SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  45
Télécharger pour lire hors ligne
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
                           ผู้จัดทา
            นางสาวกฤติยาภรณ์ เสมอเชื้อ เลขที่ 8
            นางสาวพิชญ์จิรา มูลกันทา เลขที่ 17
                     มัธยมศึกษาปีที่ 6/2
การศึกษาเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทย สามารถแบ่งช่วงใน
การศึกษาได้เป็น 2 ช่วง ได้แก่ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และสมัประวัติศาสตร์


  สมัยก่อนประวัติศาสตร์
             เป็นสมัยที่มนุษย์ยังไม่มีตัวอักษร สาหรับบันทึกเรื่องราว
การศึกษาถึงร่องรอยการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ในช่วงนี้จาเป็นต้องอาศัยการ
วิเคราะห์ตีความจากหลักฐานชั้นต้นที่ได้จากการสารวจทางโบราณคดี เช่น
เครื่องมือ เครื่องใช้ที่ทาด้วยหิน โลหะ เครื่องประดับ เครื่องปั้นดินเผา โครง
กระดูก เมล็ดพืช ภาพเขียนตามฝาผนังถ้า เป็นต้น
สมัยประวัติศาสตร์
       เป็นช่วงที่มีตัวอักษรใช้บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ต่างๆ แล้ว
การศึกษาประวัติความเป็นมาของชุมชนในสมัยประวัติศาสตร์ จะ
มีการใช้หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์ อักษร เช่น จารึก จดหมายเหตุ
บันทึกการเดินทาง ปูมโหร พงศาวดาร ตานาน เป็นต้น และ
หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ไม่ว่าจะเป็นโบราณสถาน เช่น
เจดีย์ ปราสาทหิน เมืองโบราณ วัด เป็นต้น และโบราณวัตถุ เช่น
พระพุทธรูป เทวรูป เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องประดับ เงินเหรียญ
เป็นต้น มาเป็นข้อมูลสาหรับวิเคราะห์ตีความเพื่อให้ทราบ
เรื่องราวความเป็นมาในอดีตให้ชัดเจน ยิ่งขึน   ้
หลักเกณฑ์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

1.1 การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์ ตามเกณฑ์ของนักประวัติศาสตร์
       นักประวัติศาสตร์คานึงถึงการประดิษฐ์ตัวอักษรและนามาบันทึกเรื่องราว
  และนามากาหนดยุคสมัยโดยแบ่งเป็นสองยุค ได้แก่ ยุคก่อนประวัติศาสตร์และยุค
  ประวัติศาสตร์ เมื่อพบหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรจึงถือว่าเริ่มยุคประวัติศาสตร์
1.2 การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์ ตามเกณฑ์ของนักโบราณคดี
       นักโบราณคดีส่วนใหญ่ กาหนดตามเทคนิควิธีและวัสดุที่ใช้ทาเครื่องมือใช้
  สอย เช่น ยุคหินและยุคโลหะ
1.3 การแบ่งตามแบบแผนของนักมานุษยวิทยา
เน้นการดารงชีพและลักษณะสังคมแบบแผนที่สาคัญได้แก่
• สมัยชุมชนล่าสัตว์-หาของป่า (Hunting – Gathering Society Period)
  ราว 500,000-4,500 ปีมาแล้ว
• สมัยหมู่บ้านเกตรกรรม ( Agricultural Village Society Period )
  เป็นสังคมระดับหม่บ้าน เริ่มเมื่อราว 4,500 ปี
• สมัยสังคมเมือง ( Urban Society Period) สังคมมีลักษณะซับซ้อน
  มากขึ้น เริ่มปรากฏตั้งแต่ 2,500 ปีมาแล้ว
อย่างไรก็ตาม การศึกษาประวัติศาสตร์ทุกช่วงสมัยจาเป็นต้องมอง
ทั้งด้านพัฒนาการของเครื่องมือเครื่องใช้และวิถีชีวิตความเป็นอยู่ควบคู่
กันจึงสรุปได้ดังนี้
             ยุคก่อนประวัติศาสตร์
       ยุคก่อนประวัติศาสตร์เป็นยุคที่มนุษย์เริ่มรู้จักดัดแปลงวัสดุตาม
ธรรมชาติมาเป็นเครื่องมือเครื่องใช้ในการยังชีพ ที่สาคัญได้แก่ การนา
ก้อนหินมากะเทาะ ให้มีคม ดัดแปลงเป็นเครื่องมือสับ ตัด ขูด เพื่อยังชีพ
โดยอาศัยตามถ้า เก็บพืชผักตามธรรมชาติ ล่าสัตว์เป็นอาหาร อยู่ไม่เป็น
หลักแหล่ง ยุคหินแบ่งเป็นยุคหินเก่า และยุคหินใหม่ พบในบริเวณต่าง
ๆ ทั่วโลกแต่ละแห่งมีวิวัฒนาการคล้ายกัน (แต่อยู่ในช่วงเวลาไม่เท่ากัน)
1. ยุคหินเก่า ( Paleolithic หรือ The Old Stone Age )

พัฒนาการในยุคหินเก่า สรุปได้ดังนี้
ระยะเวลาโดยประมาณ        ชื่อเรียกมนุษย์ก่อน       เรื่องที่ค้นพบ
                         ประวัติศาสตร์และ
                             เครื่องมือหิน
       2 ล้านปี          Australopitheecus     เรียกกันว่า มนุษย์วานร

     1.75 ล้านปี           Homo habilis

      1.5 ล้านปี           Homo erectus
หินเก่าตอนต้นเครื่องมือ   เครื่องมือแบบเชลลีนพบ        หินกะเทาะหรือขวาน
                           มากตอนกลางของยุโรป          กาปั้น ใช้สับ ตัด ขูด
                          และเครื่องมือแบบอาชลีน     มนุษย์ไฮเดนเบิร์ก มนุษย์
                                                     ชวา มนุษย์ปักกิ่ง ในเอเซีย


  หินเก่า ตอนกลาง         เครื่องมือแบบมูส์เตเรียน      มนุษย์นแอนเดอธัล
                                                                 ี
 ประมาณ 150,000 ปี               ปลายแหลม               (Neanderthal Man)
 ระหว่างหิมะละลาย                                       กะโหลกศีรษะแบน
                                                     หน้าผากลาด เริ่มรู้จักศิลปะ
                                                      วาดภาพสัตว์บนผนังถ้า
                                                          เริ่มมีพิธีฝังศพ
หินเก่าตอนปลาย ประมาณ     เครื่องมือแบบ         มนุษย์โครมันยอง
    40,000 ปี ระยะที่ 4   แมกดาเลเนียน      ( Cro-magnonan) พบที่
   ของยุคน้าแข็งสุดท้าย                     ฝรั่งเศส เครื่องมือทาจาก
                                                 กระดูก เขาสัตว์
                                          เครื่องประดับหลายรูปแบบ
                                          ภาพเขียนในถ้าที่เสปนและ
                                                     ฝรั่งเศส
ซึ่งแบ่งเป็น 3 ตอน คือ ตอนต้น ตอนกลางและตอนปลาย
       ยุคหินเก่าตอนต้น
        เครื่องมือหินกะเทาะ ได้แก่ ขวานมือหรือ ขวานกาปั้น
  พบมากในยุโรปตอนกลาง อายุใกล้เคียงกับมนุษย์ชวา และ
  มนุษย์ปักกิ่ง ทีพบในเอเซีย มนุษย์บางกลุ่ม เช่น มนุษย์ไฮเดน
                  ่
  เบิร์ก สามารถพัฒนาเครื่องมือให้มีประสิทธิภาพมากขึน เช่น
                                                       ้
  เครื่องมือหินกะเทาะแบบอาชลีน (Acheulean) เป็นต้น
ยุคหินเก่าตอนกลาง
    รูปร่างของเครื่องมือหินกะเทาะแบบนี้มีปลายค่อนข้างแหลม
มนุษย์กลุ่มที่ทาเครื่องแบบนี้ ได้แก่ นีแอนเดอธัล ( Neanderthal ) ใน
เยอรมันนี เครื่องมือหินกะเทาะที่ทาขึ้นเรียกกันว่า แบบมูส์เตเรียน
( Mousterian )

                                      ภาพจาลองนีแอนเดอธัล
                                      อายุกว่า 60,000 ปีมาแล้ว
ยุคหินเก่าตอนปลาย
      เป็นผลงานของมนุษย์โครมันยอง เรียกกันว่าแบบแมก
ดาเลเนียน (Magdalenian ) ซึ่งนอกจากทาด้วยหินไฟแล้ว
ยังนากระดูกสัตว์เขาสัตว์ เปลือกหอยและงาช้าง มาใช้
ประโยชน์ เครื่องมือสมัยนี้มีความประณีตมาก รู้จักใช้มีดมี
ด้าม ทาเข็มจากกระดูกสัตว์ มีการฝนและขัดเครื่องมือให้เรียบ
และคม ใช้ประโยชน์ได้หลายด้านมากขึ้น
เครื่องมือหินของพวกโครมันยองแบบแมกดาเลเนียน
จัดเป็นแบบสุดท้ายของยุคหินเก่าตอนปลาย มีพัฒนาการมาก
ขึ้น รู้จักประดิษฐ์เข็มทาจากกระดูกสัตว์ แสดงว่าเริ่มรู้จักการ
เย็บเครื่องนุ่งห่มจากหนังสัตว์ และทาเครื่องมือ เครื่องใช้
หลากหลายมากขึ้น เช่น ฉมวกจับปลา เป็นต้น ที่สาคัญคือ เริ่ม
รู้จักทาเครื่องประดับและวาดภาพในผนังถ้า ศิลปะแบบแมก
ดาเลเนียนที่มีชื่อเสียงที่สุด ได้แก่ ภาพวาดบนผนังถ้าใน
ประเทศฝรั่งเศสและเสปน
ตัวอย่างเครื่องมือหินกะเทาะ
                                     แบบ อาชลีน ( Acheulean )
                                         ในยุคหินเก่าตอนต้น




เครื่องมือหินกะเทาะ แบบมูส์เตเรียน
 (Mousterian ) ในยุคหินเก่าตอนกลาง
เครื่องมือหินของพวกโครมันยอง
                          แบบแมกดาเลเนียน




ภาพจากถา Lascaux
สังคมมนุษย์ยุคหินเก่า

      ยุคหินเก่าแบ่งเป็นยุคย่อย ๆ ได้ 3 ระยะ ได้แก่ ยุคหินเก่าตอนต้น ยุคหิน
เก่าตอนกลาง และยุคหินเก่าตอนปลาย คนในยุคหินเก่าดารงชีพด้วยการล่าสัตว์
และเสาะแสวงหาพืชผักผลไม้กินเป็นอาหารมีการพึ่งพาอาศัยธรรมชาติ และ
สภาวะแวดล้อมอย่างเต็มที่ กล่าวคือ เมื่อฝูงสัตว์ที่ล่าเป็นอาหารหมดลงก็ต้อง
อพยพย้ายถิ่นติดตามฝูงสัตว์ไปเรื่อย ๆ การที่มนุษย์จาเป็นต้องแสวงหาถิ่นที่อยู่
ใหม่เพราะต้องล่าสัตว์ดังกล่าว อาจทาให้คนต้องปรับพฤติกรรมการบริโภคไป
ในตัวด้วย เนื่องจากชีวิตส่วนใหญ่ของคนในยุคหินเก่าต้องอยู่กับการแสดงหา
อาหารและการป้องกันตัวจากสัตว์ร้ายและภัยธรรมชาติรวมถึงการต่อสู้ในหมู่
พวกเดียวกันเพื่อการอยู่รอด จึงทาให้ต้องพัฒนาเกี่ยวกับเครื่องมือล่าสัตว์ โดย
การพัฒนาอาวุธที่ทาด้วยหินสาหรับตัด ขูดหรือ สับ เช่น หอก มี และเข็ม เป็น
ต้น
ระบบความสัมพันธ์ทางสังคมพบว่า คนในยุคหินเก่า
 เริ่มอยู่กันเป็นครอบครัว แล้ว แต่ยังไม่มีการอยู่ร่วมกันเป็น
 ชุมชนอย่างแท้จริง เพราะวิถีชีวิตแบบเร่ร่อนไม่เอื้ออานวยให้มี
 การตั้งหลักแหล่งถาวร ขณะเดียวกันองค์กรทางเมืองการ
 ปกครองก็ยังไม่เกิดขึ้น สังคมจึงมีสภาพเป็นอนาธิปัตย์ คือ
ไม่มีผู้เป็นใหญ่แน่นอน ผู้ที่มีอานาจมักเป็นผู้ที่มีความแข็งแรง
 เหนือผู้อื่น
นอกจากนี้ยังพบว่า คนในยุคนี้เริ่มรู้จักแสดงความรู้สึกออกมาในรูปของ
ศิลปะบ้างแล้ว ศิลปะที่สาคัญได้แก่รูปเขียนกระทิงเรียงกันเป็นขบวน ขุดค้นพบ
ภายในถ้าอัลตะมิระ ทางตอนใต้ของสเปนและภาพสัตว์ส่วนใหญ่เป็นภาพสัตว์ที่
คนสมัยนั้นล่าเป็นอาหาร มีวัดกระทิง ม้าป่า กวางแดง และกวางเรนเดียร์ เป็น
ต้น พบถ้าสาบโก ในประเทศฝรั่งเศส ส่วนประเทศไทย พบที่ถ้าตาด้วง จังหวัด
กาญจนบุรี ภูพระบาท จังหวัดอุดรธานี และถ้าผีหัวโต จังหวัดกระบี่ เป็นต้น
สังคมของมนุษย์ยุคหินเก่าตอนกลาง และยุคหินเก่าตอนปลาย
มีระยะเวลาที่สั้น ปรากฏอารยธรรมเกิดขึ้นในทวีปยุโรป แอฟริกาและ
เอเชีย สภาพชีวิตความเป็นอยู่ของคนยุคหินเก่าตอนกลางส่วนมากคล้าย
กับยุคกินเก่าตอนต้นแต่ก็พบว่าคนยุคกินเก่าตอนกลางบางแห่งมี
พัฒนาการมากขึ้น มีการพบหลักฐานแสดงว่า คนยุคหินเก่าในช่วงปลาย
มีความสามารถในการจับสัตว์น้าได้ดีและมีการคมนาคมทางน้าเกิดขึ้น
แล้ว เทคโนโลยีของยุคกินเก่าตอนปลายจะมีขนาดเล็กกว่ายุคหินเก่า
ตอนต้นและประโยชน์ใช้สอยดีขึ้นกว่าเดิม คนยุคหินเก่าตอนกลางจะ
มีวัฒนธรรมแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
      • อาศัยอยู่บนภูเขา ตามถ้า หรือเพิงผา
      • อาศัยอยู่บนพื้นราบ ริมน้าหรือชายทะเล
ยุคหินใหม่ ( Neolithic หรือ The New Stone Age )

      เริ่มต้นในช่วง 6,000 ปีก่อนคริสต์กาล แบ่งตามลักษณะ
เครื่องมือหิน ได้แก่ หินขัด คือ การทาเครื่องมือหินขัดจนบางเรียบ
มีด้าม ทาให้คม ใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย บางแห่งนาซุงมาขุดเป็น
เรือ ทาธนูและลูกศร รู้จักนาสุนัขมาเลี้ยง ในราว 8,000 ปีก่อน
คริสต์กาล ปรากฏหลักฐานว่ามนุษย์เริ่มรู้จักทาการเกษตรอย่างเป็น
ระบบ สามารถเพาะปลูกพืชและเก็บไว้เป็นอาหาร รู้จักทอผ้าและทา
เครื่องปั้นดินเผา แหล่งโบราณคดีที่เก่าที่สุด คือ บริเวณตอนเหนือ
ของเมโสโปเตเมียหรืออิรัคในปัจจุบัน
ตัวอย่างเครื่องมือหินขัด และเครื่องปั้นดินเผา




ขวานหินขัด พร้อมด้ามไม้             ขวานหินขัดก่อนใส่ด้าม



                  เครื่องปั้นดินเผายุคหินใหม่ พบในประเทศจีน
การขยายตัวของการเกษตรกรรมระหว่าง 8,000 – 5,000 ปี
ก่อนคริสต์กาล เป็นปัจจัยสาคัญนาไปสู่การสร้างสรรค์ความเจริญ
ระดับอารยธรรมในเวลาต่อมา จากเอเซียตะวันตก ไปสู่ด้าน
ตะวันออกเฉียงใต้ของยุโรป ในราว 4,000 ปีก่อนคริสต์กาล การ
เพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ เพื่อเป็นอาหารของชุมชนและแลกเปลี่ยน
กับชุมชนอื่น ๆ ได้ขยายไปสู่บริเวณเอเซียกลางและรอบ ๆ ทะเล
เมดิเตอร์เรเนียน
เจอริโก หนึ่งในแหล่งโบราณคดียุคหินใหม่

         ชุมชนเจอริโกเป็นตัวอย่างของหมู่บ้านยุคหินใหม่ ที่เริ่มมีการปลูก
ข้าวสาลีและข้าวบาเลย์ รู้จักใช้เครื่องมือล่าสัตว์และทาภาชนะจากดินเหนียว
สาหรับเก็บข้าวเปลือกและใส่อาหาร ตั้งแต่ราว 5,000ปี ก่อนคริสต์กาล
สมัยหินใหม่จัดเป็นการปฏิวัติครั้งแรกของมนุษย์ ที่ประสบ
ความสาเร็จขั้นต้นในการปรับตัวให้เข้ากับข้อจากัดของธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม ไม่ต้องร่อนเร่ย้ายถิ่น และเป็นช่วงเวลาเริ่มต้นการ
รวมกลุ่มเป็นตั้งหลักแหล่ง ในบริเวณที่มีแหล่งน้าอุดมสมบูรณ์ (แม้ว่า
ยังมีบางกลุ่มที่ยังคงวิถีชีวิตผูกพันกับการเลี้ยงปศุสัตว์ ที่ต้องเปลี่ยนที่
ไปตามความอุดมสมบูรณ์ของทุ่งหญ้า เช่น พวกอนารายชนมองโกล
เป็นต้น) ความสามารถในการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์เป็นปัจจัยสาคัญ
ที่ทาให้จานวนประชากรโลกเพิ่มขึ้นถึง 10 เท่าและกระจายอยู่ทั่วโลก
ทั้งยังเริ่มมีความเชื่อทางศาสนา แสดงความเคารพอานาจของ
ธรรมชาติ เพื่อให้มีแต่ความอุดมสมบูรณ์
ตัวอย่างความเชื่อที่สาคัญ คือ การนาก้อนหินขนาดกลางหรือขนาด
ใหญ่มาเรียงต่อกัน เรียกว่า เมกาลิธิค ( Megalithic ) เช่น สโตนเฮนจ์
(The Stonehenge) ในอังกฤษ
การอยู่เป็นหลักแหล่ง มีประชากรมากขึ้นและมีอาหารอุดมสมบูรณ์
ทาให้มนุษย์ยุคหินใหม่ มีเวลามากขึ้นและเริ่มแบ่งงานตามความถนัด
สามารถนอกจากรู้จักทาเครื่องปั้นดินเผาแล้วยังรู้จักเทคโนโลยีสาหรับทา
เครื่องมือ เครื่องใช้จากสาริดและเหล็ก ดังนี้
         2.1 สมัยโลหะ
       ประกอบด้วยสมัยสาริด และสมัยเหล็ก สมัยนี้เครื่องมือ เครื่องใช้ทา
จากสาริดและเหล็ก กาหนดอายุด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ อยู่ในราว
5,600 – 1,200 ปี ก่อนคริสต์กาล เริ่มต้นเมื่อมนุษย์พบวิธีถลุงแร่ทองแดง
และดีบุก นามาผสมผสานกันเป็นสาริด สามารถทาแม่พิมพ์เป็นเครื่องใช้
เครื่องประดับและอาวุธหลากหลาย เช่น ใบหอก กาไล กลองมโหระทึก
เป็นต้น
2.2 สมัยเหล็ก
       ประมาณ 1,200 ปีก่อนคริสต์กาล เป็นพัฒนาการอีกขั้นหนึ่งของ
มนุษย์ที่สามารถทาเครื่องมือเครื่องใช้ที่คงทนมากขึ้น จึงมีเครื่องมือ
การเกษตรกรรมที่ใช้ในการผลิตได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น บางกลุ่ม
รู้จักเทคโนโลยีสาหรับถลุงเหล็กและนามาตีเป็นดาบและอาวุธต่าง ๆ
จึงเป็นที่มาของการสร้างกองทัพขนาดใหญ่ ส่งผลต่อการเปลี่ยน
รูปแบบสงครามและยุทธวิธีในการรบอย่างต่อเนื่อง
สังคมมนุษย์ยุคหินใหม่
       คนในยุคหินใหม่ได้เริ่มปฏิวัติการครองชีพด้วยการเปลี่ยนวิถีชีวิต
จากการล่าสัตว์และหาขอป่ามาเลี้ยงสัตว์มาทาการเพราะปลูกแทน ถือเป็น
การปฏิวัติทางสังคมและเศรษฐกิจครั้งสาคัญของมนุษยชาติ การเปลี่ยน
วิถีชีวิตมาเป็นเกษตรกรดังกล่าว นอกจากจะทาให้คนต้องหันมาเลี้ยงสัตว์
และฝึกหัดสัตว์ให้เชื่องแล้ว คนยังต้องเรียนรูการไถหว่าน และเก็บเกี่ยว
                                            ้
พืช เช่น ลูกเดือย ข้าวสาลี ข้าวโพด อีกด้วย
       สภาพสังคมขณะนั้นพบว่า ผู้คนต้องหักร้างถางพงสาหรับการ
เพาะปลูกมีการทาคอกสาหรับขังสัตว์และสร้างที่พักอาศัยอยู่ถาวรแทนการ
เร่ร่อน อาศัยอยู่ในถ้าเช่นคนหินเก่า เมื่อหลายครอบครัวอาศัยอยู่รวมกันเป็น
หมู่บ้านจึงถือว่าหมู่บ้านเกษตรกรเหล่านี้คือหมู่บ้านแห่งแรกของโลก
เทคโนโลยีของคนในยุคหินใหม่ทาขึ้นจากวัสดุหลายชนิด เช่น
หิน กระดูก และเขาสัตว์ที่แตกต่างจากคนในยุคหินเก่า คือ เครื่องมือ
เครื่องใช้เหล่านั้นมีประโยชน์ใช้สอยและประณีตมากขึ้น เครื่องมือที่
สาคัญคือ ขวานหินด้วยเป็นไม้ และเคียวกินเหล็กไฟ เป็นต้น
นอกจากนี้ยังสร้างงานหัตถกรรมในครัวเรือนอีกหลายอย่างได้แก่
เครื่องปั่นด้าย เครื่องทอผ้าเครื่องจักสานและเครื่องปั้นดินเผาซึ่งมักทา
ขึ้นมักทาขึ้นอย่างหยาบ ๆ ไม่มีการตกแต่งลวดลายมากนัก
ในด้านศิลปะพบว่า คนในยุคหินใหม่มีการปั้นรูปสตรีและทารก
   ลักษณะคล้ายรูปแม่พระธรณี อันเป็นสัญลักษณ์แห่งความอุดมสมบูรณ์
   ของพืชพันธ์ธัญญาหาร ชุมชนยุคหินใหม่ที่เก่าแก่ที่สุดในตะวันออก
   กลางบริเวณที่เป็นประเทศ ตุรกี ซีเรีย อิสราเอล อิรัก ภาคตะวันออก
   ของอิหร่าน และเลยไปถึงอียิปต์ในทวีปแอฟริกา
          ในปัจจุบัน จากหลักฐานทางโบราณคดีแสดงว่า
คนที่อยู่ในบริเวณดังกล่าวได้ค้นพบวิธีการ
เกษตรกรรมมาประมาณ 7,000 ปีมาแล้ว
และดูเหมือนว่า รากฐานความรู้ทาง
เกษตรกรรมของชาวยุโรป ก็รับไป
จากบริเวณนี้
สังคมมนุษย์ยุคโลหะ
      คนยุคโลหะเริ่มรู้จักใช้ทองแดง และสัมฤทธิ์ มาทาเป็น
เครื่องมือเครื่องใช้และเครื่องประดับ ในส่วนของกิจกรรมการเพราะ
ปลูกและเลี้ยงสัตว์ได้มีการพัฒนาให้มีการประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นวิถี
ชีวิตของคนในยุคโลหะได้เปลี่ยนจากสภาพความเป็นอยู่แบบชุมชน
เกษตรมาเป็นชุมชนเมือง ซึ่งเมืองดังกล่าวต่อมาได้กลายเป็นศูนย์กลาง
การเกษตรกรรม การปกครองและสังคมความสัมพันธ์ทางสังคมของ
คนยุคนี้จะอยู่กันแบบเครือญาติมีความรักใคร่กลมเกลียวและผูกพันอย่า
ใกล้ชิดเพราะเป็นสังคมขนาดเล็ก การจัดระเบียบทางสังคมจะเป็นไปใน
แบบของตระกูลและหมู่บ้านมากกว่าที่จะเป็นไปในสังคมแบบปัจจุบัน
ในด้านความเชื่อพบว่า คนในสังคมเกษตรกรรมจะมีความเชื่อในเรื่อง
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ และอานาจทีไม่มีตัวตนอย่างเข้มข้น ทั้งนี้เพราะมีประสบการณ์
ว่าอานาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ดังกล่าวอยู่เหนืออานาจมนุษย์ดังนี้คนในสมัยนั้นจึงได้
คิดลัทธิวิญญาณขึ้นมา เพื่อคุ้มครองป้องกันตนเองและกลุ่ม ขณะเดียวกันผู้คน
ก็พยายามนาตนเองเข้าไปใกล้ชิดกับอานาจลึกลับนั้นผ่านกระบวนการของ
พิธีกรรมและการบวงสรวง บูชา จนเกิดเป็นระบบศาสนาและขนบธรรมเนียม
ในเวลาต่อมา
ยุคประวัตศาสตร์
                               ิ
     เริ่มต้นราว 3,000 ปีก่อนคริสต์กาล เป็นช่วงเวลาที่มนุษย์เริ่มรู้จัก
การประดิษฐ์ตัวอักษร ใช้บันทึกเรื่องราวและนามาใช้สื่อสารระหว่างกัน
ในที่นี้ขอกล่าวโดยสรุปคือ สมัยนี้เริ่มมีชุมชนขนาดใหญ่และมีความ
เจริญในระดับอารยธรรมตามแหล่งต่าง ๆ แบ่งย่อยได้ดังนี้
        สมัยโบราณ
       แหล่งอารยธรรมเก่าที่สุด ได้แก่ เมโสโปเตเมีย ประมาณ 3,000 ปี
ก่อนคริสต์กาล ผู้คนในบริเวณลุ่มแม่น้าไทกริส-ยูเฟรติสหรือดินแดน
พระจันทร์เสี้ยวเป็นกลุ่มแรกที่ได้ประดิษฐ์อักษรคูนิฟอร์ม บันทึก
เรื่องราวต่าง ๆ ปัจจุบันคือ บริเวณประเทศอิรัคและบางส่วนของซีเรีย
แหล่งอารยธรรมที่มีอายุในเวลาใกล้เคียงกันคือ
     อียิปต์ ชุมชนบริเวณลุ่มแม่น้าไนล์เจ้าของอักษรเฮียโรกริฟฟิค
เป็นผู้สร้างสรรค์อารยธรรมอียิปต เริ่มตั้งแต่ประมาณ 3,300 ปีก่อน
คริสต์กาล จนถึงประมาณ 30 ก่อนคริสต์กาล เมื่ออียิปต์ตกเป็น
เมืองขึ้นของโรมัน
     จีน เริ่มต้นด้วยราชวงศ์ชาง บริเวณลุ่มแม่น้าเหลือง ตั้งแต่
ประมาณ 1,800 ปีก่อนคริสต์กาล
  ฮารัปปา-โมเฮ็นโจดาโร บริเวณลุ่มแม่น้าสินธุ ประมาณ 3,000 ปี
แหล่งอารยธรรมที่สาคัญในสมัยต่อมา คือ กรีก พัฒนาจากอารย
ธรรมไมนวล ที่เกาะครีต ราว 3,000 ปีก่อนคริสตกาล จนถึงสมัยของพระ
เจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช (323 – 30 ปีก่อนคริสตกาล)
         ส่วนจักรวรรดิโรมัน เริ่มต้นราว 1,000 ปีกอนคริสตกาล และ
                                                  ่
พัฒนาเป็นจักรวรรดิยิ่งใหญ่ จนสิ้นสุดเพราะถูกรุกรานโดยอนารยชน
เยอรมนิค ในค.ศ. 476 ถือเป็นการสิ้นสุดสมัยโบราณ ศูนย์กลางความ
เจริญได้ย้ายไปอยู่ที่ไบเซ็นไทน์ หรือต่อมาคือคอนสแตนติโนเปิล
(อยู่ในตุรกีปัจจุบัน) หรือที่เรียกว่าอาณาจักรโรมันตะวันออก
ยุคมืด (Dark Age )
         และสมัยกลาง ( The Middle Ages)

            เป็นช่วงต่อระหว่างจักรวรรดิโรมันล่มสลาย ความ
เจริญหยุดชงัก ประดุจยุคมืด ประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 4 - 5
เพราะการบุกทาลายเมืองต่าง ๆโดยอนารยชนเยอรมันนิคเผ่าวิสิ
กอธ ( Visigoth ) ประชาชนในยุโรปต่างไม่มีที่พึ่ง เจ้าผู้ครองแต่
ละเมืองตั้งตัวเป็นใหญ่ ในระบบศักดินาสวามิภักดิ ประชาชนให้
ความสาคัญกับศาสนจักรคริสต์โรมันคาธอลิคอย่างมาก
ต่อมาศาสนาจักรจึงมีอานาจเหนือการปกครอง ยุคนี้ผู้คน
ศรัทธาในพระเจ้า จนยอมสละชีพเดินทางไปตะวันออกกลาง
เพื่อสู้รบแย่งชิงดินแดนปาเลสไตน์อันศักดิ์สิทธิ์จากมุสลิมใน
สงครามครูเสดหลายครั้ง ( ค.ศ. 1096 – 1291 ) ต่อเนื่องนานกว่า
300 ปี
      ปลายสมัยกลาง ราว ค.ศ. 1347 หรือคริสต์ศตวรรษที่ 14
เกิดกาฬโรคหรือ Black Death ระบาดทั่วยุโรป ผู้คนเสียชีวิตกว่า
สามล้านคน ส่งผลกระทบต่อสังคมยุโรปในเวลานั้นอย่างมาก
สมัยใหม่
      ราวคริสต์ศตวรรษที่ 15 เป็นสมัยแห่งการฟื้นฟูความคิดและ
ศิลปกรรมของกรีก-โรมัน จึงเรียกว่าสมัยศิลปวิทยาการ ( Renaissance )
ในแหลมอิตาลีและขยายไปสู่ยุโรปส่วนอื่น ๆ นาไปสู่การเปลี่ยน
ความคิดออกจากอิทธิพลของศาสนา เน้นความสาคัญของมนุษย์และ
เหตุผลมากขึ้น
      ต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีการปฏิวัติวิทยาศาสตร์
นักวิทยาศาสตร์คนสาคัญ เช่นเซอร์ไอแซก นิวตัน เหตุการณ์สาคัญอื่น
ๆ เช่น
- สงครามกลางเมืองในอังกฤษ โอลิเวอร์ คลอมเวลเป็น
ผู้ปกครองอังกฤษในนามรัฐสภาและประหารกษัตริย์อังกฤษ ต่อมา
เมื่อเขาสิ้นชีวิต ราชวงศ์อังกฤษจึงได้กลับมาครองราชย์อีกครั้ง
       - การปกครองแบบกษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
ล้มเลิกระบอบศักดินาสวามิภักดิ์ พระมหากษัตริย์มีอานาจสูงสุด
เหนือนครรัฐทั้งหลาย กษัตริย์หลายพระองค์ส่งเสิรมการสารวจและ
การยึดครองดินแดนเป็นอาณานิคมโพ้นทะเล มีนักสารวจเส้นทางสู่
ดินแดนใหม่ เช่น โคลัมบัส และแมคเจแลนด์ เป็นต้น
ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ตอนปลาย ถึงคริต์ศตวรรษที่ 19 มีการ
ปฏิวัติการเกษตรและการปฏิวัติอุตสาหกรรม เริ่มในอังกฤษเป็นที่
แรก ทาให้ระบบเศรษฐกิจโลกเปลี่ยนสู่ระบบเสรีนิยมและการผลิต
ในระบบอุตสาหกรรม ส่งผลให้เกิดความต้องการทรัพยากรในการ
ผลิตและตลาดจาหน่ายสินค้า ประเทศในยุโรปจึงขยายอานาจ
ครอบงาดินแดนต่าง ๆ ในสมัยจักรวรรดินิยมจนเกิดความขัดแย้ง
อย่างรุนแรงในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ( ค.ศ. 1914 – 1918 ) และ
สงครามโลกครั้งที่สอง ( ค.ศ. 1939 – 1945 )
สมัยปัจจุบัน
     นักวิชาการส่วนใหญ่กาหนดให้สมัยปัจจุบันเริ่มต้นในสมัย
สงครามเย็น หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นช่วงที่มีการประจัญหน้ากัน
ระหว่างลัทธิคอมมิวนิสต์ ซึ่งมีสหภาพโซเวียตเป็นผู้นามีอิทธิพลเหนือ
ยุโรปตะวันออก กับสหรัฐอเมริกาเป็นผู้นา มีอิทธิพลเหนือยุโรป
ตะวันตก ทั้งสองมหาอานาจแทรกแซงทางการเมืองในประเทศต่าง ๆ
แต่ไม่มีสงครามระหว่างกันโดยตรง เพราะต่างเกรงกลัวหายนะจาก
อาวุธนิวเคลียรส์ สงครามเย็นเริ่มยุติลงสมัยประธานาธิบดีโกบาชอฟ
ในค.ศ. 1989 เมื่อกาแพงเบอร์ลินที่สหภาพโซเวียตเป็นผู้สร้างเพื่อแบ่ง
เขตปกครองเยอรมันถูกทาลาย สงครามเย็นยุติอย่างเด็ดขาดเมื่อสหภาพ
โซเวียตล่มสลาย ในค.ศ. 1991
ทุกวันนี้สถานการณ์ในโลกร่วมสมัย (contemporary )
เปลี่ยนเป็นความขัดแย้งด้านความคิดทางศาสนาและการ
ปราบปรามการก่อการร้าย เช่น ความขัดแย้งในตะวันออกกลาง อิส
ลาเอล- ปาลเสลไตน์ เหตุการณ์ที่สาคัญซึ่งส่งผลกระทบไปทั่วโลก
ได้แก่ สหรัฐอเมริกาหลังเหตุการณ์ 9/11 กับชาติมุสลิมใน
ตะวันออกกลาง ได้แก่ อิรัค อัฟกานิสถานและอิหร่าน เป็นต้น
สภาพสังคมมนุษย์สมัยประวัติศาสตร์
       สังคมมนุษย์สมัยประวัติศาสตร์เริ่มขึ้นเมื่อมนุษย์รู้จักการใช้
ตัวอักษรในการจดบันทึกเรื่องราวต่างๆ ทาให้เราสามารถศึกษา
เรื่องราวของมนุษย์ได้กระจ่างชัดมากขึ้นสภาพสังคมในสมัยนี้มีการ
เปลี่ยนแปลงเนื่องจากหมู่บ้านแบบเกษตรกรรมได้ขยายใหญ่ขึ้นกลาย
สภาพมาเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ คนที่อาศัยอยู่ในเมืองมิได้มีเพียง
ผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเท่านั้น แต่มีผู้ประกอบอาชีพอื่น ๆ
มากขึ้น ความสัมพันธ์ทางสังคมของคนในยุคนี้ขึ้นอยูกับอาชีพ และ
                                                        ่
ตาแหน่งทีทางสังคม ได้แก่ พวกช่างฝีมือช่างปั้นหม้อ ช่างก่อสร้าง
ช่างทอผ้า เป็นต้น
ส่วนผู้ที่ทาหน้าที่ฝ่ายปกครองได้แก่ พระ และนักรบ ซึ่งถือเป็น
กลุ่มชนชั้นสูง รองลงมาคือ ช่างฝีมือ พ่อค้า ชาวนาชาวไร่ ซึ่งเป็น
อาชีพอิสระชนชั้นต่าสุดคือ พวกทาสหรือกลุ่มผู้ใช้แรงงาน จะเห็นได้ว่า
สังคมมนุษย์สมัยประวัติศาสตร์จะมีความเป็นชุมชนเมืองสูง ผู้คน
ประกอบด้วยกลุ่มต่าง ๆ แต่ละกลุ่มจะประกอบอาชีพหรือมีหน้าที่
ต่างกัน รวมอยู่ในชุมชนเดียวกันซึ่งมีความสลับซับซ้อนมากกว่าสังคม
เดิม การครองชีพมีความสะดวกสบายมากขึ้นทาให้คนมีเวลาว่างมากขึ้น
เอื้ออานายต่อการสร้างสมความเจริญต่างๆจนกลายเป็นอารยธรรมโลก
แหล่งอ้างอิง
•   http://glencoe.mcgraw-hill.com/sites/0078607027/
•   http://www.metmuseum.org/toah/intro/atr/03sm.htm
•   http://www.stonepages.com/
•   http://en.wikipedia.org/wiki/Olduvai_Gorge
•   http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/social04/11/ThaiGoodVie
    w_Competition/Inter4.html

Contenu connexe

Tendances

ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1จารุ โสภาคะยัง
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นTook Took Rachataporn
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51Krusupharat
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยทศวรรษ โตเสือ
 
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...Kruthai Kidsdee
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างkrupeak
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)Kornnicha Wonglai
 

Tendances (20)

ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
 
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่าง
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
 

En vedette

ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ+564+54his p04 f08-1page
ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ+564+54his p04 f08-1pageทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ+564+54his p04 f08-1page
ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ+564+54his p04 f08-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์Sununtha Sukarayothin
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์Noo Suthina
 
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลสรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลKittayaporn Changpan
 
อาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยอาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยNattha Namm
 
ตัวอย่างการเทียบศักราชในชีวิตประจำวัน+547+54his p03 f09-4page
ตัวอย่างการเทียบศักราชในชีวิตประจำวัน+547+54his p03 f09-4pageตัวอย่างการเทียบศักราชในชีวิตประจำวัน+547+54his p03 f09-4page
ตัวอย่างการเทียบศักราชในชีวิตประจำวัน+547+54his p03 f09-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Pannaray Kaewmarueang
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันPannaray Kaewmarueang
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1วรรณา ไชยศรี
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ponderingg
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกพัน พัน
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียtimtubtimmm
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Gob_duangkamon
 
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะอารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะNapatrapee Puttarat
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันNing Rommanee
 
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)Horania Vengran
 
ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนKittayaporn Changpan
 

En vedette (20)

ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ+564+54his p04 f08-1page
ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ+564+54his p04 f08-1pageทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ+564+54his p04 f08-1page
ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ+564+54his p04 f08-1page
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลสรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
 
อาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยอาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัย
 
ตัวอย่างการเทียบศักราชในชีวิตประจำวัน+547+54his p03 f09-4page
ตัวอย่างการเทียบศักราชในชีวิตประจำวัน+547+54his p03 f09-4pageตัวอย่างการเทียบศักราชในชีวิตประจำวัน+547+54his p03 f09-4page
ตัวอย่างการเทียบศักราชในชีวิตประจำวัน+547+54his p03 f09-4page
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
 
3.5 อารยธรรมโรมัน
3.5 อารยธรรมโรมัน3.5 อารยธรรมโรมัน
3.5 อารยธรรมโรมัน
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
3.4 อารยธรรมกร ก
3.4 อารยธรรมกร ก3.4 อารยธรรมกร ก
3.4 อารยธรรมกร ก
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
ศักราช
ศักราชศักราช
ศักราช
 
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะอารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
 
ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีน
 

Similaire à การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์

การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10mintmint2540
 
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10mintmint2540
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10mintmint2540
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10mintmint2540
 
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1cgame002
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Gob_duangkamon
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2teacherhistory
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ปาย' ลี่
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1teacherhistory
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Gob_duangkamon
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยJulPcc CR
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยJulPcc CR
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์Sununtha Sukarayothin
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1Noo Suthina
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 Noo Suthina
 
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Similaire à การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์ (20)

การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
 
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
 
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
Brands so(o net)
Brands so(o net)Brands so(o net)
Brands so(o net)
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
nam
namnam
nam
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
 
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
 
ศิลปะ
ศิลปะศิลปะ
ศิลปะ
 

Plus de Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Plus de Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 

การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์

  • 1. การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ผู้จัดทา นางสาวกฤติยาภรณ์ เสมอเชื้อ เลขที่ 8 นางสาวพิชญ์จิรา มูลกันทา เลขที่ 17 มัธยมศึกษาปีที่ 6/2
  • 2. การศึกษาเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทย สามารถแบ่งช่วงใน การศึกษาได้เป็น 2 ช่วง ได้แก่ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และสมัประวัติศาสตร์ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เป็นสมัยที่มนุษย์ยังไม่มีตัวอักษร สาหรับบันทึกเรื่องราว การศึกษาถึงร่องรอยการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ในช่วงนี้จาเป็นต้องอาศัยการ วิเคราะห์ตีความจากหลักฐานชั้นต้นที่ได้จากการสารวจทางโบราณคดี เช่น เครื่องมือ เครื่องใช้ที่ทาด้วยหิน โลหะ เครื่องประดับ เครื่องปั้นดินเผา โครง กระดูก เมล็ดพืช ภาพเขียนตามฝาผนังถ้า เป็นต้น
  • 3. สมัยประวัติศาสตร์ เป็นช่วงที่มีตัวอักษรใช้บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ต่างๆ แล้ว การศึกษาประวัติความเป็นมาของชุมชนในสมัยประวัติศาสตร์ จะ มีการใช้หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์ อักษร เช่น จารึก จดหมายเหตุ บันทึกการเดินทาง ปูมโหร พงศาวดาร ตานาน เป็นต้น และ หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ไม่ว่าจะเป็นโบราณสถาน เช่น เจดีย์ ปราสาทหิน เมืองโบราณ วัด เป็นต้น และโบราณวัตถุ เช่น พระพุทธรูป เทวรูป เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องประดับ เงินเหรียญ เป็นต้น มาเป็นข้อมูลสาหรับวิเคราะห์ตีความเพื่อให้ทราบ เรื่องราวความเป็นมาในอดีตให้ชัดเจน ยิ่งขึน ้
  • 4. หลักเกณฑ์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1.1 การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์ ตามเกณฑ์ของนักประวัติศาสตร์ นักประวัติศาสตร์คานึงถึงการประดิษฐ์ตัวอักษรและนามาบันทึกเรื่องราว และนามากาหนดยุคสมัยโดยแบ่งเป็นสองยุค ได้แก่ ยุคก่อนประวัติศาสตร์และยุค ประวัติศาสตร์ เมื่อพบหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรจึงถือว่าเริ่มยุคประวัติศาสตร์ 1.2 การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์ ตามเกณฑ์ของนักโบราณคดี นักโบราณคดีส่วนใหญ่ กาหนดตามเทคนิควิธีและวัสดุที่ใช้ทาเครื่องมือใช้ สอย เช่น ยุคหินและยุคโลหะ
  • 5. 1.3 การแบ่งตามแบบแผนของนักมานุษยวิทยา เน้นการดารงชีพและลักษณะสังคมแบบแผนที่สาคัญได้แก่ • สมัยชุมชนล่าสัตว์-หาของป่า (Hunting – Gathering Society Period) ราว 500,000-4,500 ปีมาแล้ว • สมัยหมู่บ้านเกตรกรรม ( Agricultural Village Society Period ) เป็นสังคมระดับหม่บ้าน เริ่มเมื่อราว 4,500 ปี • สมัยสังคมเมือง ( Urban Society Period) สังคมมีลักษณะซับซ้อน มากขึ้น เริ่มปรากฏตั้งแต่ 2,500 ปีมาแล้ว
  • 6. อย่างไรก็ตาม การศึกษาประวัติศาสตร์ทุกช่วงสมัยจาเป็นต้องมอง ทั้งด้านพัฒนาการของเครื่องมือเครื่องใช้และวิถีชีวิตความเป็นอยู่ควบคู่ กันจึงสรุปได้ดังนี้ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ยุคก่อนประวัติศาสตร์เป็นยุคที่มนุษย์เริ่มรู้จักดัดแปลงวัสดุตาม ธรรมชาติมาเป็นเครื่องมือเครื่องใช้ในการยังชีพ ที่สาคัญได้แก่ การนา ก้อนหินมากะเทาะ ให้มีคม ดัดแปลงเป็นเครื่องมือสับ ตัด ขูด เพื่อยังชีพ โดยอาศัยตามถ้า เก็บพืชผักตามธรรมชาติ ล่าสัตว์เป็นอาหาร อยู่ไม่เป็น หลักแหล่ง ยุคหินแบ่งเป็นยุคหินเก่า และยุคหินใหม่ พบในบริเวณต่าง ๆ ทั่วโลกแต่ละแห่งมีวิวัฒนาการคล้ายกัน (แต่อยู่ในช่วงเวลาไม่เท่ากัน)
  • 7. 1. ยุคหินเก่า ( Paleolithic หรือ The Old Stone Age ) พัฒนาการในยุคหินเก่า สรุปได้ดังนี้ ระยะเวลาโดยประมาณ ชื่อเรียกมนุษย์ก่อน เรื่องที่ค้นพบ ประวัติศาสตร์และ เครื่องมือหิน 2 ล้านปี Australopitheecus เรียกกันว่า มนุษย์วานร 1.75 ล้านปี Homo habilis 1.5 ล้านปี Homo erectus
  • 8. หินเก่าตอนต้นเครื่องมือ เครื่องมือแบบเชลลีนพบ หินกะเทาะหรือขวาน มากตอนกลางของยุโรป กาปั้น ใช้สับ ตัด ขูด และเครื่องมือแบบอาชลีน มนุษย์ไฮเดนเบิร์ก มนุษย์ ชวา มนุษย์ปักกิ่ง ในเอเซีย หินเก่า ตอนกลาง เครื่องมือแบบมูส์เตเรียน มนุษย์นแอนเดอธัล ี ประมาณ 150,000 ปี ปลายแหลม (Neanderthal Man) ระหว่างหิมะละลาย กะโหลกศีรษะแบน หน้าผากลาด เริ่มรู้จักศิลปะ วาดภาพสัตว์บนผนังถ้า เริ่มมีพิธีฝังศพ
  • 9. หินเก่าตอนปลาย ประมาณ เครื่องมือแบบ มนุษย์โครมันยอง 40,000 ปี ระยะที่ 4 แมกดาเลเนียน ( Cro-magnonan) พบที่ ของยุคน้าแข็งสุดท้าย ฝรั่งเศส เครื่องมือทาจาก กระดูก เขาสัตว์ เครื่องประดับหลายรูปแบบ ภาพเขียนในถ้าที่เสปนและ ฝรั่งเศส
  • 10. ซึ่งแบ่งเป็น 3 ตอน คือ ตอนต้น ตอนกลางและตอนปลาย ยุคหินเก่าตอนต้น เครื่องมือหินกะเทาะ ได้แก่ ขวานมือหรือ ขวานกาปั้น พบมากในยุโรปตอนกลาง อายุใกล้เคียงกับมนุษย์ชวา และ มนุษย์ปักกิ่ง ทีพบในเอเซีย มนุษย์บางกลุ่ม เช่น มนุษย์ไฮเดน ่ เบิร์ก สามารถพัฒนาเครื่องมือให้มีประสิทธิภาพมากขึน เช่น ้ เครื่องมือหินกะเทาะแบบอาชลีน (Acheulean) เป็นต้น
  • 11. ยุคหินเก่าตอนกลาง รูปร่างของเครื่องมือหินกะเทาะแบบนี้มีปลายค่อนข้างแหลม มนุษย์กลุ่มที่ทาเครื่องแบบนี้ ได้แก่ นีแอนเดอธัล ( Neanderthal ) ใน เยอรมันนี เครื่องมือหินกะเทาะที่ทาขึ้นเรียกกันว่า แบบมูส์เตเรียน ( Mousterian ) ภาพจาลองนีแอนเดอธัล อายุกว่า 60,000 ปีมาแล้ว
  • 12. ยุคหินเก่าตอนปลาย เป็นผลงานของมนุษย์โครมันยอง เรียกกันว่าแบบแมก ดาเลเนียน (Magdalenian ) ซึ่งนอกจากทาด้วยหินไฟแล้ว ยังนากระดูกสัตว์เขาสัตว์ เปลือกหอยและงาช้าง มาใช้ ประโยชน์ เครื่องมือสมัยนี้มีความประณีตมาก รู้จักใช้มีดมี ด้าม ทาเข็มจากกระดูกสัตว์ มีการฝนและขัดเครื่องมือให้เรียบ และคม ใช้ประโยชน์ได้หลายด้านมากขึ้น
  • 13. เครื่องมือหินของพวกโครมันยองแบบแมกดาเลเนียน จัดเป็นแบบสุดท้ายของยุคหินเก่าตอนปลาย มีพัฒนาการมาก ขึ้น รู้จักประดิษฐ์เข็มทาจากกระดูกสัตว์ แสดงว่าเริ่มรู้จักการ เย็บเครื่องนุ่งห่มจากหนังสัตว์ และทาเครื่องมือ เครื่องใช้ หลากหลายมากขึ้น เช่น ฉมวกจับปลา เป็นต้น ที่สาคัญคือ เริ่ม รู้จักทาเครื่องประดับและวาดภาพในผนังถ้า ศิลปะแบบแมก ดาเลเนียนที่มีชื่อเสียงที่สุด ได้แก่ ภาพวาดบนผนังถ้าใน ประเทศฝรั่งเศสและเสปน
  • 14. ตัวอย่างเครื่องมือหินกะเทาะ แบบ อาชลีน ( Acheulean ) ในยุคหินเก่าตอนต้น เครื่องมือหินกะเทาะ แบบมูส์เตเรียน (Mousterian ) ในยุคหินเก่าตอนกลาง
  • 15. เครื่องมือหินของพวกโครมันยอง แบบแมกดาเลเนียน ภาพจากถา Lascaux
  • 16. สังคมมนุษย์ยุคหินเก่า ยุคหินเก่าแบ่งเป็นยุคย่อย ๆ ได้ 3 ระยะ ได้แก่ ยุคหินเก่าตอนต้น ยุคหิน เก่าตอนกลาง และยุคหินเก่าตอนปลาย คนในยุคหินเก่าดารงชีพด้วยการล่าสัตว์ และเสาะแสวงหาพืชผักผลไม้กินเป็นอาหารมีการพึ่งพาอาศัยธรรมชาติ และ สภาวะแวดล้อมอย่างเต็มที่ กล่าวคือ เมื่อฝูงสัตว์ที่ล่าเป็นอาหารหมดลงก็ต้อง อพยพย้ายถิ่นติดตามฝูงสัตว์ไปเรื่อย ๆ การที่มนุษย์จาเป็นต้องแสวงหาถิ่นที่อยู่ ใหม่เพราะต้องล่าสัตว์ดังกล่าว อาจทาให้คนต้องปรับพฤติกรรมการบริโภคไป ในตัวด้วย เนื่องจากชีวิตส่วนใหญ่ของคนในยุคหินเก่าต้องอยู่กับการแสดงหา อาหารและการป้องกันตัวจากสัตว์ร้ายและภัยธรรมชาติรวมถึงการต่อสู้ในหมู่ พวกเดียวกันเพื่อการอยู่รอด จึงทาให้ต้องพัฒนาเกี่ยวกับเครื่องมือล่าสัตว์ โดย การพัฒนาอาวุธที่ทาด้วยหินสาหรับตัด ขูดหรือ สับ เช่น หอก มี และเข็ม เป็น ต้น
  • 17. ระบบความสัมพันธ์ทางสังคมพบว่า คนในยุคหินเก่า เริ่มอยู่กันเป็นครอบครัว แล้ว แต่ยังไม่มีการอยู่ร่วมกันเป็น ชุมชนอย่างแท้จริง เพราะวิถีชีวิตแบบเร่ร่อนไม่เอื้ออานวยให้มี การตั้งหลักแหล่งถาวร ขณะเดียวกันองค์กรทางเมืองการ ปกครองก็ยังไม่เกิดขึ้น สังคมจึงมีสภาพเป็นอนาธิปัตย์ คือ ไม่มีผู้เป็นใหญ่แน่นอน ผู้ที่มีอานาจมักเป็นผู้ที่มีความแข็งแรง เหนือผู้อื่น
  • 18. นอกจากนี้ยังพบว่า คนในยุคนี้เริ่มรู้จักแสดงความรู้สึกออกมาในรูปของ ศิลปะบ้างแล้ว ศิลปะที่สาคัญได้แก่รูปเขียนกระทิงเรียงกันเป็นขบวน ขุดค้นพบ ภายในถ้าอัลตะมิระ ทางตอนใต้ของสเปนและภาพสัตว์ส่วนใหญ่เป็นภาพสัตว์ที่ คนสมัยนั้นล่าเป็นอาหาร มีวัดกระทิง ม้าป่า กวางแดง และกวางเรนเดียร์ เป็น ต้น พบถ้าสาบโก ในประเทศฝรั่งเศส ส่วนประเทศไทย พบที่ถ้าตาด้วง จังหวัด กาญจนบุรี ภูพระบาท จังหวัดอุดรธานี และถ้าผีหัวโต จังหวัดกระบี่ เป็นต้น
  • 19. สังคมของมนุษย์ยุคหินเก่าตอนกลาง และยุคหินเก่าตอนปลาย มีระยะเวลาที่สั้น ปรากฏอารยธรรมเกิดขึ้นในทวีปยุโรป แอฟริกาและ เอเชีย สภาพชีวิตความเป็นอยู่ของคนยุคหินเก่าตอนกลางส่วนมากคล้าย กับยุคกินเก่าตอนต้นแต่ก็พบว่าคนยุคกินเก่าตอนกลางบางแห่งมี พัฒนาการมากขึ้น มีการพบหลักฐานแสดงว่า คนยุคหินเก่าในช่วงปลาย มีความสามารถในการจับสัตว์น้าได้ดีและมีการคมนาคมทางน้าเกิดขึ้น แล้ว เทคโนโลยีของยุคกินเก่าตอนปลายจะมีขนาดเล็กกว่ายุคหินเก่า ตอนต้นและประโยชน์ใช้สอยดีขึ้นกว่าเดิม คนยุคหินเก่าตอนกลางจะ มีวัฒนธรรมแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ • อาศัยอยู่บนภูเขา ตามถ้า หรือเพิงผา • อาศัยอยู่บนพื้นราบ ริมน้าหรือชายทะเล
  • 20. ยุคหินใหม่ ( Neolithic หรือ The New Stone Age ) เริ่มต้นในช่วง 6,000 ปีก่อนคริสต์กาล แบ่งตามลักษณะ เครื่องมือหิน ได้แก่ หินขัด คือ การทาเครื่องมือหินขัดจนบางเรียบ มีด้าม ทาให้คม ใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย บางแห่งนาซุงมาขุดเป็น เรือ ทาธนูและลูกศร รู้จักนาสุนัขมาเลี้ยง ในราว 8,000 ปีก่อน คริสต์กาล ปรากฏหลักฐานว่ามนุษย์เริ่มรู้จักทาการเกษตรอย่างเป็น ระบบ สามารถเพาะปลูกพืชและเก็บไว้เป็นอาหาร รู้จักทอผ้าและทา เครื่องปั้นดินเผา แหล่งโบราณคดีที่เก่าที่สุด คือ บริเวณตอนเหนือ ของเมโสโปเตเมียหรืออิรัคในปัจจุบัน
  • 21. ตัวอย่างเครื่องมือหินขัด และเครื่องปั้นดินเผา ขวานหินขัด พร้อมด้ามไม้ ขวานหินขัดก่อนใส่ด้าม เครื่องปั้นดินเผายุคหินใหม่ พบในประเทศจีน
  • 22. การขยายตัวของการเกษตรกรรมระหว่าง 8,000 – 5,000 ปี ก่อนคริสต์กาล เป็นปัจจัยสาคัญนาไปสู่การสร้างสรรค์ความเจริญ ระดับอารยธรรมในเวลาต่อมา จากเอเซียตะวันตก ไปสู่ด้าน ตะวันออกเฉียงใต้ของยุโรป ในราว 4,000 ปีก่อนคริสต์กาล การ เพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ เพื่อเป็นอาหารของชุมชนและแลกเปลี่ยน กับชุมชนอื่น ๆ ได้ขยายไปสู่บริเวณเอเซียกลางและรอบ ๆ ทะเล เมดิเตอร์เรเนียน
  • 23. เจอริโก หนึ่งในแหล่งโบราณคดียุคหินใหม่ ชุมชนเจอริโกเป็นตัวอย่างของหมู่บ้านยุคหินใหม่ ที่เริ่มมีการปลูก ข้าวสาลีและข้าวบาเลย์ รู้จักใช้เครื่องมือล่าสัตว์และทาภาชนะจากดินเหนียว สาหรับเก็บข้าวเปลือกและใส่อาหาร ตั้งแต่ราว 5,000ปี ก่อนคริสต์กาล
  • 24. สมัยหินใหม่จัดเป็นการปฏิวัติครั้งแรกของมนุษย์ ที่ประสบ ความสาเร็จขั้นต้นในการปรับตัวให้เข้ากับข้อจากัดของธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ไม่ต้องร่อนเร่ย้ายถิ่น และเป็นช่วงเวลาเริ่มต้นการ รวมกลุ่มเป็นตั้งหลักแหล่ง ในบริเวณที่มีแหล่งน้าอุดมสมบูรณ์ (แม้ว่า ยังมีบางกลุ่มที่ยังคงวิถีชีวิตผูกพันกับการเลี้ยงปศุสัตว์ ที่ต้องเปลี่ยนที่ ไปตามความอุดมสมบูรณ์ของทุ่งหญ้า เช่น พวกอนารายชนมองโกล เป็นต้น) ความสามารถในการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์เป็นปัจจัยสาคัญ ที่ทาให้จานวนประชากรโลกเพิ่มขึ้นถึง 10 เท่าและกระจายอยู่ทั่วโลก ทั้งยังเริ่มมีความเชื่อทางศาสนา แสดงความเคารพอานาจของ ธรรมชาติ เพื่อให้มีแต่ความอุดมสมบูรณ์
  • 25. ตัวอย่างความเชื่อที่สาคัญ คือ การนาก้อนหินขนาดกลางหรือขนาด ใหญ่มาเรียงต่อกัน เรียกว่า เมกาลิธิค ( Megalithic ) เช่น สโตนเฮนจ์ (The Stonehenge) ในอังกฤษ
  • 26. การอยู่เป็นหลักแหล่ง มีประชากรมากขึ้นและมีอาหารอุดมสมบูรณ์ ทาให้มนุษย์ยุคหินใหม่ มีเวลามากขึ้นและเริ่มแบ่งงานตามความถนัด สามารถนอกจากรู้จักทาเครื่องปั้นดินเผาแล้วยังรู้จักเทคโนโลยีสาหรับทา เครื่องมือ เครื่องใช้จากสาริดและเหล็ก ดังนี้ 2.1 สมัยโลหะ ประกอบด้วยสมัยสาริด และสมัยเหล็ก สมัยนี้เครื่องมือ เครื่องใช้ทา จากสาริดและเหล็ก กาหนดอายุด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ อยู่ในราว 5,600 – 1,200 ปี ก่อนคริสต์กาล เริ่มต้นเมื่อมนุษย์พบวิธีถลุงแร่ทองแดง และดีบุก นามาผสมผสานกันเป็นสาริด สามารถทาแม่พิมพ์เป็นเครื่องใช้ เครื่องประดับและอาวุธหลากหลาย เช่น ใบหอก กาไล กลองมโหระทึก เป็นต้น
  • 27. 2.2 สมัยเหล็ก ประมาณ 1,200 ปีก่อนคริสต์กาล เป็นพัฒนาการอีกขั้นหนึ่งของ มนุษย์ที่สามารถทาเครื่องมือเครื่องใช้ที่คงทนมากขึ้น จึงมีเครื่องมือ การเกษตรกรรมที่ใช้ในการผลิตได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น บางกลุ่ม รู้จักเทคโนโลยีสาหรับถลุงเหล็กและนามาตีเป็นดาบและอาวุธต่าง ๆ จึงเป็นที่มาของการสร้างกองทัพขนาดใหญ่ ส่งผลต่อการเปลี่ยน รูปแบบสงครามและยุทธวิธีในการรบอย่างต่อเนื่อง
  • 28. สังคมมนุษย์ยุคหินใหม่ คนในยุคหินใหม่ได้เริ่มปฏิวัติการครองชีพด้วยการเปลี่ยนวิถีชีวิต จากการล่าสัตว์และหาขอป่ามาเลี้ยงสัตว์มาทาการเพราะปลูกแทน ถือเป็น การปฏิวัติทางสังคมและเศรษฐกิจครั้งสาคัญของมนุษยชาติ การเปลี่ยน วิถีชีวิตมาเป็นเกษตรกรดังกล่าว นอกจากจะทาให้คนต้องหันมาเลี้ยงสัตว์ และฝึกหัดสัตว์ให้เชื่องแล้ว คนยังต้องเรียนรูการไถหว่าน และเก็บเกี่ยว ้ พืช เช่น ลูกเดือย ข้าวสาลี ข้าวโพด อีกด้วย สภาพสังคมขณะนั้นพบว่า ผู้คนต้องหักร้างถางพงสาหรับการ เพาะปลูกมีการทาคอกสาหรับขังสัตว์และสร้างที่พักอาศัยอยู่ถาวรแทนการ เร่ร่อน อาศัยอยู่ในถ้าเช่นคนหินเก่า เมื่อหลายครอบครัวอาศัยอยู่รวมกันเป็น หมู่บ้านจึงถือว่าหมู่บ้านเกษตรกรเหล่านี้คือหมู่บ้านแห่งแรกของโลก
  • 29. เทคโนโลยีของคนในยุคหินใหม่ทาขึ้นจากวัสดุหลายชนิด เช่น หิน กระดูก และเขาสัตว์ที่แตกต่างจากคนในยุคหินเก่า คือ เครื่องมือ เครื่องใช้เหล่านั้นมีประโยชน์ใช้สอยและประณีตมากขึ้น เครื่องมือที่ สาคัญคือ ขวานหินด้วยเป็นไม้ และเคียวกินเหล็กไฟ เป็นต้น นอกจากนี้ยังสร้างงานหัตถกรรมในครัวเรือนอีกหลายอย่างได้แก่ เครื่องปั่นด้าย เครื่องทอผ้าเครื่องจักสานและเครื่องปั้นดินเผาซึ่งมักทา ขึ้นมักทาขึ้นอย่างหยาบ ๆ ไม่มีการตกแต่งลวดลายมากนัก
  • 30. ในด้านศิลปะพบว่า คนในยุคหินใหม่มีการปั้นรูปสตรีและทารก ลักษณะคล้ายรูปแม่พระธรณี อันเป็นสัญลักษณ์แห่งความอุดมสมบูรณ์ ของพืชพันธ์ธัญญาหาร ชุมชนยุคหินใหม่ที่เก่าแก่ที่สุดในตะวันออก กลางบริเวณที่เป็นประเทศ ตุรกี ซีเรีย อิสราเอล อิรัก ภาคตะวันออก ของอิหร่าน และเลยไปถึงอียิปต์ในทวีปแอฟริกา ในปัจจุบัน จากหลักฐานทางโบราณคดีแสดงว่า คนที่อยู่ในบริเวณดังกล่าวได้ค้นพบวิธีการ เกษตรกรรมมาประมาณ 7,000 ปีมาแล้ว และดูเหมือนว่า รากฐานความรู้ทาง เกษตรกรรมของชาวยุโรป ก็รับไป จากบริเวณนี้
  • 31. สังคมมนุษย์ยุคโลหะ คนยุคโลหะเริ่มรู้จักใช้ทองแดง และสัมฤทธิ์ มาทาเป็น เครื่องมือเครื่องใช้และเครื่องประดับ ในส่วนของกิจกรรมการเพราะ ปลูกและเลี้ยงสัตว์ได้มีการพัฒนาให้มีการประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นวิถี ชีวิตของคนในยุคโลหะได้เปลี่ยนจากสภาพความเป็นอยู่แบบชุมชน เกษตรมาเป็นชุมชนเมือง ซึ่งเมืองดังกล่าวต่อมาได้กลายเป็นศูนย์กลาง การเกษตรกรรม การปกครองและสังคมความสัมพันธ์ทางสังคมของ คนยุคนี้จะอยู่กันแบบเครือญาติมีความรักใคร่กลมเกลียวและผูกพันอย่า ใกล้ชิดเพราะเป็นสังคมขนาดเล็ก การจัดระเบียบทางสังคมจะเป็นไปใน แบบของตระกูลและหมู่บ้านมากกว่าที่จะเป็นไปในสังคมแบบปัจจุบัน
  • 32. ในด้านความเชื่อพบว่า คนในสังคมเกษตรกรรมจะมีความเชื่อในเรื่อง สิ่งศักดิ์สิทธิ์ และอานาจทีไม่มีตัวตนอย่างเข้มข้น ทั้งนี้เพราะมีประสบการณ์ ว่าอานาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ดังกล่าวอยู่เหนืออานาจมนุษย์ดังนี้คนในสมัยนั้นจึงได้ คิดลัทธิวิญญาณขึ้นมา เพื่อคุ้มครองป้องกันตนเองและกลุ่ม ขณะเดียวกันผู้คน ก็พยายามนาตนเองเข้าไปใกล้ชิดกับอานาจลึกลับนั้นผ่านกระบวนการของ พิธีกรรมและการบวงสรวง บูชา จนเกิดเป็นระบบศาสนาและขนบธรรมเนียม ในเวลาต่อมา
  • 33. ยุคประวัตศาสตร์ ิ เริ่มต้นราว 3,000 ปีก่อนคริสต์กาล เป็นช่วงเวลาที่มนุษย์เริ่มรู้จัก การประดิษฐ์ตัวอักษร ใช้บันทึกเรื่องราวและนามาใช้สื่อสารระหว่างกัน ในที่นี้ขอกล่าวโดยสรุปคือ สมัยนี้เริ่มมีชุมชนขนาดใหญ่และมีความ เจริญในระดับอารยธรรมตามแหล่งต่าง ๆ แบ่งย่อยได้ดังนี้ สมัยโบราณ แหล่งอารยธรรมเก่าที่สุด ได้แก่ เมโสโปเตเมีย ประมาณ 3,000 ปี ก่อนคริสต์กาล ผู้คนในบริเวณลุ่มแม่น้าไทกริส-ยูเฟรติสหรือดินแดน พระจันทร์เสี้ยวเป็นกลุ่มแรกที่ได้ประดิษฐ์อักษรคูนิฟอร์ม บันทึก เรื่องราวต่าง ๆ ปัจจุบันคือ บริเวณประเทศอิรัคและบางส่วนของซีเรีย
  • 34. แหล่งอารยธรรมที่มีอายุในเวลาใกล้เคียงกันคือ อียิปต์ ชุมชนบริเวณลุ่มแม่น้าไนล์เจ้าของอักษรเฮียโรกริฟฟิค เป็นผู้สร้างสรรค์อารยธรรมอียิปต เริ่มตั้งแต่ประมาณ 3,300 ปีก่อน คริสต์กาล จนถึงประมาณ 30 ก่อนคริสต์กาล เมื่ออียิปต์ตกเป็น เมืองขึ้นของโรมัน จีน เริ่มต้นด้วยราชวงศ์ชาง บริเวณลุ่มแม่น้าเหลือง ตั้งแต่ ประมาณ 1,800 ปีก่อนคริสต์กาล ฮารัปปา-โมเฮ็นโจดาโร บริเวณลุ่มแม่น้าสินธุ ประมาณ 3,000 ปี
  • 35. แหล่งอารยธรรมที่สาคัญในสมัยต่อมา คือ กรีก พัฒนาจากอารย ธรรมไมนวล ที่เกาะครีต ราว 3,000 ปีก่อนคริสตกาล จนถึงสมัยของพระ เจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช (323 – 30 ปีก่อนคริสตกาล) ส่วนจักรวรรดิโรมัน เริ่มต้นราว 1,000 ปีกอนคริสตกาล และ ่ พัฒนาเป็นจักรวรรดิยิ่งใหญ่ จนสิ้นสุดเพราะถูกรุกรานโดยอนารยชน เยอรมนิค ในค.ศ. 476 ถือเป็นการสิ้นสุดสมัยโบราณ ศูนย์กลางความ เจริญได้ย้ายไปอยู่ที่ไบเซ็นไทน์ หรือต่อมาคือคอนสแตนติโนเปิล (อยู่ในตุรกีปัจจุบัน) หรือที่เรียกว่าอาณาจักรโรมันตะวันออก
  • 36. ยุคมืด (Dark Age ) และสมัยกลาง ( The Middle Ages) เป็นช่วงต่อระหว่างจักรวรรดิโรมันล่มสลาย ความ เจริญหยุดชงัก ประดุจยุคมืด ประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 4 - 5 เพราะการบุกทาลายเมืองต่าง ๆโดยอนารยชนเยอรมันนิคเผ่าวิสิ กอธ ( Visigoth ) ประชาชนในยุโรปต่างไม่มีที่พึ่ง เจ้าผู้ครองแต่ ละเมืองตั้งตัวเป็นใหญ่ ในระบบศักดินาสวามิภักดิ ประชาชนให้ ความสาคัญกับศาสนจักรคริสต์โรมันคาธอลิคอย่างมาก
  • 37. ต่อมาศาสนาจักรจึงมีอานาจเหนือการปกครอง ยุคนี้ผู้คน ศรัทธาในพระเจ้า จนยอมสละชีพเดินทางไปตะวันออกกลาง เพื่อสู้รบแย่งชิงดินแดนปาเลสไตน์อันศักดิ์สิทธิ์จากมุสลิมใน สงครามครูเสดหลายครั้ง ( ค.ศ. 1096 – 1291 ) ต่อเนื่องนานกว่า 300 ปี ปลายสมัยกลาง ราว ค.ศ. 1347 หรือคริสต์ศตวรรษที่ 14 เกิดกาฬโรคหรือ Black Death ระบาดทั่วยุโรป ผู้คนเสียชีวิตกว่า สามล้านคน ส่งผลกระทบต่อสังคมยุโรปในเวลานั้นอย่างมาก
  • 38. สมัยใหม่ ราวคริสต์ศตวรรษที่ 15 เป็นสมัยแห่งการฟื้นฟูความคิดและ ศิลปกรรมของกรีก-โรมัน จึงเรียกว่าสมัยศิลปวิทยาการ ( Renaissance ) ในแหลมอิตาลีและขยายไปสู่ยุโรปส่วนอื่น ๆ นาไปสู่การเปลี่ยน ความคิดออกจากอิทธิพลของศาสนา เน้นความสาคัญของมนุษย์และ เหตุผลมากขึ้น ต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีการปฏิวัติวิทยาศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์คนสาคัญ เช่นเซอร์ไอแซก นิวตัน เหตุการณ์สาคัญอื่น ๆ เช่น
  • 39. - สงครามกลางเมืองในอังกฤษ โอลิเวอร์ คลอมเวลเป็น ผู้ปกครองอังกฤษในนามรัฐสภาและประหารกษัตริย์อังกฤษ ต่อมา เมื่อเขาสิ้นชีวิต ราชวงศ์อังกฤษจึงได้กลับมาครองราชย์อีกครั้ง - การปกครองแบบกษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ล้มเลิกระบอบศักดินาสวามิภักดิ์ พระมหากษัตริย์มีอานาจสูงสุด เหนือนครรัฐทั้งหลาย กษัตริย์หลายพระองค์ส่งเสิรมการสารวจและ การยึดครองดินแดนเป็นอาณานิคมโพ้นทะเล มีนักสารวจเส้นทางสู่ ดินแดนใหม่ เช่น โคลัมบัส และแมคเจแลนด์ เป็นต้น
  • 40. ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ตอนปลาย ถึงคริต์ศตวรรษที่ 19 มีการ ปฏิวัติการเกษตรและการปฏิวัติอุตสาหกรรม เริ่มในอังกฤษเป็นที่ แรก ทาให้ระบบเศรษฐกิจโลกเปลี่ยนสู่ระบบเสรีนิยมและการผลิต ในระบบอุตสาหกรรม ส่งผลให้เกิดความต้องการทรัพยากรในการ ผลิตและตลาดจาหน่ายสินค้า ประเทศในยุโรปจึงขยายอานาจ ครอบงาดินแดนต่าง ๆ ในสมัยจักรวรรดินิยมจนเกิดความขัดแย้ง อย่างรุนแรงในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ( ค.ศ. 1914 – 1918 ) และ สงครามโลกครั้งที่สอง ( ค.ศ. 1939 – 1945 )
  • 41. สมัยปัจจุบัน นักวิชาการส่วนใหญ่กาหนดให้สมัยปัจจุบันเริ่มต้นในสมัย สงครามเย็น หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นช่วงที่มีการประจัญหน้ากัน ระหว่างลัทธิคอมมิวนิสต์ ซึ่งมีสหภาพโซเวียตเป็นผู้นามีอิทธิพลเหนือ ยุโรปตะวันออก กับสหรัฐอเมริกาเป็นผู้นา มีอิทธิพลเหนือยุโรป ตะวันตก ทั้งสองมหาอานาจแทรกแซงทางการเมืองในประเทศต่าง ๆ แต่ไม่มีสงครามระหว่างกันโดยตรง เพราะต่างเกรงกลัวหายนะจาก อาวุธนิวเคลียรส์ สงครามเย็นเริ่มยุติลงสมัยประธานาธิบดีโกบาชอฟ ในค.ศ. 1989 เมื่อกาแพงเบอร์ลินที่สหภาพโซเวียตเป็นผู้สร้างเพื่อแบ่ง เขตปกครองเยอรมันถูกทาลาย สงครามเย็นยุติอย่างเด็ดขาดเมื่อสหภาพ โซเวียตล่มสลาย ในค.ศ. 1991
  • 42. ทุกวันนี้สถานการณ์ในโลกร่วมสมัย (contemporary ) เปลี่ยนเป็นความขัดแย้งด้านความคิดทางศาสนาและการ ปราบปรามการก่อการร้าย เช่น ความขัดแย้งในตะวันออกกลาง อิส ลาเอล- ปาลเสลไตน์ เหตุการณ์ที่สาคัญซึ่งส่งผลกระทบไปทั่วโลก ได้แก่ สหรัฐอเมริกาหลังเหตุการณ์ 9/11 กับชาติมุสลิมใน ตะวันออกกลาง ได้แก่ อิรัค อัฟกานิสถานและอิหร่าน เป็นต้น
  • 43. สภาพสังคมมนุษย์สมัยประวัติศาสตร์ สังคมมนุษย์สมัยประวัติศาสตร์เริ่มขึ้นเมื่อมนุษย์รู้จักการใช้ ตัวอักษรในการจดบันทึกเรื่องราวต่างๆ ทาให้เราสามารถศึกษา เรื่องราวของมนุษย์ได้กระจ่างชัดมากขึ้นสภาพสังคมในสมัยนี้มีการ เปลี่ยนแปลงเนื่องจากหมู่บ้านแบบเกษตรกรรมได้ขยายใหญ่ขึ้นกลาย สภาพมาเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ คนที่อาศัยอยู่ในเมืองมิได้มีเพียง ผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเท่านั้น แต่มีผู้ประกอบอาชีพอื่น ๆ มากขึ้น ความสัมพันธ์ทางสังคมของคนในยุคนี้ขึ้นอยูกับอาชีพ และ ่ ตาแหน่งทีทางสังคม ได้แก่ พวกช่างฝีมือช่างปั้นหม้อ ช่างก่อสร้าง ช่างทอผ้า เป็นต้น
  • 44. ส่วนผู้ที่ทาหน้าที่ฝ่ายปกครองได้แก่ พระ และนักรบ ซึ่งถือเป็น กลุ่มชนชั้นสูง รองลงมาคือ ช่างฝีมือ พ่อค้า ชาวนาชาวไร่ ซึ่งเป็น อาชีพอิสระชนชั้นต่าสุดคือ พวกทาสหรือกลุ่มผู้ใช้แรงงาน จะเห็นได้ว่า สังคมมนุษย์สมัยประวัติศาสตร์จะมีความเป็นชุมชนเมืองสูง ผู้คน ประกอบด้วยกลุ่มต่าง ๆ แต่ละกลุ่มจะประกอบอาชีพหรือมีหน้าที่ ต่างกัน รวมอยู่ในชุมชนเดียวกันซึ่งมีความสลับซับซ้อนมากกว่าสังคม เดิม การครองชีพมีความสะดวกสบายมากขึ้นทาให้คนมีเวลาว่างมากขึ้น เอื้ออานายต่อการสร้างสมความเจริญต่างๆจนกลายเป็นอารยธรรมโลก
  • 45. แหล่งอ้างอิง • http://glencoe.mcgraw-hill.com/sites/0078607027/ • http://www.metmuseum.org/toah/intro/atr/03sm.htm • http://www.stonepages.com/ • http://en.wikipedia.org/wiki/Olduvai_Gorge • http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/social04/11/ThaiGoodVie w_Competition/Inter4.html