SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  12
Télécharger pour lire hors ligne
การเปลี่ยนแปลงสังคมไทย
                                                                                  อ.อุษณีย ยุชยะทัต
                                                                             โรงเรียนชิโนรสวิทยาลัย

       สังคมไทยโบราณ มีการแบงคนเปนชนชั้นตางๆ เพราะความตองการแรงงานในการผลิตและการ
ทําสงครามลักษณะชนชั้นในสังคมไทยคือ
       1. เปนระบบอุปถัมภ คือพึ่งพาอาศัยกัน
       2. เลื่อนชั้นไดตามความสามารถ

สมัยสุโขทัย
        มีการแบงคนออกเปน 2 ชั้น ไดแก
        1. ชนชั้นปกครองไดแก พระมหากษัตริย และขุนนาง
        2. ชนชั้นผูถกปกครอง ไดแก ไพร และขา
                     ู
สมัยอยุธยา
        การควบคุมกําลังคน แบงเปน 2 ระบบ คือ ระบบไพร และระบบศักดินา
        สังคมไทยในสมัยอยุธยา แบงออกเปน 4 ชั้น ไดแก เจา ขุนนาง ไพร ทาส สวนพระสงฆถือเปน
ชนชั้นพิเศษ
        เจา หมายถึง พระมหากษัตริย และเจานาย ซึ่งหมายถึงผูสืบเชื้อสายใกลชิดพระมหากษัตริย ไดแก
เจาฟา พระองคเจา และหมอมเจา ถือศักดินาลดหลั่นกันลงไป และมีสิทธิพิเศษ คือ ไมตองถูกเกณฑ
แรงงาน ไมตองเสียภาษี ไดผลประโยชนจากไพรในสังกัด ไดรับพระราชทานเบี้ยหวัดประจําป
             
        ขุนนาง (นาย, มูลนาย) คือ ขาราชการมีบทบาทสําคัญดานการปกครอง ถือศักดินา 400 – 10,000
ไร ประกอบดวย ยศศักดิ์ 4 อยาง คือ ยศ ตําแหนง ราชทินนาม ศักดินา
        สิทธิของขุนนาง ไดแก
        1. ไมตองถูกเกณฑแรงงาน
                
        2. ขุนนางผูใหญเขาเฝาพระมหากษัตริยใกลชิดได
        3. ไดผลประโยชนจากไพร
        4. ไดผลประโยชนจากตําแหนงหนาที่การงาน

                                                                                                  1
              สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
ไพร คือประชาชนซึ่งถือวาเปนคนกลุมใหญของสังคม ถือศักดินา 10 – 25 ไร มีหนาที่รับใช
ราชการโดยสังกัดมูลนาย เพื่อจะไดรับการคุมครองตามกฎหมาย แบงออกเปน 2 ประเภท คือ
            1. ไพรหลวง คือ คนของทางราชการมีหนาที่ทํางานใหกับทางราชการโดยการเกณฑแรงงาน
            2. ไพรสม คือ คนของขุนนางมีหนาที่ทํางานกับขุนนาง
        การเกณฑแรงงาน หมายถึง การทํางานใหกับทางราชการ โดยไมไดคาตอบแทน
       ในสมัยอยุธยาความตองการแรงงานมีมาก เกณฑแรงงานไพรปละ 6 เดือน โดยเกณฑเขาเดือน
ออกเดือน
       สิทธิหนาที่ของไพร คือ
       1. เสียภาษีอากร
       2. มีสิทธิจับจองเปนเจาของที่ดินได
       3. ตองขึ้นทะเบียนสังกัดมูลนาย
       4. ยายสังกัด กรมกอง ภูมิลําเนาไมได
       ทาส คือ กลุมชนชั้นตํ่าที่สดของสังคม ถือศักดินา 5 ไร ทาสมี 7 ชนิด ไดแก
                                  ุ
           - ทาสสินไถ
           - ทาสในเรือนเบี้ย
           - ทาสทานให
           - ทาสไดมาแตบิดามารดา
           - ทาสที่ชวยไวยามเมื่อตองโทษทัณฑ
           - ทาสที่เลี้ยงไวยามขาวยากหมากแพง ทาสเชลย
           ทาสที่มีมากที่สุด คือ ทาสสินไถ
           ทาสที่ไดรับการปลดปลอย เปนอันดับแรก คือ ทาสในเรือนเบี้ย
       ทาสเปนอิสระไดโดย
                1. ไถถอนตัวเอง
                2. โดยการบวช
                3. แตงงานกับนายเงิน หรือลูกหลานนายเงิน
                4. ไปสงครามถูกจับเปนเชลย หนีรอดกลับมาได
                5. ฟองรองนายเงินเปนกบฎ สอบสวนแลวเปนความจริง




                                                                                            2
             สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
ความสัมพันธระหวางชนชั้นในสมัยอยุธยา
        ความสัมพันธระหวางชนชั้นในสมัยอยุธยา เปนระบบอุปถัมภ พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ไดแก
        1. พระมหากษัตริย กับขุนนาง
        2. มูลนาย กับไพร
        3. นายเงิน กับทาส

สมัยกรุงธนบุรี
        เนื่องจากในสมัยอยุธยาไพรสูญหาย หลบหนีไปมาก สมัยกรุงธนบุรีมีการควบคุมไพรเขมงวดกวา
สมัยอยุธยาโดยการสักเลก คือ สักขอมือไพร เพื่อปองกันการหลบหนี

สมัยรัตนโกสินทรตอนตน
        สมัยรัตนโกสินทรตอนตน มีการลดการเกณฑแรงงานไพรหลวงนอยลง โดย
        - สมัยรัชกาลที่ 1 เกณฑแรงงานปละ 4 เดือน โดยเกณฑเขาเดือน ออก 2 เดือน
        - สมัยรัชกาลที่ 2 เกณฑแรงงานปละ 3 เดือน โดยเกณฑเขาเดือน ออก 3 เดือน
        การเปลี่ยนแปลงสังคมสมัยรัชกาลที่ 3 ทําสนธิสัญญาฉบับแรกกับอังกฤษ คือ สัญญาเบอรนี
พ.ศ.2369 เกิดธรรมยุติกนิกาย


                                              ขอทดสอบ

1. การจัดระเบียบสังคมไทยสมัยอยุธยาเกี่ยวของกับเรื่องใดนอยที่สุด
     1. ความมั่นคงของอาณาจักร                      2. กําลังแรงงานของทางราชการ
     3. ความเจริญของบานเมือง                      4. ความสัมพันธระหวางไพรกับมูลนาย
2. คําอธิบายเกี่ยวกับมูลนาย-ไพร ขอใดผิด
     1. ลูกของมูลนาย แมมีศักดินาตํ่ากวาเกณฑก็ไมถือวาเปนไพร
     2. ไพรไมมีโอกาสเลื่อนฐานะทางสังคมเปนมูลนายได
     3. มูลนายไมตองถูกเกณฑแรงงาน ไพรตองถูกเกณฑแรงงาน
     4. มูลนายมีศักดินาสูงกวา 400 ไรนา สวนไพรตํ่ากวา 400 ไร




                                                                                                 3
              สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
3. “นายเหมือนเปนไพรของขุนชํานาญบริรักษ” ขอใดแสดงความสัมพันธระหวางคนทั้ง 2 ไมถูกตอง
      1. ขุนชํานาญบริรักษตองดูแลไมใหใครทํารายนายเหมือน
      2. ถาหากนายเหมือนขัดสนเงินไมสามารถไปขอขุนชํานาญบริรักษได
      3. นายเหมือนมีหนาที่ทํานาทั้งในที่นาของตน และที่นาของขุนชํานาญบริรักษ
      4. เมื่อนายเหมือนมีคดีความ ขุนชํานาญบริรักษตองไปศาลกับนายเหมือนดวย
4. ขอใดเปนกลไกสําคัญในการควบคุมกําลังคนในระบบไพร
      1. ไพรตองสังกัดมูลนาย                        2. ไพรจับจองที่ดินไมได
      3. ไพรเปลี่ยนแปลงสถานะไมได                  4. ไพรตองมาทํางานใหราชการ
5. ขอมูลในขอใดตอไปนี้ที่ไมถูกตอง
      1. มูลนายและขุนนางมีศักดินาตั้งแต 400 ไรขึ้นไป
      2. สนธิสัญญาเบอรนีเปนสนธิสัญญาที่ไทยเสียเปรียบอังกฤษมาก
      3. ไทยเสียดินแดนใหฝรั่งเศสครั้งแรกในรัชกาลที่ 4
      4. การลดเวลาเขารับราชการของไพรเหลือปละ 3 เดือน เริ่มในรัชกาลที่ 2
6. สิทธิเกี่ยวกับไพรในขอใดไมถูกตอง
      1. ถือครองศักดินาได                           2. เลื่อนตําแหนงเปนขาราชการได
      3. โยกยายกรมกองสังกัดไมได                   4. จับจองกรรมสิทธิ์ในที่ดินไมได
7. ขอใดตรงกับวัตถุประสงคเบื้องตนของการจัด “ระบบไพร”
      1. ตองการแรงงาน                               2. ตองการภาษี
      3. ตองการเสริมอํานาจบารมี                     4. ตองการหาคนมาเขาเวรรับราชการ
8. เหตุผลขอใดทําใหไพรตองมีสังกัด
      1. ความคุมครองตามกฎหมาย                       2. ความคุมครองในเรื่องทรัพยสิน
      3. ความคุมครองดานความปลอดภัย                 4. ความคุมครองในเรื่องการถือครองที่ดิน
9. ตั้งแตสมัยอยุธยาจนถึงสมัยรัตนโกสินทรตอนตน เหตุใดชายฉกรรจจําเปนตองเปนไพร
           ก. ถูกเกณฑแรงงานโดยทางราชการ
           ข. เขารับราชการเพื่อใหมีศักดินาสูงกวาทาส
           ค. ตองการที่จะไดรับความคุมครองตามกฎหมาย
           ง. มีสิทธิจับจองที่ดนที่ตนไดลงแรงไวและยังไมมีเจาของ
                               ิ
      1. ก และ ข                                     2. ข และ ง
      3. ก และ ค                                     4. ค และ ง



                                                                                               4
             สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
10. การสรางระบบมูลนาย-ไพร สังคมไทยสมัยศักดินา ในระยะเริ่มแรกมีวัตถุประสงคสําคัญอยางไร
    1. รัฐบาลจะไดจัดเก็บภาษีและควบคุมแรงงานไพรอยางมีระบบ
    2. ควบคุมมูลนายมิใหมีไพรมาก เพราะถามีมากอาจเปนกบฎตอกษัตริยได
    3. เกณฑคนออกรบในสงครามและเกณฑไพรมาใชในราชการในเวลาปกติ
    4. ควบคุมการเคลื่อนไหวของไพรและมูลนายมิใหเปนกบฎ ขณะเดียวกันก็สะดวกรวดเร็วเวลาเกณฑ
        พวกนี้ออกรบ




                                                                                            5
            สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม

        ในสมัยรัชกาลที่ 4 ไทยติดตอกับตะวันตกมากขึ้น เปนผลมาจากการทําสัญญาบาวริง ทําใหเกิดการ
เปลี่ยนแปลงทางสังคมอยางมาก
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมในสมัยรัชกาลที่ 4
         1. ยกเลิกการหมอบคลานเขาเฝา
         2. ยกเลิกการไมสวมเสื้อเขาเฝา
         3. ใหเสรีภาพในการนับถือศาสนามากขึ้น
         4. ฟนฟูประเพณีตีกลองรองฎีกา
         5. ยกเลิกกองทหารขับไลประชาชน เมื่อขบวนเสด็จผาน
         6. จางชาวตางชาติมาสอนหนังสือในวัง
       สาเหตุที่รัชกาลที่ 4 เปลี่ยนแปลงประเพณีบางอยาง เนื่องจาก
       1. กลัวภัยจากลัทธิจักรวรรดินยมิ
       2. รับวิทยาการจากตะวันตกมาในสมัยรัชกาลที่ 3

การปฏิรูปสังคมสมัยรัชกาลที่ 5 ไดแก
       1. เลิกไพร
       2. เลิกทาส
       3. ปฏิรูปการศึกษา
       4. ปฏิรูปการศาล
         ขั้นตอนในการเลิกไพร
         1. จัดตั้งกรมทหารหนา ใหไพรที่มูลนายตายมาสมัครทหารแบบใหม
         2. ใหไพรหลวงที่ไมมาเขาเวรรับราชการเสียเงินแทนปละ 6 บาท
         3. ตราพระราชบัญญัติทหาร โดยใหไพรทั่วประเทศเขามารับการฝกหัดทหาร
         4. ตราพระราชบัญญัติลักษณะการเกณฑทหาร พ.ศ. 2448 กําหนดใหชายฉกรรจอายุ 18-20 ป เขา
รับราชการทหาร 2 ป เมื่อปลดประจําการแลวไมตองเสียเงินคาราชการอีกตอไปเปนการยกเลิกไพรอยาง
สิ้นเชิง




                                                                                             6
             สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
ขั้นตอนในการเลิกทาส
         1. ออกประกาศสํารวจทาส และประกาศใชพระราชบัญญัติเกษียณอายุลกทาส ลูกไท พ.ศ. 2417
                                                                               ู
กําหนดวา ใหทาสที่เกิดในปที่รัชกาลที่ 5 ขึ้นครองราชสมบัติ (พ.ศ. 2411) เปนอิสระไดเมื่ออายุ 21 ป
         2. ออกพระราชบัญญัติเลิกทาสในมณฑลตะวันออกเฉียงเหนือ
         3. ออกพระราชบัญญัติทาสในมณฑลบูรพา
         4. ออกพระราชบัญญัติทาสรัตนโกสินทรศก 124 มีผลบังคับใชต้งแต เมษายน พ.ศ.2448 มีสาระ
                                                                         ั
สําคัญ คือ
              - หามซื้อขายทาสโดยเด็ดขาด
              - ลดคาตัวทาสลงเดือนละ 4 บาท
       ผลของการเลิกไพรและทาส
       1. แรงงานมีอิสระมากขึ้น
       2. เกิดกองทหารประจําการติดอาวุธสมัยใหม
       3. ความจงรักภักดีตอพระมหากษัตริยมีมากขึ้น
       4. ประชาชนมีโอกาสไดรับการศึกษา และมีโอกาสไดรวมพัฒนาประเทศมากขึ้น
       การปฏิรูปการศึกษา มีจุดมุงเนนเพื่อสรางคนเขารับราชการ ดําเนินการดังนี้
       1. ตั้งโรงเรียนขึ้นในวัง คือ โรงเรียนวังหลวง โรงเรียนสอนภาษาอังกฤษ โรงเรียนนายทหาร
มหาดเล็ก และโรงเรียนแผนที่
       2. ตั้งกระทรวงศึกษาธิการ มีการวางแผนการศึกษาของชาติ
       3. ตั้งโรงเรียนหลวงสําหรับราษฎร คือ โรงเรียนวัดมหรรณพาราม
       4. ตั้งโรงเรียนนายรอยทหารบก
       5. ตั้งโรงเรียนกฎหมาย และการสอบชิงทุนเลาเรียนหลวง ซึ่งเรียกกันวา คิงสสกอลาชิป
       6. ตั้งโรงเรียนนายทหารเรือ

การปรับปรุงและขยายการศึกษาในสมัยรัชกาลที่ 6
       1. ตราพระราชบัญญัติประถมศึกษา พ.ศ. 2464
       2. กําเนิดจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

สังคมไทยภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
       ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงไปมาก              โดยเฉพาะในสมัย
จอมพล ป. พิบูลสงคราม เปนนายกรัฐมนตรี เมืองไทยเขาสูยุคสรางชาติ ซึ่งหมายถึงการสรางประเทศใหยิ่ง
ใหญ คนไทยมีวัฒนธรรม มีการเปลี่ยนแปลงในสังคมไทย เชน


                                                                                                 7
             สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
- เปลี่ยนวันขึ้นปใหม จากวันที่ 1 เมษายน เปนวันที่ 1 มกราคม
       - เปลี่ยนชื่อสยาม มาเปนไทย
       - กําหนดใหวันที่ 24 มิถุนายนเปนวันชาติ
       - เปลี่ยนแปลงการแตงกายใหมานุงกางเกงขายาวสําหรับผูชาย และกระโปรงสําหรับผูหญิง
       - ยกเลิกบรรดาศักดิ์ตางๆ

สังคมไทยภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
        ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดลัทธิสงครามเย็น ซึ่งเปนความขัดแยงทางอุดมการณทางการเมือง
ระหวางประชาธิปไตย กับลัทธิคอมมิวนิสต รัฐบาลมีนโยบายตอตานภัยคอมมิวนิสต โดยการมีสมพันธภาพ
                                                                                       ั
กับโลกเสรีโดยเฉพาะกับอเมริกา สังคมไทยระยะนีมการขยายตัวทางการศึกษา และเศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรม
                                             ้ ี
มากขึ้น

สังคมไทยภายใตแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ
       ประเทศไทยเริมพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแบบมีแผนเปนครังแรก พ.ศ. 2504 ในสมัยจอมพลสฤษดิ์
                    ่                                      ้
ธนะรัชต เปนนายกรัฐมนตรี ทําใหเกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงทางสังคมควบคูกัน
ไป


                                             ขอทดสอบ

1. สังคมไทยกอนสมัยรัชกาลที่ 5 มีลักษณะอยางไร
     1. ตั้งแตพระมหากษัตริยจนถึงทาสตางมีศักดินาตั้งแต 100,000 ไรถึง 5 ไร ลดหลั่นกันไป
     2. ไพรและทาสอยูภายใตการควบคุมของพระมหากษัตริย เจานาย และขุนนาง
     3. ชนชั้นไพรและทาสเปลี่ยนแปลงฐานะไมได แตพระมหากษัตริยและเจานายสามารถเปลี่ยนแปลง
         ฐานะได
     4. พอคาและผูที่มีความรูไดรับการยกยองอยางสูงในสังคม
2. สิทธิสภาพนอกอาณาเขต มีความหมายตรงกับขอใด
     1. ชาวตางชาติไดรับการยกเวนไมตองเสียภาษี
     2. ชาวตางชาติไดรับการยกเวนไมตองถูกเกณฑแรงงาน
     3. ชาวตางชาติไดรับการพิจารณาคดีในศาลกงสุลตามกฎหมายของตน
     4. สิทธิอํานาจของเมืองแมเหนือดินแดนอื่น

                                                                                               8
             สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
3. การเปลี่ยนแปลงสังคมและวัฒนธรรมไทย ซึ่งเกิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจา-
    อยูหัว มีลักษณะที่สําคัญอยางไร
     1. รับวัฒนธรรมของโลกตะวันตกที่สอดคลองกับวัฒนธรรมไทย
     2. ปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมไทยใหสอดคลองกับวัฒนธรรมของโลกตะวันตกเทาที่จําเปน
     3. รับเอาสังคมวัฒนธรรมของชาติตะวันตกเขามาในสังคมไทยในลักษณะถูกบังคับจากมหาอํานาจ
     4. การเปลี่ยนแปลงสังคมและวัฒนธรรมไทย เกิดขึ้นเฉพาะในเขตเมืองหลวงเทานั้น
4. การพัฒนาทางสังคมในสมัยรัชกาลที่ 6 ในลักษณะใดที่เกิดประโยชนสูงสุด
     1. กําหนดเกณฑการเขาเรียนหนังสือสําหรับเด็กไทย
     2. ยกเลิกการเกณฑแรงงานเปลี่ยนเปนระบบเกณฑทหาร
     3. สงเสริมความรูสึกชาตินิยมผานทางงานวรรณกรรม
     4. สนับสนุนบทบาทและความสําคัญของกลุมเสือปา
5. ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 แลว สังคมไทยเปนอยางไร
     1. คนไทยทุกคนมีความเสมอภาคภายใตกฎหมายเดียวกัน
     2. คณะราษฎรเปนกลุมบุคคลที่มีอํานาจมากตามรัฐธรรมนูญ
     3. สตรีไทยยังไมมีสิทธิในการออกเสียงเลือกตั้งจนถึงสงครามโลกครั้งที่ 2
     4. พระภิกษุสงฆมีสิทธิออกเสียงในการเลือกตั้งสภาผูแทนราษฎร จนถึง พ.ศ. 2500
6. ขอใดเปนปจจัยสําหรับจัดระดับชนชั้นในสังคมไทยหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
     1. ตําแหนงทางการเมือง                       2. ตําแหนงทางราชการ
     3. การทําธุรกิจที่ดินและทรัพยสิน            4. ระดับการศึกษา อาชีพ ความมั่งคั่ง
7. การเปลี่ยนแปลงในสังคมไทยดานใด ที่ไมไดเปนผลจากการยกเลิกระบบไพร
     1. เกิดการฝกหัดทหารอาชีพเขารับราชการประจํา
     2. ประชาชนมีสวนรวมในการบริหารประเทศมากขึ้น
     3. ประชาชนมีโอกาสเลื่อนสถานภาพทางสังคม
     4. ประชาชนมีอิสระในการตั้งถิ่นฐานและประกอบอาชีพ
8. สาเหตุใดที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสังคมและวัฒนธรรมไทยในสมัยแรกที่ จอมพล ป.พิบูลสงคราม
   เปนนายกรัฐมนตรี
     1. แนวคิดเรื่องชาตินิยมของผูนําประเทศ
     2. เพื่อรวมมือกับประเทศญี่ปุนในการทําสงครามมหาเอเชียบูรพา
     3. โลกตะวันตกกําลังบอนทําลายวัฒนธรรมของชาติไทย
     4. เศรษฐกิจโลกกําลังตกตํ่าอยางรุนแรงและขยายตัวไปทั่วโลก


                                                                                            9
            สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
9. การเปลี่ยนแปลงในสังคมไทยหลัง พ.ศ. 2500 เปนผลกระทบจากปจจัยตางๆ ยกเวนขอใด
    1. การที่ประชาชนในเมืองใหญเปลี่ยนเปนพวกวัตถุนิยม
    2. การขยายตัวของชุมชนเมืองอันเนื่องมาจากการขยายตัวของอุตสาหกรรม
    3. การผูกพันทางการทหารกับสหรัฐอเมริกา เพื่อตอตานลัทธิคอมมิวนิสต
    4. นโยบายการขยายการศึกษาภาคบังคับและตั้งมหาวิทยาลัยในภูมิภาค
10. ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับสามัญชนในโครงสรางชนชั้นของสังคมไทยดั้งเดิม
      1. สตรีตองรับภาระดูแลบุตรหลานและประกอบอาชีพเลี้ยงดูครอบครัว
      2. ผูที่บวชเปนพระภิกษุถาสึกออกมารับราชการจะมีสถานภาพที่สูงขึ้น
      3. ชายฉกรรจตองถูกเกณฑแรงงานเพื่อเปนทหารหรือชวยงานราชการอื่นๆ
      4. สถานภาพของบุคคลยึดถือตามชาติกําเนิดและสืบทอดตอไปถึงบุตร
11. หลังจากการทําสนธิสัญญาบาวริงแลว เกิดผลกระทบทางสังคมอยางไรตามมา
      1. การเลิกระบบไพรและทาส
      2. การเกิดสิทธิสภาพนอกอาณาเขต
      3. การเลิกประเพณีหมอบคลานและถอดเสื้อ
      4. การใหเสรีภาพแกคนไทยในการนับถือศาสนา
12. ขอใดนับวาเปนการผลิตคนเพื่อเขารับราชการในสมัยรัชกาลที่ 5
      1. การตั้งกรมศึกษาธิการ
      2. การออกพระราชบัญญัติรับราชการทหาร
      3. การปรับปรุงระเบียบบริหารงานในกรมพระสุรัสวดี
      4. การตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรและการเมือง
13. นายชมเคยเปนไพร เมื่อรัชกาลที่ 5 ยกเลิกระบบไพร นายชมไดเรียนหนังสือ จบแลวไดเขารับราชการ
    เปนขุนนางและมีฐานะดี การที่นายชมเปลี่ยนสถานะไปเชนนี้เพราะผลขอใดเปนสําคัญ
      1. การปฏิรูปทางสังคม                         2. การปฏิรูปการศึกษา
      3. การปฏิรูปการปกครอง                        4. การปฏิรปเศรษฐกิจ
                                                              ู
14. ขอใดที่ไมใชการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่เกิดขึ้นในรัชกาลที่ 4
      1. อนุญาตใหราษฎรทํางานกับฝรั่งได
      2. ใหราษฎรถวายฎีกาไดเดือนละ 4 ครั้ง
      3. ใหราษฎรเขาเฝาในเวลาเสด็จพระราชดําเนินได
      4. งานเก็บเงินคาราชการจากไพรหลวงคนละ 6 บาทตอป




                                                                                             10
             สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
15. เมื่อนายแดงพนจากความเปนไพรในปลายสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวภาระหลาย
   อยางสิ้นสุดลง ยกเวนขอใด
      1. หมดภาระการเขาเวร                          2. หมดภาระการเสียสวย
      3. หมดภาระรับใชบานเมือง                     4. หมดภาระตามระบบอุปถัมภ
16. ขอใดที่จัดวาเปนการเปลี่ยนแปลงจากสังคมไทยโบราณเปนสังคมสมัยใหมในสมัยรัชกาลที่ 5
      1. ไพรและทาสสวนใหญเปลี่ยนฐานะมาเปนชาวไรชาวนา
      2. บรรดาเจาและขุนนางเปลี่ยนฐานะมาเปนพอคานายทุน
      3. ชาวไรชาวนาละทิ้งที่นาของตนเปลี่ยนฐานะมาเปนกรรมกร
      4. ชาวนาตกเปนลูกหนี้เพราะรายไดไมสมดุลกับรายจาย
17. ขอใดเปนขั้นตอนแรกในการประกาศเลิกทาสของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว
      1. ออกกฎหมายใหผูที่จะนําลูกเมียมาขายเปนทาสตองไดรับความยินยอมจากเจาตัวกอน
      2. ออกกฎหมายใหลูกทาสลูกไทที่เกิดใน พ.ศ. 2411 เปนอิสระเมื่ออายุได 21 ป
      3. ออกกฎหมายใหทาสทุกประเภทเปนอิสระในปที่พระองคทรงบรรลุนิติภาวะ
      4. ออกกฎหมายลดคาตัวทาสสินไถลงเดือนละ 4 บาท เพื่อใหทาสเปนอิสระเร็วขึ้น
18. ขอใดแสดงใหเห็นเดนชัดถึงจุดเริ่มตนที่นําไปสูความเปนสังคมสมัยใหมในสมัยพระบาทสมเด็จพระ
     จุลจอมเกลาเจาอยูหัว
      1. การจัดตั้งกองทหารหนาขึ้น
      2. การเปดโอกาสใหสามัญชนไดศึกษาเลาเรียน
      3. การคุกคามของลัทธิจักรวรรดินิยมของมหาอํานาจตะวันตก
      4. การเปลี่ยนฐานะของไพรและทาสมาเปนสามัญชน
19. ระบบไพรสิ้นสุดลงภายหลังเหตุการณในขอใด
      1. การตั้งกรมทหารหนา พ.ศ. 2428
      2. ออกพระราชบัญญัติประถมศึกษา พ.ศ. 2464
      3. การออกพระราชบัญญัติการเกณฑทหาร พ.ศ. 2448
      4. การออกพระราชบัญญัติเกษียณอายุลูกทาสลูกไท พ.ศ. 2417
20. แดงเปนทาสรุนแรกที่ไดรับการปลดปลอยใหเปนไท แดงเกิดปอะไร
      1. ปท่รัชกาลที่ 5 ประสูติ
             ี
      2. ปที่รัชกาลที่ 5 ครองราชย
      3. ปที่รัชกาลที่ 5 บรรลุนิติภาวะ
      4. ปที่รัชกาลที่ 5 ประกาศใชพระราชบัญญัติเกษียณอายุลูกทาสลูกไท



                                                                                                 11
             สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
21. อะไรคือปจจัยสําคัญที่ทําใหเกิดการปฏิรูปในสังคมไทยตั้งแตรัชกาลที่ 4 เปนตนมา
      1. กลุมขุนนางและเจานายที่มีความคิดกาวหนา
      2. การยกเลิกระบบไพรและทาส
      3. การนําระบบการศึกษาแบบตะวันตกมาใช
      4. การคุกคามและแผอิทธิพลของมหาอํานาจตะวันตก
22. อุปสรรคสําคัญในการปฏิรูปประเทศดานตางๆ ของไทยสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว
     คือเรื่องใด
      1. ขาดแคลนคนมีความรู                        2. เสียเงินคาปรับแกตางชาติ
                                                                         
      3. เกิดกบฏในหลายภาคของประเทศ                 4. สมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ
23. ขอความใดไมถูกตองเมื่อมีการยกเลิกระบบไพรและทาสในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจา-
     อยูหัว
      1. เกิดปญหาการขาดแคลนแรงงาน
      2. มูลนายไมตองรับภาระในการคุมครองไพรและทาสอีกตอไป
      3. การประกาศใชพระราชบัญญัติการเกณฑทหาร พ.ศ. 2448
      4. เกิดแรงงานอิสระที่สามารถประกอบอาชีพไดตามความพอใจ
24. เหตุการณใดตอไปนี้ที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมสําคัญที่สุดของไทย
      1. การยกเลิกระบบศักดินา
      2. การปฏิรูปการศึกษาสมัยรัชกาลที่ 5
      3. ผลกระทบจากสงครามโลกครั้งที่สอง
      4. การยกเลิกระบบไพรและทาสสมัยรัชกาลที่ 5
25. เมื่อเด็กหญิงแดงอายุครบ 15 ป ตองใชคํานําหนาวา นางสาวแดง ขอกําหนดนี้เริ่มในสมัยใด
      1. พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว
      2. จอมพล ป. พิบูลสงคราม เปนนายกรัฐมนตรี
      3. พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกลาเจาอยูหัว
      4. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว




                                                                                         12
            สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต

Contenu connexe

Tendances

พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัน พัน
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
Dream'Es W.c.
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2
Arom Chumchoengkarn
 
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
banlangkhao
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
fernbamoilsong
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Tendances (20)

พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
 
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจพัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
Phi yim
Phi yimPhi yim
Phi yim
 
เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
การปกครอง 604
การปกครอง 604การปกครอง 604
การปกครอง 604
 
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยคร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2
 
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
 
Key pr1 30109
Key pr1 30109Key pr1 30109
Key pr1 30109
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 

En vedette

Doc110339 normas do_x_congreso_do_sindicato_nacional_de_ccoo
Doc110339 normas do_x_congreso_do_sindicato_nacional_de_ccooDoc110339 normas do_x_congreso_do_sindicato_nacional_de_ccoo
Doc110339 normas do_x_congreso_do_sindicato_nacional_de_ccoo
oscargaliza
 
Hyves Cbw Mitex Harry Van Wouter
Hyves Cbw Mitex Harry Van WouterHyves Cbw Mitex Harry Van Wouter
Hyves Cbw Mitex Harry Van Wouter
guest2f17d3
 
Acta asamblea eroski vigo
Acta asamblea eroski vigoActa asamblea eroski vigo
Acta asamblea eroski vigo
oscargaliza
 
Paul's resume July
Paul's resume JulyPaul's resume July
Paul's resume July
apluslen
 
C.i. extraordinario 30052011
C.i. extraordinario 30052011C.i. extraordinario 30052011
C.i. extraordinario 30052011
oscargaliza
 

En vedette (20)

Tisa social and mobile security
Tisa social and mobile securityTisa social and mobile security
Tisa social and mobile security
 
How Pinterest Can Work for Your Destination
How Pinterest Can Work for Your DestinationHow Pinterest Can Work for Your Destination
How Pinterest Can Work for Your Destination
 
TEMA 2A GRAMMAR -AR VERBS
TEMA 2A GRAMMAR -AR VERBSTEMA 2A GRAMMAR -AR VERBS
TEMA 2A GRAMMAR -AR VERBS
 
ParaEmpezarWhatTimeIsIt
ParaEmpezarWhatTimeIsItParaEmpezarWhatTimeIsIt
ParaEmpezarWhatTimeIsIt
 
ZFConf 2012: Проектирование архитектуры, внедрение и организация процесса раз...
ZFConf 2012: Проектирование архитектуры, внедрение и организация процесса раз...ZFConf 2012: Проектирование архитектуры, внедрение и организация процесса раз...
ZFConf 2012: Проектирование архитектуры, внедрение и организация процесса раз...
 
Doc110339 normas do_x_congreso_do_sindicato_nacional_de_ccoo
Doc110339 normas do_x_congreso_do_sindicato_nacional_de_ccooDoc110339 normas do_x_congreso_do_sindicato_nacional_de_ccoo
Doc110339 normas do_x_congreso_do_sindicato_nacional_de_ccoo
 
Hyves Cbw Mitex Harry Van Wouter
Hyves Cbw Mitex Harry Van WouterHyves Cbw Mitex Harry Van Wouter
Hyves Cbw Mitex Harry Van Wouter
 
Windows xp services
Windows xp servicesWindows xp services
Windows xp services
 
Acta asamblea eroski vigo
Acta asamblea eroski vigoActa asamblea eroski vigo
Acta asamblea eroski vigo
 
Paul's resume July
Paul's resume JulyPaul's resume July
Paul's resume July
 
ZFConf 2012: Реализация доступа к СУБД IBM DB2 посредством встраиваемого SQL ...
ZFConf 2012: Реализация доступа к СУБД IBM DB2 посредством встраиваемого SQL ...ZFConf 2012: Реализация доступа к СУБД IBM DB2 посредством встраиваемого SQL ...
ZFConf 2012: Реализация доступа к СУБД IBM DB2 посредством встраиваемого SQL ...
 
Consciousness Hacking - Algemene Presentatie
Consciousness Hacking - Algemene PresentatieConsciousness Hacking - Algemene Presentatie
Consciousness Hacking - Algemene Presentatie
 
Mitex Pine
Mitex PineMitex Pine
Mitex Pine
 
Acta 02 05-10-comit.socializ.obra_2_da.etapa
Acta 02 05-10-comit.socializ.obra_2_da.etapaActa 02 05-10-comit.socializ.obra_2_da.etapa
Acta 02 05-10-comit.socializ.obra_2_da.etapa
 
Evaluation
EvaluationEvaluation
Evaluation
 
Web api
Web apiWeb api
Web api
 
Rembugan (digital campaign)
Rembugan (digital campaign)Rembugan (digital campaign)
Rembugan (digital campaign)
 
C.i. extraordinario 30052011
C.i. extraordinario 30052011C.i. extraordinario 30052011
C.i. extraordinario 30052011
 
Igualdad ikea
Igualdad ikeaIgualdad ikea
Igualdad ikea
 
04 righteousness of_god_not_law_but_christ
04 righteousness of_god_not_law_but_christ04 righteousness of_god_not_law_but_christ
04 righteousness of_god_not_law_but_christ
 

Similaire à การเปลี่ยนแปลงสังคมไทย

ข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลาย
ข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลายข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลาย
ข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลาย
คำหล้า สมวัน
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
Ziro Anu
 
Social onet a
Social onet aSocial onet a
Social onet a
peemai12
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัย
krunrita
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
yyyim
 
วิชา สังคมศึกษา
วิชา สังคมศึกษาวิชา สังคมศึกษา
วิชา สังคมศึกษา
Chariyakornkul
 

Similaire à การเปลี่ยนแปลงสังคมไทย (20)

การเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจไทย
การเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจไทยการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจไทย
การเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจไทย
 
the exam.
the exam.the exam.
the exam.
 
ข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลาย
ข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลายข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลาย
ข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลาย
 
G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3
 
Onet social
Onet socialOnet social
Onet social
 
Onet social
Onet socialOnet social
Onet social
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
Social onet a
Social onet aSocial onet a
Social onet a
 
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรมมนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
 
ข้อสอบโควตา ม
ข้อสอบโควตา มข้อสอบโควตา ม
ข้อสอบโควตา ม
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
Knowledge soc01
Knowledge soc01Knowledge soc01
Knowledge soc01
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัย
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
1
11
1
 
วิชา สังคมศึกษา
วิชา สังคมศึกษาวิชา สังคมศึกษา
วิชา สังคมศึกษา
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 

Plus de Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Plus de Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 

การเปลี่ยนแปลงสังคมไทย

  • 1. การเปลี่ยนแปลงสังคมไทย อ.อุษณีย ยุชยะทัต โรงเรียนชิโนรสวิทยาลัย สังคมไทยโบราณ มีการแบงคนเปนชนชั้นตางๆ เพราะความตองการแรงงานในการผลิตและการ ทําสงครามลักษณะชนชั้นในสังคมไทยคือ 1. เปนระบบอุปถัมภ คือพึ่งพาอาศัยกัน 2. เลื่อนชั้นไดตามความสามารถ สมัยสุโขทัย มีการแบงคนออกเปน 2 ชั้น ไดแก 1. ชนชั้นปกครองไดแก พระมหากษัตริย และขุนนาง 2. ชนชั้นผูถกปกครอง ไดแก ไพร และขา ู สมัยอยุธยา การควบคุมกําลังคน แบงเปน 2 ระบบ คือ ระบบไพร และระบบศักดินา สังคมไทยในสมัยอยุธยา แบงออกเปน 4 ชั้น ไดแก เจา ขุนนาง ไพร ทาส สวนพระสงฆถือเปน ชนชั้นพิเศษ เจา หมายถึง พระมหากษัตริย และเจานาย ซึ่งหมายถึงผูสืบเชื้อสายใกลชิดพระมหากษัตริย ไดแก เจาฟา พระองคเจา และหมอมเจา ถือศักดินาลดหลั่นกันลงไป และมีสิทธิพิเศษ คือ ไมตองถูกเกณฑ แรงงาน ไมตองเสียภาษี ไดผลประโยชนจากไพรในสังกัด ไดรับพระราชทานเบี้ยหวัดประจําป  ขุนนาง (นาย, มูลนาย) คือ ขาราชการมีบทบาทสําคัญดานการปกครอง ถือศักดินา 400 – 10,000 ไร ประกอบดวย ยศศักดิ์ 4 อยาง คือ ยศ ตําแหนง ราชทินนาม ศักดินา สิทธิของขุนนาง ไดแก 1. ไมตองถูกเกณฑแรงงาน  2. ขุนนางผูใหญเขาเฝาพระมหากษัตริยใกลชิดได 3. ไดผลประโยชนจากไพร 4. ไดผลประโยชนจากตําแหนงหนาที่การงาน 1 สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
  • 2. ไพร คือประชาชนซึ่งถือวาเปนคนกลุมใหญของสังคม ถือศักดินา 10 – 25 ไร มีหนาที่รับใช ราชการโดยสังกัดมูลนาย เพื่อจะไดรับการคุมครองตามกฎหมาย แบงออกเปน 2 ประเภท คือ 1. ไพรหลวง คือ คนของทางราชการมีหนาที่ทํางานใหกับทางราชการโดยการเกณฑแรงงาน 2. ไพรสม คือ คนของขุนนางมีหนาที่ทํางานกับขุนนาง การเกณฑแรงงาน หมายถึง การทํางานใหกับทางราชการ โดยไมไดคาตอบแทน ในสมัยอยุธยาความตองการแรงงานมีมาก เกณฑแรงงานไพรปละ 6 เดือน โดยเกณฑเขาเดือน ออกเดือน สิทธิหนาที่ของไพร คือ 1. เสียภาษีอากร 2. มีสิทธิจับจองเปนเจาของที่ดินได 3. ตองขึ้นทะเบียนสังกัดมูลนาย 4. ยายสังกัด กรมกอง ภูมิลําเนาไมได ทาส คือ กลุมชนชั้นตํ่าที่สดของสังคม ถือศักดินา 5 ไร ทาสมี 7 ชนิด ไดแก ุ - ทาสสินไถ - ทาสในเรือนเบี้ย - ทาสทานให - ทาสไดมาแตบิดามารดา - ทาสที่ชวยไวยามเมื่อตองโทษทัณฑ - ทาสที่เลี้ยงไวยามขาวยากหมากแพง ทาสเชลย ทาสที่มีมากที่สุด คือ ทาสสินไถ ทาสที่ไดรับการปลดปลอย เปนอันดับแรก คือ ทาสในเรือนเบี้ย ทาสเปนอิสระไดโดย 1. ไถถอนตัวเอง 2. โดยการบวช 3. แตงงานกับนายเงิน หรือลูกหลานนายเงิน 4. ไปสงครามถูกจับเปนเชลย หนีรอดกลับมาได 5. ฟองรองนายเงินเปนกบฎ สอบสวนแลวเปนความจริง 2 สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
  • 3. ความสัมพันธระหวางชนชั้นในสมัยอยุธยา ความสัมพันธระหวางชนชั้นในสมัยอยุธยา เปนระบบอุปถัมภ พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ไดแก 1. พระมหากษัตริย กับขุนนาง 2. มูลนาย กับไพร 3. นายเงิน กับทาส สมัยกรุงธนบุรี เนื่องจากในสมัยอยุธยาไพรสูญหาย หลบหนีไปมาก สมัยกรุงธนบุรีมีการควบคุมไพรเขมงวดกวา สมัยอยุธยาโดยการสักเลก คือ สักขอมือไพร เพื่อปองกันการหลบหนี สมัยรัตนโกสินทรตอนตน สมัยรัตนโกสินทรตอนตน มีการลดการเกณฑแรงงานไพรหลวงนอยลง โดย - สมัยรัชกาลที่ 1 เกณฑแรงงานปละ 4 เดือน โดยเกณฑเขาเดือน ออก 2 เดือน - สมัยรัชกาลที่ 2 เกณฑแรงงานปละ 3 เดือน โดยเกณฑเขาเดือน ออก 3 เดือน การเปลี่ยนแปลงสังคมสมัยรัชกาลที่ 3 ทําสนธิสัญญาฉบับแรกกับอังกฤษ คือ สัญญาเบอรนี พ.ศ.2369 เกิดธรรมยุติกนิกาย ขอทดสอบ 1. การจัดระเบียบสังคมไทยสมัยอยุธยาเกี่ยวของกับเรื่องใดนอยที่สุด 1. ความมั่นคงของอาณาจักร 2. กําลังแรงงานของทางราชการ 3. ความเจริญของบานเมือง 4. ความสัมพันธระหวางไพรกับมูลนาย 2. คําอธิบายเกี่ยวกับมูลนาย-ไพร ขอใดผิด 1. ลูกของมูลนาย แมมีศักดินาตํ่ากวาเกณฑก็ไมถือวาเปนไพร 2. ไพรไมมีโอกาสเลื่อนฐานะทางสังคมเปนมูลนายได 3. มูลนายไมตองถูกเกณฑแรงงาน ไพรตองถูกเกณฑแรงงาน 4. มูลนายมีศักดินาสูงกวา 400 ไรนา สวนไพรตํ่ากวา 400 ไร 3 สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
  • 4. 3. “นายเหมือนเปนไพรของขุนชํานาญบริรักษ” ขอใดแสดงความสัมพันธระหวางคนทั้ง 2 ไมถูกตอง 1. ขุนชํานาญบริรักษตองดูแลไมใหใครทํารายนายเหมือน 2. ถาหากนายเหมือนขัดสนเงินไมสามารถไปขอขุนชํานาญบริรักษได 3. นายเหมือนมีหนาที่ทํานาทั้งในที่นาของตน และที่นาของขุนชํานาญบริรักษ 4. เมื่อนายเหมือนมีคดีความ ขุนชํานาญบริรักษตองไปศาลกับนายเหมือนดวย 4. ขอใดเปนกลไกสําคัญในการควบคุมกําลังคนในระบบไพร 1. ไพรตองสังกัดมูลนาย 2. ไพรจับจองที่ดินไมได 3. ไพรเปลี่ยนแปลงสถานะไมได 4. ไพรตองมาทํางานใหราชการ 5. ขอมูลในขอใดตอไปนี้ที่ไมถูกตอง 1. มูลนายและขุนนางมีศักดินาตั้งแต 400 ไรขึ้นไป 2. สนธิสัญญาเบอรนีเปนสนธิสัญญาที่ไทยเสียเปรียบอังกฤษมาก 3. ไทยเสียดินแดนใหฝรั่งเศสครั้งแรกในรัชกาลที่ 4 4. การลดเวลาเขารับราชการของไพรเหลือปละ 3 เดือน เริ่มในรัชกาลที่ 2 6. สิทธิเกี่ยวกับไพรในขอใดไมถูกตอง 1. ถือครองศักดินาได 2. เลื่อนตําแหนงเปนขาราชการได 3. โยกยายกรมกองสังกัดไมได 4. จับจองกรรมสิทธิ์ในที่ดินไมได 7. ขอใดตรงกับวัตถุประสงคเบื้องตนของการจัด “ระบบไพร” 1. ตองการแรงงาน 2. ตองการภาษี 3. ตองการเสริมอํานาจบารมี 4. ตองการหาคนมาเขาเวรรับราชการ 8. เหตุผลขอใดทําใหไพรตองมีสังกัด 1. ความคุมครองตามกฎหมาย 2. ความคุมครองในเรื่องทรัพยสิน 3. ความคุมครองดานความปลอดภัย 4. ความคุมครองในเรื่องการถือครองที่ดิน 9. ตั้งแตสมัยอยุธยาจนถึงสมัยรัตนโกสินทรตอนตน เหตุใดชายฉกรรจจําเปนตองเปนไพร ก. ถูกเกณฑแรงงานโดยทางราชการ ข. เขารับราชการเพื่อใหมีศักดินาสูงกวาทาส ค. ตองการที่จะไดรับความคุมครองตามกฎหมาย ง. มีสิทธิจับจองที่ดนที่ตนไดลงแรงไวและยังไมมีเจาของ ิ 1. ก และ ข 2. ข และ ง 3. ก และ ค 4. ค และ ง 4 สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
  • 5. 10. การสรางระบบมูลนาย-ไพร สังคมไทยสมัยศักดินา ในระยะเริ่มแรกมีวัตถุประสงคสําคัญอยางไร 1. รัฐบาลจะไดจัดเก็บภาษีและควบคุมแรงงานไพรอยางมีระบบ 2. ควบคุมมูลนายมิใหมีไพรมาก เพราะถามีมากอาจเปนกบฎตอกษัตริยได 3. เกณฑคนออกรบในสงครามและเกณฑไพรมาใชในราชการในเวลาปกติ 4. ควบคุมการเคลื่อนไหวของไพรและมูลนายมิใหเปนกบฎ ขณะเดียวกันก็สะดวกรวดเร็วเวลาเกณฑ พวกนี้ออกรบ 5 สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
  • 6. การเปลี่ยนแปลงทางสังคม ในสมัยรัชกาลที่ 4 ไทยติดตอกับตะวันตกมากขึ้น เปนผลมาจากการทําสัญญาบาวริง ทําใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงทางสังคมอยางมาก การเปลี่ยนแปลงทางสังคมในสมัยรัชกาลที่ 4 1. ยกเลิกการหมอบคลานเขาเฝา 2. ยกเลิกการไมสวมเสื้อเขาเฝา 3. ใหเสรีภาพในการนับถือศาสนามากขึ้น 4. ฟนฟูประเพณีตีกลองรองฎีกา 5. ยกเลิกกองทหารขับไลประชาชน เมื่อขบวนเสด็จผาน 6. จางชาวตางชาติมาสอนหนังสือในวัง สาเหตุที่รัชกาลที่ 4 เปลี่ยนแปลงประเพณีบางอยาง เนื่องจาก 1. กลัวภัยจากลัทธิจักรวรรดินยมิ 2. รับวิทยาการจากตะวันตกมาในสมัยรัชกาลที่ 3 การปฏิรูปสังคมสมัยรัชกาลที่ 5 ไดแก 1. เลิกไพร 2. เลิกทาส 3. ปฏิรูปการศึกษา 4. ปฏิรูปการศาล ขั้นตอนในการเลิกไพร 1. จัดตั้งกรมทหารหนา ใหไพรที่มูลนายตายมาสมัครทหารแบบใหม 2. ใหไพรหลวงที่ไมมาเขาเวรรับราชการเสียเงินแทนปละ 6 บาท 3. ตราพระราชบัญญัติทหาร โดยใหไพรทั่วประเทศเขามารับการฝกหัดทหาร 4. ตราพระราชบัญญัติลักษณะการเกณฑทหาร พ.ศ. 2448 กําหนดใหชายฉกรรจอายุ 18-20 ป เขา รับราชการทหาร 2 ป เมื่อปลดประจําการแลวไมตองเสียเงินคาราชการอีกตอไปเปนการยกเลิกไพรอยาง สิ้นเชิง 6 สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
  • 7. ขั้นตอนในการเลิกทาส 1. ออกประกาศสํารวจทาส และประกาศใชพระราชบัญญัติเกษียณอายุลกทาส ลูกไท พ.ศ. 2417 ู กําหนดวา ใหทาสที่เกิดในปที่รัชกาลที่ 5 ขึ้นครองราชสมบัติ (พ.ศ. 2411) เปนอิสระไดเมื่ออายุ 21 ป 2. ออกพระราชบัญญัติเลิกทาสในมณฑลตะวันออกเฉียงเหนือ 3. ออกพระราชบัญญัติทาสในมณฑลบูรพา 4. ออกพระราชบัญญัติทาสรัตนโกสินทรศก 124 มีผลบังคับใชต้งแต เมษายน พ.ศ.2448 มีสาระ ั สําคัญ คือ - หามซื้อขายทาสโดยเด็ดขาด - ลดคาตัวทาสลงเดือนละ 4 บาท ผลของการเลิกไพรและทาส 1. แรงงานมีอิสระมากขึ้น 2. เกิดกองทหารประจําการติดอาวุธสมัยใหม 3. ความจงรักภักดีตอพระมหากษัตริยมีมากขึ้น 4. ประชาชนมีโอกาสไดรับการศึกษา และมีโอกาสไดรวมพัฒนาประเทศมากขึ้น การปฏิรูปการศึกษา มีจุดมุงเนนเพื่อสรางคนเขารับราชการ ดําเนินการดังนี้ 1. ตั้งโรงเรียนขึ้นในวัง คือ โรงเรียนวังหลวง โรงเรียนสอนภาษาอังกฤษ โรงเรียนนายทหาร มหาดเล็ก และโรงเรียนแผนที่ 2. ตั้งกระทรวงศึกษาธิการ มีการวางแผนการศึกษาของชาติ 3. ตั้งโรงเรียนหลวงสําหรับราษฎร คือ โรงเรียนวัดมหรรณพาราม 4. ตั้งโรงเรียนนายรอยทหารบก 5. ตั้งโรงเรียนกฎหมาย และการสอบชิงทุนเลาเรียนหลวง ซึ่งเรียกกันวา คิงสสกอลาชิป 6. ตั้งโรงเรียนนายทหารเรือ การปรับปรุงและขยายการศึกษาในสมัยรัชกาลที่ 6 1. ตราพระราชบัญญัติประถมศึกษา พ.ศ. 2464 2. กําเนิดจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สังคมไทยภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงไปมาก โดยเฉพาะในสมัย จอมพล ป. พิบูลสงคราม เปนนายกรัฐมนตรี เมืองไทยเขาสูยุคสรางชาติ ซึ่งหมายถึงการสรางประเทศใหยิ่ง ใหญ คนไทยมีวัฒนธรรม มีการเปลี่ยนแปลงในสังคมไทย เชน 7 สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
  • 8. - เปลี่ยนวันขึ้นปใหม จากวันที่ 1 เมษายน เปนวันที่ 1 มกราคม - เปลี่ยนชื่อสยาม มาเปนไทย - กําหนดใหวันที่ 24 มิถุนายนเปนวันชาติ - เปลี่ยนแปลงการแตงกายใหมานุงกางเกงขายาวสําหรับผูชาย และกระโปรงสําหรับผูหญิง - ยกเลิกบรรดาศักดิ์ตางๆ สังคมไทยภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดลัทธิสงครามเย็น ซึ่งเปนความขัดแยงทางอุดมการณทางการเมือง ระหวางประชาธิปไตย กับลัทธิคอมมิวนิสต รัฐบาลมีนโยบายตอตานภัยคอมมิวนิสต โดยการมีสมพันธภาพ ั กับโลกเสรีโดยเฉพาะกับอเมริกา สังคมไทยระยะนีมการขยายตัวทางการศึกษา และเศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรม ้ ี มากขึ้น สังคมไทยภายใตแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ ประเทศไทยเริมพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแบบมีแผนเปนครังแรก พ.ศ. 2504 ในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ่ ้ ธนะรัชต เปนนายกรัฐมนตรี ทําใหเกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงทางสังคมควบคูกัน ไป ขอทดสอบ 1. สังคมไทยกอนสมัยรัชกาลที่ 5 มีลักษณะอยางไร 1. ตั้งแตพระมหากษัตริยจนถึงทาสตางมีศักดินาตั้งแต 100,000 ไรถึง 5 ไร ลดหลั่นกันไป 2. ไพรและทาสอยูภายใตการควบคุมของพระมหากษัตริย เจานาย และขุนนาง 3. ชนชั้นไพรและทาสเปลี่ยนแปลงฐานะไมได แตพระมหากษัตริยและเจานายสามารถเปลี่ยนแปลง ฐานะได 4. พอคาและผูที่มีความรูไดรับการยกยองอยางสูงในสังคม 2. สิทธิสภาพนอกอาณาเขต มีความหมายตรงกับขอใด 1. ชาวตางชาติไดรับการยกเวนไมตองเสียภาษี 2. ชาวตางชาติไดรับการยกเวนไมตองถูกเกณฑแรงงาน 3. ชาวตางชาติไดรับการพิจารณาคดีในศาลกงสุลตามกฎหมายของตน 4. สิทธิอํานาจของเมืองแมเหนือดินแดนอื่น 8 สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
  • 9. 3. การเปลี่ยนแปลงสังคมและวัฒนธรรมไทย ซึ่งเกิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจา- อยูหัว มีลักษณะที่สําคัญอยางไร 1. รับวัฒนธรรมของโลกตะวันตกที่สอดคลองกับวัฒนธรรมไทย 2. ปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมไทยใหสอดคลองกับวัฒนธรรมของโลกตะวันตกเทาที่จําเปน 3. รับเอาสังคมวัฒนธรรมของชาติตะวันตกเขามาในสังคมไทยในลักษณะถูกบังคับจากมหาอํานาจ 4. การเปลี่ยนแปลงสังคมและวัฒนธรรมไทย เกิดขึ้นเฉพาะในเขตเมืองหลวงเทานั้น 4. การพัฒนาทางสังคมในสมัยรัชกาลที่ 6 ในลักษณะใดที่เกิดประโยชนสูงสุด 1. กําหนดเกณฑการเขาเรียนหนังสือสําหรับเด็กไทย 2. ยกเลิกการเกณฑแรงงานเปลี่ยนเปนระบบเกณฑทหาร 3. สงเสริมความรูสึกชาตินิยมผานทางงานวรรณกรรม 4. สนับสนุนบทบาทและความสําคัญของกลุมเสือปา 5. ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 แลว สังคมไทยเปนอยางไร 1. คนไทยทุกคนมีความเสมอภาคภายใตกฎหมายเดียวกัน 2. คณะราษฎรเปนกลุมบุคคลที่มีอํานาจมากตามรัฐธรรมนูญ 3. สตรีไทยยังไมมีสิทธิในการออกเสียงเลือกตั้งจนถึงสงครามโลกครั้งที่ 2 4. พระภิกษุสงฆมีสิทธิออกเสียงในการเลือกตั้งสภาผูแทนราษฎร จนถึง พ.ศ. 2500 6. ขอใดเปนปจจัยสําหรับจัดระดับชนชั้นในสังคมไทยหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 1. ตําแหนงทางการเมือง 2. ตําแหนงทางราชการ 3. การทําธุรกิจที่ดินและทรัพยสิน 4. ระดับการศึกษา อาชีพ ความมั่งคั่ง 7. การเปลี่ยนแปลงในสังคมไทยดานใด ที่ไมไดเปนผลจากการยกเลิกระบบไพร 1. เกิดการฝกหัดทหารอาชีพเขารับราชการประจํา 2. ประชาชนมีสวนรวมในการบริหารประเทศมากขึ้น 3. ประชาชนมีโอกาสเลื่อนสถานภาพทางสังคม 4. ประชาชนมีอิสระในการตั้งถิ่นฐานและประกอบอาชีพ 8. สาเหตุใดที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสังคมและวัฒนธรรมไทยในสมัยแรกที่ จอมพล ป.พิบูลสงคราม เปนนายกรัฐมนตรี 1. แนวคิดเรื่องชาตินิยมของผูนําประเทศ 2. เพื่อรวมมือกับประเทศญี่ปุนในการทําสงครามมหาเอเชียบูรพา 3. โลกตะวันตกกําลังบอนทําลายวัฒนธรรมของชาติไทย 4. เศรษฐกิจโลกกําลังตกตํ่าอยางรุนแรงและขยายตัวไปทั่วโลก 9 สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
  • 10. 9. การเปลี่ยนแปลงในสังคมไทยหลัง พ.ศ. 2500 เปนผลกระทบจากปจจัยตางๆ ยกเวนขอใด 1. การที่ประชาชนในเมืองใหญเปลี่ยนเปนพวกวัตถุนิยม 2. การขยายตัวของชุมชนเมืองอันเนื่องมาจากการขยายตัวของอุตสาหกรรม 3. การผูกพันทางการทหารกับสหรัฐอเมริกา เพื่อตอตานลัทธิคอมมิวนิสต 4. นโยบายการขยายการศึกษาภาคบังคับและตั้งมหาวิทยาลัยในภูมิภาค 10. ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับสามัญชนในโครงสรางชนชั้นของสังคมไทยดั้งเดิม 1. สตรีตองรับภาระดูแลบุตรหลานและประกอบอาชีพเลี้ยงดูครอบครัว 2. ผูที่บวชเปนพระภิกษุถาสึกออกมารับราชการจะมีสถานภาพที่สูงขึ้น 3. ชายฉกรรจตองถูกเกณฑแรงงานเพื่อเปนทหารหรือชวยงานราชการอื่นๆ 4. สถานภาพของบุคคลยึดถือตามชาติกําเนิดและสืบทอดตอไปถึงบุตร 11. หลังจากการทําสนธิสัญญาบาวริงแลว เกิดผลกระทบทางสังคมอยางไรตามมา 1. การเลิกระบบไพรและทาส 2. การเกิดสิทธิสภาพนอกอาณาเขต 3. การเลิกประเพณีหมอบคลานและถอดเสื้อ 4. การใหเสรีภาพแกคนไทยในการนับถือศาสนา 12. ขอใดนับวาเปนการผลิตคนเพื่อเขารับราชการในสมัยรัชกาลที่ 5 1. การตั้งกรมศึกษาธิการ 2. การออกพระราชบัญญัติรับราชการทหาร 3. การปรับปรุงระเบียบบริหารงานในกรมพระสุรัสวดี 4. การตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรและการเมือง 13. นายชมเคยเปนไพร เมื่อรัชกาลที่ 5 ยกเลิกระบบไพร นายชมไดเรียนหนังสือ จบแลวไดเขารับราชการ เปนขุนนางและมีฐานะดี การที่นายชมเปลี่ยนสถานะไปเชนนี้เพราะผลขอใดเปนสําคัญ 1. การปฏิรูปทางสังคม 2. การปฏิรูปการศึกษา 3. การปฏิรูปการปกครอง 4. การปฏิรปเศรษฐกิจ ู 14. ขอใดที่ไมใชการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่เกิดขึ้นในรัชกาลที่ 4 1. อนุญาตใหราษฎรทํางานกับฝรั่งได 2. ใหราษฎรถวายฎีกาไดเดือนละ 4 ครั้ง 3. ใหราษฎรเขาเฝาในเวลาเสด็จพระราชดําเนินได 4. งานเก็บเงินคาราชการจากไพรหลวงคนละ 6 บาทตอป 10 สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
  • 11. 15. เมื่อนายแดงพนจากความเปนไพรในปลายสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวภาระหลาย อยางสิ้นสุดลง ยกเวนขอใด 1. หมดภาระการเขาเวร 2. หมดภาระการเสียสวย 3. หมดภาระรับใชบานเมือง 4. หมดภาระตามระบบอุปถัมภ 16. ขอใดที่จัดวาเปนการเปลี่ยนแปลงจากสังคมไทยโบราณเปนสังคมสมัยใหมในสมัยรัชกาลที่ 5 1. ไพรและทาสสวนใหญเปลี่ยนฐานะมาเปนชาวไรชาวนา 2. บรรดาเจาและขุนนางเปลี่ยนฐานะมาเปนพอคานายทุน 3. ชาวไรชาวนาละทิ้งที่นาของตนเปลี่ยนฐานะมาเปนกรรมกร 4. ชาวนาตกเปนลูกหนี้เพราะรายไดไมสมดุลกับรายจาย 17. ขอใดเปนขั้นตอนแรกในการประกาศเลิกทาสของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว 1. ออกกฎหมายใหผูที่จะนําลูกเมียมาขายเปนทาสตองไดรับความยินยอมจากเจาตัวกอน 2. ออกกฎหมายใหลูกทาสลูกไทที่เกิดใน พ.ศ. 2411 เปนอิสระเมื่ออายุได 21 ป 3. ออกกฎหมายใหทาสทุกประเภทเปนอิสระในปที่พระองคทรงบรรลุนิติภาวะ 4. ออกกฎหมายลดคาตัวทาสสินไถลงเดือนละ 4 บาท เพื่อใหทาสเปนอิสระเร็วขึ้น 18. ขอใดแสดงใหเห็นเดนชัดถึงจุดเริ่มตนที่นําไปสูความเปนสังคมสมัยใหมในสมัยพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกลาเจาอยูหัว 1. การจัดตั้งกองทหารหนาขึ้น 2. การเปดโอกาสใหสามัญชนไดศึกษาเลาเรียน 3. การคุกคามของลัทธิจักรวรรดินิยมของมหาอํานาจตะวันตก 4. การเปลี่ยนฐานะของไพรและทาสมาเปนสามัญชน 19. ระบบไพรสิ้นสุดลงภายหลังเหตุการณในขอใด 1. การตั้งกรมทหารหนา พ.ศ. 2428 2. ออกพระราชบัญญัติประถมศึกษา พ.ศ. 2464 3. การออกพระราชบัญญัติการเกณฑทหาร พ.ศ. 2448 4. การออกพระราชบัญญัติเกษียณอายุลูกทาสลูกไท พ.ศ. 2417 20. แดงเปนทาสรุนแรกที่ไดรับการปลดปลอยใหเปนไท แดงเกิดปอะไร 1. ปท่รัชกาลที่ 5 ประสูติ ี 2. ปที่รัชกาลที่ 5 ครองราชย 3. ปที่รัชกาลที่ 5 บรรลุนิติภาวะ 4. ปที่รัชกาลที่ 5 ประกาศใชพระราชบัญญัติเกษียณอายุลูกทาสลูกไท 11 สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
  • 12. 21. อะไรคือปจจัยสําคัญที่ทําใหเกิดการปฏิรูปในสังคมไทยตั้งแตรัชกาลที่ 4 เปนตนมา 1. กลุมขุนนางและเจานายที่มีความคิดกาวหนา 2. การยกเลิกระบบไพรและทาส 3. การนําระบบการศึกษาแบบตะวันตกมาใช 4. การคุกคามและแผอิทธิพลของมหาอํานาจตะวันตก 22. อุปสรรคสําคัญในการปฏิรูปประเทศดานตางๆ ของไทยสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว คือเรื่องใด 1. ขาดแคลนคนมีความรู 2. เสียเงินคาปรับแกตางชาติ  3. เกิดกบฏในหลายภาคของประเทศ 4. สมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ 23. ขอความใดไมถูกตองเมื่อมีการยกเลิกระบบไพรและทาสในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจา- อยูหัว 1. เกิดปญหาการขาดแคลนแรงงาน 2. มูลนายไมตองรับภาระในการคุมครองไพรและทาสอีกตอไป 3. การประกาศใชพระราชบัญญัติการเกณฑทหาร พ.ศ. 2448 4. เกิดแรงงานอิสระที่สามารถประกอบอาชีพไดตามความพอใจ 24. เหตุการณใดตอไปนี้ที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมสําคัญที่สุดของไทย 1. การยกเลิกระบบศักดินา 2. การปฏิรูปการศึกษาสมัยรัชกาลที่ 5 3. ผลกระทบจากสงครามโลกครั้งที่สอง 4. การยกเลิกระบบไพรและทาสสมัยรัชกาลที่ 5 25. เมื่อเด็กหญิงแดงอายุครบ 15 ป ตองใชคํานําหนาวา นางสาวแดง ขอกําหนดนี้เริ่มในสมัยใด 1. พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว 2. จอมพล ป. พิบูลสงคราม เปนนายกรัฐมนตรี 3. พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกลาเจาอยูหัว 4. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว 12 สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต