มมุมระหว่างกระดูกหรือส่วนของร่างกาย Abduction การกางออกจาก midline Adduction การหุบเข้าหา midline Rotation การหมุนรอบแกนยาว Circumduction การหมุนเป็นวงกลม Supination การหงาย
  • 3. 3 Pronation การคว่า Inversion การพลิกฝ่าเท้าหันเข้าด้านใน Eversion การพลิกฝ่าเท้าหันออกด้านนอก Dorsiflexion การงอข้อมือไปทางด้านหลังมือ หรือการงอข้อเท้าไปทางด้านหลังเท้า/กระดกข้อเท้าขึ้น Plantar flexion การงอข้อเท้าไปทางด้านฝ่าเท้า ระบบโครงกระดูก (Skeletal system) ระบบโครงกระดูก ประกอบด้วย กระดูก (Bones) กระดูกอ่อน (Cartiliages) ข้อต่อ (Joints) และเอ็นยึดระหว่างกระดูก (Ligaments) ส่วนประกอบของกระดูก 1. สารอนินทรีย์ ประกอยด้วย แคลเซียม ฟอสเฟต คาร์บอเนต แมกนีเซียม โซเดียม และโปร แทสเซียมทาให้กระดูกมีลักษณะแข็ง ทึบ ยึดติดเป็นเนื้อเดียวกันประกอบขึ้นเป็น รูปร่างของโครงกระดูก 2. สารอินทรีย์ ประกอบด้วย เซลล์กระดูก เส้นเลือด เลือด และเส้นใยคลอลาเจน ไกลโค โปรตีน ซึ่งทาให้กระดูกมีความยืดหยุ่น แข็งแรง และทนทาน ช่วยป้องกันไม่ให้กระดูกหักง่าย โครงสร้างของกระดูก 1.ไขกระดูก (Bone marrow) บรรจุอยู่ในโพรงกระดูก ในผู้ใหญ่ไขกระดูกแบ่งเป็น 2 ชนิด ได้แก่ ไขกระดูกแดง ซึ่งพบได้ที่ปลายของกระดูกยาวและในกระดูกพรุน มีหน้าที่สร้างเม็ดเลือด แดงและเม็ดเลือดขาวบางชนิด อีกส่วนหนึ่งคือ ไขกระดูกเหลืองมีเซลล์ไขมันมากพบได้ในกระดูกยาว 2. กระดูกพรุน (Spongy bones) มีลักษณะเป็นรูพรุนคล้ายฟองน้าสานกันเป็นร่างแห่อยู่ ภายในกระดูกทึบบริเวณหัวท้ายของกระดูก ทาให้กระดูกมีน้าหนักเบา ภายในเต็มไปด้วยไขกระดูก แดง 3. กระดูกทึบ (Compact bones) เนื้อของกระดูกจะเรียงกันเป็นแผ่นทึบแข็ง 4. เยื่อหุ้มภายในของกระดูก (Endosteum) เป็นผนังบางๆ ที่มีลักษณะละเอียดอยู่ข้างใน ช่องว่างของกระดูก 5. เยื่อหุ้มภายนอกกระดูก (Periosteum) เป็นผนังที่หุ้มชั้นนอกของกระดูก ชั้นนี้มีหลอดเลือด หลอดน้าเหลือง และเส้นประสาทมาหล่อเลี้ยงมากมาย และติดต่อทะลุเข้าไปในไขกระดูกในโพรง กระดูก
  • 4. 4 การจาแนกกระดูก 1. กระดูกยาว (Long bones) เป็นกระดูกจาพวกรยางค์มีลักษณะรูปยาว ส่วนกลางเรียว คอดเป็นท่อกลวงเรียกว่า shaft ตอนปลายทั้งสองข้างจะโตออกเล็กน้อยเพื่อประกอบเป็นข้อต่อ เรียก Epiphysis เช่น กระดูกแขน ขา เป็นต้น 2. กระดูกสั้น (Short bones) เป็นกระดูกท่อนสั้นๆ ประกอบด้วยกระดูกพรุน (Spongy bones) และหุ้มบางๆด้วยกระดูกแข็ง (Compact bones) เช่นกระดูกข้อมือ, ข้อเท้า 3. กระดูกแบน (flat bones) กระดูกชนิดนี้มีลักษณะแบนและบางประกอบด้วยกระดูก 3 ชั้น ชั้นนอกและชั้นในเป็นกระดูกแข็ง ส่วนชั้นกลางเป็นกระดูกพรุน เช่น กระดูกเชิงกราน กระดูกสะบัก กระดูกกะโหลกศีรษะ กระดูกซี่โครง ฯลฯ 4. กระดูกรูปแปลก (Irregular bones) กระดูกพวกนี้มีรูปร่างต่างๆกัน ไม่แน่นอน เช่น กระดูก สันหลัง ส่วนประกอบของกระดูกยาว แสดงลักษณะของกระดูกยาว (Long bone) -Epiphysis เป็นส่วนที่อยู่บริเวณปลาย 2 ข้างของกระดูก ประกอบด้วย กระดูกแข็งหรือทึบหุ้มอยู่ ด้านนอก และกระดูกพรุนอยู่ด้านใน -Diaphysis (shaft) เป็นส่วนที่อยู่บริเวณกลางของกระดูกยาว ประกอบด้วยกระดูกแข็งซึ่งถูกหุ้มด้วย เยื่อหุ้มกระดูก (periosteum) ซิ่งมีหลอดเลือด เส้นประสาทและหลอดน้าเหลืองผ่านเข้ากระดูกทาง เยื่อนี้ ถัดเข้าไปเป็นไขกระดูก (yellow marrow) ทาหน้าที่เป็นแหล่งสะสมไขมัน ซึ่งถูกหุ้มด้วยเยื่อบุ เรียกว่า endosteum
  • 5. 5 หน้าที่ของกระดูก 1. การค้าจุน เช่น กระดูกบริเวณลาตัว แขนขา ทาให้ร่างกายสามารถทรงตัวได้ 2. การป้องกัน ไม่ให้อวัยวะภายในได้รับความกระทบกระเทือน เช่น กะโหลกหุ้มสมอง 3. การเคลื่อนไหว เช่นกระดูกแขนขา มีเอ็ดยึดติดกับกล้ามเนื้อ เมื่อกล้ามเนื้อหดตัวทาให้ ร่างกายเคลื่อนไหว 4. การสะสม เช่น สะสมไขมันในไขกระดูกชนิด yellow marrow และเป็นแหล่งเก็บสะสม ธาตุแคลเซียม ร่างกายสามาถนาไปใช้ได้เมื่อยามจาเป็น 5. การสร้างเม็ดเลือด เกิดการสร้างเม็ดเลือดที่ไขกระดูกแดง จานวนกระดูก มนุษย์เมื่อแรกเกิดจะมีกระดูกประมาณ 270 ชิ้น จานวนของกระดูกจะลดน้อยลงเมื่อเติบโต ขึ้น เนื่องจากกระดูกหลายชิ้นมารวมเป็นชิ้นเดียว ดังนั้นในผู้ใหญ่กระดูกที่เจริญเต็มที่แล้วจะมี 206 ชิ้น โครงกระดูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ กระดูกแกนกลางประกอบด้วย กะโหลกศีรษะ กระดูกhyoid กระดูกสันหลัง และกระดูกช่องอก อีกส่วนคือกระดูกรยางค์ประกอบด้วย กระดูกบริเวณไหล่ กระดูก แขน กระดูกเชิงกราน และกระดูกขา ชื่อส่วนต่างๆ ของกระดูก Condyle คือ ปุ่มกลมเรียบมักจะใกล้กับข้อต่อ เช่น ปุ่มตอนปลายของกระดูกต้นขา Crest หมายถึง สันของกระดูกแบน เช่น สันของกระดูกสะโพก Head เป็นส่วนหัวของกระดูก อยู่เหนือส่วนคอที่เรียกว่า neck เช่น หัวกระดูกต้นแขน Process ส่วนที่ยื่นออกมา เช่น Styloid process ของกระดูกปลายแขนอันนอก Spine แง่เรียวแหลม เล็ก เช่น ปุ่มแหลมของกระดูกสันหลัง Trochanter เป็น process ที่ใหญ่ เช่น Greater trochanter ของกระดูกต้นขา Tubercle แง่เล็กยื่นออกมา เช่น Lesser tubercle ของกระดูกต้นแขน Tuberosity เป็นปุ่มกลางใหญ่ยื่นออกมาลักษณะไม่เรียบ เช่น ส่วนต้นของกระดูกหน้าแข้ง Fissure มีรอยขีดลึกลงไปในกระดูก Foramen เป็นช่องใหญ่ในกระดูกสาหรับให้เส้นเลือดผ่านได้ Fossa เป็นแอ่งตื้นเช่น iliac fossa Sinus เป็นโพรงอากาศเล็กๆ ที่พบในกระดูก เช่น ที่กระดูกหน้าผาก กระดูกกะโหลกศีรษะ (Cranium) มี 8 ชิ้น คือ - กระดูกหน้าผาก (frontal bone) 1 ชิ้น เป็นส่วนบนของเบ้าตา ภายในมีโพรงอากาศ เรียกว่าfrontal sinus - กระดูกข้างศีรษะ (Parietal bones) 2 ชิ้น ซึ่งเชื่อมกันบริเวณกลางตัวเรียกว่า sagittal sutureเป็นกระดูกที่อยู่ระหว่างกระดูกหน้าผาก และกระดูกท้ายทอย - กระดูกท้ายทอย (Occipital bones) 1 ชิ้น มีแนวเชื่อมต่อกับกระดูกข้างศีรษะ เรียกว่า lambdoidal suture ที่ฐานของกระดูกนี้มีรูเปิดขนาดใหญ่เรียกว่า foramen magnum - กระดูกขมับ (Temporal bones) 2 ชิ้น
  • 6. 6 - กระดูกรูปผีเสื้อ (Sphenoid bone) 1 ชิ้น มีลักษณะคล้ายผีเสื้อโดยตัวผีเสื้อประกอบเป็น ฐานของกะโหลกศีรษะอยู่ตรงกลาง และมีส่วนปีกยื่นออกไปทั้ง 2 ข้างติดกับกระดูกขมับในกระดูกนี้ จะมีโพรงอากาศด้วย - กระดูกขื่อจมูกหรือใต้สันจมูก (Ethmoid bone) 1 ชิ้น เป็นแผ่นบางๆโปร่งพรุนประกอบ เป็นหลังคาของจมูก และปิดฐานของศีรษะด้านหน้า ภายในมีโพรงอากาศหลายกลุ่ม กระดูกกะโหลกศีรษะด้านข้าง กระดูกกะโหลกศีรษะด้านหน้า
  • 7. 7 กระดูกที่ประกอบกันเป็นหน้า (Face) มี 14 ชิ้นคือ - กระดูกสันจมูก (Nasal bones) 2 ชิ้น เป็นกระดูกที่บริเวณส่วนบนของจมูกต่อกับ หน้าผาก - กระดูกตรงกลางจมูกภายใน(Vomer bone) 1 ชิ้น กระดูกที่เป็นส่วนล่างของผนังกั้น จมูก - กระดูกข้างในจมูก(Inferior conchae) 2 ชิ้น เป็นกระดูกโค้งที่ยื่นออกจากบริเวณผนัง ด้านข้างของจมูก - กระดูกข้างถุงน้าตา(Lacrimal bones) 2 ชิ้น อยู่ที่ผนังด้านในของเบ้าตาและมีร่อง เป็นทางผ่านของน้าตา - กระดูกโหนกแก้ม (Zygomatic bones หรือ Molar bones) 2 ชิ้น อยู่ที่บริเวณแก้ม และผนังด้านข้างของเบ้าตา - กระดูกเพดาน(Palatine bones) 2 ชิ้น เป็นส่วนหลังของเพดานแข็ง (hard palate) ส่วนหน้าของเพดานแข็งคือ กระดูก Maxilla - กระดูกขากรรไกรบน (Maxilla bones) 2 ชิ้น กระดูกขากรรไกรบน เป็นพื้นของเบ้าตา และผนังด้านข้างของจมูก - กระดูกขากรรไกรล่าง (Mandible bone) 1 ชิ้น กระดูกขากรรไกรล่างมีแอ่งเป็นที่ตั้ง ของฟัน กระดูกประกอบเป็นหน้า กระดูกบริเวณไหล่ (Shoulder girdle) - กระดูกไหลปลาร้า (Clavicles) 2ชิ้น มีลักษณะเป็นแท่งโค้งยาว ปลายด้านในต่อกับ manubrium ของกระดูก sternum ปลายด้านนอกต่อกับ acromion process ของกระดูกscapula - กระดูกสะบัก (Scapula) 2 ชิ้น มีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมด้านข้างเป็นแอ่งเรียกว่า glenoid cavity ซึ่งต่อกับหัวของกระดูกแขนเกิดเป็นข้อไหล่ ด้านหลังของสะบัก มีสันแหลมยื่นออก เรียกว่า spinous process ซึ่งส่วนปลายสุดยื่นไปบริเวณหัวไหล่เรียกว่า acromion process ด้านหน้าของกระดูกสะบักมีส่วนที่ยื่นออกเรียกว่า coracoid process
  • 8. 8 กระดูกประกอบเป็นข้อไหล่ กระดูกแขน (Upper limb) - กระดูกต้นแขน(Humerus) ส่วนปลายมี head ต่อกับ glenoid cavity ของกระดูก Scapula ประกอบเป็นข้อไหล่ ส่วนปลายล่างต่อกับกระดูก radius และ ulna เป็นบริเวณข้อศอก เป็นบริเวณข้อศอก (elbow joint) - กระดูกปลายแขนอันใน (Ulna) อยู่ด้านในใกล้ลาตัว ส่วนที่ยื่นไปทางตอนบนของ ด้านหลังเรียกว่า Olecranon process เป็นส่วนที่ต่อกับกระดูก humerus ส่วนปลายด้านล่างที่ยื่น ออกเรียกว่า styloid process เป็นส่วนที่ต่อกับกระดูกข้อมือ - กระดูกปลายแขนอันนอก (Radius) อยู่ด้านห่างจากลาตัว ส่วน head อยู่ทางด้านบนต่อ กับกระดูก humerus ส่วนปลายล่างยื่นออกเรียกว่า styloid process ต่อกับกระดูกข้อมือแถวบน - กระดูกข้อมือ(Carpus) เป็นกระดูกข้อมือมี 8 ชิ้น เรียงตัว 2 แถว ดังนี้ แถวส่วนต้น ประกอบด้วยกระดูกเรียงจากนิ้วหัวแม่มือเข้าหาด้านนิ้วก้อย ได้แก่ scaphoid, lunate, triquetral และ pisifrom แถวส่วนปลาย (distal row) ประกอบด้วยกระดูกเรียงจากนิ้วหัวแม่มือเข้าหาด้าน นิ้วก้อย ได้แก่ trapezium, trapezoid, capitate และ hamate - กระดูกฝ่ามือ (Metacarpus) 5 ชิ้น ต่อจากกระดูกข้อมือ และกระดูกนิ้ว - กระดูกนิ้วมือ (Phalanges) 14 ชิ้น แต่ละนิ้วประกอบด้วย กระดูกนิ้วมือ 3 ชิ้น ได้แก่ Proximal, middle และ distal ยกเว้นนิ้วหัวแม่มือประกอบด้วย กระดูกนิ้วมือ 2 ชิ้น ได้แก่ proximal และ distal phalanges
  • 9. 9 กระดูกแขนและข้อมือ กระดูกเชิงกราน (Pelvic girdle) กระดูกเชิงกรานประกอบด้วยกระดูกสะโพก 2 ชิ้น และ Sacrum 1 ชิ้น กระดูกสะโพก (Hip bones) ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ ilium, ischium และ pubis ผิว ด้านนอกมีแอ่งลึกเรียกว่า acetabulum เป็นส่วนของข้อสะโพกและเกิดจากการเชื่อมของกระดูกทั้ง 3 ส่วน กระดูกสะโพกส่วน Ilium เชื่อมต่อกับกระดูก sacrum โดย sacroiliac joint ทางด้านหลัง และ pubisทั้งสองเชื่อมต่อกันทางด้านหน้า เรียกว่า symphysis pubis ข้อเปรียบเทียบลักษณะเชิงกรานของเพศหญิงและชาย 1. กระดูกเชิงกรานของเพศหญิงเบาและบางกว่าในเพศชาย 2. เพศหญิงมีรูเปิดทางด้านบน และล่างใหญ่กว่าในเพศชายและมีลักษณะกลม 3. Pubic arch ของเพศหญิงกว้างมากกว่าในเพศชาย Acetabulum
  • 10. 10 กระดูกขา (Lower limb) - กระดูกต้นขา (Femur) 2 ชิ้น เป็นกระดูกต้นขาที่มีความยาวที่สุดและแข็งแรงที่สุดใน ร่างกาย ส่วนบนมี Head ต่อกับ acetabulum ของกระดูกสะโพก ภายในข้อต่อมีเอ็นยึดและเป็นทาง ที่หลอดเลือดเข้าไปเลี้ยงบริเวณหัวกระดูก ส่วนปลายของ femur ยื่นออกทางด้านข้างเป็น lateral, medial condyles ซึ่งต่อกับกระดูก tibia และ patella ประกอบเป็นส่วนของข้อเข่า (knee joint) - กระดูกสะบ้า (Patella) 2 ชิ้น เป็นกระดูกสะบ้าอยู่ด้านหน้าของข้อเข่ามีลักษณะเป็นรูป สามเหลี่ยม ด้านหลังของกระดูกนี้คือ Femur ด้านหน้ามี tendon ของกล้ามเนื้อ quadriceps femoris ยึดกระดูกและเป็นส่วนประกอบของข้อเข่า - กระดูกหน้าแข้ง (Tibia) 2 ชิ้น อยู่ทางด้านใน มีขนาดใหญ่กว่ากระดูก fibula ส่วนบน ต่อกับกระดูก Femur ส่วนล่างยื่นเป็นปุ่มอยู่ด้านในเรียกว่า medial malleolus หรือตาตุ่มด้านใน และส่วนปลายสุดต่อกับกระดูกข้อเท้า - กระดูกน่อง (Fibula) 2 ชิ้น มีลักษณะเรียวเล็ก ปลายของส่วนบนคือ head ปลายของ ส่วนล่างคือ Lateral malleolus หรือตาตุ่มนอก - กระดูกข้อเท้า (Tarsus) 14 ชิ้น ประกอบด้วย talus 1 ชิ้น calcaneus 2 ชิ้น navicular 2 ชิ้น cuboid 2 ชิ้น และ cuneiform 6 ชิ้น - กระดูกฝ่าเท้า (Metatarsal bones) 10 ชิ้น ส่วนต้นต่อกับกระดูกข้อเท้า ส่วนปลายต่อ กับกระดูก Phalanges - กระดูกนิ้วเท้า (Phalanges) 28 ชิ้น เป็นกระดูกนิ้วแต่ละนิ้วประกอบด้วยกระดูกนิ้ว 3 ชิ้น เช่นเดียวกับนิ้วมือ ยกเว้นนิ้วหัวแม่เท้าประกอบด้วยกระดูกนิ้ว 2 ชิ้น
  • 11. 11 ข้อต่อและเอ็น (Joints & Ligaments) เป็นการเชื่อมต่อระหว่างกระดูกกับกระดูก ข้อต่อเกิดจากกระดูกตั้งแต่สองชิ้นขึ้นไปมาต่อกัน โดยมีเอ็นหรือพังผืด (Ligament) มาช่วยยึดเกาะกันไว้เพื่อประกอบให้กระดูกหลายๆ ชิ้นติดกันเป็น โครงของร่างกายเป็นส่วนสาคัญของระบบการเคลื่อนไหว โดยทาหน้าที่เป็นจุดหมุนของการ เคลื่อนไหว การจาแนกชนิดของข้อต่อ แบ่งตามรูปร่างเป็น 3 ชนิด ได้แก่ 1. Fibrous joints มีเส้นใยของเนื้อเยื่อเกี่ยวพันเป็นตัวเชื่อมระหว่างกระดูกทาให้มีความ แข็งแรง และไม่มีการเคลื่อนไหว เช่นข้อต่อบริเวณกระดูกกะโหลกศีรษะและกระดูกหน้า (ยกเว้น กระดูกขากรรไกรล่าง) ข้อต่อบริเวณปลายของกระดูก Tibia และ Fibula ข้อต่อระหว่างกระดูก Radius และ Ulna 2. Cartilaginous joints เป็นข้อต่อที่มีกระดูกอ่อนชนิด hyaline หรือ fibrocartilage เชื่อม ระหว่างกระดูก เช่น Pubic symphysis และ กระดูกสันหลังแต่ละข้อ ข้อต่อประเภทนี้ช่วยรับ น้าหนักและแรงกดต่างๆ ข้อต่อนี้เคลื่อนไหวได้เล็กน้อย
  • 12. 12 3. Synovial joints เป็นข้อต่อที่พบมากที่สุด บริเวณปลายกระดูกถูกหุ้มด้วยกระดูกอ่อนและมี Capsule เป็นแผ่นยึดให้กระดูกอยู่ชิดกัน ด้านใน capsule บุด้วยเยื่อเรียกว่า Synovial membrane เยื่อนี้ทาหน้าที่สร้างของเหลวเรียกว่า Synovial fluid เพื่อหล่อลื่นช่องว่างในข้อต่อ ทาให้ข้อต่อชนิดนี้ เคลื่อนไหวได้มาก สามารถจาแนกข้อต่อตามลักษณะและการเคลื่อนไหวต่างๆ ดังนี้ - Hinge joint เป็นข้อต่อแบบบานพับ ลักษณะของกระดูกเป็นรูปเว้าและรูปนูนมาต่อกัน สามารถเคลื่อนไหวได้ทิศทางเดียวคือ การงอและเหยียด เช่น ข้อศอก กระดูกขากรรไกรล่าง ข้อต่อ ระหว่างนิ้ว - Pivot joint เป็นลักษณะข้อต่อที่มีการเคลื่อนไหวโดยหมุน ซึ่งมีกระดูกหนึ่งหมุนหรือ สวมอยู่ในวงของกระดูกอีกอันหนึ่ง เช่น กระดูกสันหลังคอชิ้นที่ 1 และ 2 (Atlas and Axis) ข้อต่อ ส่วนต้นของกระดูก radius และ ulna - Ball and Socket Joint เป็นข้อต่อชนิดที่ปลายของกระดูกข้างหนึ่งมีหัวกลมสวมเข้าไป ในเบ้าของกระดูกอีกอันหนึ่ง ทาให้เคลื่อนไหวไปได้ทุกทาง ได้แก่ การงอ เหยียด การกาง หุบ การ หมุนเข้าด้านในและด้านนอก เช่น ข้อสะโพก ข้อไหล่ - Ellipsoidal (condyloid) joint ข้อต่อนี้เคลื่อนไหวแบบการงอ เหยียด การกาง และหุบ เช่น กระดูกข้อมือ และข้อต่อระหว่างกระดูกข้อฝ่ามือและกระดูกนิ้ว - Gliding (plane) joint เป็นข้อต่อแบบลื่นไถล ลักษณะการต่อระหว่างกระดูกแบบที่มี หัวตัดค่อนข้างเรียบจึงเคลื่อนไหวได้เล็กน้อยและไม่มีแนวทางการเคลื่อนไหวแน่นอน ได้แก่ ข้อต่อ ระหว่างกระดูกข้อมือและข้อเท้า - Saddle joint เป็นข้อต่อแบบอานม้า มีลักษณะกระดูกหนึ่งเว้าและกระดูกหนึ่งนูนมา ประกบกันเข้าพอดี เช่น กระดูกฝ่ามือของนิ้วหัวแม่มือระหว่างกระดูกนิ้วมือชิ้นแรกและกระดูกข้อมือ
  • 13. 13 อ้างอิง 1. ราแพน พรเทพเกษมสันต์. กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์. กรุงเทพฯ: ศิล ปาบรรณาคาร; 2541. 2. เกล็ดแก้ว ด่านวิวัฒน์. พื้นฐานกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 14. 14 แบบฝึกหัด ระบบโครงกระดูก Parietal bone Temporal Bone Lambdoidal suture Occipital bone zygomatic bone Maxilla Coronal suture Squamosal suture Nasal bone Frontal bone Zygomatic bone Maxilla Mandible Vomer Temporal bone Nasal bone Sphenoid bone Frontal bone Ethmoid bone Lacrimal bone
  • 15. 15 Carpals Olecranon process Ulna Humerus Metacarpals Phalanges Radius Coracoid process Coracoid process Scapula Spine Glenoid cavity Acromion process Acromion process